The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานผลการปฏิบัติงานครูผู้ช่วยครั้งที่ 2

แฟ้มประเมินครูผู้ช่วย-เตย

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานการเตรียมความพรอ้ มและการพัฒนาอยา่ งเข้มของครผู ูช้ ่วยครงั้ ท่ี 2
โรงเรยี นวัดหว้ ยพระ สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน สงั กัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

1. ขอ้ มูลผขู้ อรบั การประเมิน

1. ช่ือ นางสาวธาวนิ ี นามสกลุ กาจรฤทธิ์

2. เกดิ เมอื่ วันท่ี 25 เดือน มกราคม พ.ศ. 2540

3. ตาแหนง่ หน้าที่ในปจั จุบนั ตาแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย

สถานที่ทางาน โรงเรียนวดั ห้วยพระ

ตงั้ อยู่เลขที่ – หม่ทู ่ี 5 ถนน – ตาบล/แขวง นาพรุ

อาเภอ พระพรหม จงั หวัด นครศรธี รรมราช รหัสไปรษณยี ์ 80000

โทรศพั ท์ - โทรศัพทเ์ คลอ่ื นท่ี 098-0341695

โทรสาร - e-mail [email protected]

ใบอนญุ าตผปู้ ระกอบวชิ าชพี ครู เลขท่ี 63109000148381

2. ประวตั กิ ารศกึ ษา วิชาเอก/โท/สาขา ปที ่สี าเร็จ สถาบนั การศึกษา
วฒุ ิการศกึ ษา การศกึ ษา
ประถมศึกษา กศ.บ 2563 มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ
ปรญิ ญาตรี ศลิ ป์-คานวณ โรงเรยี นเบญจมราชูทิศ
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โครงการปกติ 2558 โรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ
มธั ยมศกึ ษาตอนต้น  โรงเรียนอนบุ าลนครศรธี รรมราช ณ
2555
ประถมศกึ ษา นครอทุ ศิ
2551

3. ประวัติการทางาน (ต้ังแตเ่ รมิ่ ปฏิบตั ิงานจนถึงปจั จบุ นั )

วัน เดือน ปี ตาแหนง่ สอนระดบั / ช้นั สถานท่ที างาน
โรงเรยี นวัดหว้ ยพระ
1 ตุลาคม 2563 ครูผู้ช่วย ประถมศึกษาปที ่ี 5-6

ความรู้ความสามารถพิเศษ

1. ด้านคอมพวิ เตอร์ ทกั ษะการตัดตอ่ รูปภาพ ตัดแต่งรูป และโปสเตอรป์ ระชาสมั พันธ์
เป็นอย่างดี

2. ด้านกีฬา ทกั ษะการเล่นแบดมนิ ตัน และเสิร์ฟบอร์ด

4. ประวัติการสอน
1. ปจั จบุ นั สอนระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 5-6
รายวชิ า ทกุ รายวชิ า สถานศกึ ษา โรงเรยี นวัดห้วยพระ
ตง้ั อยู่เลขที่ – หมูท่ ี่ 5 ถนน – ตาบล/แขวง นาพรุ
อาเภอ พระพรหม จงั หวดั นครศรีธรรมราช รหสั ไปรษณยี ์ 80000
โทรศพั ท์ - โทรศัพท์เคลื่อนท่ี -
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน สงั กดั กระทรวงศึกษาธิการ
e-mail [email protected]
ปฏิบตั ิหน้าที่รับราชการรวมเป็นเวลา 1 ปี

5. งานท่ไี ด้รับมอบหมาย/หน้าทีพ่ ิเศษ
นางสาวธาวินี กาจรฤทธิ์ รบั หนา้ ทีป่ ฏิบตั ิการสอนในระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 5

และ 6 ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ
(ภาษาอังกฤษ) สังคมศึกษา การงานอาชีพ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ)
และศลิ ปะ สอนเป็นครผู ู้ชว่ ยเหลอื การเรยี นการสอนโดยจากมลู นธิ กิ ารศึกษาทางไกลผ่าน
ดาวเทยี ม ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ และรบั ผดิ ชอบครูเวรประจาวนั พฤหัสบดี โรงเรียนวัดห้วย
พระ สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 ยดึ หลักการปฏิบตั ิตนเป็น
แบบอยา่ งให้แกศ่ ษิ ย์และปฏิบตั ิกับศิษย์ทุกคนโดยเทา่ เทยี มกัน เมื่อนกั เรียนมปี ญั หาหรอื ข้อ
สงสัยท้ังในเรอื่ งาการเรียน หรอื เรือ่ งทกั ษะชีวติ ก็เขา้ ไปชว่ ยเหลือแนะนาแก้ไขได้ตลอดเวลา
รบั ผิดชอบต่อหน้าทป่ี ฏิบัตกิ ารสอนอย่างตงั้ ใจ โดยสอดแทรกเทคนิคการเรยี นสอนที่แปลก
ใหม่โดยมงุ่ เน้นหลักการ Learning by doing ให้นักเรียนเรียนร้ดู ว้ ยตัวเอง มที ักษะที่เกิดขึ้น
จากการเรยี นรผู้ ่านประสบการณ์เพอื่ ใหน้ กั เรียนมคี วามรูแ้ ละมที ักษะการลงมอื ทาท่ีประจกั ษ์
ชดั อบรมสัง่ สอนศษิ ย์ดว้ ยความรกั ความเมตตา โดยยึดหลกั คุณธรรม จริยธรรมทค่ี รูผู้สอน
พงึ มีต่อศษิ ย์ ตดิ ตอ่ สัมพันธ์กบั ผู้ปกครองและชุมชนอย่างสม่าเสมอ เพอ่ื ใหก้ ารเรียนการสอน
ของนกั เรียนประสบผลสาเร็จไปได้ด้วยดี และได้รับหมอยหมายพเิ ศษตามระเบียบสานกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน วา่ ดว้ ยการบรหิ ารสถานศึกษา พ.ศ 2552 หน้าท่แี ละ
การบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา ดงั น้ี

1. งานดา้ นการจดั กิจกรรรมการเรียนการสอน

นางสาวธาวนิ ี กาจรฤทธิ์ ตาแหน่งครูผู้ชว่ ย ปฏิบัตกิ ารสอนระดบั ช้ัน

ประถมศึกษาปที ่ี 5-6 โรงเรยี นวดั ห้วยพระ สงั กัดสานักงานพ้นื ท่กี ารศกึ ษา

นครศรธี รรมราช เขต 1 ปฏิบตั ิการสอนในภาคเรียนท่ี 1/2563 ดงั น้ี

รายวชิ า ระดบั ชั้น

ภาษาไทย ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6

คณติ ศาสตร์ ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5 และ 6

ภาษาตา่ งประเทศ ระดับช้ันประถมศึกษาปที ่ี 5 และ 6

วิทยาศาสตร์ ระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 และ 6

สงั คมศึกษา ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5 และ 6

ประวตั ศิ าสตร์ ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5 และ 6

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 และ 6

สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6

ศิลปะ ระดับชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5 และ 6

มหี นา้ ทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบเก่ยี วกับการจัดการเรียนการสอน การส่งเสริมการ
เรยี นรู้ พฒั นาผู้เรียนปฏบิ ัตงิ านการตรวจสอบพัสดุ และรับผิดชอบฝาุ ยวชิ าการของสถานศกึ ษา
พฒั นาตนเองและวชิ าชีพประสานความร่วมมอื กับผู้ปกครอง บุคคลในชมุ ชนและสถานประกอบการ
เพอ่ื น่วมกันพฒั นาผู้เรยี น การบริการสังคมด้านวชิ าการและด้านวชิ าชพี ปฏิบตั ิหนา้ ทอ่ี ่นื ตามที่ไดร้ ับ
มอบหมาย โดยมีลกั ษณะงานที่ปฏบิ ัติดงั น้ี

1) ปฏิบตั งิ านเก่ยี วกับการจดั การเรียนการสอน และสง่ เสริมการเรยี นรขู้ องผูเ้ รียน
ดว้ ยวิธีทห่ี ลากหลายโดยเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั

2) จัดการอบรมสงั่ สอน และจัดกจิ กรรมเพื่อพฒั นาผ้เู รยี นให้มีคุณลกั ษณะทีพ่ งึ
ประสงค์

3) ปฏบิ ตั ิงานตาแหน่งหวั หน้าเจา้ หนา้ ทพี่ ัสดุ
4) ปฏิบัติงานตาแหน่งครปู ระจาช้ันในระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5 และ6
5) ปฏิบตั ิงานหัวหนา้ ฝาุ ยวิชาการ

ซ่ึงมีข้อปฏิบัติตนดังต่อไปนี้

1) มจี รรยาบรรณในการปฏบิ ัติงาน
2) มคี ณุ ธรรม จริยธรรม สจุ ริต ยุติธรรมและจริงใจการปฏิบัตหิ นา้ ที่
3) มีทักษะและเทคนคิ ในการถา่ ยทอดความรไู้ ด้อยา่ งเต็มความสามารถ
4) ไม่ดุดา่ ขู่เขน็ ใชค้ าพดู หยาบคาย เพ่อื บน่ั ทอนผู้อ่ืนในการปฏบิ ัติหนา้ ที่ ไม่

เหยียดหยามผอู้ ืน่ ด้วยการกระทาและวาจา ทงั้ ตอ่ หนา้ และลับหลงั ผอู้ ่นื
5) ใชถ้ อ้ ยคาที่สุภาพเรียบรอ้ ยแก่ผู้เรยี นอยา่ งเสมอต้นเสมอปลาย
6) ไมเ่ ลือกปฏบิ ัตกิ ารผูเ้ รียน ใหค้ วามรอู้ บรมสง่ั สอนดว้ ยความยตุ ิธรรม

เท่าเทยี ม
7) อบรมสงั่ สอนดว้ ยความเมตตา ช่วยเหลือ ชีแ้ นะ และแกไ้ ขให้แกศ่ ิษย์อย่างเต็ม

ใจและเตม็ ความสามารถ
8) ไมล่ ่วงเกนิ เรื่องสว่ นตวั และความเปน็ สว่ นตัวของผเู้ รียนในขณะเรียน
9) หมนั่ ตรวจความสะอาดดารสขุ ลกั ษณะอนามัยของผ้เู รียน ห้องเรยี นและ

กิจกรรมของผ้เู รยี น เพื่อสง่ เสริมการมีสขุ ลกั ษณะที่ดีของผูเ้ รยี น
10) ไมใ่ ช้คาพูดหรอื พฤตกิ รรมท่ีทาให้ผ้เู รียนรู้สกึ ท้อแท้ต่อการเรยี น ความร้สู ึกหรอื

การกระทาที่ทาให้ผู้เรียนร้สู ึกหดหู่ วิตกกังวลต่อการเรียน
11) ไมฉ่ กฉวยโอกาสในการล่วงเกินผเู้ รียนทัง้ ทางคาพดู และการกระทา หรือ

เรยี กใชผ้ ูเ้ รยี นเพ่อื แสวงหาประโยชน์สว่ นตน หรือทาส่งิ ใดเกนิ แก่อานาจท่ีตนพึง
มีต่อผูเ้ รยี น
12) ไมส่ บู บุหรี่ ดมื่ สุรา เสพสารเสพตดิ และอบายมุข
13) ไม่ทากิจกรรมการเรยี นการสอนอันเปน็ การรบกวนการทางานของคณุ ครูท่าน
อื่นในขณะปฏิบัตกิ ารสอน
14) ทางานดว้ ยความรกั ความสนุกสนาน ตรงตามความสนใจของผู้เรียน
15) ไม่ใชห้ รอื ใหค้ วามสนใจกบั โทรศพั ทม์ อื ถือในขณะสอนอันเป็นเร่อื งส่วนตัวไม่
เกีย่ วข้องกับกิจกรรมการเรียนการสอนในขณะสอน
16) รับฟังความคดิ เห็นของผู้เรยี นอยา่ งเปดิ กวา้ งและเปดิ ใจ รับฟังเสียงหรือความ
คดิ เหน็ ตา่ งของผ้เู รยี นและเพือ่ นรว่ มงาน
17) ไมเ่ อาความคิดเห็นหรือพฤติกรรมของตนเปน็ ใหญ่ ใหเ้ กยี รติซ่งึ กนั และกัน
18) มีกริยาทอี่ ่อนนอ้ ม ไมแ่ ขง็ กระดา้ งจนทนให้ผ้เู รียนรู้สกึ อดึ อัด
19) ต้งั ใจทางาน รว่ มมอื ลงแรงและปัญญาเพือ่ ภาพพจน์ท่ีดขี องโรงเรียน
20) ไมพ่ ูดจา หรอื ทาพฤติกรรมสร้างความแตกแยกใหก้ บั ผู้เรียนและโรงเรียน
21)สรา้ งความเชอื่ มัน่ ให้กับสถานศึกษาด้วยการถอื สัจจะ วาจา ไมห่ ลอกลวงผ้อู นื่ ให้
ไดร้ ับความเสยี หาย

22) ปรับปรุงแกไ้ ขในส่วนทผ่ี ดิ พลาด เพ่ือการเรียนรู้และการพฒั นาตนเอง
23) ยดึ มน่ั ในหลักการประชาธปิ ไตย ไมอ่ อกคาสัง่ หรือบงั คบั ผ้เู รยี นด้วยความเหน็

แก่ตัว
24) รักศกั ดิ์ศรีและเกยี รติของความเปน็ ครู
25) ตรงตอ่ เวลา ร้จู กั กาลเทศะ ไม่กระทาส่ิงใดอันขดั ตอ่ ความถกู ต้องบนพน้ื ฐานของสังคม
2.งานทป่ี รกึ ษา
นางสาวธาวินี กาจรฤทธ์ิ ตาแหน่งครูผูช้ ่วย รบั ผดิ ชอบการเรียนการสอนนักเรยี นระดบั ชัน้
ประถมศึกษาปีท่ี 5 และ 6 โรงเรียนวดั ห้วยพระ สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต1 ซ่ึงมี
หน้าท่ีดงั นี้
2.1 การดูแลและแกไ้ ขความประพฤติของนักเรยี น
ข้าพเจ้ารับผดิ ชอบหน้าทีใ่ นการดแู ล สังเกตพฤตกิ รรมของผเู้ รียนในขณะเรียนและปฏิบัตกิ ิจกรรม
ต่างๆในโรงเรยี น หากเห็นพฤตกิ รรมท่ีไม่เหมาะสมขา้ พเจา้ จะเข้าไปตกั เตือน แกไ้ ข ชี้แนะ และช่วยเหลอื ทันที
เพ่ือสรา้ งพฤติกรรมที่ดงี ามของผู้เรยี นตอ่ ไป

2.2 การจัดระบบช่วยเหลือนักเรียน
ขา้ พเจา้ ไดข้ อความร่วมมอื กับผปู้ กครองกรอกขอ้ มลู ประวัติของผู้เรียนในสมุดประจาตัว เพอื่ ทาการ
เกบ็ ขอ้ มูลพ้ืนฐานของผู้เรียน หากพบปัญหาของผู้เรยี น ข้าพเจ้ากพ็ รอ้ มจะเข้าไปช่วยเหลอื โดยทนั ที
นอกจากน้ันขา้ พเจา้ ยงั ออกเย่ยี มบ้านผู้เรียนในทีป่ รกึ ษา เพ่ือสรา้ งความสัมพนั ธท์ ่ีดกี บั ผูเ้ รยี นและทบี่ ้าน

2.3 การดแู ลกจิ กรรมเข้าแถวในภาคเช้า
ข้าพเจา้ รบั ผดิ ชอบครูเวรประจาวนั พฤหัสบดี ดว้ ยสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา
19 ข้าพเจา้ จึงคดั กรองผู้เรียนกอ่ นเข้าโรงเรียนโดยการวัดอณุ หภูมิ และล้างมอื ด้วยเจลล้างมอื กิจกรรมควบคมุ
แถวและกิจกรรมในภาคเช้า กจิ กรรม Homeroom ในคาบแรกของวันใหก้ บั นักเรียนทีป่ รึกษา พรอ้ มถามไถ่
ปัญหาพรอ้ มเขา้ ช้ีแนะโดยทันทีเพื่อเป็นการสรา้ งสัมพันธท์ ด่ี ีกับผูเ้ รยี น
กจิ กรรมเข้าแถวในภาคเช้าโดยนักเรยี นจะเปน็ ผูป้ ฏบิ ัตกิ จิ กรรม ข้าพเจ้ามีหนา้ ที่ควบคุมดูแล เพอื่ ฝกึ
ความมวี นิ ยั และความเปน็ ระเบยี บของผเู้ รยี นอยา่ งใกล้ชดิ หากผเู้ รยี นคนใดปฏิบตั ิดว้ ยความไม่ตัง้ ใจ ไม่
เรียบรอ้ ย ไมม่ ีวนิ ยั ขา้ พเจ้าก็จะรบี เข้าไปตกั เตอื นเพื่อเปน็ การสร้างวนิ ัยใหม่ให้เกิดขน้ึ กบั ผู้เรยี น

3. งานหน้าที่พิเศษ
3.1. ปฏิบตั ิตาแหนง่ หวั หน้าเจา้ หน้าท่งี านพัสดุ
3.2. ปฏิบัตหิ วั หนา้ ฝุายบรหิ ารงานวิชาการ

รายงานผลการปฏิบตั งิ านการเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเข้มของครูผูช้ ว่ ย ครัง้ ที่ 2
นางสาวธาวนิ ี กาจรฤทธิ์

โรงเรยี นวดั ห้วยพระ สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน สังกัด กระทรวงศึกษาธกิ าร

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------

องคป์ ระกอบที่ ๑ การประเมนิ ผลการปฏบิ ัตติ น

เกณฑ์การประเมิน บันทกึ ผลการปฏบิ ตั งิ าน หลกั ฐาน/แหลง่ ขอ้ มลู

๑.วินยั และการรักษาวินัย ข้าพเจ้าแสดงออกทางอารมณ์ กริยา  พฤตกิ รรม
 สอบสมั ภาษณค์ รู ผบู้ รหิ าร
ท่าทาง และการสอ่ื สารได้เหมาะสมกับ
๑.๑ การแสดงออกทางอารมณ์ กาลเทศะต่อผูเ้ รียน เชน่ การพูดจา
กริยา ท่าทาง และการส่ือสารได้ ไพเราะประพฤติปฏบิ ัตติ นเป็นแบบอย่าง
เหมาะสมกับกาลเทศะตอ่ ผู้เรียน ที่ดีแกล่ กู ศษิ ย์ ยึดหลักคาสอนทาง

พระพุทธศาสนาในการดาเนินชวี ิต

โดยหมั่นสวดมนต์และนง่ั สมาธทิ าจิตใจให้

สงบ เพอื่ ใหข้ ้าพเจ้าสามารถควบคุม

อารมณ์ของตนเองได้เป็นอย่างดี

๑.๒ การแสดงออกทางอารมณ์ ขา้ พเจ้าแสดงออกทางอารมณ์ กรยิ า  สมดุ ลงเวลาการปฏิบตั งิ าน
กริยา ทา่ ทาง และการส่อื สารได้
เหมาะสมกับกาลเทศะตอ่ ท่าทาง และการสอ่ื สารได้เหมาะสมกบั  สมดุ บันทกึ การเข้าสอน
ผบู้ ังคับบัญชาเพอ่ื นรว่ มงาน กาลเทศะต่อผบู้ ังคับบญั ชาเพ่ือนร่วมงาน  สอบสมั ภาษณค์ รู ผู้บริหาร
ผูป้ กครอง และบคุ คลอ่นื ผู้ปกครอง และบุคคลอ่ืน เช่น การพูดจา  พฤตกิ รรม
ไพเราะ มีสัมมาคารวะออ่ นน้อมถ่อม เชือ่

ฟังและปฏบิ ตั ติ ามคาสง่ั ของผู้บังคับบญั ชา

เกณฑก์ ารประเมนิ บนั ทกึ ผลการปฏบิ ัติงาน หลักฐาน/แหลง่ ข้อมลู
๑.๓ การมีเจตคติเชงิ บวกกับ
ประเทศชาติ ข้าพเจ้าปฏบิ ัติตนเปน็ ผู้มีคุณธรรม  สอบสัมภาษณ์ครู ผูบ้ ริหาร
จริยธรรม เพอื่ การเปน็ ครทู ีป่ ระกอบดว้ ย  พฤตกิ รรม
คุณงามและความดี ซง่ึ กระทาดว้ ยความ

สานกึ ในจติ ใจ เชน่ ความเสียสละ มีน้าใจ

ความเกรงใจ ความยุติธรรม ความเหน็ อก

เหน็ ใจ การมีมารยาททงี่ ดงาม ความรกั

และความเมตตาตอ่ ศิษย์

๑.๔ การปฏบิ ัตติ ามกฎ ระเบยี บ ขา้ พเจ้าปฏิบตั ิตนตามกฎหมาย  สอบสมั ภาษณค์ รู ผบู้ รหิ าร
หลกั เกณฑ์ท่ีเกย่ี วข้องกับความ ระเบียบแบบแผน หลกั เกณฑ์และวิธี  สังเกตพฤตกิ รรม
เปน็ ขา้ ราชการ ปฏิบตั ริ าชการ โดยเป็นบุคคลที่เคารพ
และปฏิบัตติ ามกฎหมาย รักษาระเบียบ
วินัยของทางราชการ กระทาตนเปน็
แบบอยา่ งท่ีดี มีหลกั ในการปฏบิ ัตหิ น้าท่ี
ของครูอย่างชัดเจนยุตธิ รรม

๑.๕ การปฏบิ ัตติ ามกฎ ระเบยี บ ข้าพเจ้าปฏบิ ัติตนตามกฎหมายและ  สรุปรายงานผลการเข้ารว่ ม
หลกั เกณฑ์ท่ีเกย่ี วขอ้ งกับความ กระทาตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ตนเองและ กิจกรรม
เปน็ ขา้ ราชการครู สงั คม โดยใชเ้ หตผุ ลและวิจารณญาณใน
การตัดสินใจเลือกปฏิบัตหิ น้าทที่ ไี่ ด้รบั  บันทกึ ข้อความรายงานผล
มอบหมาย จนบรรลุเปา้ หมายหนา้ ท่ี การเขา้ รว่ มกิจกรรม
ขา้ ราชการ ในฐานะเป็นพลเมอื งทด่ี ี ยดึ
มั่นในหลกั ศีลธรรมและคณุ ธรรมทาง
พระพุทธศาสนาในการชว่ ยเหลือผ้อู น่ื

เกณฑ์การประเมนิ บันทึกผลการปฏบิ ตั งิ าน หลักฐาน/แหลง่ ขอ้ มลู
๑.๖ การปฏบิ ัติตามกฎหมาย
ข้าพเจ้ารกั ษาวนิ ยั ทเ่ี ปน็ ขอ้ ห้ามและ  สมดุ ลงเวลาการปฏิบัติงาน

ข้อขอ้ ปฏบิ ตั ิอย่างเคร่งครดั อย่เู สมอ โดย  สมดุ บันทึกการเข้าสอน

ศึกษาพระราชบญั ญัติ ระเบยี บขา้ ราชการ  สอบสมั ภาษณค์ รู ผูบ้ รหิ าร

ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ.  พฤตกิ รรมการมาทางาน

๒๕๔๗ เพ่ือเตอื นตนมใิ หก้ ระทาความผิด อย่างสมา่ เสมอ
ทางวนิ ัยราชการ

๒. คณุ ธรรม จริยธรรม ขา้ พเจ้าปฏิบตั ิตนเป็นผ้มู ีคุณธรรม  พฤติกรรม
จริยธรรม เพือ่ การเป็นครทู ่ีประกอบด้วย
๒.๑ การปฏิบัติตนตามหลกั คุณงามและความดี ซ่งึ กระทาด้วยความ
ศาสนาที่นับถอื อย่างเคร่งครดั สานกึ ในจติ ใจ เชน่ มีการยึดหลักธรรม
พรหมวหิ าร ๔ คือ

๑. เมตตาต่อศษิ ย์ มีความรกั ศษิ ย์
ปรารถนาจะให้ศิษย์เปน็ สุข

๒. มีความกรุณาต่อศิษย์ ช่วยเหลือให้
คาแนะนา อบรมส่ังสอนให้ศิษย์ประพฤติ
ตนอย่างเหมาะสม และอยู่รว่ มกบั ผู้อนื่

อยา่ งเปน็ สุข

๓. มมี ุทิตาจติ คือมีความยินดเี สมอ

เม่ือศษิ ย์ได้ดี พรอ้ มกบั กล่าวยกยอ่ ง

ชมเชยในความสามารถของเขา

๔. มีอุเบกขา คอื มกี ารพยายามวาง

เฉยตอ่ บางพฤติกรรมก้าวรา้ วทศ่ี ษิ ย์แสดง

ออกมาโดยไมต่ ัง้ ใจ คือ ไม่โกรธตอบ

แตจ่ ะพยายามพดู เตือนดี ๆ ดว้ ยอารมณ์

และน้าเสียงปกติ

เกณฑก์ ารประเมิน บนั ทึกผลการปฏบิ ัติงาน หลกั ฐาน/แหลง่ ขอ้ มลู

๒.๒ การเข้ารว่ ม ส่งเสรมิ ขา้ พเจ้าดารงตนตามหลักธรรมทาง  สอบสมั ภาษณค์ รู ผู้บรหิ าร
สนับสนนุ ศาสนกจิ ของศาสนาที่ พระพุทธศาสนา และปฏิบัติตาม  สังเกตพฤติกรรม
นบั ถอื อย่างสม่าเสมอ ขนบธรรมเนยี มประเพณี ตลอดจน
ค่านิยมของสังคม ทาให้ข้าพเจ้าสามารถ
อยู่ร่วมกับผอู้ ื่นในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุข

๒.๓ การเหน็ ความสาคัญ เข้าร่วม ข้าพเจ้ามคี วามยินดีให้ความร่วมมอื  สอบสัมภาษณ์ครู ผู้บรหิ าร

สง่ เสริม สนบั สนุน เคารพ กับผูป้ กครองและชุมชนในกจิ กรรมตา่ ง ๆ  สังเกตพฤติกรรม

กิจกรรมท่แี สดงถงึ จารตี ท่ีชุมชนจัดขนึ้ เช่น วนั เข้าพรรษา วัน

ประเพณี วฒั นธรรมท้องถิน่ หรือ สาคัญทางพระพุทธศาสนา ฯลฯ

ชุมชน

๒.๔ การเหน็ ความสาคญั เขา้ รว่ ม ข้าพเจ้าเคารพธงชาตแิ ละร่วม  สอบสัมภาษณ์ครู ผู้บรหิ าร

สง่ เสริม สนับสนนุ กจิ กรรมท่ี พธิ กี รรมหนา้ เสาธงทกุ เชา้ มไิ ด้ขาด จน  สงั เกตพฤติกรรม

แสดงถึง จารตี ประเพณี เปน็ ท่ปี ระจักษแ์ ก่สายตาของนักเรียนและ

วัฒนธรรมของชาติ เพอื่ นร่วมงาน แตง่ กายชุดพืน้ เมืองรักษา

ขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย

๒.๕ การมจี ิตบริการและจติ ขา้ พเจ้าให้มีความเต็มใจที่จะ  สอบสมั ภาษณ์ครู ผบู้ ริหาร
สาธารณะ
ใหบ้ ริการแก่ผ้ปู กครองนักเรียนทม่ี าติดตอ่  สงั เกตพฤตกิ รรม
ราชการกบั ทางโรงเรยี นด้วยความเตม็ ใจ

และมีจิตอาสาในการร่วมงานกับทาง

ชุมชน

เกณฑก์ ารประเมิน บันทึกผลการปฏิบัติงาน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
๒.๖ การตอ่ ต้านการกระทาของ ขา้ พเจ้ายดึ มัน่ ในหลกั ธรรมคาสอน  สอบสมั ภาษณ์ครู ผ้บู รหิ าร
บคุ คลหรือกลุ่มบุคคลทส่ี ่งผลตอ่ ของพระพทุ ธศาสนาและเปน็ แบบอย่างที่  สงั เกตพฤติกรรม
ความม่นั คงของชาตหิ รือ ดีใหแ้ ก่ศษิ ย์ เพื่อนรว่ มงาน และบุคคลอ่นื
ผลกระทบเชิงลบต่อสังคม ๆ ดารงชพี ตามสายกลาง
โดยรวม

๓. จรรยาบรรณวิชาชีพครู ขา้ พเจา้ ปฏบิ ตั ติ นเหมาะสมกับความ  ภาพกิจกรรม

๓.๑ การพฒั นาวชิ าชพี และ เปน็ ครู ตามจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู และมี  บนั ทึกข้อความรายงานผล
บคุ ลิกภาพอย่างตอ่ เนื่อง
การพฒั นาตนจนเป็นที่ยอมรบั ใน การเข้าร่วมกจิ กรรม
สถานศกึ ษา ว่าเป็นผู้ทีป่ ระพฤติปฏิบตั ิตน  คาสงั่ ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่
ตามจรรยาบรรณวิชาชีพ  สอบสัมภาษณค์ รู ผูบ้ รหิ าร

๓.๒ การมวี สิ ยั ทศั น์ รู้และเข้าใจ ม่งุ หวงั ความเจรญิ กา้ วหน้าโดย  ภาพกิจกรรม
สนใจ ติดตามความเปล่ียนแปลง กาหนดเป้าหมายในการปฏบิ ตั ิงาน และ  สังเกตพฤตกิ รรม
ดา้ นวิทยาการ เศรษฐกิจ สงั คม การศกึ ษาต่อ โดยมีการติดตามข่าวการ
การเมอื งของไทย และนานาชาติ เคลอ่ื นไหวทางการศกึ ษาในเร่อื ง
ในปัจจุบัน ความก้าวหนา้ ในวชิ าชพี อยูเ่ สมอ เพอ่ื จะ
ได้นามาวางแผนและปรับตัว เพอ่ื
ความก้าวหน้าในวิชาชีพ

๓.๓ การไม่อาศยั วชิ าชพี แสวงหา ข้าพเจ้าเห็นคุณคา่ และความสาคัญ  สอบสมั ภาษณ์ครู ผบู้ ริหาร
ผลประโยชน์ทไ่ี ม่ถูกตอ้ ง ของการเป็นครทู ่ีดีอยู่เสมอ โดยมคี วาม นกั เรยี น ผ้ปู กครอง เพ่ือน
รกั และศรทั ธาในวิชาชพี ครู พงึ กระทาตน ร่วมงาน
ใหเ้ ป็นแบบอยา่ งท่ีดีต่อศิษย์ทงั้ ทางตรง
และทางออ้ ม  สงั เกตพฤตกิ รรม

๓.๔ การมุ่งม่นั ต่อการพฒั นา ข้าพเจ้ามุ่งม่นั ในการทางาน โดยไม่มี  สอบสมั ภาษณค์ รู ผู้บรหิ าร
ความรู้ความสามารถของผู้เรียน
ความย่อทอ้ ต่อปญั หาและอุปสรรคท่ี นักเรยี น ผปู้ กครอง เพ่ือน

เกิดขน้ึ เพ่อื ให้บรรลุเปา้ หมายทก่ี าหนดไว้ ร่วมงาน

 สังเกตพฤติกรรม

เกณฑก์ ารประเมนิ บนั ทึกผลการปฏิบตั ิงาน หลกั ฐาน/แหล่งขอ้ มลู
๓.๕ การใหค้ วามสาคญั ต่อการ
เขา้ ร่วม สง่ เสริม สนบั สนนุ ขา้ พเจ้าเข้าร่วมการประชุม/การอบรม  สรุปรายงานผลการเข้ารว่ ม
กจิ กรรมที่เกยี่ วข้องกับวิชาชีพครู
อยา่ งสมา่ เสมอ ความรู้ท่ีเกี่ยวข้องกบั การศกึ ษาอยูเ่ สมอ กจิ กรรมการอบรมตา่ ง ๆ

๓.๖ รัก เมตตา เอาใจใส่ เมือ่ เสร็จสิน้ การจดั กจิ กรรม ข้าพเจา้ ทา  ภาพกจิ กรรม
ช่วยเหลือ สง่ เสริม สนบั สนุน การบันทกึ และสรุปผลการเข้าร่วม  บันทึกขอ้ ความรายงานผลการ
ใหบ้ รกิ ารผูเ้ รียนทุกคน ด้วย กจิ กรรม นาความรู้ที่ไดร้ ับมาพฒั นา
ความเสมอภาค ตนเองและผู้เรียน และรายงานผลให้ เข้ารว่ มกิจกรรม

ผ้บู รหิ ารรบั ทราบอยู่เสมอ

ข้าพเจ้ามีความรกั และศรัทธาใน  สอบสัมภาษณ์ครู ผบู้ รหิ าร

วชิ าชพี ครู พึงกระทาตนใหเ้ ป็นแบบอย่าง นกั เรียน ผู้ปกครอง เพ่อื น

ทด่ี ีต่อศษิ ย์ทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม ร่วมงาน

สง่ เสรมิ สนบั สนุน ช่วยเหลือศิษย์เสมอมา  สังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์การประเมนิ บนั ทกึ ผลการปฏิบตั ิงาน หลักฐาน/แหล่งขอ้ มูล

๓.๗ การประพฤติปฏิบัตติ นเป็น ข้าพเจ้าดารงตนดว้ ยความสุภาพอ่อน  สอบสัมภาษณ์ครู ผู้บรหิ าร
ท่ียอมรบั ของผ้เู รยี น ผู้บรหิ าร น้อม สารวมในกริ ิยามารยาท และการ นกั เรียน ผู้ปกครอง เพื่อน
เพ่อื นรว่ มงาน ผปู้ กครอง ชุมชน แสดงออกด้วยปยิ วาจา แต่งกายสะอาด รว่ มงาน
เรียบรอ้ ย และถูกกาลเทศะ
 สังเกตพฤตกิ รรม

๓.๘ การไม่ปฏิบัติตนทีส่ ่งผลเชงิ ขา้ พเจ้าปฏบิ ตั ิตนตามจรรยาบรรณ  สอบสมั ภาษณ์ครู ผูบ้ รหิ าร
ลบตอ่ กายและใจของนักเรยี น วชิ าชีพครูอยา่ งเครง่ ครัด นกั เรียน ผู้ปกครอง เพอื่ น
รว่ มงาน
๓.๙ การทางานกับผู้อน่ื ได้โดยยดึ ขา้ พเจ้าปฏิบัตงิ านต่าง ๆ ทีท่ าง
หลักความสามคั คี เกื้อกลู ซง่ึ กนั โรงเรียนมอบหมาย ให้ความรว่ มมือกบั  สงั เกตพฤติกรรม
และกัน คณะครู ในการทากิจกรรมตา่ ง ๆ ทง้ั ใน

และนอกสถานศกึ ษาดว้ ยความเตม็ ใจ
 สอบสมั ภาษณ์ครู ผู้บรหิ าร
นกั เรียน ผปู้ กครอง เพ่อื น
รว่ มงาน

 สงั เกตพฤตกิ รรม

๓.๑๐ การใช้ความรู้ ขา้ พเจ้าต้ังใจปฏิบัติหน้าที่ในการ  สอบสัมภาษณค์ รู ผู้บริหาร
ความสามารถท่มี อี ยู่ นาใหเ้ กิด ถ่ายทอดความรู้ ทักษะที่ตนเองมใี หก้ ับ นักเรียน ผปู้ กครอง เพอ่ื น
ความเปลี่ยนแปลงในทางพัฒนา นักเรียนโดยมิไดป้ ิดบัง พยายามศกึ ษา ร่วมงาน
ให้กับผู้เรียน โรงเรียนหรอื ชุมชน คน้ คว้า หาความรู้เพ่มิ เติมเพือ่ พฒั นา
ในด้านใดดา้ นหน่งึ (ดา้ นการ ตนเอง ตดิ ตามขา่ วสาร และเข้าอบรม  สงั เกตพฤตกิ รรม
อนุรักษ์ศิลปวฒั นธรรม ภูมิ เทคนคิ ใหม่ๆ นามาช่วยพฒั นาการเรียน
ปัญญา และสงิ่ แวดล้อม) การสอน ใหก้ ับนักเรยี นเพ่อื ใหน้ ักเรียน
เปน็ บุคคลท่มี ีความรู้ ทกั ษะ และทันต่อ
เหตกุ ารณ์ สามารถนาความรู้ท่ไี ดไ้ ป
พฒั นาชมุ ชนและทอ้ งถ่ิน

เกณฑ์การประเมิน บันทึกผลการปฏิบตั ิงาน หลกั ฐาน/แหล่งขอ้ มูล

๓.๑๑ การยึดมั่นในการปกครอง ขา้ พเจ้ามีความจงรกั ภกั ดี ตอ่ สถาบนั  สอบสัมภาษณค์ รู ผ้บู รหิ าร
ระบอบประชาธิปไตยอนั มี ชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ ยดึ มนั่ นักเรยี น ผู้ปกครอง เพอ่ื น
พระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดย รว่ มงาน
มพี ระมหากษัตริย์เปน็ ประมขุ ประพฤติ  สังเกตพฤติกรรม
ตนให้เปน็ สมาชกิ ทด่ี ีของสังคมและมจี ติ

สาธารณะมีความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม โดย

ชว่ ยเหลือเพ่อื นร่วมงานโดยไม่หวงั

ผลประโยชนแ์ ละสิ่งตอบแทนใด ๆ ทัง้ สน้ิ

๔. การดารงชวี ิตตามหลัก ขา้ พเจ้าตระหนกั ถึงคณุ ค่าของการ  สอบสัมภาษณค์ รู ผู้บรหิ าร
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ดาเนินชวี ติ ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง ผูป้ กครอง เพอื่ นรว่ มงาน
และพยายามน้อมนาหลกั ปรชั ญาของ
๔.๑ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชวี ติ ประจาวัน  ภาพกจิ กรรม
เกย่ี วกับหลกั ปรชั ญาของ เพอ่ื ความผาสุกของตนเองในปัจจบุ ันและ
เศรษฐกิจพอเพยี ง อนาคต

เกณฑ์การประเมิน บันทึกผลการปฏิบัตงิ าน หลักฐาน/แหล่งข้อมลู
๔.๒ มกี ารนาหลกั ปรชั ญาของ ข้าพเจ้านาหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ  สอบสัมภาษณ์ครู ผู้บริหาร
เศรษฐกิจพอเพียงไปปรบั
ประยุกตใ์ ช้กับการจดั การเรยี นรู้ พอเพียงมาสอดแทรกในใบงานของ ผปู้ กครอง เพอ่ื นร่วมงาน
ในหอ้ งเรียน นักเรยี น พบวา่ นกั เรยี นมีความร้คู วาม  สังเกตพฤตกิ รรม
เขา้ ใจในหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง สามารถนาหลกั ของความ
พอเพียง คอื พอประมาณ มเี หตุผล มี
ภมู ิคมุ้ กนั ท่ดี ใี นตวั บนเงอ่ื นไขของความรู้
คู่คณุ ธรรม นักเรียนนาไปประยกุ ต์ใช้ใน
ชวี ติ ประจาวันได้

๔.๓ มกี ารนาหลักปรชั ญาของ ขา้ พเจ้าดาเนินชีวติ โดยยึดหลัก  สอบสัมภาษณ์ครู ผบู้ รหิ าร
เศรษฐกจิ พอเพียงไปปรับ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาเปน็ ผ้ปู กครอง เพือ่ นร่วมงาน
ประยุกต์ใชก้ ับภารกิจทไี่ ดร้ ับ แนวทางในการทางานใหม้ ปี ระสิทธิภาพ
มอบหมายอน่ื  สงั เกตพฤติกรรม

๔.๔ มีการนาหลกั ปรัชญาของ ข้าพเจา้ ดาเนนิ ชีวติ โดยยดึ หลักปรชั ญา  สอบสัมภาษณค์ รู ผู้บริหาร
เศรษฐกจิ พอเพยี งไปปรับ
ประยุกต์ใช้กบั การดารงชวี ติ ของ ของเศรษฐกิจพอเพยี งของในหลวง เป็น ผูป้ กครอง เพอ่ื นรว่ มงาน
ตนเอง
แนวทางในการดาเนนิ ชีวติ  สังเกตพฤติกรรม

๔.๕ เปน็ แบบอย่างในการนาหลกั ขา้ พเจ้าปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างทีด่ แี ก่  สอบสัมภาษณค์ รู ผู้บริหาร

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไป ลูกศิษย์ ใช้ชีวิตบนสายกลาง ยึดหลัก ผู้ปกครอง เพื่อนร่วมงาน

ปรับประยกุ ตใ์ ช้กบั ภารกจิ ต่าง ๆ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ในการ  สังเกตพฤตกิ รรม

หรอื การดารงชวี ติ ของตน ดาเนนิ ชีวติ และเปน็ ผู้ใฝ่รู้ ใฝ่เรยี น และใฝ่

พฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื ง

เกณฑก์ ารประเมนิ บันทกึ ผลการปฏิบตั งิ าน หลกั ฐาน/แหลง่ ข้อมูล

๕. จติ วิญญาณความเปน็ ครู ขา้ พเจ้าปฏิบัติหน้าท่ีท่ีไดร้ ับ  แผนการจดั การเรียนรู้
๕.๑ การเข้าสอนตรงเวลาและ
สอนเตม็ เวลา มอบหมายอย่างเต็มความสามารถ เต็ม  สอบสมั ภาษณค์ รู ผู้บริหาร

๕.๒ การตระหนักในความรแู้ ละ เวลา เอาใจใส่ต่อการปฏบิ ตั ิหน้าทอ่ี ย่าง  สงั เกตพฤติกรรม
ทักษะทถ่ี กู ต้องรวมถึงสิ่งที่ดี ๆ
ใหก้ บั ผเู้ รียน สมา่ เสมอ โดยมีการวางแผนการสอน  บนั ทึกการลงเวลามาปฏบิ ตั ริ าชการ

ล่วงหน้า จดั ทา และจัดหาส่ือ จดั กิจกรรม

โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ไมล่ ะท้งิ การ

สอนกลางคนั มกี ารปรับปรุงพฒั นางาน

การสอนอยเู่ สมอ

ข้าพเจ้ารแู้ ละตระหนกั ในหน้าท่ขี อง  สอบสัมภาษณค์ รู ผบู้ ริหาร

ครู ดงั น้ี ผ้ปู กครอง เพ่ือนรว่ มงาน

๕.๒.๑ งานสอน คอื มีการเตรียมการ  สังเกตพฤตกิ รรม
สอนและวางแผนการสอน

๕.๒.๒ งานครู คือ ครูต้องรับผิดชอบ

งานดา้ นต่าง ๆ เชน่ งานธรุ การ งาน

บริหาร งานบริการ และงานอนื่ ๆ ท่ที า

ให้องคก์ รกา้ วหน้า

๕.๒.๓ งานนกั ศึกษา คือ ใหเ้ วลาใน

การอบรม สง่ั สอน เมอื่ ศิษยต์ ้องการ

คาแนะนาหรอื การชว่ ยเหลือ

เกณฑก์ ารประเมนิ บนั ทึกผลการปฏิบัติงาน หลักฐาน/แหลง่ ข้อมลู

๕.๓ การสรา้ งความเสมอภาค ขา้ พเจ้าพยายามเรยี นร้แู ละศึกษา  การเยยี่ มบ้านนกั เรยี น
เปน็ ธรรมกับผูเ้ รียนทกุ คน
ผู้เรยี นเป็นรายบคุ คล เพอ่ื จะได้ทราบ  การศกึ ษานกั เรยี นเป็น

ความต้องการ สภาพสงั คม เศรษฐกิจ รายบุคคล

ครอบครัวของนักเรียนเปน็ รายบคุ คล แล้ว  สมั ภาษณ์นักเรียน

นาผลท่ไี ดไ้ ปใชใ้ นการจดั กิจกรรมการ

เรยี นการสอนใหเ้ หมาะสมกับผู้เรยี นเป็น

รายบุคคล ทาใหน้ ักเรยี นมีผลสมั ฤทธ์ิ

ทางการเรยี นท่ดี ีขึน้

๕.๔ การรู้จกั ใหอ้ ภยั ปราศจาก ขา้ พเจ้าต้งั ใจปฏิบตั ิหน้าท่ีในการ  สอบสัมภาษณ์ครู ผู้บริหาร
อคติ ช่วยเหลอื สง่ เสรมิ
สนับสนนุ ใหผ้ เู้ รียนประสบ ถา่ ยทอดความรู้ให้แกน่ กั เรยี น เพื่อให้ ผปู้ กครอง เพอื่ นร่วมงาน
ความสาเรจ็ ตามศักยภาพ ความ
สนใจหรือความต้ังใจ นกั เรยี นประสบความสาเร็จ ตามศักยภาพ  สงั เกตพฤติกรรม

ความสนใจหรือความตง้ั ใจ

๕.๕ การเป็นทพี่ ่งึ ให้กับผ้เู รียนได้ ขา้ พเจ้าเสียสละเวลาตนเอง มีความ  สอบสัมภาษณค์ รู ผบู้ ริหาร
ตลอดเวลา มุง่ มานะและคอยช่วยเหลือ เปน็ ที่ปรึกษา ผูป้ กครอง เพอื่ นรว่ มงาน
เกย่ี วกบั ปญั หาของผเู้ รียนในดา้ นต่าง ๆ
เปน็ กาลงั ใจและให้คาแนะนาเสมอมา  สังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์การประเมนิ บันทกึ ผลการปฏบิ ัตงิ าน หลักฐาน/แหล่งขอ้ มูล

๕.๖ การจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การ ข้าพเจ้าปฏิบัตหิ นา้ ท่ีด้วยจิตวญิ ญาณ  สอบสัมภาษณ์ครู ผู้บริหาร
ใฝร่ ู้ คน้ หา สร้างสรรค์ ถ่ายทอด เปน็ การทาหนา้ ที่ดว้ ยใจซ่งึ ทาให้เกดิ ความ ผปู้ กครอง เพ่ือนรว่ มงาน
ปลกู ฝังและเป็นแบบอยา่ งท่ดี ีของ รกั ศรัทธาและยดึ มั่นในอดุ มการณ์แห่ง  สงั เกตพฤตกิ รรม
ผู้เรยี น วิชาชพี มงุ่ มัน่ ทุ่มเทในการทางาน

ประพฤติตนเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ี เอาใจใส่

ดูแลและหวังดีตอ่ ศิษย์

๕.๗ การทมุ่ เทเสยี สละในการ ข้าพเจา้ อุทิศเวลาให้กับราชการ ไมว่ า่  สอบสมั ภาษณ์ครู ผบู้ รหิ าร
จัดการเรยี นรู้ให้กับผู้เรียน การสอนนน้ั จะอยใู่ นเวลาราชการหรอื ผปู้ กครอง เพ่ือนร่วมงาน
นอกเวลาราชการ จนกว่านกั เรยี นจะมี
ความรอู้ ย่างเต็มเปี่ยม เสียสละท้ังเวลา  สงั เกตพฤตกิ รรม
และทุนทรัพย์ เพื่อผลจะเกิดกบั นกั เรียน
และสงั คม

๖. จติ สานึกความรบั ผิดชอบใน ขา้ พเจ้าปฏิบัติตนดงั น้ี  สอบสัมภาษณค์ รู ผบู้ ริหาร
วิชาชพี ๖.๑.๑ มคี วามจงรักภักดี ต่อสถาบัน ผู้ปกครอง เพื่อนรว่ มงาน
ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์
๖.๑ การมเี จตคติเชงิ บวกกับ ๖.๑.๒ ยึดมั่นในการปกครองระบอบ  สงั เกตพฤติกรรม
วิชาชีพ ประชาธปิ ไตย โดยมีพระมหากษตั รยิ เ์ ป็น
ประมขุ

เกณฑก์ ารประเมิน บันทกึ ผลการปฏบิ ัตงิ าน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล

๖.๒ การมุ่งม่ัน ทุม่ เทในการ ขา้ พเจ้าพยายามศึกษาหา  สอบสัมภาษณค์ รู ผู้บริหาร
สร้างสรรค์ นวตั กรรมใหมๆ่ ความร้เู พ่มิ เตมิ อยเู่ สมอ จากแหล่งเรียนรู้ ผปู้ กครอง เพอ่ื นร่วมงาน
เพอ่ื ให้เกิดการพฒั นาวชิ าชีพและ ต่าง ๆ เชน่ หนังสอื สื่อส่งิ พิมพ์ โทรทัศน์
ใหส้ ังคมยอมรบั อินเทอรเ์ นต็ เป็นต้น เพอื่ นาความรมู้ า  สังเกตพฤตกิ รรม

ผลติ ส่ือการสอนและนามาพฒั นาวิชาชพี

ตอ่ ไป

๖.๓ ประพฤตปิ ฏิบตั ติ นในการ ข้าพเจ้าประพฤตติ นใหเ้ ปน็ สมาชกิ ท่ีดี  สอบสมั ภาษณ์ครู ผู้บรหิ าร
รกั ษาภาพลกั ษณ์ในวชิ าชีพ
ของสังคมและมีจิตสาธารณะมีความ ผ้ปู กครอง เพอ่ื นรว่ มงาน

รบั ผิดชอบตอ่ สังคม โดยชว่ ยเหลอื เพอ่ื น  สงั เกตพฤตกิ รรม

รว่ มงานโดยไมห่ วงั ผลประโยชนแ์ ละส่ิง

ตอบแทนใด ๆทั้งสิ้นยึดหลกั คณุ ธรรมและ

จรรยาบรรณวิชาชพี ในการยึดเหนย่ี ว

จิตใจในการปฏิบัตงิ าน

๖.๔ การปกป้อง ปอ้ งกนั มใิ หผ้ ู้ ขา้ พเจ้าคอยให้คาปรกึ ษาแนะนาผู้  สอบสมั ภาษณ์ครู ผบู้ รหิ าร

ร่วมวิชาชพี ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิในทาง ร่วมวิชาชีพให้ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนเปน็ ผปู้ กครอง เพ่ือนรว่ มงาน
ท่ีจะเกดิ ภาพลักษณเ์ ชงิ ลบตอ่ แบบอย่างท่ีดแี ละยดึ ม่ันปฏบิ ัติตนตาม  สังเกตพฤตกิ รรม
วชิ าชพี จรรยาบรรณวชิ าชพี ครูอย่างเครง่ ครัด

๖.๕ การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การ ขา้ พเจ้าปฏบิ ัติหนา้ ที่ดว้ ยใจซึ่งทาให้  สอบสัมภาษณค์ รู ผู้บริหาร

ใฝร่ ู้ ค้นหาสร้างสรรค์ ถ่ายทอด เกดิ ความรกั ศรัทธาและยดึ ม่ันใน ผู้ปกครอง เพือ่ นร่วมงาน

ปลกู ฝังและเปน็ แบบอย่างท่ดี ีของ อดุ มการณแ์ ห่งวชิ าชพี ม่งุ มั่น ทมุ่ เทใน  สังเกตพฤติกรรม

เพื่อนร่วมงานและสงั คม การทางาน ประพฤตติ นเป็นแบบอยา่ งทีด่ ี

ยอมรับฟงั ความคดิ เหน็ ของเพ่อื นร่วมงาน

และปรับปรุงในส่วนทีต่ นเองบกพร่อง

ให้ดีมากขึน้ กวา่ เดมิ



รายงานผลการปฏิบัตงิ านการเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเขม้ ของครูผชู้ ว่ ย ครงั้ ท่ี 2
นางสาวธาวินี กาจรฤทธ์ิ

โรงเรยี นวัดหว้ ยพระ สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน สังกดั กระทรวงศึกษาธกิ าร

องค์ประกอบที่ 2 การประเมินผลการปฏบิ ัติงาน

เกณฑ์การประเมิน บนั ทึกผลการปฏิบตั ิงาน หลกั ฐาน/แหล่งข้อมูล
1.การจัดการเรยี นการสอน การวเิ คราะห์มาตรฐานการเรียนรู้  แผนการจดั
1.1 การนาผลการวิเคราะห์ และตวั บง่ ชตี้ ามหลักสูตรการศกึ ษา และ
หลกั สูตร มาตรฐานการเรียนรู้ หลักสูตรสถานศกึ ษา ขา้ พเจ้าไดศ้ กึ ษา ประสบการณก์ ารเรียนรู้
และตัวชว้ี ัด หรอื ผลการเรยี นรู้ มา เพ่อื เตรยี มการสอนใหค้ รอบคลมุ เน้อื หา  หลักสูตรสถานศกึ ษา
ใชใ้ นการจัดทารายวชิ าและ และเพอื่ ใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น
ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ โดยไดจ้ ดั ทาแผนการจดั ประสบการณ์  แผนการจัด
การเรยี นร้แู บบมุ่งเนน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคัญ ประสบการณก์ ารเรียนรู้
1.2 การออกแบบการจดั การ และครอบคลมุ เนื้อหาทุกหน่วยการเรียน
เรยี นร้โู ดยเนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ การออกแบบการจัดการเรียนรู้  สื่อการสอน
เพ่ือให้ผ้เู รยี นมีความรู้ ทักษะ ข้าพเจ้าได้ศกึ ษามาตรฐานการเรียนรู้  ภาพการจดั การเรียน
คุณลกั ษณะประจาวชิ า และตัวบ่งช้ี เพอ่ื เตรยี มการสอนให้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ ครอบคลมุ เนอื้ หา และเพื่อให้เกดิ ผล การสอน
สมรรถนะท่สี าคัญตามหลักสตู ร สมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น โดยได้จัดทา  ภาพการเข้าร่วม
แผนการเรยี นแบบมงุ่ เน้นสมรรถนะครบ
และครอบคลุมเนอื้ หาทกุ หนว่ ยการเรยี น กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น
และผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวัง และจติ อาสา

เกณฑ์การประเมนิ บนั ทึกผลการปฏิบัติงาน หลกั ฐาน/แหลง่ ข้อมลู
1.3 การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ จัดการเรยี นรทู้ ่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั  นวัตกรรมเทคโนโลยี
อานวยความสะดวกในการเรยี นรู้ ผูเ้ รียนจะตอ้ งอาศยั กระบวนการ  สอ่ื การสอน
และส่งเสรมิ การเรยี นรู้ ดว้ ยวธิ ีการ เรยี นรู้ ท่หี ลากหลาย กระบวนการ  ภาพแสดงการจดั การเรียน
ทีห่ ลากหลายโดยเน้นผูเ้ รียนเป็น เรยี นรทู้ ่ีจาเป็นสาหรบั ผ้เู รียน อาทิ
สาคัญ กระบวนการเรียนรูแ้ บบบรู ณาการ การสอน
เรียนรจู้ ากประสบการณจ์ ริง
กระบวนการปฏบิ ัติ ลงมอื ทาจริง

1.4 การเลือกและใชส้ อื่ เทคโนโลยกี ารศึกษาทาใหก้ ารเรยี นการ  บันทึกหลังแผนการจดั การ
เทคโนโลยีและแหลง่ เรียนรู้ ที่ สอน มีความหมายมากขึน้ ทาใหผ้ เู้ รียน เรียนรู้
สอดคล้องกับกจิ กรรมการเรยี นรู้ สามารถเรียนได้กวา้ งขวาง เรียนได้เร็ว  แบบบันทึกพฤตกิ รรม
ขน้ึ ทาให้ผสู้ อนมีเวลาให้ผเู้ รียนมากขึน้  ภาพสื่อการสอนและ
1.5 การวดั และประเมนิ ผลการ
เรยี นรู้ ด้วยวธิ ีการทีห่ ลากหลาย เทคโนโลยี หน้าท่ี 36



การวดั และประเมนิ ผล หลงั จากท่ี  บนั ทึกหลงั แผนการจัดการ
ข้าพเจา้ ในจัดการเรยี นรู้ในหน่วยการ เรยี นรู้
เรียนรแู้ ต่ละหน่วยเสรจ็ สนิ้ แลว้ ข้าพเจ้า แบบบันทกึ พฤติกรรม
ไดท้ าการบนั ทกึ ผลการจดั การเรียนรูใ้ น  ภาพแสดงการวัดการประเมิน
แตล่ ะหน่วยไว้ท้ายแผนการจัดการเรยี นรู้ หนา้ ท่ี 36
และทาการศกึ ษาหาสาเหตุและปัญหาที่
เกิดข้นึ ในหนว่ ยน้นั ๆเพ่ือนามาปรับปรุง
พัฒนาการจดั การเรียนการสอนครัง้
ตอ่ ไป

1.6 คุณภาพของผเู้ รียน ไดแ้ ก่ การเรยี นรูข้ องผเู้ รยี นท่ีแสดงออกถงึ
1. ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของ
ผ้เู รยี น ความรู้ ความสามารถ ทักษะตาม  สือ่ การสอน
2. คณุ ลักษณะที่พง่ึ ประสงคข์ อง หลกั สูตรสถานศกึ ษา มสี มรรถนะที่  ผลงานของนักเรียน
ผู้เรียน สาคญั และคุณลกั ษณะ ท่ีพงึ ประสงค์  ภาพแสดงการวดั การประเมนิ

หน้าที่ 36

เกณฑก์ ารประเมนิ บันทกึ ผลการปฏบิ ตั ิงาน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล

2. การบรหิ ารจัดการชั้นเรยี น บรรยากาศในช้นั เรยี นเป็นสว่ นหนง่ึ ที่  สอบสัมภาษณ์ครู ผู้บรหิ าร

2.1 การจัดบรรยากาศที่สง่ เสรมิ สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรียนเกดิ ความสนใจใน ผู้ปกครอง เพ่ือนรว่ มงาน

การเรียนรู้ กระบวนการคดิ ทกั ษะ บทเรยี นและเกดิ แรงจงู ใจในการเรียนรู้  สภาพห้องเรยี น
ชวี ติ และพฒั นาผูเ้ รยี น เพิม่ มากข้ึน การสร้างบรรยากาศที่
อบอ่นุ ทีค่ รูให้ความเอ้อื อาทรต่อ  ปาู ยนเิ ทศ ผลงานของ
นักเรยี น นักเรยี น

2.2 การดาเนินการตามระบบดแู ล ขา้ พเจ้าจดั กจิ กรรมดูแลช่วยเหลอื  ภาพการออกเยีย่ มบา้ น

ชว่ ยเหลอื ผเู้ รียน โดยมกี ารศึกษา นกั เรยี น โดยการศกึ ษาและสารวจ นกั เรียน

และรวบรวมข้อมูลผเู้ รียน ตดิ ตามพฤติกรรมของผูเ้ รยี นเป็น  เอกสารโครงการชว่ ยเหลือ
นักเรยี นยากจนพิเศษ
รายบุคคลเพอ่ื แก้ปญั หาและพัฒนา รายบุคคล โดยการออกเยยี่ มบา้ น

ผูเ้ รยี น นักเรียน และดาเนนิ การชว่ ยเหลือ

นกั เรียนตามสภาพจรงิ

2.3 การอบรมบม่ นสิ ยั ใหผ้ ู้เรยี นมี การปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรมใหแ้ ก่  สมั ภาษณ์นกั เรยี น

คณุ ธรรม จริยธรรม คณุ ลกั ษณะ ผเู้ รียน ขา้ พเจ้าได้มีการปลูกฝงั  ภาพกิจกรรมการสอน
อันพึงประสงค์ และค่านยิ มท่ีดีงาม คณุ ธรรมจริยธรรมท่ีดีงามให้เกิดข้นึ กับ จรยิ ธรรม

ผเู้ รียน โดยมกี ารอบรมคณุ ธรรม

จริยธรรม การสอนมีการสอดแทรก

คุณธรรมจรยิ ธรรมใหเ้ กิดขน้ึ กับผเู้ รยี น

3.การพฒั นาตนเอง ข้าพเจา้ หม่นั ศึกษาและพัฒนาตนเองอยู่  บนั ทกึ ขอ้ ความรายงานผลการ
3.1 การพัฒนาตนเองเพอ่ื ใหม้ ี เสมอ รว่ มกจิ กรรมการฝกึ อบรมหรอื เข้าร่วมอบรม
ความรู้ ความสามารถ ทกั ษะดว้ ย กจิ กรรมการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้กบั เพอื่ น  เกียรติบตั รและภาพการเข้า
วิธกี ารตา่ งๆ อย่างเหมาะสม ครทู ั้งในและนอกโรงเรยี นอย่างต่อเน่ือง รว่ มอบรม

3.2 การมสี ว่ นรว่ มในชุมชนการ ขา้ พเจา้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และหา  สอบสัมภาษณ์ครู ผบู้ รหิ าร
เรยี นรู้ แนวทางในการแก้ไขปัญหารว่ มกันกับครู ผปู้ กครอง เพ่อื นรว่ มงาน
ผู้บริหาร ผู้ปกครอง เพ่อื นร่วมวชิ าชีพ  หนงั สือคาสง่ั

 ภาพกิจกรรม



เกณฑ์การประเมิน บันทึกผลการปฏบิ ตั ิงาน หลักฐาน/แหลง่ ขอ้ มลู
4. การทางานเปน็ ทมี
4.1 หลกั การทางานเปน็ ทีม การทางานเปน็ ทีม เป็นความรว่ มมอื  สอบสมั ภาษณค์ รู ผู้บรหิ าร
รว่ มใจ ของบคุ คล เพอื่ ทจี่ ะบรรลุ
4.2 การพัฒนาทมี งาน เปาู หมาย ข้าพเจ้าจึงยึดหลกั การทางาน ผูป้ กครอง เพอ่ื นรว่ มงาน
ตามโมเดล M2T ของสถานศกึ ษา  ภาพกิจกรรมร่วมจัด

นทิ รรศการงาน

ศิลปหัตถกรรม

 เกียรติบตั ร

การใช้และสร้างเครือข่ายทางวิชาการ  สอบสัมภาษณ์ครู ผบู้ ริหาร
ข้าพเจ้าไดเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมท่อี งค์กร ผู้ปกครอง เพอ่ื นร่วมงาน
วชิ าชีพทั้งภายในและภายนอกองคก์ าร  ภาพกิจกรรม
จดั ขนึ้ เพ่อื แลกเปลย่ี นเรียนรู้กับบคุ คลใน ภาพการเขา้ ร่วมประชุม
แวดวงอาชีพครแู ละแลกเปลี่ยนความรู้

และร่วมกันพัฒนาส่ือการเรียนรู้

ตลอดจนสร้างเครือขา่ ยการทางวิชาการ

ในรูปแบบชอ่ งทางต่างๆ เพอ่ื แลกเปลี่ยน

ความรู้ในระหวา่ งองคก์ ร

5. งานกิจกรรมตามภารกจิ ข้าพเจ้าได้รบั มอบหมายปฏบิ ตั ิหน้าที่  การปฏิบตั หิ นา้ ที่ในหนา้ ท่ี

บริหารงานของสถานศึกษา ดังนี้ พเิ ศษตาแหน่งเจา้ หนา้ ที่

5.1 มคี วามรคู้ วามเข้าใจภาระงาน 1. ตาแหนง่ หัวหนา้ เจ้าหนา้ ท่พี ัสดุ ตรวจสอบพสั ดุ

งานของสถานศึกษาเก่ียวกบั งาน 2. ปฏบิ ตั ิงานเกีย่ วกับการจัดระบบดูแล  คาส่ังแตง่ ตงั้ คณะกรรมการ
บรหิ ารทัว่ ไปหรืองานบรหิ าร ชว่ ยเหลือผเู้ รียน ดูแลระบบนกั เรียน  ภาพแสดงการปฏิบตั หิ นา้ ท่ี
วชิ าการงบประมาณหรอื งาน ยากจนและยากจนพเิ ศษ

บริหารทรพั ยากรบุคคล และมสี ่วน 3. หัวหน้าฝาุ ยบริหารงานบุคคล

ร่วมปฏิบัตงิ านท่ีได้รับมอบหมาย 4. หวั หนา้ ฝุายบรหิ ารงานวชิ าการ

ได้อยา่ งเหมาะสม 5. หัวหนา้ โครงการอาหารกลางวัน

เกณฑ์การประเมนิ บันทกึ ผลการปฏบิ ัตงิ าน หลกั ฐาน/แหล่งข้อมลู
6. การใชภ้ าษาและเทคโนโลยี
6.1 สามารถใชภ้ าษาและ ข้าพเจา้ ให้ความสาคญั เกย่ี วกบั การ  สอ่ื การสอน
เทคโนโลยีในการปฏิบัตงิ านตาม ใช้ภาษาท่ถี ูกตอ้ งและเหมาะสม และนา PowerPoint
หนา้ ที่และความรบั ผดิ ชอบ เทคโนโลยมี าให้ในการจัดการเรยี นการ
สอน เช่น ส่ือมัลติมีเดยี ส่อื การสอน  ส่ือมัลติมเี ดีย
PowerPoint ชว่ ยใหก้ ารเรยี นการสอน
เป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ผ้เู รยี น  ห้องสมุดออนไลน์โดยใช้
สามารถทาความเขา้ ใจและเหน็ ภาพได้ anyfilp
ชัดเจนและสามารถศึกษาได้อย่างรวด
รวมทงั้ นาเทคโนโลยีมาปรับใช้กับการ  การประเมินออนไลน์
ปฏิบตั ิงานนอกเหนืองานสอน เช่นการ
ประชาสัมพนั ธโ์ รงเรียน และการแสดง  การทาโปสเตอร์
งานระบบออนไลน์ ประชาสมั พันธ์โรงเรียน

ภาคผนวก

ภาพสะท้อนการปฏบิ ัตติ น

ข้าพเจา้ แสดงออกทางอารมณ์ กริยา ท่าทาง และการสื่อสารได้เหมาะสมกับกาลเทศะต่อผู้เรียน เช่น
การพดู จาไพเราะประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ลูกศิษย์ ยึดหลักคาสอนทางพระพุทธศาสนาในการ
ดาเนินชวี ติ โดยหมนั่ สวดมนต์และนงั่ สมาธทิ าจิตใจให้สงบ เพ่ือให้ข้าพเจ้าสามารถควบคุมอารมณ์ของตนเอง
ไดเ้ ป็นอย่างดี

๑. ด้านวนิ ัยและการรกั ษาวินัย

ปฏบิ ัตติ นตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผน หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติราชการ โดยเป็นบุคคลที่เคารพ
และปฏิบตั ติ ามกฎหมาย รักษาระเบยี บวนิ ยั ของทางราชการ กระทาตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีหลักในการปฏิบัติ
หนา้ ทข่ี องครอู ย่างชัดเจนยุติธรรม และปฏิบัติตนตามกฎหมายและกระทาตนให้เป็นประโยชน์ต่อตนเองและ
สงั คม โดยใชเ้ หตผุ ลและวจิ ารณญาณในการตัดสินใจเลือกปฏิบัติหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมาย จนบรรลุเปูาหมาย
หนา้ ท่ีข้าราชการ ในฐานะเป็นพลเมืองท่ดี ี



๒. ด้านคณุ ธรรม

ข้าพเจา้ พงึ ระลึกอยเู่ สมอว่าอาชีพครู มีหน้าท่ีมากกว่าการสอนในห้องเรียน นอกจากจะสอนให้ผู้เรียน
มีความรู้ในตาราแล้ว สิ่งที่ต้องสอนด้วย คือ วิชาการดารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างไรให้มีความสุขโดยไม่
เบียดเบียนผอู้ ืน่ ซง่ึ ก่อนท่ีจะสามารถสอนผู้อื่นไดน้ น้ั ตวั ขา้ พเจา้ เองก็ต้องสามารถปฏิบัติเช่นนั้นให้ได้ก่อน โดย
ข้าพเจ้าได้ยึดแนวทางการดารงชีวิตตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเพ่ือมาเป็นแนวทาง ข้อคิด คติ เพ่ือ
เตอื นตวั เองอยเู่ สมอ ดังนี้

ไตรลักษณ์ คอื ลักษณะทั่วไปของสงิ่ ทง้ั ปวง
1. อ นิ จ จ ต า ห รื อ อ นิ จ จั ง ค ว า ม ไ ม่ ค ง ที่ ไ ม่ เ ท่ี ย ง ไ ม่ ถ า ว ร ไ ม่ แ น่ น อ น
2. ทุ ก ข ต า ห รื อ ทุ ก ขั ง ส ภ า พ ที่ อ ยู่ ใ น ส ภ า ว ะ เ ดิ ม ไ ม่ ไ ด้ ต้ อ ง แ ป ร ป ร ว น ไ ป
3. อนตั ตา ความไม่ใช่ตัวตนแทจ้ ริง ไมอ่ ยูใ่ นอานาจบงั คับบัญชา ไมม่ ีใครเป็นเจ้าของ

ในเร่ืองไตรลักษณ์ พระพุทธศาสนาถอื วา่ เปน็ คาสอนสูงสดุ ซึ่งทกุ ส่งิ ในสากลจักรวาลล้วนเปน็ อนัตตาท้ังส้ิน
สงั คหวตั ถุ 4 คือ หลกั ธรรมท่เี ป็นเครื่องยึดเหนี่ยวนา้ ใจคน
1. ทาน การให้
2. ปยิ วาจา การกล่าวถอ้ ยคาไพเราะอ่อนหวาน
3. อัตถจริยา การบาเพญ็ ประโยชน์
4. สมานตั ตตา การประพฤติตนสม่าเสมอท้ังตอ่ หน้าและลับหลัง

ฆราวาสธรรม 4 คือ หลักธรรมสาหรบั ผู้ครองเรอื น ไดแ้ ก่
1. สัจจะ การมีความซอื่ ตรงตอ่ กัน
2. ทมะ การรจู้ ักขม่ จติ ของตน ไมห่ ุนหันพลันแลน่
3. ขนั ติ ความอดทนและใหอ้ ภยั
4. จาคะ การเสยี สละแบง่ ปนั ของตนแกค่ นท่คี วรแบง่ ปัน

อิทธิบาท คือ บาทฐานแห่งความสาเร็จ หมายถึง ส่ิงซึ่งมีคุณธรรม เคร่ืองให้ลุถึงความสาเร็จตามที่ตน
ประสงค์ ผู้หวังความสาเร็จในสิ่งใด ต้องทาตนให้สมบูรณ์ ด้วยส่ิงที่เรียกว่า อิทธิบาท ซ่ึงจาแนกไว้เป็น ๔
คอื

1. ฉนั ทะ ความพอใจรกั ใครใ่ นสง่ิ นัน้
2. วริ ิยะ ความพากเพยี รในสง่ิ นั้น
3. จิตตะ ความเอาใจใส่ฝักใฝุในสงิ่ นนั้
4. วมิ ังสา ความหม่นั สอดสอ่ งในเหตผุ ลของสิ่งนน้ั
ธรรม ๔ อย่างน้ี ย่อมเน่อื งกนั แตล่ ะอย่างๆ มหี น้าทเี่ ฉพาะของตน
ฉนั ทะ คือความพอใจ ในฐานะเปน็ สงิ่ ท่ี ตนถือวา่ ดีทสี่ ุด ท่ีมนุษย์เรา ควรจะได้ ขอ้ น้ี เปน็ กาลังใจ
อนั แรก ทท่ี าให้เกิด คุณธรรม ขอ้ ต่อไป ทกุ ข้อ

วิริยะ คือความพากเพียร หมายถึง การการะทาท่ีติดต่อ ไม่ขาดตอน เป็นระยะยาว จนประสบ
ความสาเร็จ คาน้ี มคี วามหมายของ ความกล้าหาญ เจืออย่ดู ว้ ย ส่วนหนง่ึ

จิตตะ หมายถึงความไม่ทอดทิ้ง ส่ิงนั้น ไปจากความรู้สึก ของตัว ทาส่ิงซึ่งเป็น วัตถุประสงค์ นั้นให้
เดน่ ชัด อยใู่ นใจเสมอ คาน้ี รวมความหมาย ของคาวา่ สมาธิ อยู่ดว้ ยอย่างเตม็ ที่

วิมังสา หมายถงึ ความสอดส่องใน เหตุและผล แหง่ ความสาเร็จ เกย่ี วกับเรอื่ งนน้ั ๆ ให้ลึกซ้ึงยิ่งๆ ข้ึนไป
ตลอดเวลา คานี้ รวมความหมาย ของคาวา่ ปัญญา ไวอ้ ยา่ งเต็มที่

อีกท้ังข้าพเจ้ามีความเช่ือเสมอว่าการประกอบอาชีพ “ครู” ซึ่งเป็นอาชีพที่มีลักษณะพิเศษแตกต่าง
จากอาชพี อ่ืน คือตอ้ งดารงตนเป็นแบบอย่างไดใ้ นทุกเร่อื ง ทั้งเรื่องงานและเร่ืองท่ีเก่ียวกับชีวิตส่วนตัว ข้าพเจ้า
จงึ ได้ปฏบิ ตั ิตนตามหลักพระพุทธศาสนาดังน้ี

- รักษาศลี หา้
- เขา้ วัด ฟังธรรมตามกาล
- รว่ มในกจิ กรรมวันสาคญั ทางศาสนาต่าง ๆ
- เวน้ จากการกระทาชวั่ ตา่ ง ๆ กระทาแตค่ วามดี
- ประพฤตติ นอยู่ในศลี ในธรรม
- ทาบุญตักบาตรในวันสาคญั ตา่ ง ๆ
- ประพฤติตนเป็นแบบอยา่ งทางศาสนา
- เคารพพ่อ แม่ ครู อาจารย์ และผมู้ ีพระคณุ
- กตญั ญูต่อผมู้ ีพระคณุ

จารีตประเพณีของสงั คม
จารีตประเพณี คือ ระเบยี บแบบแผนหรือแนวทางการประพฤติปฏิบัติที่สืบทอดกันมาช้านานและ

เปน็ ทีย่ อมรับของคนในสงั คม ซงึ่ แต่เดิมนนั้ กฎหมายกม็ ที ม่ี าหรือไดร้ บั แนวทางจากจารีตประเพณีเป็นทนุ เดิม
อยู่แลว้ มสี าระสาคัญ คือ

- ต้องเปน็ จารีตประเพณที ี่เปน็ ทย่ี อมรับและถือปฏบิ ตั ิของคนในสังคม
- จารตี ประเพณนี ั้นต้องไม่ขดั ต่อกฎหมายบ้านเมอื งหรอื ขดั ต่อความสงบเรียบร้อยของบ้านเมอื งหรือ
ศลี ธรรมอันดีทั้งหลายของคนในสังคม
- จารตี ประเพณนี น้ั ต้องเป็นจารีตประเพณีแห่งทอ้ งถิน่ ซง่ึ ความหมายของจารตี ประเพณแี ห่งท้องถิ่น
ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์นนั้ หมายถึง จารีตประเพณีของประเทศไทยเราน่นั เอง
- จารตี ประเพณีน้นั ตอ้ งมีเหตุผลและความเป็นธรรม
ข้าพเจ้าจงึ ได้ยึดถือปฏบิ ตั ิตามจารตี ประเพณีของสงั คมไทยอย่างเครง่ ครัด โดยได้ยดึ แนวทางการ
ปฏิบัตติ น ดงั น้ี
1. การเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว เม่ือเราอยู่ร่วมกันในครอบครัว สมาชิกทุกคนต่างก็มีบทบาทและ
หน้าท่ีทจ่ี ะตอ้ งปฏบิ ตั ิ

2. การเป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน เช่น ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบของชุมชน, เข้าร่วมกิจกรรมของ
ชมุ ชน เพือ่ ช่วยรกั ษาและเผยแพรว่ ัฒนธรรมประเพณีของชุมชนไว้, บาเพ็ญประโยชนต์ ่อชมุ ชน, ร่วมกนั อนรุ ักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมในชมุ ชน เปน็ ต้น

3. การเปน็ สมาชกิ ทีด่ ีของประเทศชาติและสังคมโลก
- เคารพกฎหมายและปฏิบตั ิตามกฎระเบยี บ ข้อบงั คบั ของสงั คม
- เป็นผู้มีเหตุผล และรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน ทุกคนย่อมมีอิสรเสรีภาพในการ

แลกเปล่ียนความคิดเห็นระหว่างกัน ซึ่งการรู้จักการใช้เหตุผลในการดาเนินงาน จะทาให้ช่วยประสาน
ความสัมพนั ธ์ ทาใหเ้ กดิ ความเข้าใจอันดีงามตอ่ กนั

- ยอมรับมตขิ องเสียงส่วนใหญ่ เมือ่ มีความขัดแย้งกันในการดาเนินกิจกรรมอันเกิดจากความ
คิดเห็นท่ีแตกตา่ งกัน และจาเป็นต้องตัดสินปัญหาด้วยการใช้เสียงข้างมากเข้าช่วย และมติส่วนใหญ่ตกลงว่า
อย่างไร ถงึ แมว้ า่ จะไม่ตรงกับความคดิ ของเรา เราก็ต้องปฏบิ ตั ิตาม เพราะเป็นมติของเสยี งส่วนใหญ่น้ันเป็นผู้มี
นา้ ใจประชาธิปไตย และเห็นแก่ประโยชนส์ ่วนรวม ผทู้ ม่ี คี วามเปน็ ประชาธิปไตยนน้ั จะต้องมีความเสียสละ ใน
เร่อื งทีจ่ าเปน็ เพ่อื ผลประโยชน์ของส่วนรวมและรักษาไว้ซ่ึงสังคมประชาธิปไตย เป็นการส่งผลต่อความม่ันคง
และความกา้ วหนา้ ขององค์กร ซง่ึ สดุ ท้ายแล้วผลประโยชนด์ งั กล่าวก็ย้อนกลบั มาสู่สมาชกิ ของสงั คม

- เคารพในสทิ ธิเสรภี าพของผู้อื่น เช่น บุคคลมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด แต่
ตอ้ งไมเ่ ปน็ การพูดแสดงความคดิ เหน็ ทใ่ี สร่ า้ ยผูอ้ ่ืนให้เสยี หาย

- มคี วามรบั ผิดชอบต่อตนเอง สงั คม ชมุ ชน ประเทศชาติ ในการอยู่ร่วมกันในสังคม ย่อมต้อง
มีการทางานเปน็ หมูค่ ณะ จงึ ตอ้ งมีการแบง่ หน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบในงานน้ันๆ ให้สมาชิกแต่ละคนนาไปปฏิบัติ
ตามทีไ่ ดร้ ับหมอบหมายไวอ้ ยา่ งเต็มท่ี

- มสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมการเมืองการปกครอง ในสังคมประชาธิปไตยน้ันสมาชิกทุกคนต้องมี
ส่วนร่วมในกิจกรรมการเมืองการปกครอง เช่น การเลือกตัง้ เปน็ ต้น

- มสี ว่ นรว่ มในการปอู งกนั แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง ช่วยสอดส่อง
พฤติกรรมม่วั สมุ ของเยาวชนในสถานบันเทิงต่างๆ ไม่หลงเช่ือข่าวลือ คากล่าวร้ายโจมตี ไม่มองผู้ท่ีไม่เห็นด้วย
กับเราเปน็ ศัตรู รวมถงึ สง่ เสริมสนับสนุนการแก้ไขปัญหาความขัดแยง้ ตา่ งๆ ดว้ ยสันติวิธี

- มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และปฏิบตั ิตนตามหลักธรรม ทุกคนควรมศี ลี ธรรมไวเ้ ปน็ หลักในการ
ควบคุมพฤติกรรมของบคุ คลใหด้ าเนนิ ไปอยา่ งเหมาะสม ถงึ แมจ้ ะไมม่ บี ทลงโทษใด ๆ ก็ตาม

คุณธรรม จรยิ ธรรม สาหรับข้าราชการครู
ข้าพเจา้ มีการประพฤตปิ ฏิบัตติ นเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ศษิ ย์ ซง่ึ ได้ปฏิบตั ิ ดังน้ี

1. การรกั ษาชือ่ เสยี ง เกียรติ ศกั ดิศ์ รี ของตาแหน่งหน้าทไ่ี ม่กระทาการอนั ไดช้ ่ือวา่ เปน็ ผูป้ ระพฤตชิ ัว่
2. การเป็นแบบอย่างที่ดี ข้าพเจา้ มีความเช่ือในเร่ือง “สอนด้วยการกระทาดกี วา่ สอนด้วยคาพดู ” เชน่
การไม่สบู บุหรี่ ดืม่ ของมึนเมา

- การมวี าจาอนั สภุ าพไพเราะ
- มีกริ ิยามารยาทแบบไทย คอื การออ่ นนอ้ มถ่อมตนการย้ิมทักทาย การไหว้

- การเคารพผอู้ าวโุ สกว่า
- การปฏิบตั ิตามหลักของพระพุทธศาสนา
- การตรงต่อเวลาและการนัดหมาย
- โต๊ะทางานเป็นระเบยี บเรียบร้อย จดั เอกสารเปน็ ระบบคน้ หาง่าย
- การแตง่ กายเหมาะสมกับอาชพี ครู
- การพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ วสิ ยั ทัศน์ และวชิ าชีพ
- รักษาสขุ ภาพอนามัยใหแ้ ข็งแรงอย่เู สมอ ไม่เสพส่ิงเสพตดิ มนึ เมา
- แต่งกายสะอาดเหมาะสมกับอาชีพครู
- มีหน้าตายม้ิ แย้มแจม่ ใส ไมเ่ ปน็ คนหงุดหงดิ
- พูดจาดว้ ยถอ่ ยคาไพเราะ จรงิ ใจ กลา่ วขอบคุณและขอโทษเสมอ
- เป็นนักอ่าน เพอื่ พฒั นาวิสัยทัศน์ท้ังด้านการศกึ ษา การเมือง การปกครองใหเ้ ปน็ คนทันสมัยอยเู่ สมอ
บทบาทหนา้ ทขี่ องข้าราชการในฐานะเป็นพลเมอื งทด่ี ี

มกี ารประพฤติปฏบิ ัติตนให้เป็นสมาชิกที่ดีของสังคมมีจิตสานึกสาธารณะ มีความรับผิดชอบต่อสังคม
และเสียสละประโยชน์ของตนเพ่ือสว่ นรวม ซ่งึ ขา้ พเจา้ ยดึ แนวทางปฏบิ ัติ ดังน้ี

- ปฏบิ ัติตามจารตี ประเพณขี องชุมชน
- ชว่ ยเหลืองานสว่ นรวมอย่างเต็มความสามารถ
- บริจาคทรพั ยช์ ว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัย และมูลนิธิตา่ ง ๆ
- อทุ ิศเวลาส่วนตัวชว่ ยงานส่วนรวม
- ประพฤติปฏบิ ตั ิตนตามหลกั พระพุทธศาสนา



๓.ด้านจรรยาบรรณวชิ าชพี

ข้าพเจ้ามีความรัก และศรัทธาในวิชาชีพครูเป็นอย่างยิ่ง จึงได้ปฏิบัติงานตามหน้าที่โดยยึดแนวทาง
ตามหลัก "มาตรฐานการปฏิบตั ิงานของครู 12 ขอ้ " ซง่ึ ผปู้ ระกอบวิชาชีพครู ต้องปฏิบัติงานตามมาตรฐานการ
ปฏบิ ัติงาน ดังต่อไปนี้

1. ปฏิบัตกิ ิจกรรมทางวชิ าการเกี่ยวกับการพัฒนาวชิ าชีพครูอย่เู สมอ

2. ตดั สินใจปฏิบัติกิจกรรมตา่ ง ๆ โดยคานงึ ถึงผลท่ีจะเกิดแกผ่ ู้เรียน

3. มงุ่ ม่ันพัฒนาผู้เรียนใหเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ

4. พฒั นาแผนการสอนใหส้ ามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง

5. พัฒนาส่อื การเรยี นการสอนให้มปี ระสิทธภิ าพอยู่เสมอ

6. จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน โดยเนน้ ผลถาวรท่ีเกิดแกผ่ ู้เรียน

7. รายงานผลการพฒั นาคุณภาพของผู้เรยี นได้อย่างมีระบบ

8. ปฏบิ ัติตนเป็นแบบอยา่ งท่ีดแี ก่ผู้เรียน

9. รว่ มมือกบั ผอู้ ่นื ในสถานศกึ ษาอยา่ งสรา้ งสรรค์

10. ร่วมมือกับผอู้ น่ื ในชมุ ชนอยา่ งสรา้ งสรรค์

11. แสวงหาและใช้ขอ้ มลู ข่าวสารในการพัฒนา

12. สร้างโอกาสให้ผู้เรยี นไดเ้ รียนรูใ้ นทกุ สถานการณ์

ข้าพเจ้ามีความรัก และศรัทธาในวิชาชีพครูเป็นอย่างยิ่ง จึงได้ปฏิบัติงานตามหน้าท่ีโดยยึดแนวทาง
ตามหลกั จรรยาบรรณวิชาชพี ครู ซ่ึงข้อบงั คับครุ สุ ภาวา่ ด้วยจรรยาบรรณของวิชาชพี พ.ศ. 2556 มดี ังนี้

จรรยาบรรณวชิ าชพี ครมู ี 5 ดา้ น 9 ขอ้
1. จรรยาบรรณต่อตนเอง

ข้อท่ี 1 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ
บคุ ลิกภาพ และวิสยั ทัศน์ ให้ทนั ตอ่ การพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอย่เู สมอ

2. จรรยาบรรณต่อวิชาชพี
ขอ้ ที่ 2 ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซ่ือสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ

และเป็นสมาชิกทีด่ ีขององค์กรวชิ าชพี จรรยาบรรณตอ่ ผูร้ ับบริการ
ข้อที่ 3 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้
กาลังใจแกศ่ ษิ ย์ และผรู้ บั บรกิ าร ตามบทบาทหน้าทโ่ี ดยเสมอหน้า
ข้อท่ี 4 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยท่ี

ถกู ต้อง ดีงามแก่ศิษย์ และผ้รู ับบรกิ าร ตามบทบาทหน้าท่ีอยา่ งเต็มความสามารถ ด้วยความบริสทุ ธิ์ใจ
ข้อท่ี 5 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี ท้ังทาง

กาย วาจา และจิตใจ
ข้อท่ี 6 ผ้ปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องไม่กระทาตนเป็นปฏิปกั ษต์ อ่ ความเจริญทางกาย

สตปิ ญั ญา จติ ใจ อารมณ์ และสงั คมของศษิ ย์ และผูร้ บั บริการ

ข้อที่ 7 ผ้ปู ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตอ้ งใหบ้ รกิ ารดว้ ยความจรงิ ใจและเสมอภาค โดยไม่
เรียกรับหรอื ยอมรบั ผลประโยชนจ์ ากการใช้ตาแหน่งหนา้ ทโ่ี ดยมิชอบ

4. จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวชิ าชีพ
ข้อที่ 8 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงช่วยเหลือเก้ือกูลซ่ึงกันและกันอย่างสร้างสรรค์

โดยยดึ ม่ันในระบบคุณธรรม สรา้ งความสามัคคีในหมู่คณะ
5. จรรยาบรรณต่อสงั คม
ข้อท่ี 9 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นาในการอนุรักษ์และ

พฒั นาเศรษฐกิจ สงั คม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ส่ิงแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม และ
ยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข



๔. การดารงชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่เหมาะสาหรับประชาชนในทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นใน

ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับประเทศ ดว้ ยการยึดหลัก ทางสายกลาง ในการการดาเนินชีวิตอย่าง

ถูกต้องเหมาะสม และสอดคล้องกับความเป็นจริงของเศรษฐกิจท่ีเป็นอยู่ ดังน้ันหากนามาประยุกต์ใช้ได้อย่าง

ถูกต้องย่อมส่งผลดีกับตัวเองและครอบครัวแน่นอน ข้าพเจ้าจึงตะหนักถึงความสาคัญของหลักปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 อยู่ตลอด และพึงระลึกเสมอว่าการน้อมนา

หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ นการดารงชีวิตนนั้ ต้องเป็นการปฏิบัติให้เห็นจริง และเกิดผลอย่างชัดเจน

อกี ทงั้ การประกอบวชิ าชพี ครนู ้นั การปฏบิ ัตติ นเป็นแบบอย่างต่อผเู้ รียนย่อมทาให้เกิดผลมากกว่าการสอนด้วย

คาพดู

ข้าพเจา้ จึงได้ร่วมกบั คณะครูในโรงเรียนพานักเรียนร่วมกันปลูกพืชผักสวนครัวในบริเวณโรงเรียนไว้

รบั ประทานเอง พร้อมทง้ั สอดแทรกความร้ตู ามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ ให้กบั นักเรยี น

หลักเศรษฐกิจพอเพียงไม่เพียงแต่ใช้ได้ดีสาหรับอาชีพเกษตรกรเท่านั้น แต่ยังใช้ได้กับทุกสาขาอาชีพ

โดยควรคานึงถึงความม่ันคงและย่งั ยืนมากกว่าการแสวงหาผลประโยชน์ ดงั นัน้ สงิ่ ทค่ี วรทาคอื ต้องมีความรอบ

รู้ในการประกอบอาชีพท่ีตนดาเนินการอยู่ และศึกษาข้อมูลข่าวสารอยู่ตลอดเวลา เพ่ือที่จะได้ทันต่อ

สถานการณ์และการเปล่ียนแปลงต่างๆ อีกท้ังมีความรอบคอบในการตัดสินใจจะได้ไม่เกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย

นอกจากน้ียงั ควรตอ้ งมคี ณุ ธรรมคอื มีความซ่ือสตั ย์สุจรติ ในการประกอบอาชีพ ไม่สร้างปัญหาให้กับสังคมและ

สง่ิ แวดล้อม สาคัญทส่ี ุดคอื ต้องมคี วามขยันหมัน่ เพียรดาเนินชีวิตอย่างอดทน อตุ สาหะ พัฒนาตนเองอยู่เสมอๆ

นน่ั เอง
อีกทง้ั ข้าพเจ้ามีความเช่อื เสมอว่าการประกอบอาชีพ “ครู” ซ่ึงเป็นอาชีพที่มีลักษณะพิเศษแตกต่างจาก

อาชีพอื่น คือต้องดารงตนเปน็ แบบอย่างไดใ้ นทุกเรอื่ ง ท้งั เร่ืองงานและเรือ่ งทเี่ กยี่ วกับชวี ติ ส่วนตัว ข้าพเจ้าจึงได้
ปฏิบตั ิตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี งดังนี้

- ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุมเฟือยในการดารงชีพอย่างจริงจัง ดัง
พระราชดารัสวา่ “ความเปน็ อยทู่ ่ีตอ้ งไม่ฟูุงเฟอู ต้องประหยัดไปในทางทถี่ กู ตอ้ ง”

- ยึดถอื การประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจรติ แมจ้ ะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการดารงชีพก็ตาม
ดังพระราชดารัสทีว่ า่ ความเจริญของคนท้ังหลาย ย่อมเกิดมาจากการประพฤติชอบและการหาเล้ียง
ชพี ชอบเปน็ หลักสาคญั

- ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์ และแข่งขันกันในทางการค้าขาย ประกอบอาชีพแบบต่อสู้กันอย่าง
รนุ แรงดังอดีต ซึง่ มพี ระราชดารัสเรื่องนว้ี า่ “ความสขุ ความเจรญิ อนั แท้จริงนัน้ หมายถงึ ความสุขความ
เจริญท่ีบุคคลแสวงหามาได้ด้วยความเป็นธรรมทั้งในเจตนา และการกระทา ไม่ใช่ได้มาด้วยความ
บังเอญิ หรือด้วยการแก่งแยง่ เบียดบงั มาจากผอู้ ่ืน”

- ไมห่ ยดุ นิง่ ท่ีจะหาทางให้ชีวติ หลดุ พ้นจากความทกุ ข์ยากคร้ังน้ี โดยต้องขวนขวายใฝุหาความรู้ให้เกิดมี
รายได้เพ่ิมพูนข้ึน จนถึงข้ันพอเพียงเป็นเปูาหมายสาคัญ พระราชดารัสตอนหน่ึงท่ีให้ความชัดเจนว่า
“การท่ีต้องการให้ทุกคนพยายามท่ีจะหาความรู้ และสร้างตนเองให้ม่ันคงนี้เพื่อตนเอง เพื่อที่จะให้

ตวั เองมีความเป็นอยู่ท่กี ้าวหน้า ท่ีมคี วามสขุ พอมพี อกิน เป็นข้ันหน่ึงและข้ันต่อไป ก็คือให้มีเกียรติว่า
ยืนได้ดว้ ยตนเอง”
- ปฏิบตั ติ นในแนวทางท่ีดีลดละสง่ิ ช่วั ใหห้ มดสิ้นไป ท้ังนีด้ ้วยสงั คมไทยทล่ี ม่ สลายลงในครั้งนี้ เพราะยังมี
บคุ คลจานวนมใิ ชน่ ้อยที่ดาเนนิ การโดยปราศจากละอายต่อแผ่นดิน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้
พระราชทานพระราโชวาท ว่า “พยายามไม่กอ่ ความชั่วให้เป็นเครื่องทาลายตัว ทาลายผู้อ่ืน พยายาม

ลดพยายามละความชว่ั ท่ีตวั เองมีอยู่ พยายามก่อความดใี หแ้ กต่ วั อยู่เสมอ พยายามรักษา และเพิ่มพูน
ความดีทมี่ ีอยูน่ ั้น ใหง้ อกงามสมบรู ณข์ ้ึน”
- ทาตนให้เป็นที่พึ่งตนเอง มีจิตสานึกที่ดี สร้างสรรค์ให้ตนเองและชาติโดยรวม มีจิตใจเอ้ืออาทร
ประนีประนอม เห็นประโยชน์สว่ นรวมเป็นทีต่ ั้ง
- ชว่ ยเหลอื เกอ้ื กูลกนั
- ใช้และจัดการทรัพยากรอย่างฉลาด พร้อมทั้งหาทางเพ่ิมมูลค่า โดยให้ยึดอยู่บนหลักการของความ
ย่งั ยนื
- เลือกใช้เทคโนโลยีเฉพาะทส่ี อดคล้องกับความต้องการ และสภาพแวดล้อม และพัฒนาเทคโนโลยีจาก

ภูมปิ ญั ญาของเราเอง

๕. จติ วญิ ญาณความเป็นครู

ข้าพเจ้าปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ เต็มเวลา เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติ

หน้าท่อี ย่างสมา่ เสมอ โดยมีการวางแผนการสอนล่วงหน้า จัดทา และจัดหาส่ือ จัดกิจกรรมโดยเน้นผู้เรียน

เปน็ สาคญั ไมล่ ะท้ิงการสอนกลางคนั มกี ารปรับปรงุ พฒั นางานการสอนอยเู่ สมอ

โลกเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเร็วในทกุ มิติ เป็นผลให้คนต้องปรับเปล่ียนตนเองไปด้วย สาหรับวิชาชีพครู
สังคมคาดหวังให้ครูปฏิบัติหน้าท่ีอย่างมืออาชีพ กล่าวคือ มีความรอบรู้ มีความสามารถและศักยภาพในด้าน
นวัตกรรมการสอน รักในอาชีพ และมีจิตวิญญาณความเป็นครู ในบรรดาคุณลักษณะ ของครูมืออาชีพ จิต
วิญญาณความเป็นครจู ัดวา่ เป็นคุณลักษณะที่สาคัญย่ิงทั้งน้ีเพราะการปฏิบัติหน้าที่ด้วยจิตวิญญาณเป็นการทา
หน้าที่ด้วยใจซึ่งทาให้เกิดความรัก ศรัทธาและยึดมั่นในอุดมการณ์แห่งวิชาชีพ มุ่งม่ัน ทุ่มเทในการทางาน
ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี เอาใจใส่ ดูแลและหวังดีต่อศิษย์ เมื่อครูทางานด้วยจิตวิญญาณความเป็นครู
แนน่ อนว่าศษิ ย์ซง่ึ เป็นผลผลติ ของครูย่อมมีคุณลักษณะตามท่ีสังคมต้องการ และครูท่ีทาเช่นน้ันก็จัดว่าเป็นครู
มอื อาชีพ ข้าพเจ้าจงึ ให้ความสาคญั กับคาวา่ “จิตวิญญาณความเป็นคร”ู เป็นอย่างมาก จึงได้พัฒนาตนเองและ
พยายามปฏิบัตติ นให้ใกล้เคยี งกับคาวา่ ครมู ืออาชพี มากท่ีสุด โดยยึดแนวทางการปฏบิ ัตติ น ดังนี้
การปฏบิ ัติตนต่อผ้เู รยี น

- ห้ความเปน็ ธรรมกบั นักเรียนทุกคน
- ใหค้ วามเอาใจใสน่ ักเรยี นอยา่ งสมา่ เสมอ
- ปลูกฝังคณุ ธรรมให้เรียน
- แจง้ ผลการสอบและให้นกั เรยี นตรวจสอบคะแนนอย่างไมม่ กี ารปดิ บงั
- ใหค้ วามรักและเมตตาแกน่ ักเรียนทกุ คนโดยเท่าเทียมกัน
- ตรงตอ่ เวลาทุกเรื่องไม่วา่ จะเปน็ เรอื่ งการสอนหรือการนดั หมาย
- เห็นงานสอนเป็นงานสาคญั อันดบั ท่ี 1
- เนน้ สอนให้นกั เรยี นทกุ คนเปน็ คนดี มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม จริยธรรมรบั ฟังความคดิ เห็นของ

นกั เรียนแล้วนามาปรบั ปรงุ และพฒั นางานสอนต่อไป

การปฏิบตั ติ นตามกฎหมาย
- ปฏิบตั ิตนตามหลกั คาสอนของพระพทุ ธศาสนา
- มาทางานกอ่ นเวลาราชการ
- แตง่ กายเป็นแบบอย่างทด่ี ีให้กับนกั เรียนตามทีโ่ รงเรียนกาหนด
- ปฏิบตั ติ ามคาส่ังของผบู้ ังคบั บญั ชาทีช่ อบด้วยกฎหมายอย่างเคร่งครัดไมส่ ร้างความเสอ่ื มเสียเกียรติ
และชือ่ เสยี งของความเปน็ ครู

ผลของการมีจิตวิญญาณความเปน็ ครู
การมีจติ วิญญาณความเป็นครจู ะก่อใหเ้ กิดผลต่อตัวครู ดังตอ่ ไปนี้
1) ช่วยพัฒนาหรอื ยกระดบั ความคดิ และทักษะทจ่ี าเป็นในการสอน
2) มีศีลธรรม คณุ ธรรม และมคี วามรบั ผดิ ชอบมากขน้ึ
3) มีความยืดหยนุ่ และเขา้ ใจในความเปล่ยี นแปลงมากข้ึน

4) มองนักเรียนว่ามีศกั ด์ศิ รีความเปน็ มนษุ ยแ์ ละมศี กั ยภาพ
5) มีแรงจงู ใจใหแ้ สดงภาวะผู้นาออกมาเพม่ิ ข้นึ

6) มคี วามสขุ และมคี วามภาคภูมิใจในอาชีพครู
7) ไดร้ ับการยอมรบั และความศรัทธาจากผพู้ บเห็น

๖. จิตสานึกความรับผิดชอบในวิชาชีพครู

ข้าพเจ้ามีความเชื่อเสมอว่าการประกอบอาชีพ “ครู” ซึ่งเป็นอาชีพที่มีลักษณะพิเศษแตกต่างจาก

อาชพี อื่น คอื ต้องดารงตนเป็นแบบอยา่ งได้ในทกุ เรื่องทัง้ เรอ่ื งงานและเรื่องที่เก่ียวกับชีวิตส่วนตัว ดังนั้นการจะ

ดาเนินกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทงั้ ในหรอื นอกห้องเรยี นตอ้ งพงึ ระลกึ เสมอว่าเราอยู่ในสถานะใดต้องประพฤติปฏิบัติตน

อย่างไรจึงจะเป็นแบบอย่างท่ีดีให้กับลูกศิษย์ได้ ข้าพเจ้าจึงได้ยึดแนวทางการปฏิบัติตนและปฏิบัติกิจกรร ม

ตา่ งๆ ต่อผ้เู รียน ดงั นี้

1. สอนศษิ ย์ให้เกิดความสามารถในการเรียนรูใ้ นวชิ าการตา่ ง ๆ ให้มากท่ีสุดเทา่ ท่ีครจู ะกระทาได้

2. สอนใหน้ กั เรียนหรือศิษยข์ องตนมคี วามสุขเพลิดเพลินกบั การเล่าเรียนไม่เบอื่ หนา่ ย อยากจะเรยี น

อยเู่ สมอ

3. อบรมดูแลความประพฤติของศษิ ย์ใหอ้ ยู่ในระเบียบวินัยหรอื กรอบของคุณธรรม ไม่ปลอ่ ยใหศ้ ิษย์

กระทาช่ัวดว้ ยประการทงั้ ปวง

4. ดูแลความทกุ ข์สขุ อยู่เสมอ

5. เปน็ ทปี่ รกึ ษาหารอื ช่วยแก้ปัญหาตา่ ง ๆ ใหแ้ ก่ศษิ ย์

6. ครูเป็นผู้ท่ีสามารถให้ทางแหง่ ความรอดแกศ่ ษิ ย์ ความรอดมอี ย่สู องทาง คอื ทางรอดทางกายและ
ทางรอดทางใจ

7. ครตู ้องสามารถดารงความเปน็ ครูอยู่ได้ทุกอริ ิยาบถ
8. ครตู ้องสามารถเปน็ ตวั อย่างตามคาสอนแก่ศิษย์ สอนอย่างไรทาอยา่ งน้ัน
9. ตงั้ ใจสั่งสอนศษิ ย์และปฏิบตั ิหน้าท่ใี หเ้ กิดผลดดี ้วยความเอาใจใส่
10. อทุ ศิ เวลาของตนให้แก่ศิษย์ จะละท้ิงหรือทอดทิ้งหนา้ ทีก่ ารงานมิได้
11. ถ่ายทอดวชิ าความรโู้ ดยไมบ่ ิดเบือนและปดิ บังอาพราง ไมน่ าหรือยอมใหน้ าผลงานทางวิชาการ
ของตนไปใชใ้ นทางทุจริตหรอื เปน็ ภัยตอ่ ศษิ ย์
12. สภุ าพเรยี บร้อย ประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดแี ก่ศษิ ย์
13. รกั ษาความลบั ของศิษย์
14. ครูต้องรักและเมตตาศิษย์โดยให้ความเอาใจใส่ชว่ ยเหลือสง่ เสริมให้กาลงั ใจในการศึกษาเล่าเรยี น
แก่ศษิ ยโ์ ดยเสมอหน้า
15. ครูต้องอบรม ส่งั สอน ฝึกฝน สรา้ งเสรมิ ความรู้ ทักษะและนสิ ัยทถ่ี กู ตอ้ งดีงามให้เกดิ แกศ่ ษิ ยอ์ ย่าง
เตม็ ความสามารถ ดว้ ยความบริสุทธ์ิใจ
16. ครูตอ้ งประพฤติ ปฏิบตั เิ ป็นแบบอย่างท่ดี แี ก่ศิษยท์ ง้ั ทางกายวาจาและจติ ใจ
17. ครูตอ้ งไมก่ ระทาตนเป็นปฏปิ กั ษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จติ ใจ อารมณ์และสงั คมของ
ศษิ ย์
18. ครูต้องไมแ่ สวงหาประโยชน์อันเปน็ อามสิ สินจา้ งจากศิษย์ในการปฏิบัตหิ น้าท่ีตามปกตแิ ละไมใ่ ช้
ใหศ้ ิษย์กระทาการใดๆ อันเปน็ การหาประโยชน์ให้แกต่ นโดยมิชอบ
นอกจากน้ี หลังจากดื่มนมเสร็จกอ่ นจะเริม่ เรยี นวิชาแรกในทุกๆวัน ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สนทนา

เกย่ี วกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ทเี่ กิดขึน้ เม่ือวานทัง้ ท่โี รงเรยี นและทีบ่ า้ นของนักเรียน เพ่ือเปน็ การลดช่องวา่ งระหวา่ ง

ครกู บั นักเรียนหรอื ตัวนักเรยี นกับเพ่อื นในห้อง และยังเปน็ การสรา้ งสมั พนั ธ์ทด่ี ี ส่งผลใหเ้ กิดบรรยากาศการ

เรียนร้ทู ดี่ ตี ามมาด้วย

กิจกรรมเสริมสรา้ งจติ สานึก ความรับผิดชอบต่อวชิ าชพี ครู

ในการประกอบวชิ าชีพครู โดยทวั่ ไปจะเป็นการทางานเป็นทีมในสถานศึกษาท่ีจัดตั้งขึ้น ฉะน้ันหน้าที่
และความรับผิดชอบของครจู ะตอ้ งมีตอ่ ตนเอง และเพ่อื นร่วมงานทงั้ ในระดบั ผ้บู งั คับบัญชา และบุคลากรอื่น ๆ
ในสถานศึกษา ซง่ึ ข้าพเจา้ ยึดแนวทางการปฏิบัติ ดังน้ี

1. ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลครูด้วยกันในทางสร้างสรรค์ เช่น การแนะนาแหล่งวิทยาการให้กัน
แลกเปลยี่ นประสบการณ์ทางวชิ าชพี ซงึ่ กนั และกนั

2. รักษาความสามคั ครี ะหวา่ งครู และชว่ ยเหลือซึ่งกันและกนั ในหน้าที่การงาน ไม่แบ่งพรรคแบ่งพวก
คิดทาลายกล่ันแกล้งซง่ึ กนั และกนั เตม็ ใจชว่ ยเหลือเม่ือเพื่อนครูขอความช่วยเหลือ เช่น เป็นวิทยากรให้แก่กัน
ช่วยงานเวรหรืองานพเิ ศษซ่งึ กนั และกนั

3. ไม่แอบอ้างหรือนาผลงานทางวิชาการของเพื่อนครูมาเป็นของตนทั้งยังต้องช่วยเหลือให้เพื่อนครู
อ่นื ๆ ได้สร้างสรรค์งานวชิ าการอยา่ งเต็มความสามารถดว้ ย

4. ประพฤติตนด้วยความสภุ าพ อ่อนนอ้ มถ่อมตน และใหเ้ กยี รตซิ ่ึงกนั และกนั ไมว่ ่าจะสงั กดั
หนว่ ยงานใด

5. ปฏิบัติตามระเบียบ และแบบธรรมเนียมอันดีงามของสถานศึกษาปฏิบัติตามคาสั่งของ
ผ้บู งั คบั บญั ชาซง่ึ สง่ั โดยชอบด้วยกฎหมาย และระเบียบแบบแผนของสถานศึกษา

6. รักษาชื่อเสียงของตนไม่ให้ขึ้นช่ือว่าประพฤติช่ัวไม่กระทาการใดๆ อันอาจทาให้เส่ือมเสียเกียรติ
ศกั ดิแ์ ละชือ่ เสยี งของครู

7. ประพฤตติ นอยใู่ นความซอ่ื สัตยส์ ุจริต และปฏิบตั หิ น้าทด่ี ้วยความเท่ยี งธรรมไม่แสวงหาประโยชน์
สาหรับตนเองหรือผ้อู ่ืนโดยมิชอบ

8. ครยู ่อมพัฒนาตนเองทัง้ ในด้านวชิ าชีพ บคุ ลกิ ภาพ และวิสัยทศั น์ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิชาการ
เศรษฐกิจ สังคม และการเมอื งอยู่เสมอ

9. ครูย่อมรกั และศรทั ธาในวชิ าชพี ครแู ละเปน็ สมาชิกที่ดขี ององค์กรวิชาชพี



๗. ดา้ นการจัดการเรียนการสอน

สมิทและราแกน (Smith & Ragan, 1999, pp. 125-126) ได้เสนอหลักในการพิจารณาว่า ควรใช้
ลกั ษณะการเรียนการสอนทเี่ นน้ บทบาทของผู้เรยี นหรือผู้สอนเป็นบทบาทนาในการเรียนการสอน โดยพิจารณา
จากองค์ประกอบ 3 ดา้ น คอื ลกั ษณะของผู้เรียน บริบทการเรียนรู้และงานเพ่ือการเรียนรู้ โดยพิจารณาทีละ
ตัวแปรดังน้ี

1. ลกั ษณะของผ้เู รียน ถ้าองค์ประกอบด้านอ่ืน ๆ เท่ากัน พบว่าผู้เรียนท่ีมีลักษณะต่อไปน้ี ได้แก่
ระดบั ความรู้เดิม ความถนัดทางการเรียน กลวิธีการเรียนรู้ และความใส่ใจในการเรียนรู้ ถ้ามีมาก ควรใช้วิธีท่ี
ผเู้ รยี นเป็นผู้นาในการเรียนรู้ แต่ถ้าผู้เรียนมีลักษณะต่อไปนี้คือ มีความวิตกกังวลมาก มีลักษณะ พึ่งพาปัจจัย
ภายนอกท่สี ง่ ผลต่อความสาเร็จหรือความล้มเหลว เช่น การช่วยเหลือจากผู้อื่น ควรใช้วิธี ที่ผู้สอนมีบทบาทนา
ในการเรียนการสอน

2. บริบทการเรียนรู้ ถ้าองค์ประกอบดา้ นอืน่ ๆ เท่ากันพบว่า หากเวลาสาหรับการเรียนรู้ มีจากัด
เปาู หมายการเรียนรู้มุ่งที่ผลสัมฤทธ์ิมากกว่าวิธีการเรียนรู้ ผู้เรียนทุกคนคาดหวังให้มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน
ผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนด ควรใช้วิธีท่ีผู้สอนมีบทบาทช้ีนาในการเรียนการสอน แต่หากเปูาหมาย การเรียนรู้คือ
วิธกี ารเรียนรู้ ควรใชว้ ิธที ี่ผู้เรียนเปน็ ผู้มบี ทบาทนาในการเรยี นรู้

3. ภาระงานเพอ่ื การเรยี นรู้ ถา้ องคป์ ระกอบด้านอ่ืน ๆ เท่ากนั พบวา่ หากเปน็ ภาระงานที่ เน้นการ
พัฒนาทักษะทางปัญญาระดับสูงหรือทักษะการแก้ปัญหา ควรให้ผู้เรียนมีบทบาทนา หากปัญหา มีความ
ซับซ้อนมากผสู้ อนควรเข้าไปมบี ทบาทช้แี นะชว่ ยเหลือ หากงานทม่ี อบหมายอาจทาให้เกิด อันตรายแก่ร่างกาย
กระทบต่ออารมณ์ ความรสู้ ึก หรอื ตอ้ งใชส้ มรรถภาพระดับสูงจาเป็นต้องให้ผู้สอน เข้าไปมีบทบาทชี้นาในการ
เรยี นการสอน อย่างไรก็ดี การจดั การเรียนการสอนควรม่งุ เนน้ ให้ผู้เรยี นเป็นผู้มีบทบาทนาให้มากท่ีสุด ยกเว้น
หากมีข้อจากัดดังท่ีกล่าวมาแล้ว ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนได้สร้างความรู้ ความเข้าใจ พั ฒนาทักษะและมีความ
เชอื่ มน่ั ในศกั ยภาพการเรยี นรู้ของตนเอง

การวิเคราะหห์ ลกั สูตร
เป็นการพิจารณารายละเอียดของจุดมุ่งหมายและเน้ือหา แล้วพิจารณาความสัมพันธ์ท้ังจุดมุ่งหมาย

และเน้อื หาเพอื่ นามาวางแผนในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนและการสอบ
วัตถปุ ระสงค์ของการสรา้ งตารางวเิ คราะหห์ ลกั สูตร
1. เพื่อใช้ในการวางแผน กาหนดขอบเขตและควบคุมการบริหารการสอนและการสอบ ให้ได้

สัดส่วนสัมพันธก์ นั อย่างสมดลุ และสมบรู ณ์ตามความคาดหมาย
2. เพ่ือให้การดาเนินการสอนและการสอบให้เป็นไปตามสัดส่วนของระยะเวลาตามความสาคัญ

ของเนอื้ เร่ือง และของพฤตกิ รรมทีพ่ งึ ประสงค์
3. เพอื่ แสดงสดั ส่วนของความสาคญั เป็นปรมิ าณตวั เลขของแต่ละเนื้อหาวิชาและแต่ละพฤติกรรม

ทสี่ มั พนั ธก์ ันตามความมุ่งหมายและตามทหี่ ลกั สูตรตอ้ งการ

4. เพ่ือเป็นแนวทางในการพิจารณาความเท่ยี งตรงของข้อสอบท้งั ในดา้ นเนอ้ื หาวิชา และโครงสร้าง
ที่เป็นอยู่
ลกั ษณะของตารางวเิ คราะหห์ ลกั สูตร

ตารางวเิ คราะห์หลกั สูตรประกอบดว้ ย 3 สว่ น คอื
ส่วนที่ 1 ส่วนตามแนวต้ัง เป็นเร่ืองของเนื้อวิชา ได้แก่เร่ืองราวต่าง ๆ ที่กาหนดว่าจะสอนต าม
หลักสูตรมากน้อยเพียงใด ในส่วนนี้จะเป็นการกาหนดสิ่งท่ีผู้เรียนจะได้เรียนรู้ในเรื่องอะไรบ้างเป็นสัดส่วน
เท่าใด
สว่ นที่ 2 สว่ นตามแนวนอน เปน็ โครงสร้างพฤติกรรมทางสมอง หรือที่เรียกว่าจุดประสงค์ คือในส่วน
น้จี ะเป็นการกาหนดสง่ิ ทผี่ ้เู รียนจะได้เรียนรู้ โดยเกิดความสามารถทางสมองในด้านใดบ้าง มากน้อยเพียงใด
เป็นสดั ส่วนเทา่ ใด
ส่วนท่ี 3 ส่วนที่เป็นตัวเลข ได้แก่ตัวเลขต่าง ๆ ในแต่ละช่อง ซึ่งแสดงให้ทราบถึงน้าหนัก
ความสาคัญหรือสัดส่วน ความสัมพันธ์ระหว่างเน้ือหาวิชาท่ีสอนกับพฤติกรรมท่ีมุ่งจะปลูกฝังและเสริมสร้าง
ให้กับผู้เรียน

การออกแบบสอ่ื การเรียนการสอน
มีกระบวนการในการดาเนนิ งาน แบง่ เปน็ 3 ขนั้ ตอน ดังน้ี

1. การวิเคราะห์ส่ือการเรียนการสอน การวิเคราะห์ส่ือการเรียนการสอน มีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ได้
ข้อมลู ทน่ี าไปตัดสนิ ใจในการออกแบบสื่อ เนื่องจากส่ือการเรียนการสอนมีหลากหลายประเภท การวิเคราะห์
สือ่ จะช่วยใหค้ รูทราบว่าส่ือประเภทใดทีเ่ สรมิ สร้างความรู้ความเข้าใจของนักเรียนต่อ บทเรียนได้ดีท่ีสุด และมี
ความเหมาะสมกับการนาไปใช้ การวิเคราะห์ส่ือจะช่วยให้ครูหรือผู้ออกแบบ ตัดสินใจเก่ียวกับสื่อว่า ควร
เลือกใช้สื่อท่ีมีอยู่ หรือปรับปรุงส่ือที่มีอยู่อย่างไร หรือจาเป็นต้องสร้างสื่อข้ึน ใหม่ หลักการท่ีควรนามาใช้ใน
การพจิ ารณาสอื่ การเรยี นการสอน ได้แก่

1) สื่อการเรียนการสอนต้องสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้และเน้ือหาการเรียนรู้ ทั้งน้ี
เพราะสื่อแต่ละประเภทมีประสิทธิภาพในการสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ที่แตกต่างกัน เช่น การใช้
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเหมาะสาหรับจุดประสงค์การเรียนการสอนที่เป็นการพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคล มี
จดุ มงุ่ หมายเพื่อซ่อมเสรมิ หรือสง่ เสริมความสามารถเฉพาะบุคคล การใช้ส่ือส่ิงพิมพ์เหมาะสาหรับ การศึกษา
ค้นควา้ การใช้ส่ือของจริงในธรรมชาติ เหมาะสาหรับการเรียนรู้เนื้อหาท่ีเป็นส่ิงแวดล้อมใน ธรรมชาติ เป็นต้น
ผู้สอนจงึ ต้องรจู้ กั คณุ สมบตั ิของสื่อและเลือกให้เหมาะสมกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้ และเน้ือหาท่ีสอน

2) ส่ือการเรียนการสอนต้องเหมาะสมกับผู้เรียน ผู้เรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกันทั้ง ในด้าน
พฒั นาการของร่างกาย สติปญั ญา อารมณแ์ ละสังคมในแตล่ ะช่วงวัย ซงึ่ เกีย่ วขอ้ งอยา่ งมากกับ ความสามารถใน
การเรียนรู้ นอกจากนี้ยังมีความแตกต่างกันในด้านของวิธีการเรียนรู้ เช่น ผู้เรียนบางคน ชอบการเรียนรู้ผ่าน
การลงมือปฏิบัติ บางคนชอบการเรียนรู้ผ่านการบอกเล่าและอธิบาย บางคนชอบ ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
เปน็ ตน้ ผสู้ อนจงึ ควรศกึ ษาความแตกตา่ งของผู้เรียนเพื่อนามาใช้เป็นแนวทางใน

การเลอื กสอ่ื การเรียนการสอนใหเ้ หมาะสมพฒั นาการของผูเ้ รยี นในแตล่ ะช่วงวัย และวธิ ีการเรียนรขู้ อง ผเู้ รียน

3) ส่ือการเรียนการสอนต้องเหมาะสมกับวิธีสอนหรือรูปแบบการเรียนการสอนท่ีใช้ เน่ืองจากวิธี
สอน และรูปแบบการเรียนการสอนแต่ละรูปแบบมีลักษณะเฉพาะเพื่อตอบสนองจุดประสงค์ การเรียนรู้
เฉพาะที่แตกต่างกัน ดงั นั้นจงึ ต้องอาศยั สือ่ การเรียนการสอนที่สอดคล้องกับวิธีสอนหรือ รูปแบบการเรียนการ
สอนอย่างเหมาะสม เชน่ การใช้อุปกรณ์การทดลองทางวิทยาศาสตร์ในการสอน ด้วยวิธีการสอนแบบทดลอง
การใชบ้ ทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) สาหรับการฝึกฝน การเรียน ทางไกลผ่านดาวเทียม ซึ่งใช้โทรทัศน์
และวทิ ยุเปน็ อุปกรณ์เพอ่ื การศึกษา เหมาะสาหรบั การเรยี นด้วย ตนเอง เป็นตน้

4) สื่อการเรียนการสอนต้องสอดคล้องกับสภาพของการนาไปใช้และค่าใช้จ่าย มีสื่อ หลายชนิดที่
สามารถทาให้ผูเ้ รยี นเกดิ การเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้เดียวกันได้ ผู้สอนสามารถเลือกใช้ ให้เหมาะสม
กับสภาพของการนาไปใช้และค่าใช้จ่าย ตัวอย่าง เช่น การนาผู้เรียนไปเรียนรู้ในสถานที่จริง เป็น การสร้าง
ประสบการณ์ตรงซ่ึงเป็นการเรียนรู้ท่ีดีที่สุด แต่ถ้ามีข้อจากัดด้านค่าใช้จ่ายและด้านความปลอดภัย ในการ
เดินทาง ก็ควรพจิ ารณานาสอ่ื การเรยี นการสอนอืน่ ๆ ทใ่ี หผ้ ลการเรยี นรูไ้ มแ่ ตกต่างกันมากนัก เช่น เลือกใช้สื่อ
ภาพยนตร์ หรอื การน าเสนอดว้ ยแผน่ ภาพเลื่อน (power point) แทนการเดินทางไปยงั สถานที่จริง เป็นตน้

5) สื่อการเรียนการสอนต้องมีความสะดวกใช้และสอดคล้องกับความสามารถของผู้ใช้ สื่อการ
เรียนรู้บางชนิดเป็นสื่อสมัยใหม่ที่ผู้ใช้อาจไม่มีความชานาญในการใช้ดีพอ เช่น ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ผู้ใช้จะต้อง
ศกึ ษาและใช้สื่อน้ัน ๆ ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ หรือขอความร่วมมือจากผู้เชี่ยวชาญ สื่อบางชนิด เช่น ส่ือท่ีเป็น
ภาพยนตร์ สไลด์มัลติวิชัน มคี วามยุ่งยากในการจดั หา และตอ้ งอาศยั ทักษะและเทคนิคการ ใช้ อาจจาเป็นต้อง
เลือกใช้สื่อชนิดอื่นที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ได้ดีเช่นเดียวกันแทนได้ นอกจากน้ี สื่อบาง ชนิดต้องใช้เวลามากใน
การเตรียมและจัดทา ซึ่งอาจให้ผลไม่คุ้มค่ากับเวลาที่เสียไป เช่น การนาเสนอ บทเรียนด้วยคอมพิวเตอร์
โปรแกรมพาวเวอรพ์ อยท์ แทนการสร้างบทเรียน CAI ซ่ึงมีกระบวนการสร้าง ยุ่งยากมากกว่า อย่างไรก็ตามใน
กรณีท่พี ิจารณาเหน็ ว่าสอ่ื นนั้ แมม้ วี ธิ กี ารจัดทาทย่ี ุ่งยาก แตใ่ หผ้ ลการ เรยี นรทู้ ่ีมปี ระสิทธิภาพสูงก็สมควรจัดทา
และเผยแพร่ให้มีการใชอ้ ย่างค้มุ คา่

6) สื่อการเรียนการสอนต้องทาหน้าท่ีได้อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อการเรียนการสอนท่ี นามาใช้น้ัน
ควรทาหนา้ ท่ไี ด้อย่างค้มุ คา่ คุม้ เวลาและสรา้ งความพงึ พอใจใหก้ บั ผูเ้ รียน สอื่ การเรียนการสอนทม่ี ปี ระสิทธิภาพ
จึงเป็นส่ือทีม่ ลี กั ษณะดึงดูดความสนใจของผู้เรยี น สามารถสรา้ งความเข้าใจเน้ือหา สาระให้กับผู้เรียนได้ถูกต้อง
ตรงตามจุดประสงค์ของการเรียนรู้ โดยไม่เสียเวลามาก จากหลักการเลือกสื่อท่ีกล่าวมาน้ีจะเห็นว่า การ
กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ให้ชัดเจนจะช่วย ให้ครูสามารถคัดเลือกสื่อการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม
ในการเลอื กส่อื ควรคานึงถงึ ความสนใจและ ความตอ้ งการของผเู้ รยี น คานงึ ถึงค่าใช้จ่าย ความสะดวกในการใช้
และความค้มุ คา่ ในการทาหนา้ ทข่ี อง ส่อื

ประเภทของสอ่ื การเรียนการสอน
ส่อื การเรียนการสอน สามารถแบง่ เป็นประเภทต่าง ๆ ดังน้ี (กรมวิชาการ, 2545, หน้า 7-9)
1. ส่ือส่ิงพิมพ์ หมายถึง หนังสือและเอกสารส่ิงพิมพ์ต่าง ๆ โดยใช้หนังสือที่เป็นตัวเขียน หรือ

ตัวพิมพ์เป็นสื่อเพ่ือแสดงความหมาย ส่ือส่ิงพิมพ์มีหลายประเภท เช่น เอกสาร หนังสือ ตารา หนังสือพิมพ์
นิตยสาร วารสาร จุลสาร จดหมาย จดหมายเหตุ บันทึก รายงาน วิทยานิพนธ์ เป็นต้น ส่ือ สิ่งพิมพ์นั้นมี
ประโยชนค์ ือสะดวกในการพกพา สื่อสิง่ พมิ พ์ เช่น แบบเรยี น ตารา เปน็ สอ่ื ทเ่ี ปน็ รากฐาน สาคัญของการเรียนรู้
เพราะมีกระบวนการในการผลิตอยา่ งเปน็ ระบบ ซ่งึ เป็นทเ่ี ช่ือถือและยอมรบั ให้เปน็ แหล่งข้อมูลความรู้ท่ีสาคัญ
ในปัจจุบันไดม้ กี ารใช้สอื่ เทคโนโลยมี าใช้แทนสื่อสิง่ พิมพ์มากข้นึ เช่น หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) แต่การใช้
ประโยชน์ยังตา่ งกนั

2. สื่อเทคโนโลยี หมายถึง ส่อื การเรียนการสอนท่ีผลิตขึ้นเพื่อใช้ควบคู่กับเคร่ืองมือ โสตทัศนวัสดุ
หรือเครื่องมือท่ีเป็นเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น แถบบันทึกภาพพร้อมเสียง (วีดิทัศน์) สไลด์ แถบบันทึกเสียง
ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นอกจากนี้สื่อเทคโนโลยียังหมายรวมถึงกระบวนการต่าง ๆ ท่ี เกี่ยวข้องกับการนา
เทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน สื่อเทคโนโลยีที่สาคัญและเป็นท่ีนิยม ในปัจจุบัน คือ
ส่ือคอมพวิ เตอร์ เน่ืองจากส่อื คอมพิวเตอร์สามารถตอบสนองความต้องการการเรียนรู้ของ ผู้เรียนแต่ละคนได้
อย่างรวดเร็วและค่อนข้างมีประสิทธิภาพ การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนการสอน ต้องใช้คอมพิวเตอร์เป็น
อปุ กรณ์หลักในการเชอื่ มตอ่ อินเตอร์เน็ต ผเู้ รยี นสามารถหาความรู้ผา่ น อินเตอร์เน็ตได้อย่างรวดเร็วและเรียนรู้
ดว้ ยตัวเองนอกห้องเรียน

3. ส่อื อน่ื ๆ นอกจากส่อื สง่ิ พมิ พ์และสอื่ เทคโนโลยแี ลว้ ยงั มีสื่ออื่น ๆ ที่ส่งเสริมการเรียนการ สอน
ซ่งึ มคี วามสาคญั ไม่นอ้ ยไปกวา่ สื่อ 2 ประเภทดังกลา่ วขา้ งตน้ ได้แก่

3.1 ส่ือธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมายถึง ส่ิงท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือสภาพที่ อยู่
รอบตัวผู้เรียน เช่น พืชผัก ผลไม้ สัตว์ชนิดต่างๆ ปรากฏการณ์แผ่นดินไหว สภาพดินฟูาอากาศ ห้องเรียน
ห้องปฏิบัติการ แหล่งวิทยาการหรือแหล่งการเรียนรู้ ห้องสมุด ชุมชน สังคม วัฒนธรรม เป็นต้น (กรม
วชิ าการ, 2545, หน้า 8) จะเหน็ วา่ ส่ือในกลุ่มนี้ได้รวมเอาสิ่งทเ่ี รยี กว่าแหล่งเรียนรู้และ บุคคลท่ีเป็นภูมิปัญญา
ไว้ด้วยกนั การนาส่ือธรรมชาติมาใช้ในการจัดการเรยี นการสอนนั้นทาใหผ้ ู้เรียน ได้รับประสบการณ์ตรง ทาให้
เกดิ การจดจาไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เชน่ เม่อื ครสู อนเร่ืองธรรมชาติ ครูอาจนา ตัวอย่างใบไม้ ดอกไม้ ก้อนหินมาใช้เป็น
สื่อการเรยี นการสอนในห้องเรียน สิ่งเหล่านั้นเป็นสิ่งท่ีผู้เรียนจับ ต้องได้จึงช่วยเพ่ิมความเข้าใจต่อเนื้อหาของ
เรือ่ งทสี่ อนได้อยา่ งชัดเจน

3.2 สื่อกิจกรรมหรือกระบวนการ หมายถึง ส่ือที่อยู่ในรูปแบบของการนาเสนอ ซ่ึงต้อง อาศัย
กิจกรรมหรือกระบวนการเปน็ ตัวกลางในการนาเสนอความรแู้ ละประสบการณ์ ดังน้ันจึงเรียกส่ือ ประเภทน้ีว่า
สอื่ ประเภทวิธีการ (method) (Newby et al., 1999, p. 91) เช่น การบรรยาย การ อภิปราย การสาธิต กิจกรรม
การแก้ปัญหา การเล่นเกม การฝึกฝน การนาเสนองาน และการเรียนเสริม นอกเวลา ครูสามารถใช้ส่ือ
กิจกรรมแต่ละประเภทมาใช้ร่วมกันได้ในหน่ึงคาบเรียน ตามความเหมาะสม ของเน้ือหาของบทเรียน และ
ขนาดของกลุ่มผู้เรียน เช่นกลุ่มผู้เรียนที่มีขนาดเล็ก และผู้เรียนกล้าโต้ตอบ กับครู การ ใช้ส่ือกิจกรรมแบบ

ร่วมมือและแก้ปัญหาน้ันค่อนข้างเหมาะสมกับกลุ่มผู้เรียนในลักษณะนี้ สาหรับกิจกรรมประเภทท่ีครูเป็นผู้

นาเสนอความรู้ และสาธติ ความรตู้ า่ ง ๆ เหมาะกบั กลมุ่ ผ้เู รยี นทม่ี ี ขนาดใหญ่ เปน็ ตน้

3.3 ส่ือวัสดุ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ หมายถึง สื่อรูปธรรมท่ีผู้เรียนสามารถจับต้องได้ และสามารถมี

ปฏิสมั พันธก์ บั ผู้เรยี น ส่อื เหล่านีเ้ ป็นตวั กลางทช่ี ว่ ยให้ผู้เรียนเกิดความรู้ใหม่และให้ ประสบการณ์การเรียนรู้ต่อ

ผู้เรียน (Newby et al.,1999, p.100) ตัวอย่างของสื่อวัสดุ เช่น หุ่นจาลอง แผนภูมิ สถิติ กราฟ เป็นต้น ส่ือท่ี

เป็นเคร่ืองมอื และอปุ กรณต์ ่าง ๆ ท่ีจาเป็นในการปฏิบัติงาน เช่น อุปกรณ์ทดลองทางวิทยาศาสตร์ อุปกรณ์ใน

การปลกู ตน้ ไม้ เครือ่ งครัว อุปกรณ์การกีฬา เปน็ ต้น

การวัดและการประเมนิ ผล

การวัดผล หมายถึง กระบวนการหรือวิธีการในการกาหนดตัวเลขให้กับคุณลักษณะต่างๆ ของคน สัตว์
สง่ิ ของ หรอื เหตกุ ารณต์ า่ งๆ อย่างมกี ฎเกณฑ์ คอื จะตอ้ งดาเนินการอย่างมีข้ันตอน เป็นระเบียบแบบแผน โดย
มีเคร่ืองมอื ชว่ ยวดั ซง่ึ จะทาใหต้ วั เลขใชแ้ ทนลักษณะของสิ่งท่เี ราต้องการ

การประเมินผล หมายถึง การนาเอาผลจากการวดั หลายๆ ครั้งมาสรุป ตรี าคา คุณภาพของผู้เรียนอย่างมี
หลกั เกณฑว์ า่ สงู ต่า ดี เลว อย่างไร หลกั ของการวัดผลการศกึ ษา ได้แก่

1. กาหนดวัตถุประสงคก์ ารวัดใหช้ ัดเจน
2. วัดใหต้ รงตามวตั ถปุ ระสงค์ทีต่ งั้ ไว้
3. เลอื กเครื่องมือให้เหมาะสมกับ 1 และ 2
4. ใชเ้ ครอ่ื งมือทม่ี คี ณุ ภาพเชื่อถือได้
5. มีความยุติธรรมในการวัด
6. แปลผลอย่างถกู ต้อง
7. นาผลที่วดั ได้มาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนค์ มุ้ คา่

เครอื่ งมือทีใ่ ช้ในการวัดการศกึ ษา มหี ลายชนดิ แตล่ ะชนดิ ต่างก็มีความเหมาะสมกับการวัดแตกต่างกัน
ประกอบดว้ ย

1. การทดสอบ
2. แบบสอบถาม
3. แบบสารวจ
4. มาตรประมาณค่า
5. การสงั เกต
6. การสมั ภาษณ์
7. การบนั ทึก
8. สังคมมติ ิ
9. การศึกษารายกรณี
10. การให้สร้างจนิ ตนาการ




Click to View FlipBook Version