The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานผลการปฏิบัติงานครูผู้ช่วยครั้งที่ 2

แฟ้มประเมินครูผู้ช่วย-เตย

๘. การบรหิ ารจดั การชนั้ เรยี น

ข้าพเจ้าให้ความสาคัญกับการจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้เป็นอย่างมาก

เพราะถือไดว้ า่ การจดั สภาพแวดล้อมใหเ้ อ้อื ตอ่ การเรียนรนู้ น้ั มคี วามสาคัญเป็นอยา่ งย่ิง เพราะบรรยากาศในช้ัน

เรยี นมสี ่วนสาคัญในการสง่ เสรมิ ความสนใจใคร่รู้ ใคร่เรียนให้แกผ่ เู้ รยี น ช้ันเรียนทมี่ ีบรรยากาศเต็มไปด้วยความ

อบอุ่น ความเห็นอกเห็นใจ และความเอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่ต่อกันและกัน ย่อมเป็นแรงจูงใจภายนอกท่ีกระตุ้นให้

ผเู้ รียนรกั การเรยี น รกั การอยรู่ ่วมกนั ในช้ันเรียน และช่วยปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความประพฤติอันดีงาม

ใหแ้ กน่ กั เรยี น นอกจากนี้การมีหอ้ งเรยี นท่ีมีบรรยากาศแจม่ ใส สะอาด สว่าง กว้างขวางพอเหมาะ มีโต๊ะเก้าอี้ที่

เป็นระเบียบเรียบร้อย มีมุมวิชาการส่งเสริมความรู้ มีการตกแต่งห้องให้สดใส ก็เป็นอีกสิ่งหน่ึงที่ส่งผลทาให้

ผู้เรียนพอใจมาโรงเรียน เข้าห้องเรียนและพร้อมท่ีจะมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ซ่ึงข้าพเจ้ามี

วธิ ีการจดั บรรยากาศทีเ่ อือ้ ตอ่ การเรยี นรู้ ดังนี้

1. บรรยากาศที่ทา้ ทาย (Challenge) เป็นบรรยากาศท่ีครูกระตุ้นให้กาลังใจนักเรียนเพื่อให้ประสบ
ผลสาเรจ็ ในการทางาน นกั เรยี นจะเกดิ ความเช่อื มั่นในตนเองและพยายามทางานใหส้ าเร็จ

2. บรรยากาศที่มีอิสระ (Freedom) เป็นบรรยากาศที่นักเรียนมีโอกาสได้คิด ได้ตัดสินใจเลือกสิ่งที่มี
ความหมายและมีคณุ ค่า รวมถงึ โอกาสท่ีจะทาผดิ ดว้ ย โดยปราศจากความกลัวและวิตกกังวล บรรยากาศเช่นนี้
จะส่งเสรมิ การเรียนรู้ ผูเ้ รยี นจะปฏิบตั กิ จิ กรรมด้วยความตงั้ ใจโดยไมร่ ู้สึกตงึ เครยี ด

3. บรรยากาศที่มีการยอมรับนับถือ (Respect) เป็นบรรยากาศท่ีครูรู้สึกว่านักเรียนเป็นบุคคล
สาคญั มีคณุ ค่า และสามารถเรยี นได้ อันส่งผลให้นกั เรียนเกิดความเชื่อมั่นในตนเองและเกิดความยอมรับนับถือ
ตนเอง

4. บรรยากาศทมี่ คี วามอบอ่นุ (Warmth) เป็นบรรยากาศทางดา้ นจิตใจ ซึ่งมีผลต่อความสาเร็จในการ
เรียน การที่ครูมีความเข้าใจนักเรียน เป็นมิตร ยอมรับให้ความช่วยเหลือ จะทาให้นักเรียนเกิดความอบอุ่น
สบายใจ รกั ครู รกั โรงเรียน และรักการมาเรยี น

5. บรรยากาศแห่งการควบคุม (Control) การควบคุมในท่ีนี้ หมายถึง การฝึกให้นักเรียนมีระเบียบ
วนิ ยั มใิ ชก่ ารควบคุม ไม่ใหม้ อี สิ ระ ครูต้องมีเทคนิคในการปกครองช้ันเรยี นและฝกึ ให้นกั เรยี นรู้จักใช้สิทธิหน้าท่ี
ของตนเองอย่างมีขอบเขต

6. บรรยากาศแหง่ ความสาเร็จ (Success) เป็นบรรยากาศท่ีผู้เรียนเกิดความรู้สึกประสบความสาเร็จ
ในงานที่ทา ซ่ึงส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้น ผู้สอนจึงควรพูดถึงส่ิงท่ีผู้เรียนประสบความสาเร็จให้
มากกว่าการพูดถึงความล้มเหลว เพราะการท่ีคนเราคานึงถึงแต่ส่ิงที่ล้มเหลว เพราะการท่ีคนเราคานึงถึงแต่
ความลม้ เหลวจะมีผลทาให้ความคาดหวังตา่ ซงึ่ ไมส่ ่งเสริมใหก้ ารเรยี นรู้ดขี ึ้น

นอกจากนี้ข้าพเจ้ายงั มวี ิธีการจดั สภาพแวดลอ้ มทางด้านกายภาพ ดังน้ี
1. การจัดโต๊ะเรียนและเกา้ อี้ของนักเรยี น

1.1 ใหม้ ีขนาดเหมาะสมกับรูปร่างและวยั ของนักเรียน
1.2 ใหม้ ชี อ่ งว่างระหว่างแถวท่ีนกั เรียนจะลกุ นง่ั ไดส้ ะดวก และทากิจกรรมไดค้ ลอ่ งตวั
1.3 ใหม้ คี วามสะดวกตอ่ การทาความสะอาดและเคลือ่ นยา้ ยเปลี่ยนรูปแบบที่นั่งเรียน
1.4 ให้มรี ูปแบบที่ไม่จาเจ เชน่ อาจเปลี่ยนเป็นรูปตัวที ตัวยู รูปครึ่งวงกลม หรือ เข้ากลุ่มเป็นวงกลม
ไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั กจิ กรรมการเรียนการสอน

1.5 ให้นักเรียนทีน่ ั่งทกุ จุดอา่ นกระดานได้ชดั เจน
1.6 แถวหนา้ ของโตะ๊ เรียนควรอยู่ห่างจากกระดานดาพอสมควร ไม่น้อยกว่า 3 เมตร ไม่ควรจัดโต๊ะ
ติดกระดานดามากเกินไป ทาให้นักเรียนต้องแหงนมองกระดานดา และหายใจเอาฝุนชอล์กเข้าไปมาก ทาให้
เสียสขุ ภาพ
2. การจดั โต๊ะครู
2.1 ใหอ้ ย่ใู นจุดทเี่ หมาะสม อาจจัดไว้หน้าห้อง ขา้ งหอ้ ง หรือหลังห้องก็ได้ งานวจิ ยั บางเรอ่ื งเสนอแนะ
ให้จัดโต๊ะครูไว้ด้านหลังห้องเพ่ือให้มองเห็นนักเรียนได้อย่างทั่วถึง อย่างไรก็ตาม การจัดโต๊ะครูนั้นข้ึนอยู่กับ
รปู แบบการจดั ท่นี ง่ั ของนกั เรยี นด้วย
2.2 ให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ท้ังบนโต๊ะและในล้ินชักโต๊ะ เพ่ือสะดวกต่อการทางานของครู
และการวางสมุดงานของนกั เรยี น ตลอดจนเพอื่ ปลกู ฝงั ลกั ษณะนสิ ัยความเปน็ ระเบยี บเรียบร้อยแกน่ ักเรียน
3. การจัดปาู ยนเิ ทศ ปูายนเิ ทศท่ฝี าผนงั ของห้องเรียน ส่วนใหญ่จะติดไว้ที่ข้างกระดานดาทั้ง 2 ข้าง ครูควรใช้
ปาู ยนิเทศทเี่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ การเรียนการสอน
3.1 จดั ตกแต่งออกแบบใหส้ วยงาม น่าดู สร้างความสนใจใหแ้ กน่ กั เรยี น
3.2 จัดเนื้อหาสาระให้สอดคล้องกับบทเรียน อาจใช้ติดสรุปบทเรียน ทบทวนบทเรียน หรือเสริม
ความร้ใู หแ้ กน่ ักเรียน
3.3 จัดใหใ้ หม่อยูเ่ สมอ สอดคลอ้ งกับเหตุการณส์ าคัญ หรอื วันสาคัญ
ต่าง ๆ ท่นี ักเรียนเรยี นและควรรู้
3.4 จดั ตดิ ผลงานของนักเรียนและแผนภมู ิแสดงความก้าวหนา้ ในการเรียนของนักเรียนจะเป็นการให้
แรงจงู ใจทนี่ ่าสนใจวิธีหนง่ึ

การจัดสภาพแวดลอ้ มทีป่ ลอดภัยและมคี วามสุข
การจัดสภาพหอ้ งเรียน ตอ้ งใหถ้ กู สขุ ลักษณะ กล่าวคือ
1. มอี ากาศถ่ายเทไดด้ ี มีหนา้ ต่างพอเพียง และมปี ระตูเข้าออกไดส้ ะดวก
2. มแี สงสวา่ งพอเหมาะ เพ่ือช่วยให้ผเู้ รยี นอ่านหนังสือได้ชัดเจน เพ่อื เปน็ การถนอม

สายตา ควรใช้ไฟฟูาชว่ ย ถ้ามีแสงสวา่ งนอ้ ยเกนิ ไป
3. ปราศจากสง่ิ รบกวนต่าง ๆ เช่น เสียง กล่นิ ควัน ฝนุ ฯลฯ
4. มีความสะอาด โดยฝกึ ให้นักเรยี นรบั ผดิ ชอบช่วยกันเกบ็ กวาด เชด็ ถู เป็นการปลูกฝังนสิ ัย

รักความสะอาด และฝึกการทางานร่วมกัน
5. การจัดมุมตา่ งๆ ในห้องเรียน ไดแ้ ก่
5.1 มุมหนังสือ ควรมีไว้เพ่ือฝึกนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริมให้นักเรียนอ่านคล่อง ส่งเสริมการ

ค้นคว้าหาความรู้ และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ครูควรหาหนังสือหลายๆ ประเภท ท่ีมีความยาก
งา่ ย เหมาะสมกับวยั ของนกั เรยี นมาให้อา่ น และควรหาหนงั สอื ชุดใหม่มาเปลี่ยนบ่อย ๆ การจัดมุมหนังสือควร
จดั ให้เปน็ ระเบียบเรียบร้อยเพอื่ สะดวกต่อการหยิบอ่าน

5.2 มมุ เสรมิ ความรกู้ ลมุ่ ประสบการณ์ต่าง ๆ ควรจดั ไว้ให้น่าสนใจ ช่วยเสริมความรู้ ทบทวน
ความรู้ เช่น มุมภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา มุมความรขู้ า่ ว เหตุการณ์ ฯลฯ

5.3 มุมแสดงผลงานของนกั เรียน ครูควรติดบนปาู ยนิเทศ แขวนหรือจดั วางไว้บนโต๊ะ เพ่ือให้
นักเรียนเกิดความภูมิใจในความสาเร็จ และมีกาลังใจในการเรียนต่อไป อีกทั้งยังสามารถแก้ไขพัฒนาผลงาน
ของนักเรียนให้ดีข้ึนโดยลาดบั ได้อีกดว้ ย

5.4 ตู้เก็บส่ือการเรียนการสอน เช่น บัตรคา แผนภูมิ ภาพพลิก กระดาษ สี กาว ฯลฯ ควร
จดั ไวใ้ หเ้ ป็นระเบยี บ เป็นสดั ส่วน สะดวกต่อการหยิบใช้ อุปกรณ์ชิ้นใดที่เก่าเกินไปหรือไม่ใช้แล้วไม่ควรเก็บไว้
ในตู้ใหด้ รู กรุงรัง

5.5 การประดับตกแต่งห้องเรียน ครูส่วนใหญ่มักนิยมประดับตกแต่งห้องเรียนด้วยสิ่งต่าง
ๆ เช่น ม่าน มู่ล่ี ภาพ ดอกไม้ คาขวัญ สุภาษิต ควรตกแต่งพอเหมาะไม่ให้ดูรกรุงรัง สีสันที่ใช้ไม่ควร
ฉูดฉาด หรือใช้สีสะท้อนแสง อาจทาให้นักเรียนเสียสายตาได้ การประดับตกแต่งห้องเรียน ควรคานึงถึงหลัก
ความเรยี บง่าย เปน็ ระเบียบ ประหยัด ม่งุ ประโยชน์ และสวยงาม
5.6 มุมเกบ็ อปุ กรณท์ าความสะอาด ตลอดจนช้ันวางเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ของนักเรียน เช่น แปรงสีฟัน ยาสีฟัน
แกว้ น้า กล่องอาหาร ป่ินโต ฯลฯ ควรจัดวางไว้อยา่ งเปน็ ระเบียบ และหมนั่ เชด็ ถใู ห้สะอาดเสมอ

นอกจากน้ีการจัดบรรยากาศทางด้านจิตวิทยาก็มีส่วนสาคัญท่ีจะสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ได้
เป็นอย่างดี ซึ่งข้าพเจ้ามีความคิดว่าการจัดบรรยากาศทางด้านจิตวิทยาหรือทางด้านจิตใจ จะช่วยสร้าง
ความรูส้ ึกให้นักเรยี นเกิดความสบายใจในการเรียน ปราศจากความกลัว และวิตกกังวล มีบรรยากาศของการ
สร้างสรรค์เร้าความสนใจ ให้นักเรียนร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยความสุข นักเรียนจะเกิดความรู้สึก
เชน่ น้ี ขึ้นอยูก่ ับ “ ครู” เป็นสาคัญ

ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผเู้ รยี น

การรวบรวมขอ้ มูลรายบุคคล : เป็นงานรวบรวมรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับตัวนักเรียน ในเรื่องความ
สนใจ ความสามารถ ความถนัด เจตคติ ลักษณะนิสัย อารมณ์ ฯลฯ พร้อมทั้งสิ่งแวดล้อมของนักเรียน ท้ังน้ี
เพ่ือให้ครูรู้จักนักเรียน และนักเรียนรู้จักตนเองมากที่สุดเท่าท่ีจะมากได้ เพ่ือนาเอาข้อมูลดังก ล่าวไปใช้
ประโยชนใ์ นด้านอ่ืนๆ ต่อไป โดยข้าพเจา้ ยึดแนวทางในการรวบรวมขอ้ มูลของผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คล ดังน้ี

1. ข้อมูลทไ่ี ดต้ ้องเป็นขอ้ มูลท่ีชดั เจน สามารถเข้าใจได้ง่าย
2. ข้อมลู ทจี่ ดั หาตอ้ งตรงความเปน็ จรงิ และเปน็ ข้อมูลที่สรรหามาเปน็ อย่างดี
3. เป็นข้อมลู ท่ีเปน็ ปัจจุบนั เทา่ ทันเหตกุ ารณ์ ไม่ลา้ สมยั
4. เม่อื ไดข้ ้อมลู หลายๆ อย่างแลว้ ต้องเก็บรวบรวมเขา้ ไวด้ ว้ ยกันจดั ใหเ้ ขา้ พวก เขา้ หมู่อย่างมรี ะเบียบ
5. ขอ้ มลู ที่ได้ต้องเก็บเข้าแฟมู ใหเ้ รยี บร้อย เพ่อื จะได้สามารถหาได้ง่ายและสามารถนามาใช้ได้รวดเร็ว
เมอื่ ต้องการใช้
นอกจากนี้ ข้าพเจ้ายังได้พยายามหาวิธีที่จะเข้าถึงตัวผู้เรียนให้มากท่ีสุดเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความ
ไว้วางใจ และเชอื่ ใจในตัวครู กล้าท่ีจะเขา้ หา และปรึกษาครูในเร่ืองที่ไมส่ บายใจได้ โดยข้าพเจา้ ไดป้ ฏบิ ัติ ดงั นี้
1. พยายามเป็นกนั เองกับนกั เรยี นมากที่สุดให้เขารสู้ ึกว่าเราเป็นคนในครอบครัวเดียวกันมีปัญหาอะไร
นกั เรียนจะไดก้ ลา้ ทจ่ี ะบอกไม่ว่าจะเปน็ เรือ่ งทพี่ ูดยากกต็ าม
2. เข้าพบนกั เรยี นเปน็ ประจาทุกสปั ดาห์ ใหน้ ักเรียนปรึกษาปญั หาทง้ั เรอื่ งเรยี นและเรื่องส่วนตวั
การจดั ทาสารสนเทศของผูเ้ รยี น

การจดั ทาสารสนเทศของผเู้ รียนสามารถทาได้หลากหลายรปู แบบ

ข้าพเจ้ามคี วามเหน็ ว่าการจัดทาสารสนเทศของผเู้ รยี นนัน้ มีความสาคัญอยู่ไม่น้อย เพราะจะช่วยให้ครู

มีข้อมูลของนักเรยี นอย่างหลากหลาย อีกท้ังการจัดเก็บข้อมูลในระบบสารสนเทศยังช่วยอานวยความสะดวก

และสามารถนาขอ้ มลู มาใช้ช่วยเหลอื นกั เรยี นไดอ้ ย่างเปน็ ระบบ ซ่ึงจากทข่ี า้ พเจ้าได้ศึกษาการจัดทาสารสนเทศ

ของผู้เรียนจากเว็บไซต์สามารถสรปุ เป็นแนวทางในการจดั ทาสารสนเทศของผเู้ รียนได้ ดงั น้ี

ระบบสารสนเทศเกย่ี วกบั ผ้เู รียน
- ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของผูเ้ รียน
- กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผูเ้ รียน
- การสง่ เสริมศกั ยภาพพเิ ศษ

การแก้ปัญหาหรอื พฒั นาผู้เรียน
ในหลักสูตรการศึกษาแห่งชาติ กาหนดเปูาหมายของการพัฒนาผู้เรียน คือ ต้องเป็นคนดี เป็นคนเก่ง

เปน็ คนมีความสขุ และวางยทุ ธศาสตร์ กาหนดพันธกิจ ให้พฒั นาผ้เู รียน ออกเป็น 3 ด้าน ประกอบดว้ ย
1. พทุ ธพิ สิ ยั (Cognitive Domain)
2. จิตพสิ ัย (Affective Domain)
3. ทักษะพิสยั (Psychomotor Domain)
ดังน้ัน ข้าพเจ้าจึงได้พยายามศึกษาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เพื่อจะนามาใช้ในการพัฒนาผู้เรียน

ซึง่ สามารถสรปุ ได้ ดงั นี้
1. พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) เป็นจุดประสงค์ทางการศึกษาที่เก่ียวกับการเรียนรู้ทางด้าน

สตปิ ัญญา คือ ความรู้ ความเข้าใจ การใชค้ วามคดิ พทุ ธิพิสัยแบ่งออกเป็น 6ระดับ คอื
1) ความรู้ หมายถึง ความสามารถในการจาแนกเนื้อหาความรู้ และระลึกได้เม่ือต้องการ

นามาใช้
2) ความเขา้ ใจ หมายถึง การเข้าใจความหมายของเนอ้ื หาสาระ
3) การนาไปใช้ หมายถึง การนาเอาเน้ือหาสาระ หลักการ ความคิดรวบยอด และทฤษฎี

ต่างๆไปใช้ในรูปแบบใหม่
4) การวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการแยกเนื้อหาให้เป็นส่วนย่อยเพื่อค้นหา

องคป์ ระกอบ โครงสร้าง หรอื ความสมั พันธ์ในส่วนยอ่ ยน้ัน
5) การสังเคราะห์ หมายถึง ความสามารถที่จะนาองค์ประกอบหรือส่วนย่อยๆน้ันเข้ามา

รวมกนั เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ภาพที่สมบรู ณ์เกิดความกระจ่างใสในสง่ิ เหลา่ นนั้
6) การประเมินคา่ หมายถึง ความสามารถในการพิจารณาคุณค่าของส่ิงต่างๆ โดยผู้กาหนด

ตดั สินขึน้ มาเอง
2. จิตพิสยั (Affective Domain) เป็นจดุ ประสงคท์ ี่เกี่ยวกับความรู้สึกทางจิตใจ ซ่ึงรวมถึงความสนใจ

อารมณ์ เจตคติ ค่านยิ มและคุณธรรม กระบวนการท่ีเกดิ ข้นึ ภายในเหลา่ นีจ้ ะเกดิ ตามลาดบั ข้นั ตอน ดงั นี้
1) การรับ คือ การที่นักเรียนได้รับประสบการณจ์ ากสง่ิ แวดล้อม
2) การตอบสนอง คือ การมปี ฏิกิรยิ าโตต้ อบกบั สงิ่ แวดลอ้ มท่ีรับเข้ามาด้วยความเต็มใจ
3) การเหน็ คณุ คา่ เปน็ ส่ิงทเ่ี กิดขน้ึ ภายหลังที่รบั ร้สู ิ่งแวดลอ้ ม และมีปฏิกิริยาโต้ตอบสังเกตได้

จากพฤตกิ รรมทีย่ อมรับคา่ นิยมใดค่านิยมหนึ่ง
4) การจัดรวบรวม เปน็ การพจิ ารณา และรวบรวมค่านิยมให้เข้าเป็นระบบค่านิยมหรือสร้าง

มโนทศั นข์ องคา่ นิยม
5) การพิจารณาคุณลักษณะจากค่านิยม เป็นเร่ืองของความประพฤติ คุณสมบัติ และ

คุณลกั ษณะของแต่ละบคุ คลทเ่ี ปน็ ผลของความรสู้ กึ

3. ทกั ษะพิสัย (Psychomotor Domain) เป็นจดุ ประสงค์ ทเ่ี ก่ียวกบั ทักษะในการเคล่ือนไหว และใช้
อวัยวะต่างๆ ของร่างกายมีลาดบั การพฒั นา ดงั น้ี

1) การเลียนแบบ เป็นการทาตามตัวอยา่ งที่ครูให้ หรอื ดแู บบจากของจริง
2) การทาตามคาบอก เป็นการทาตามตวั อยา่ งที่ครใู ห้

3) การทาอย่างถกู ต้องเหมาะสม เป็นการกระทาโดยนกั เรียนอาศัยความรู้ทเ่ี คยทามากอ่ น
แล้วเพ่มิ เติม

4) การทาถกู ต้องหลากหลายรปู แบบ เปน็ การกระทาในเรอ่ื งคลา้ ยๆกันและแยกรปู แบบได้

ถูกตอ้ ง
5) การทาไดอ้ ย่างเปน็ ธรรมชาติ เป็นการทาให้เกิดความชานาญ และสาเร็จในเวลาทีร่ วดเรว็



๙. ดา้ นการพฒั นาตนเอง

ข้าพเจ้าหม่ันศึกษาและพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ควรร่วมกิจกรรมการฝึกอบรมหรือกิจกรรมการ
แลกเปลี่ยนเรยี นรูก้ ับเพ่อื นครูทงั้ ในและนอกโรงเรียนอย่างต่อเน่ือง และแลกเปล่ียนเรียนรู้และหาแนวทางใน
การแกไ้ ขปญั หารว่ มกนั กบั ครู ผบู้ รหิ าร ผูป้ กครอง เพื่อนรว่ มวชิ าชพี

ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพหรือ PLC คือ การรวมตัว รวมใจ รวมพลัง ร่วมมือกันของครู ผู้บริหาร
และนักการศึกษาในโรงเรียน เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสาคัญ ซึ่งมีขั้นตอนของการสร้างชุมชนการ
เรียนรทู้ างวิชาชีพ ดงั นี้

ข้นั ตอนท่ี 1 ระบปุ ญั หา
ระบุปัญหาเกีย่ วกับการจัดการเรยี นการสอน/การทางานของครู ทเี่ กิดขน้ึ ในสถานศกึ ษา

ขั้นตอนท่ี 2 วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้น ว่าเกิดขึ้นจากสาเหตุใด โดยมีปัจจัยใดเข้ามาเกี่ยวข้อง

มีแนวโน้มของปัญหาอย่างไร และมีผลกระทบใดทจี่ ะเกดิ ขนึ้
ข้นั ตอนที่ 3 ระดมความคิด เพื่อนาเสนอวธิ ีแก้ปญั หา
ระดมความคิดเพ่ือหาวิธแี กป้ ัญหาจากประสบการณ์และผลการวิจัยท่ีสามารถอ้างอิงได้ แล้วนาเสนอ

ผลการระดมความคดิ เม่อื นาเสนอเสรจ็ สิ้น ดาเนินการอภิปรายสรุปและเลือกวธิ ีการแกป้ ญั หาทเ่ี หมาะสม
ขั้นตอนที่ 4 ทดลองใชว้ ิธีแก้ปญั หา
นาวิธแี กป้ ญั หาที่ได้จากการระดมความคิด ไปทดลองใช้ในการเรียนการสอนในชั้นเรียน /ใน

การทางาน โดยร่วมกันสงั เกตการสอนและเกบ็ ขอ้ มูล หรือเกบ็ ขอ้ มูลจากการทดลองใช้ในการทางาน
ขั้นตอนท่ี 5 สรุปผลวธิ กี ารแกป้ ัญหา
อภปิ รายผลทเ่ี กดิ ข้นึ จากการทดลองใช้ นาเสนอผลการสังเกตการสอนและเสนอแนะวิธีการ

ปรับปรุงแก้ไข แล้วจึงสรุปผลวิธีการแก้ปัญหาที่ให้ผลดีต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน /การทางาน แล้วทาการ
แบง่ ปนั ประสบการณก์ ับชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี อน่ื

ซ่ึงจากการท่ีข้าพเจ้าได้ศึกษาข้อมูลของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพหรือ PLC จากเว็บไซต์ต่าง ๆ
สามารถท่จี ะนามาสรุปเพอื่ เป็นแนวทางในการดาเนนิ การเพือ่ ให้บรรลตุ ามจดุ ประสงค์ของชุมชนการเรียนรู้ทาง
วิชาชพี ได้ ดงั น้ี

1. การออกแบบและจัดการเรยี นรู้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้
2. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ ให้มคี วามหลากหลายตามสภาพผู้เรยี นตาม
ความสนใจและศักยภาพของผ้เู รียน และเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล
3. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ทใี่ ห้นักเรียนลงมอื ปฏิบตั ิ เชน่ โครงงาน Active Learning
4. การกระตุ้นการเรยี นรู้ของผู้เรยี น โดยเน้นทกั ษะการคิดวิเคราะห์ การตง้ั คาถาม
5. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สือ่ และเทคโนโลยี
6. การจดั การเรยี นการสอนแบบบรู ณาการเชอื่ มโยงกลุ่มสาระ

7. การประเมนิ ตามสภาพจริง และใหข้ อ้ มูลย้อนกลับและตดิ ตามผล รวมท้งั การช่วยเหลอื นกั เรยี น
การแลกเปล่ยี นเรียนรูใ้ นชุมชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ

การแลกเปลย่ี นเรยี นรใู้ นชมุ ชนการเรียนร้ทู างวชิ าชีพมผี ลดีทงั้ ต่อตัวผูเ้ รียนเองและครผู ู้สอนด้วย ซึง่
สามารถสรุปได้ ดังนี้
ครู

1. ลดความรู้สกึ โดดเดย่ี วในงานสอนของครู
2. เพม่ิ ความผกู พันต่อพนั ธกจิ และเปูาหมายของโรงเรยี น และความตง้ั ใจปฏบิ ัติงานใหบ้ รรลพุ นั ธกจิ
3. ร่วมกันรบั ผิดชอบต่อการพัฒนาผู้เรียนโดยรวม และรบั ผดิ ชอบต่อความสาเรจ็ ของผเู้ รยี นรายกลุ่ม
4. มสี มรรถภาพในการออกแบบการสอนและการปฏิบตั ิท่ดี ีในช้ันเรียนและสร้างสรรคค์ วามรู้และ
ความเช่อื ใหม่ ๆ เกีย่ วกบั การจัดการเรยี นรู้
5. มีความเข้าใจและใหค้ วามสาคัญเพม่ิ ขึน้ กบั เนอ้ื หาทีค่ รูต้องสอน และบทบาทหนา้ ท่ีในการ
ช่วยเหลือใหน้ กั เรยี นทกุ คนมีผลสมั ฤทธิ์ ตามความคาดหวงั ท่ีกาหนดไว้
6. มีความเปน็ ไปได้สงู ทีค่ รูจะกลับมาเป็นครูมอื อาชพี และสรา้ งแรงบันดาลใจให้แกน่ กั เรยี น
7. ขวญั และกาลงั ใจเพมิ่ สูงข้นึ และอตั ราการขาดงานลดลง
8. มผี ลตอ่ ความก้าวหน้าในการปรบั เปลย่ี นการสอนนกั เรยี น ให้บรรลุผลไดเ้ ร็วกว่าในโรงเรียนทั่วไป
9. ผูกพันตอ่ การกระทาที่สาคญั และการเปล่ียนแปลงท่ยี ง่ั ยนื
10. ผลของการกระทามีความเป็นไปได้สงู ต่อการเปลี่ยนแปลงข้ันพนื้ ฐานอย่างเป็นระบบ
นักเรียน
1. ลดอตั ราการตกซา้ ชั้น
2. อตั ราการขาดเรยี นลดลง
3. ลดอตั ราการออกกลางคัน
4. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นสงู ขน้ึ
5. เรยี นรดู้ ้วยเทคนิคแปลกใหม่













๑๐. ด้านการทางานเปน็ ทีม

การทางานเปน็ ทีมมคี วามสาคัญในทุกองค์กร เพราะการทางานเป็นทีมเป็นส่ิงจาเป็นสาหรับการเพ่ิม
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารงาน อีกท้ังการทางานเป็นทีมยังมีบทบาทสาคัญท่ีจะนาไปสู่
ความสาเรจ็ ของงานท่ตี ้องอาศัยความรว่ มมอื ของกลุม่ สมาชกิ เปน็ อยา่ งดี ดงั นัน้ ขา้ พเจา้ จงึ ได้ให้ความสาคัญกับ
การทางานร่วมกับผู้อ่นื ซ่ึงการทจี่ ะทางานรว่ มกบั ผอู้ ่นื ไดอ้ ย่างมีความสุขน้ัน ขา้ พเจ้ายึดแนวทาง ดงั น้ี

1. ชว่ ยเหลือเพ่ือนครูดว้ ยความเตม็ ใจทกุ เม่อื เม่อื มีโอกาส
2. ทางานด้วยความตรงไปตรงมา จริงใจตอ่ กนั ให้การสนับสนนุ กนั
3. ก่อนการเรมิ่ งานควรเพ่มิ ความสนิทสนม สานสัมพันธใ์ นหมูค่ ณะ
4. เม่อื มโี อกาสไดเ้ ป็นผ้นู าควรเป็นผ้นู าท่ีดี และเป็นผู้ตามที่มวี นิ ัย
5. เข้าใจการทางานของตนเอง และคนอ่นื
6. สรา้ งเปูาหมายร่วมกันและพยายามดาเนินไปจนถึงจดุ ทวี่ างไว้

การพัฒนาทมี งาน
ขา้ พเจา้ พงึ ระลึกเสมอว่าการจะกระทากิจกรรมใด ๆ ก็ตามร่วมกับผู้อ่ืนน้ัน สิ่งท่ีสาคัญ คือ เราต้องมี
ทักษะในการทางานรว่ มกบั ผู้อนื่ และมีการสรา้ งสัมพันธท์ ี่ดีกบั เพอ่ื นรว่ มงานอยเู่ สมอ นอกจากน้นั การจะทางาน
ในลักษณะของกลุ่มให้ประสบผลสาเรจ็ นน้ั จาเปน็ อยา่ งย่ิงที่ต้องอาศัยความร่วมมือของทุกคนในทีม ดังน้ันการ
จะทางานร่วมกนั ใหป้ ระสบผลสาเร็จนั้นต้องมีการพัฒนาทีมงานอยู่เสมอ ซ่ึงจากการวิเคราะห์กิจกรรมต่าง ๆ
ของมติ ิในการพฒั นาทีมงาน มีทกั ษะที่สัมพันธ์กับการสร้างทีมงาน ดงั นี้
1. ทกั ษะในการติดต่อส่ือสาร ในการทางานเป็นทีม สมาชิกจะต้องมีการติดต่อส่ือสารกันอย่างทั่วถึง
เขา้ ใจองคป์ ระกอบของการติดตอ่ สื่อสาร
2. ทักษะการปฏิสัมพันธ์ (Interaction skill) คือ ทักษะในการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น ทั้งในทีมงาน
และระหว่างทีมงาน หรอื เรยี กวา่ ทกั ษะดา้ นมนษุ ยส์ มั พันธ์ (Human relations skill)
3. ทักษะการเป็นผู้นาทีมงาน ในการทางานเป็นทีมเม่ือเรามีโอกาสได้เป็นผู้นา เราต้องมีความหนัก
แนน่ และพร้อมท่จี ะรับฟังทกุ ความคิดเหน็ ของผูร้ ว่ มทางาน
4. ทกั ษะในการแกป้ ัญหาและตดั สนิ ใจ การทางานรว่ มกับผอู้ นื่ ยอ่ มเปน็ เรือ่ งงา่ ยทีจ่ ะมีความขัดแย้งใน
หมูค่ ณะเกดิ ข้ึนได้ ฉะนัน้ เราควรรู้จักแก้ปญั หาไปตามสถานการณ์ อยา่ ใช้อารมณ์เป็นที่ตั้ง และหากจะตัดสินใจ
ทาอะไรควรใหเ้ ด็ดขาด และท่ีสาคัญคือ ต้องมคี วามยตุ ิธรรม

5. ทักษะในการประชุมของทีมงาน หากมีการประชุมเกิดข้ึน เราในฐานะของสมาชิกในทีมจาเป็นที่
จะต้องเข้าร่วมการประชุม เพื่อจะได้รับทราบข้อมูลต่าง ๆ เพ่ือจะได้ช่วยกันคิด ช่วยกันแก้ไขปัญหาที่อาจ
เกดิ ขึ้นในทีมได้

6. ทกั ษะในการบรหิ ารความขัดแยง้ ซงึ่ ถอื เป็นสิ่งยากท่จี ะหลกี เล่ียงสาหรับการทางานร่วมกัน เพราะ
ทุกคนต่างมีความคิดเป็นของตัวเอง ความขัดแย้งจึงอาจจะเกิดขึ้นได้ ส่ิงที่จะช่วยลดความขัดแย้งได้ คือ การ
ยอมรบั ในความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล การยอมรับในเสียงข้างมาก การเคารพในการตัดสินใจของหัวหน้าทีม
การใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์ เปน็ ตน้

ประโยชนท์ ีไ่ ดจ้ ากการทางานเปน็ ทีม
1. ทาให้ผลงานหรอื ชิ้นงานมีประสิทธิภาพมากข้นึ
2. ทาให้ระบบการทางานดมี ากข้นึ
3. เข้าใจตวั เองและเขา้ ใจเพือ่ นรว่ มงานมากข้นึ
4. รู้จกั ขอ้ ดีและขอ้ เสียของจนเอง

๑๑. งานกจิ กรรมตามภารกจิ บริหารงานของสถานศึกษา

ขา้ พเจ้ามีความกระตอื รอื ร้นในการทางานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจากงานบรหิ ารทั่วไป เพ่อื ใหง้ านสาเร็จ
ลลุ ่วงไปไดด้ ้วยดี

๑๒. การใชภ้ าษาและเทคโนโลยี

ทักษะการใช้ภาษาและเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพือ่ พัฒนาตนเอง
การจดั ทาแผนพฒั นาตนเองท่ีสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการจาเป็นของตนเองและสถานศกึ ษา

ข้าพเจ้าตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ และมีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนา
ตนเองให้มีพฤตกิ รรมการทางานท่ีพึงประสงค์ และเพอ่ื เปน็ การเพม่ิ ศักยภาพในการทางานในด้านตา่ ง ๆ ใหเ้ พิ่ม
มากข้นึ จึงได้จัดทาแผนพัฒนาตนเองขน้ึ ท้งั นเี้ พ่อื ให้สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของตนเองและสถานศกึ ษา

การใช้ภาษาเพอื่ พฒั นาตนเอง
ในสังคมปัจจุบันนี้ ทักษะการใช้ภาษามีความสาคัญและจาเป็นอย่างย่ิงกับทุกสาขาอาชีพ ย่ิงในยุคท่ี

สังคมเปดิ กว้างการตดิ ตอ่ สอื่ สารสะดวกรวดเรว็ ผูค้ นก็สามารถเขา้ ถึงกันไดง้ ่าย ไม่ว่าจะอยู่ห่างไกลกันแค่ไหนก็
สามารถเชื่อมถึงกันได้โดยง่าย ข้าพเจ้าจึงได้ตระหนักถึงการใช้ภาษาเพ่ือพัฒนาตนเอง และเพื่อประโยชน์ใน
การตดิ ต่อสอ่ื สารกบั เพ่อื นรว่ มงาน ผปู้ กครอง รวมไปถงึ การถา่ ยทอดความรใู้ ห้กบั นักเรียน โดยข้าพเจ้ายึดแนว
ทางการปฏิบัติสาหรบั การใชภ้ าษาเพอ่ื พัฒนาตนเอง ดังน้ี

1. กลา้ พูดในสงิ่ ท่ีตนเองคิด
2. ใหเ้ วลาตัวเองในการเรียบเรียงความคิด
3. เรยี นรทู้ ่จี ะฟัง
4. แสดงทัศนคติและความเชื่อที่กอ่ ให้เกิดประโยชน์
5. แสวงหาความรู้ คน้ หาคาตอบ
6. รบั รวู้ ทิ ยาการก้าวหนา้
7. กระต้นุ ความคดิ สร้างสรรค์
8. เกาะติดกระแส ทันสมยั ต่อเหตกุ ารณ์
9. ฝึกทักษะการคิด

การใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัลเพอื่ พัฒนาตนเอง
เมื่อได้ก้าวเข้าสู่ยุคโลกาภิวัฒน์เกิดการเปลี่ยนแปลงของส่ิงต่าง ๆ ตามมาอย่างมากมาย ความ

เจริญก้าวหน้าของหลาย ๆ อย่างทาให้เกิดเทคโนโลยีสมัยใหม่ตามมาด้วย เพราะฉะน้ันในสังคมทุกวันนี้จึงมี
เทคโนโลยีเข้ามาเก่ยี วข้องกบั การดาเนินชวี ิตในชีวิตประจาวัน ทุกสาขาอาชีพล้วนต้องใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย
ในการดาเนินงาน อาชีพครูก็เช่นเดียวกัน โดยข้าพเจ้าได้ใช้เทคโนโลยีเข้ามาเพ่ือพัฒนาตนเองซ่ึงยึดแนวทาง
ดังน้ี

1. เขา้ อบรมออนไลน์ในระบบ TEPE Online เพอ่ื พฒั นาครผู ชู้ ่วยก่อนดารงตาแหนง่ ครู
2. เปน็ ผ้เู ลือก คอื เลือกใชส้ ื่อเทคโนโลยใี หเ้ หมาะสมกบั ผู้เรียน
3. เปน็ ผูใ้ ช้ คอื ใช้ส่อื เทคโนโลยีหลากหลายและเกิดประโยชน์ต่อผเู้ รียนมากทีส่ ดุ
4. เปน็ ผ้ผู ลติ คือ สร้างสอ่ื นวัตกรรมท่ชี ว่ ยเพมิ่ ประสิทธภิ าพในการจดั การเรียนการสอน

5. เป็นผพู้ ฒั นา คือ สรา้ งองคค์ วามรู้ผา่ นส่ือเทคโนโลยี
6. ครตู อ้ งสามารถใช้ส่ือและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสเ์ พ่ือการศกึ ษาเปน็ เพ่ือใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ การ
เรยี นร้ขู องศษิ ยม์ ากท่สี ุด
7. ครูสามารถประยกุ ต์สื่อและเทคโนโลยใี นการเรียนการสอนได้อยา่ งเหมาะสมกับสภาพผเู้ รียน
8. ครสู ามารถผลิตสือ่ เพอื่ การใชง้ านและนาเสนอได้
9. ครูสามารถเลอื กใช้สอื่ และอปุ กรณท์ ่ีเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและขอ้ จากัดท่มี อี ยู่
10. ครูตดิ ตามพัฒนาการของเทคโนโลยแี ละการส่ือสารอยา่ งสม่าเสมอ

ทักษะการใชภ้ าษาและเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพ่ือพฒั นาผเู้ รียน
การเรียนการสอน เป็นการส่ือสารอีกรูปแบบหนึ่ง มีท้ังผู้ส่งสาร อันได้แก่ครูผู้สอน มีสาร คือความรู้

หรือประสบการณ์ท่ีจัดขึ้น ผู้รับสารคือ ผู้เรียน มีกระบวนการเรียนการสอนประกอบด้วยเคร่ืองมือ สื่อการ
เรียนการสอนต่าง ๆ ภายใต้สถานการณ์ที่จัดข้ึนในห้องเรียน หรือสถานการณ์ที่จัดขึ้นในสถานที่อ่ืน และมี
จุดหมายของหลักสตู รและสาระมาตรฐานการเรียนรู้เปน็ เครือ่ งนาทาง

จุดมุ่งหมายของการสื่อสารในการเรียนการสอน คือการพยายามสร้างความเข้าใจ ทักษะ ความรู้
ความคิดตา่ ง ๆ รว่ มกนั ระหว่างผ้เู รยี นกับผ้สู อน ความสาเร็จของการเรียนการสอนพิจารณาได้จากพฤติกรรม
ของผ้เู รยี นทเี่ ปลย่ี นแปลงไปตามจุดมุ่งหมายท่ีตั้งไว้แต่ต้น ตามลักษณะการเรียนรู้น้ัน ๆ ปัญหาสาคัญของการ
สอื่ สารในการเรียนการสอนคือ ทาอย่างไรจงึ จะสามารถสร้างความเข้าใจระหว่างครูกับนักเรียนได้อย่างถูกต้อง
ครูผสู้ อนจะตอ้ งมีความรูค้ วามสามารถ มที กั ษะในการส่อื สาร และทส่ี าคัญอีกอย่างหนง่ึ สาหรบั ครู คือการใช้สื่อ
การเรยี นการสอนตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสม นอกเหนอื การใช้คาพูดของครูแต่เพียงอย่างเดียว ท้ังนี้เพราะส่ือหรือ
โสตทัศนูปกรณ์ มีคุณลักษณะพิเศษบางประการที่ไม่มีในตัวบุคคล ดังน้ัน ข้าพเจ้าจึงได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียน และเพื่อให้
การเรียนการสอนมีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ข้าพเจ้าจึงได้ยึดแนวทางการปฏิบัติตนเพ่ือการ
พฒั นาผู้เรียน ดงั น้ี
1. เปน็ ผ้ทู ี่มเี จตนาแนช่ ัดท่จี ะให้ผู้เรียนรบั ร้จู ดุ ประสงค์ของตนนนั่ คือจดุ มงุ่ หมายของการเรยี นรวมถงึ แสดง
ความคิดเห็น หรือวิจารณ์ อย่างเปน็ ธรรม
2. เปน็ ผทู้ ม่ี ีความรู้ ความเขา้ ใจในเนื้อหาของสาร (เนื้อหาสาระการเรยี นรู้) ท่ีตอ้ งการจะสื่อออกไปเปน็ อยา่ งดี
3. เป็นผู้ทีม่ ีบคุ ลกิ ลกั ษณะที่ดี มคี วามน่าเช่ือถือ แคลว่ คล่องเปดิ เผยจรงิ ใจ และมคี วามรับผิดชอบในฐานะเป็น
ผสู้ ่งสาร
4. เป็นผทู้ ่ีสามารถเขา้ ใจความพร้อมและความสามารถในการรับสารของ
ผู้รับสารหรือความพร้อมของนักเรยี น
5. เปน็ ผู้รจู้ กั เลอื กใช้กลวิธีท่เี หมาะสมในการสง่ สารหรอื นาเสนอสาร

การใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพ่ือการจัดการเรียนรูท้ เ่ี หมาะสมกับผู้เรียน สอดคลอ้ งกับเนือ้ หาสาระ มาตรฐาน
การเรยี นรู้

ในศตวรรษนี้ถือเป็นยุคท่ีโลกต้องเผชิญกับความเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว ข้อมูลข่าวสาร
สารสนเทศ ต่าง ๆ จากทุกสารทิศทั่วทุกมุมโลกสามารถถ่ายทอดส่งต่อกันได้อย่างไร้ขีดจากัดเพียงปลายน้ิว
สมั ผัส โดยใช้เวลาเพยี งแค่เสีย้ ววนิ าทเี ทา่ น้ัน การเรยี นรู้เกิดข้นึ ได้ทกุ ที่ทุกเวลาแบบก้าวข้ามพรมแดน สามารถ
ซอกซอนไปไดท้ ั่วทุกมุมโลกตามท่ีต้องการโดยผา่ นระบบเครือข่าย

การจัดการเรียนการสอนในยุคโลกดิจิตอลน้ันครูควรมีบทบาทในการเป็นผู้อานวยความสะดวกและ
ชี้แนะแนวทางเพ่ือให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ และบางคร้ังอาจจะต้องเป็นผู้ร่วมเรียนรู้ไปพร้อมกับผู้เรียนด้วย
ดังนนั้ ครูในยคุ นจี้ งึ ต้องมีคณุ ลักษณะท่เี รยี กว่า E-Teacher เช่น ต้องมีประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้แบบ
ใหม่โดยจดั การเรยี นการสอนผ่านระบบอินเทอร์เน็ตและสื่อเทคโนโลยี มีทักษะในการแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ
เพ่ือขยายองค์ความรู้ของตนเองตลอดเวลา มีความสามารถในการถ่ายทอดหรือขยายความรู้ของตนเองสู่
นักเรียนผ่านสื่อเทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการเสาะหาและคัดเลือกเน้ือหาความรู้
หรือเนอ้ื หาท่ีทันสมัย เหมาะสมและเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนผ่านทางสื่อเทคโนโลยี สามารถใช้ส่ือเทคโนโลยี
อยา่ งมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลท้ังในฐานะที่เป็นผู้ผลิตความรู้ ผู้กระจายความรู้ และผู้ใช้ความรู้ เป็นต้น
ข้าพเจ้าจึงได้พยายามสืบค้นหาข้อมูลเก่ียวกับการใช้เทคโนโลยี ดิจิทัลเพ่ือท่ีจะนามาต่อยอดใช้ในการจัดการ
เรยี นรใู้ ห้มคี วามเหมาะสมกบั ผเู้ รยี น รวมไปถงึ สอดคลอ้ งกบั เนือ้ หาสาระ และมาตรฐานการเรียนรู้
ทั้งน้ีในอนาคตข้าพเจ้าคิดว่าอยากจะพัฒนาผู้เรียนโดยใช้เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมเข้ามามีส่วนช่วยในการ
จัดการเรียนการสอน โดยจะพยายามยึดแนวทาง ดังนี้

1. พัฒนาผเู้ รียนให้เกิดการเรียนรตู้ ลอดชีวิต โดยใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั เช่น การเรยี นรู้แบบทุกท่ีทกุ เวลา
หอ้ งการจาลอง และระบบการเรียนรูค้ วามเป็นจรงิ เสมอื น เป็นตน้

2. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ่ีเนน้ ให้นักเรยี นเป็นนกั คิด นกั สรา้ ง (Makers) โดยใชเ้ ทคโนโลยี
ดจิ ทิ ัลสรรค์สร้างนวตั กรรม

3. สง่ เสริมการใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัลในการพัฒนาและผลติ สอื่ การเรยี นรูด้ ้วยตนเอง รวมถึงทรัพยากร
การเรียนรทู้ ่ีมคี ณุ ภาพและทนั สมยั

ทกั ษะการใชภ้ าษาและเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพอ่ื การสื่อสาร
การสื่อสารภายในองค์กรท่ีดี ที่จะช่วยสร้างความเข้าใจในนโยบายของผู้บริหาร และเป็นสิ่งเช่ือม

ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรในองค์กร และเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อองค์กรในทางบวก
เพราะนโยบายการบรหิ ารงานการจดั การขององค์กรเป็นส่วนสาคญั และเพ่ือให้การดาเนินงานบรรลุเปูาหมาย
ที่วางไว้ การสอื่ สารภายในองคก์ ร จึงเปน็ สิ่งจาเป็นยง่ิ สาหรับกิจกรรมและการดาเนินงานต่าง ๆ ท่ีจะเกิดขึ้นใน
องคก์ ร ทงั้ นีห้ ากการส่ือสารภายในองค์กรดีชัดเจน ก็จะส่งผลให้การปฏิบัติงานตามนโยบายเป็นไปในทิศทาง
เดียวกัน บุคลากรในองค์กรเกิดความพึงพอใจ และเข้าใจนโยบายได้อย่างชัดเจน และส่งผลต่อประสิทธิภาพ
ในการทางาน ดังนั้น กระบวนการทางานขององค์กรเพ่ือให้บรรลุเปูาหมายจะต้องทาให้การติดต่อสื่อสาร
ระหว่างบุคลากรในฝุายต่าง ๆ ท้ังภายใน และภายนอกองค์กรเป็นไปอย่างคลองตัว เพ่ือให้เกิดความเข้าใจท่ี

ตรงกันเกิดความร่วมมอื และการประสานงานอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เพือ่ ให้การทางานขององค์กรสามารถบรรลุ
เปูาหมาย และประสบผลสาเร็จด้วยดี
ข้าพเจ้าตระหนักถึงความสาคัญของการสื่อสารในการปฏิบัติงานเป็นอย่างมาก เพราะการประกอบอาชีพครู
ต้องมีการติดต่อส่ือสารกันระหว่างเพื่อนครูอยู่เสมอ ทั้งน้ีเพ่ือการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน และกา ร
บรหิ ารงานของฝาุ ยต่าง ๆ ในโรงเรียนใหป้ ระสบผลสาเร็จอย่างสงู สุด ขา้ พเขา้ จึงไดย้ ดึ แนวทางในการปฏิบัติตน
เพ่อื การสอ่ื สารในการปฏิบัตงิ าน ดังนี้

1. การคิดก่อนพดู กอ่ นจะพูดหรอื สอื่ สารอะไรออกไปควรไตร่ตรองใหด้ เี สียกอ่ น ตอ้ งระลกึ อยเู่ สมอว่า
คาพูดใดก็ตามทเี่ ราเอ่ยออกไปแล้วลว้ นเป็นนายเราท้งั ส้ิน

2. การเตรยี มตัวกอ่ นสนทนา และเปิดใจเรียนรสู้ ิง่ ใหม่รวมถงึ มุมมองทหี่ ลากหลาย พงึ ระลึกอยเู่ สมอ
ว่าทุกการพดู คุยชว่ ยเปิดโอกาสให้เราไดร้ ู้มากขน้ึ เขา้ ใจมากขึ้น

3. สรา้ งนสิ ยั การเรยี นรู้และหาข้อมูลท่ีจะช่วยใหก้ ารสนทนาล่นื ไหลยิ่งขนึ้ บางครงั้ ถ้าเรารู้ล่วงหน้า
เกย่ี วกับหัวข้อทต่ี ้องมกี ารสนทนาหรอื การประชมุ เราควรจะศกึ ษาข้อไปไปกอ่ นอย่างคร่าว ๆ เพอื่ ช่วยให้เรา
เขา้ ใจ และสามารถส่ือสารกบั เพือ่ นครูได้รวดเร็วข้ึน

4. ไม่ละเลยกริ ิยาท่าทาง อารมณ์ และความร้สู ึก ซงึ่ ในขณะท่ีกาลังสอ่ื สารกบั เพ่ือนครอู ยูค่ วรตระหนัก
ถงึ การแสดงออกของกิริยาท่าทางตา่ ง ๆ เพราะบางครง้ั ส่ิงเหล่านมี้ ีอทิ ธิพลตอ่ ผู้รับฟงั มากกวา่ คาพูดท่ีพูออกไป

5. การรบั ฟงั ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะของเพื่อนครู ถือเป็นส่ิงที่สาคัญอย่างย่ิง เพราะต่างคนก็
ต่างมีความคิดเป็นของตัวเอง แต่ทุกคนต้องรู้จักเข้าใจและเอาใจเขามาใส่ใจเราด้วย จึงจะสามารถทางาน
ร่วมกันได้อย่างมคี วามสขุ

การใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัลเพื่อการส่ือสารในการปฏบิ ตั ิงาน
จากที่ขา้ พเจา้ ไดศ้ กึ ษาข้อมลู เกีย่ วกับการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัล เพอื่ การสอ่ื สารในการปฏบิ ตั ิงาน ข้าพเจ้า

ได้แนวคิดทจี่ ะนามาใชใ้ นการปฏบิ ัติงาน ดังนี้
1. พัฒนาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ได้แก่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์การศึกษา โครงสร้าง

พน้ื ฐาน และเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อรองรับการเรียนรูท้ เ่ี หมาะสม
2. กาหนดพ้นื ที่ กิจกรรม ส่ือดิจทิ ลั และส่ิงอานวยความสะดวกเพื่อส่งเสริมการใช้ภาษาต่างประเทศ

ในการสื่อสารใหก้ ับนักเรยี นและบุคลากร
3. ปรับปรุงและพัฒนาการเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัล และทรัพยากรสารสนเทศ ที่สอดคล้องกับความ

ตอ้ งการของนักเรียน บุคลากร และผ้ใู ชบ้ ริการในรูปแบบทีเ่ หมาะสม
4. ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เป็นหนึ่งในวัฒนธรรมองค์กรอย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับ

จรรยาบรรณ




Click to View FlipBook Version