43
บทท่ี 5
สรปุ ผลการประเมนิ และขอ้ เสนอแนะ
การประเมินโครงการครงั้ น้ี เป็นการประเมนิ แบบเชงิ คุณภาพ โดยประยกุ ต์ใชแ้ บบ CIPP
Model ของ Stufflebeam เพื่อประเมนิ โครงการผักบุ้งแปลงน้อยปลอดสารพษิ (ผักสวนครัว) ในด้าน
บรบิ ท (Context) ) ปัจจัยนำเขา้ (Input) กระบวนการ (Process) ผลผลติ (Product) ศกึ ษา
ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่างจำนวน 10 คน (สมาชิกในครอบครวั ผทู้ ี่เกีย่ วขอ้ งกับการดำเนินโครงการ
และคณะผ้จู ดั ทำโครงการ) ผู้จัดทำเกบ็ ขอ้ มลู ระหวา่ งวนั ที่ 20 กันยายน 2564 ถึงวนั ท่ี 31 ตุลาคม
2564 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมนิ เปน็ แบบสอบถามท่ีผูป้ ระเมินสร้างและพัฒนาด้วยตนเองจำนวน 6
ชดุ ผู้จดั ทำโครงการทำการเก็บรวบรวมข้อมลู การประเมินด้วยตนเอง ไดร้ ับแบบสอบถามกลับคืนจาก
ผู้ประเมนิ ซง่ึ เป็นคนในครอบครวั ของผู้จดั ทำโครงการจำนวน 6 ชดุ วิเคราะหก์ ารประเมินโครงการโดย
ใช้รูปแบบการประเมนิ แบบ CIPP MODEL
1. สรุปผลการประเมินโครงการ
ผรู้ บั ผิดชอบโครงการได้ประเมนิ ผลหลังการดำเนนิ โครงการโดยใชแ้ บบประเมินโครงการ
ผกั บงุ้ แปลงน้อยปลอดสารพิษ (ผักสวนครวั ) ในด้านสภาวะแวดลอ้ ม ด้านปจั จยั ดา้ นกระบวนการ
และด้านผลผลติ
ผลการประเมินโครงการหลงั การดำเนนิ งานโดยรวมในดา้ นสภาวะแวดลอ้ ม โดยรวมสรุปได้
ว่า หลกั การ มคี วามเหมาะสมและสอดคลอ้ งตรงตามวตั ถุประสงค์และเป้าหมายทีไ่ ด้คาดการณ์ไว้ การ
กำหนดเปา้ หมายของโครงการสามารถสรา้ งโอกาสใหก้ บั ผเู้ ขา้ รว่ มได้เรยี นรู้ในการเพาะปลกู ใชเ้ วลา
ว่างให้เป็นประโยชน์ในการปลกู ผักสวนครัวข้นึ มาเอง มผี กั ปลอดสารพิษไวร้ ับประทานในครอบครวั
และมีสภาพดินอดุ มสมบรู ณ์ อากาศไม่แหง้ แลง้ จนเกินไป มอี ากาศที่ถ่ายเทดี บรรยากาศจงึ เหมาะแก่
การเพาะปลกู
ผลการประเมินโครงการหลงั การดำเนนิ งานโดยรวมในดา้ นปจั จัย โดยรวมสรุปไดว้ ่า สมาชิก
ในครอบครวั ให้ความร่วมมือต่อการดำเนนิ โครงการอยา่ งดี มีความเข้าใจไมข่ ดั แย้งกันเอง จงึ มีความ
เหมาะสมและเพียงพอต่อการร่วมดำเนินการโครงการ อปุ กรณท์ ใี่ ชบ้ างชิน้ สามารถทำข้นึ มาเองได้และ
มอี ยู่แล้วในครัวเรือน ไม่ไดใ้ ช้อปุ กรณ์เยอะเกนิ ความจำเป็น มคี วามรู้เพ่ิมเก่ยี วกับอุปกรณ์ที่ใช้ปลูกผัก
สวนครัว พ้นื ทท่ี ่ีใช้ทำโครงการเปน็ พนื้ ทวี่ า่ งเปลา่ มีความสะดวกสบายในการดแู ลผกั ทปี่ ลกู สามารถ
ขยายแปลงผกั สวนครัวเพ่ิมได้ เพราะเปน็ พื้นท่ีของครอบครัว
ผลการประเมนิ โครงการหลังการดำเนนิ งานโดยรวมในดา้ นกระบวนการ โดยรวมสรปุ ไดว้ า่
สภาพปญั หาท่เี กิดขึน้ และความตอ้ งการในการดำเนนิ โครงการ มีการแก้ปัญหาที่ตรงตามวัตถุประสงค์
เขา้ ในงา่ ย สามารถนำไปพัฒนาตอ่ ได้ และมผี ลต่อการดำเนนิ โครงการค่อนขา้ งน้อย เป็นการใชเ้ วลา
วา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ได้เรียนรู้การปลกู ผกั ไดเ้ รียนรกู้ ารทำปุ๋ยอินทรีย์ สามารถนำไปต่อยอดเปน็ อาชพี
44
ลดคา่ ใช้จา่ ยในการซ้ือผกั มารับประทานและปลอดสารพิษ ครอบครวั มีพืชผกั เพยี งพอต่อการบรโิ ภค
และมีความรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงมากขึน้ ทำให้มีความพึงพอใจในการจดั ทำกิจกรรมครงั้ น้ี
ผลการประเมนิ โครงการหลงั การดำเนินงานโดยรวมในด้านผลผลติ โดยรวมสรุปไดว้ ่า สมาชกิ
ท่เี ขา้ รว่ มโครงการนี้มีพื้นฐานในการเพาะปลกู สามารถนำความรทู้ ่ไี ด้ไปขยายพันธุ์เพม่ิ ได้โดยไมต่ ้องซื้อ
เมลด็ พันธุ์เพ่ิม ยังสามารถนำไปขายเปน็ การเพ่ิมรายไดใ้ ห้แก่ครอบครัวอีกทางเลือกหนึง่ สามารถนำไป
ตอ่ ยอดต่อไปในอนาคตได้ เพราะผูเ้ ข้าร่วมโครงการน้ีมีทักษะและการดูแลเอาใจใสใ่ นการปลูกผกั สวน
ครัว โดยไม่พ่งึ สารเคมใี นการปลูกผักแต่ใช้ปยุ๋ อินทรยี แ์ ทน สามารถดัดแปลงความรเู้ ดมิ ไปต่อยอดใน
อนาคตเพื่อให้เกดิ ความรใู้ หม่ๆข้นึ สามารถนำความรไู้ ปปรับใชใ้ นให้เหมาะสมตอ่ การเพาะปลูกพืชผกั
สวนครัว โดยการเพิ่มผลผลิตในการปลูกผกั ได้เพิ่มขึน้ ยงั สามารถดดั แปลงจากการปลูกผักเป็นการ
ปลูกต้นไมส้ วยงาม และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั ในโอกาสอ่ืนๆได้
2. ขอ้ เสนอแนะ
2.1 ข้อเสนอแนะสำหรับนำผลการประเมนิ ไปใช้ มดี ังนี้คอื
1. นำไปปรับปรงุ แก้ไขในขนั้ ตอนท่ผี ดิ พลาด
2. นำไปตอ่ ยอดในการพัฒนาโครงการในคร้ังตอ่ ไป
3. นำไปเปน็ แบบอยา่ งให้ผู้ทส่ี นใจศกึ ษาการปลูกผักสวนครัว
2.2 ขอ้ เสนอแนะสำหรบั หวั ข้อการประเมนิ ต่อไปคือ
1. ควรมกี ารทดลองปลกู พชื อยา่ งอ่นื รว่ มด้วย เพื่อศึกษาเปรยี บเทียบเพ่มิ เตมิ เพือ่ ให้ได้ข้อมูล
มากขนึ้
2. ในการปลูกคร้ังตอ่ ไป ควรขยายพ้ืนท่ีให้มากกวา่ เดิม เพ่ือเพิ่มผลิต
3. กระจายความรู้เกีย่ วกับการปลกู ผักสวนครวั สู่ชมุ ชน เพอื่ เปน็ การพฒั นาโครงการนต้ี อ่ ไป
45
บรรณานุกรม
สมาคมพัฒนาคุณภาพส่ิง. (2564). ผักบ้งุ จีน. ออนไลน์. จาก: https://adeq.or.th. สืบคน้ เมอ่ื
ตลุ าคม 2564.
JOM. (2564). ผกั บุ้งจนี . ออนไลน์. จาก: https://www.thai-thaifood.com. สืบค้นเมอื่ ตุลาคม
2564.
บา้ นจอมยุทธ. (2564). การดูแลรกั ษา ผกั บงุ้ จีน. ออนไลน์. จาก:
https://m.baanjomyut.com/library_5/agricultural_knowledge/vegetables_herbs/06_6.h
tml. สบื คน้ เมอื่ ตุลาคม 2564.
Puechkaset. (2564). พืชผักสวนครัว. ออนไลน์. จาก: https://puechkaset.com. สืบค้นเมื่อ
ตุลาคม 2564.
Unknown. (2564). พชื สวนครัว. ออนไลน์. จาก:
https://kanchanabunkaew.blogspot.com/2015/07/blog-post.html. สืบคน้ เมอ่ื ตุลาคม
2564.
Nongpaisirintra. (2564). พืชผกั สวนครวั . ออนไลน์. จาก:
https://tonzaza11.wordpress.com/author/nongpaisirintra/. สบื คน้ เม่อื ตลุ าคม 2564.
Bemler. (2564). ห ลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การป ระเมิน โครงการ . ออนไลน์ . จาก:
https://bemler.wordpress.com/author/bemler/. สืบค้นเมื่อ ตลุ าคม 2564.
ดร.ยุภ าพ ร เทพ สุริยานนท์ . (2564). แนวคิดการประเมินผลโครงการ . ออนไลน์ . จาก:
http://www.acn.ac.th/articles/mod/forum/discuss.php?d=146. สบื ค้นเมื่อ ตลุ าคม 2564.
อ นั น ต์ ศั ก ด์ิ ส ร้ า ง ค ำ . ( 2 5 6 4 ) . ท ฤ ษ ฎี ก า ร เ รี ย น รู้ . อ อ น ไ ล น์ . จ า ก :
https://sites.google.com/site/anansak2554/khxmul-phu-cad-tha. สืบคน้ เมือ่ ตุลาคม 2564.
มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ. (2564). แนวคิด “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”.
ออน ไลน์ . จาก: http://www.pidthong.org/philosophy.php#.YYz532 BBxPY. สื บ ค้ น เมื่ อ
ตลุ าคม 2564.
ธนั ยพร จารไุ พศาล. (2564). การบริหารเวลาอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Time Management).
ออนไลน์. จาก: https://www.workwithpassiontraining.com. สืบคน้ เมอื่ ตุลาคม 2564.
ครูประถม.คอม พัฒนาครูเพ่ือการศึกษาของเด็กไทย. (2564). CIPP Model การประเมินโครงการ
ตามแนวคิดของ สตัฟเฟิลบีม. ออนไลน์. จาก: https://www.krupatom.com/education_881.
สืบค้นเมอ่ื ตุลาคม 2564.
Thai Winner. (2564). PDCA คืออะไร – วงจรบริหารส่ีข้ันตอน 4 ขั้นตอน. ออนไลน์. จาก:
https://thaiwinner.com/pdca-cycle/. สืบค้นเม่ือ ตลุ าคม 2564.
46
ภาคผนวกเครอ่ื งมอื การประเมิน
47
แบบประเมนิ
โครงการผักบุ้งแปลงนอ้ ยปลอดสารพษิ (ผกั สวนครัว)
*******************************************************************
คำช้แี จง 1. แบบประเมนิ โครงการผักบุ้งแปลงนอ้ ยปลอดสารพิษ (ผักสวนครัว)มีจำนวน 3
ตอน ดงั น้ี
ตอนท่ี 1 ส่วนที่ 1 เป็นแบบสอบถามข้อมลู ทว่ั ไปของผูต้ อบแบบสมั ภาษณ์ ได้แก่
อายุ เพศ ของผู้ถูกสัมภาษณ์ โดยเปน็ แบบปลายเปิดใหเ้ ลือกตอบในชอ่ งท่ีกำหนด
ตอนที่ 2 เปน็ แบบสมั ภาษณ์ประเมินโครงการ โดยใช้แบบประเมนิ CIPP MODEL มี
4 ด้าน จำนวน 12 ขอ้ ดงั น้ี
1. สภาวะดา้ นแวดลอ้ ม ( Context ) จำนวน 3 ขอ้
2. ด้านปจั จัย ( Input ) จำนวน 3 ขอ้
3. ด้านกระบวนการ ( Process ) จำนวน 3 ข้อ
4. ดา้ นผลผลิต ( Product ) จำนวน 3 ขอ้
โดยในท้งั 4 ดา้ น ผู้ตอบสามารถเขยี นได้อย่างอิสระ
ตอนที่ 3 ปญั หาหรือข้อเสนอแนะเก่ียวกบั การดำเนนิ งานในการจัดทำโครงการ โดย
เปน็ แบบปลายเปิดให้เลือกเขียนบรรยายในการตอบ
2. วธิ ีการประเมินใหท้ ำเคร่อื งหมาย ลงในชอ่ งระดับการประเมนิ 5 ระดับ ดังนี้
คะแนน 5 หมายถงึ มีผลการดำเนนิ การในระดบั มากทส่ี ุด
คะแนน 4 หมายถึง มผี ลการดำเนนิ การในระดบั มาก
คะแนน 3 หมายถงึ มีผลการดำเนินการในระดบั ปานกลาง
คะแนน 2 หมายถึง มีผลการดำเนินการในระดับ นอ้ ย
คะแนน 1 หมายถงึ มีผลการดำเนินการในระดับ น้อยทส่ี ดุ
48
แบบประเมิน
โครงการผักบงุ้ แปลงน้อยปลอดสารพิษ (ผกั สวนครัว)
*******************************************************************
ตอนที่ 1 ข้อมลู ท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
เพศ ( ) ชาย ( ) หญงิ
อายุ ..... ปี
ตอนที่ 2 แบบสมั ภาษณป์ ระเมินโครงการผกั บุ้งแปลงน้อยปลอดสารพิษ (ผกั สวนครัว) โดยใช้
แบบประเมนิ CIPP MODEL มี 4 ด้าน จำนวน 12 ขอ้
ดา้ นที่ 1 การประเมนิ บริบทหรอื สภาพแวดล้อม
1. หลกั การ วัตถุประสงคข์ องโครงการมคี วามเหมาะสมและสอดคล้องกันหรือไม่
......................................................................................................................... .......................................
................................................................................................................................................................
......................................................... ................................................................................................ .......
2. การกำหนดเป้าหมายของโครงการมคี วามเหมาะสมหรือไม่
....................................................................................................................................................... .........
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
3. บรรยากาศในการดำเนินงานเหมาะสมหรอื ไม่
................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................... .......
............................................................................................................................ ....................................
ดา้ นที่ 2 การประเมินปจั จัยเบ้อื งตน้ ปจั จัยป้อน
4. จำนวนบุคลากรที่ร่วมดำเนินการโครงการ มีความเหมาะสมและเพียงพอหรือไมอ่ ย่างไร
.......................................................................................... ......................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................................................ ....
5. วัสดุอุปกรณต์ ่างๆ เพียงพอและเหมาะสมตอ่ การดำเนินโครงการหรอื ไม่อยา่ งไร
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
49
................................................................................................................................................................
6. อาคารสถานท่ีในการดำเนนิ โครงการมีความเหมาะสมและเพยี งพอหรอื ไม่อย่างไร
............................................................................................................................................ ....................
............................................................................................................... .................................................
.......................................................................................... ......................................................................
ด้านท่ี 3 การประเมินกระบวนการ
7. สภาพปญั หาและความต้องการในการพัฒนามคี วามเหมาะสมหรอื ไม่
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................... ......................................
8. กิจกรรมของโครงการมคี วามเหมาะสมหรอื ไม่
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
9. การประเมนิ ผลการดำเนนิ โครงการมคี วามเหมาะสมหรอื ไม่
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
........................................................................................................................... .....................................
ดา้ นที่ 4 การประเมินผลผลิต
10. สามารถนำความรู้จากการปฏิบตั ิไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันไดห้ รอื ไมอ่ ยา่ งไร
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
11. ผู้เขา้ ร่วมโครงการคดิ ว่า สามารถนำความรจู้ ากการทีป่ ฏบิ ตั ไิ ปตอ่ ยอดในอนาคตไดอ้ ย่างไร
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
12. จากการท่ีเข้าร่วมโครงการ ผูเ้ ข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ทไ่ี ด้ไปปรบั ใช้อย่างไร
50
.......................................................................................................................................... ......................
............................................................................................................. ...................................................
.......................................................................................... ......................................................................
ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ
.......................................................................................................................................................... ......
............................................................................................................................. ...................................
.......................................................................................................................... ......................................
ที่ รายการประเมิน ระดับการประเมิน ขอ้ สังเกตจาก
5 4 3 2 1 การประเมนิ
1 ด้านสภาวะแวดลอ้ ม
1.1 หลักการ วตั ถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายของ
โครงการมคี วามเหมาะสม และสอดคลอ้ งกนั
1.2 การกำหนดเปา้ หมาย วธิ ีการดำเนนิ การและ
ระยะเวลาดำเนินการมีความเหมาะสมและปฏิบตั ิ
จริงได้
1.3 การจดั บรรยากาศในการดำเนินงานเหมาะสม
และสอดคลอ้ งกับการดำเนนิ โครงการ
1.4 การประสานงานระหวา่ งบคุ ลากรทำให้เกิด
ความรว่ มมอื ในการดำเนนิ โครงการ
2 ด้านปัจจยั
2.1 มจี ำนวนบคุ ลากรท่รี ่วมดำเนนิ การโครงการ มี
ความเหมาะสมและเพยี งพอ
2.2 มคี ณะกรรมการดำเนนิ โครงการประกอบด้วย
ผบู้ ริหาร ครแู ละบุคลากรในชุมชน
2.3 มีงบประมาณสนบั สนุนจากหน่วยงานตน้ สังกัด
2.4 ได้รับงบประมาณสนับสนนุ จากชมุ ชน
บุคลากร หรือหน่วยงานเอกชน
2.5 มวี สั ดุอปุ กรณ์ เคร่ืองมือเครอื่ งใช้
51
ในการดำเนิน โครงการมเี พยี งพอ
2.6 อาคารสถานท่ี หอ้ งปฏบิ ัตงิ านตาม
โครงการมคี วามเหมาะสมและเพยี งพอ
3 ดา้ นกระบวนการ
3.1 การศกึ ษาสภาพปัญหาและความต้องการใน
การพฒั นา
3.2 การจดั ทำกรอบแนวคิดและกำหนดจดุ พัฒนา
ตามสภาพปัญหาและความต้องการ
3.3 การวางแผนดำเนินโครงการ
3.4 การปฏบิ ัตงิ านตามโครงการ
3.5 การดำเนนิ กจิ กรรมท่ีกำหนดในโครงการตาม
ข้นั ตอนทุกกิจกรรม
3.6 การนเิ ทศตดิ ตามกำกับการดำเนินโครงการ
ตามขน้ั ตอนที่กำหนดทุกระยะ
3.7 การประเมินผลการดำเนินโครงการ
3.8 การวเิ คราะห์และนำผลการประเมนิ มาพฒั นา
งานอย่างต่อเน่ือง
4 ด้านผลผลิต
4.1 ประสทิ ธภิ าพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ผู้จดั ทำโครงการ
4.1.1 การวางแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
4.1.2 การจัดทำแผนการจัดการเรยี นร้ตู ามขั้นตอน
โดยละเอียด และผ่านการตรวจรับรองจากผบู้ ริหาร
โรงเรียน
4.1.3 จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามแผนการเรียนรู้ที่
เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
4.1.4 ใชว้ ธิ กี ารจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ทห่ี ลากหลาย
โดยมกี ารบูรณาการเรยี นร้กู ลุ่มสาระตา่ งๆ
4.1.5 ใชส้ ่ืออุปกรณ์ประกอบการจดั กิจกรรมการ
เรยี นรมู้ ีความเหมาะสม ไดป้ ระโยชน์คุ้มค่าและ
ผูเ้ รยี นได้ใช้ส่ืออุปกรณ์อย่างทั่วถึง
52
4.1.6 บรรยากาศการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้เป็น
กันเอง อบอุน่ และครใู ห้ความเอาใจใส่ดูและผูเ้ รียน
อยา่ งท่วั ถึง
4.1.7 วัดและประเมินผลการจดั การเรียนรดู้ ำเนิน
ตามที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรทู้ ุกขน้ั ตอน
4.1.8 นำผลการประเมนิ มาพัฒนาการจดั กิจกรรม
การเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองและสมำ่ เสมอ
4.2 พฤติกรรมการเรียนร้ขู องผเู้ รียน
4.2.1 การมีส่วนรว่ มในการวางแผนการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้
4.2.2 การปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการเรยี นรู้ดว้ ยความสนใจ
และต้ังใจ
4.2.3 การมีสว่ นร่วมและมีโอกาสใชส้ ่ืออุปกรณ์การ
เรยี นรอู้ ยา่ งทั่วถึง
4.2.4 การมีปฏิสัมพนั ธ์ที่ดีต่อครูและเพื่อนนักเรียน
4.2.5 กลา้ แสดงออก ถาม และตอบคำถาม ในการ
เรยี นรูอ้ ย่างถูกต้องและมเี หตุผล
4.2.6 การมีสว่ นรว่ มเกี่ยวกับการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรตู้ ามความเหมาะสม
4.2.7 การสรุปและบันทึกผลการเรียนทุกครง้ั
4.2.8 ผเู้ รียนมคี วามกา้ วหนา้ ในการเรียนรเู้ พิ่มขนึ้
อย่างสม่ำเสมอ
4.3 คุณลักษณะทพ่ี ึ่งประสงค์ของผเู้ รยี น
4.3.1 ความมวี นิ ัยในตนเองและปฏบิ ัตติ ามระเบยี บ
ของโรงเรียน
4.3.2 มีความใฝร่ ู้ใฝ่เรียน ศึกษาค้นคว้าเพมิ่ เติม
ความร้อู ย่างสม่ำเสมอ
4.3.3 มคี วามเอื้ออาทร ใหค้ วามช่วยเหลอื ผอู้ น่ื เม่ือ
มีโอกาส
4.3.4 มคี วามเสียสละเพ่ือส่วนรวม
4.3.5 มีความเปน็ ประชาธปิ ไตย
53
4.3.6 ควบคุมตนเองได้เหมาะสมกบั วยั
4.3.7 มกี ระบวนการคิด ปฏบิ ตั ิจริงและนำไปใช้
ประโยชน์ได้
4.4 การอยรู่ ว่ มกับผูอ้ นื่ อย่างมคี วามสขุ
4.4.1 การมีรา่ งกายท่ีแข็งแรง
4.4.2 การมสี ขุ ภาพลานมัยดี
4.4.3 ความร่าเรงิ แจ่มใส
4.4.4 การมีจิตใจท่ีเขม้ แขง็
4.4.5 การมีความสุขในการเรยี นรแู้ ละการทำงาน
4.4.6 การมีมนุษยสมั พนั ธ์ท่ีดกี ารมีความรกั ต่อ
เพือ่ นมนษุ ย์และสรรพสิ่ง
4.4.7 การปลอดพ้นจากอบายมขุ
54
ภาคผนวกรูปภาพ
55