แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (Active learning) รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย เวลา 6 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความหมายและความสำคัญของนาฏศิลป์ เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ มาตรฐานศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า นาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มาตรฐานศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ นาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาห้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.4-6/5 วิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์และการละครที่ต้องการสื่อความหมายในการแสดง ศ 3.2 ม.4-6/3 บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 2. สาระสำคัญ นาฏศิลป์ไทย มีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่องจากอดีตถึงปัจจุบัน และมีความสัมพันธ์กับวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล อันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติไทย 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 นักเรียนสามารถอธิบายความหมายและความสำคัญของนาฏศิลป์ได้ (K) 3.2 นักเรียนสามารถค้นคว้าความหมายและความสำคัญของนาฏศิลป์ได้ (P) 3.3 นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของนาฏศิลป์(A)
4.สาระการเรียนรู้ - ความหมายและความสำคัญของนาฏศิลป์ 5. สมรรถนะของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1. ครูผู้สอนให้นักเรียนบอกสิ่งที่สื่อถึงความเป็นนาฏศิลป์ไทยที่นักเรียนรู้จัก ขั้นสอน 1. ครูผู้สอนสนทนากับนักเรียนและสรุปเรื่อง ความหมายและความสำคัญของนาฏศิลป์ พร้อมเปิด PowerPoint ประกอบการสอนว่า นาฏศิลป์มีความหมายในทำนองการร้องรำทำเพลง เพื่อให้เกิดความบันเทิงเริงใจ อันรวมด้วยความโน้มเอียงของอารมณ์และความรู้สึก 2. ครูผู้สอนเปิด PowerPoint เรื่อง การละครไทยในสมัยต่างๆ ได้แก่ สมัยน่านเจ้า สมัยสุโขทัย และสมัย อยุธยา ให้นักเรียนศึกษา 3. เมื่อวีดิทัศน์จบลง ครูผู้สอนให้นักเรียนร่วมกันอธิบายความสำคัญของนาฏศิลป์ และการละครไทย ในสมัยต่างๆ ได้แก่ สมัยน่านเจ้า สมัยสุโขทัย และสมัยอยุธยา โดยให้นักเรียนร่วมกันอธิบายทั้งชั้นเรียน 4. ครูผู้สอนอธิบายเนื้อหาให้นักเรียนฟังเพิ่มเติม
ขั้นสรุป 1. ครูผู้สอนอธิบายเนื้อหาเรื่อง ความหมายและความสำคัญของนาฏศิลป์ และเรื่อง การละครไทยในสมัย ต่างๆ ได้แก่ สมัยน่านเจ้า สมัยสุโขทัย และสมัยอยุธยา ให้นักเรียนฟังเพิ่มเติม 8.สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ -หนังสือเรียนวิชา นาฏศิลป์ ม.4 - PowerPoint เรื่อง การละครไทยในสมัยต่างๆ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ -ห้องเรียน -อินเทอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้(Active learning) รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย เวลา 6 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย(สมัยน่านเจ้า) เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ มาตรฐานศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า นาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ นาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.4-6/5 วิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์และการละครที่ต้องการสื่อความหมาย ในการแสดง ศ 3.2 ม.4-6/3 บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 2. สาระสำคัญ นาฏศิลป์ไทยเป็นศิลปะการแสดงที่มีความอ่อนช้อย งดงาม เป็นศิลปะที่แสดงถึงความเป็นชาติไทยซึ่งใน การจัดการแสดงนาฏศิลป์ไทยจะต้องมีศิลปะและประองค์กอบด้านต่างๆมีหลักในการสร้างสรรค์การแสดงเพื่อให้ สวยงาม เกิดคุณค่าและประทับใจต่อผู้ชม สมัยน่านเจ้า ในสมัยน่านเจ้ามีละครเรื่องมโนห์ราซึ่งในปัจจุบันก็ยังมีอยู่ นอกจากนี้ยังมีการแสดงระบำ ต่างๆ ซึ่งเป็นการละเล่นของพวกไต 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 นักเรียนสามารถอธิบายประวัติการละครในสมัยน่านเจ้าได้(K) 3.2 นักเรียนสามารถอภิปรายการละครในสมัยน่านเจ้าได้(P) 3.3 นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของนาฏศิลป์ (A)
4. สาระการเรียนรู้ -การละครไทยในสมัยน่านเจ้า 5.สมรรถนะของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1. ครูทบทวนความรู้เนื้อหาชั่วโมงที่แล้ว ขั้นสอน 1. ครูผู้สอนเปิด PowerPoint เรื่อง การละครไทยในสมัยน่านเจ้า ให้นักเรียนศึกษา 2. ครูผู้สอนให้นักเรียนร่วมกันอธิบายการละครไทยในสมัยน่านเจ้า โดยให้นักเรียนร่วมกันอธิบายทั้ง ชั้นเรียน 3. ครูผู้สอนอธิบายเนื้อหาให้นักเรียนฟังเพิ่มเติม ขั้นสรุป 1. ครูผู้สอนอธิบายเนื้อหาเรื่อง การละครไทยในสมัยน่านเจ้าให้นักเรียนฟังเพิ่มเติม
2. ครูผู้สอนให้นักเรียนทำงานกลุ่ม กลุ่มละไม่เกิน 4 คน เพื่อให้นักเรียนออกมาอธิบายเกี่ยวการละครไทย ในสมัยน่านเจ้า 8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ - PowerPoint เรื่อง การละครไทยในสมัยน่านเจ้า 8.2 แหล่งการเรียนรู้ -ห้องเรียน -อินเทอร์เน็ต 9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ 3.1 นักเรียนสามารถ อธิบายประวัติการละคร ในสมัยน่านเจ้าได้(K) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.2 นักเรียนสามารถ อภิปรายการละครใน สมัยน่านเจ้าได้(P) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.3 นักเรียนตระหนักถึง ความสำคัญของ นาฏศิลป์ (A) -สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน ในห้องเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้(Active learning) รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย เวลา 6 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย(สมัยสุโขทัย) เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ มาตรฐานศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า นาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.4-6/5 วิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์และการละครที่ต้องการสื่อความหมาย ในการแสดง ศ 3.2 ม.4-6/3 บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 2. สาระสำคัญ นาฏศิลป์ไทยเป็นศิลปะการแสดงที่มีความอ่อนช้อย งดงาม เป็นศิลปะที่แสดงถึงความเป็นชาติไทยซึ่ง ในการจัดการแสดงนาฏศิลป์ไทยจะต้องมีศิลปะและประองค์กอบด้านต่างๆมีหลักในการสร้างสรรค์การแสดง เพื่อให้สวยงาม เกิดคุณค่าและประทับใจต่อผู้ชม สมัยสุโขทัย มีการแสดงที่เป็นเรื่องราวที่แน่นอน คือ เรื่องมโนห์ราส่วนเรื่องอื่นๆไม่มีการแสดง แพร่หลาย นิยมแสดงการรำและการระบำ ซึ่งมีความหมายเดียวกัน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 นักเรียนสามารถอธิบายประวัติการละครในสมัยสุโขทัยได้(K) 3.2 นักเรียนสามารถอภิปรายการละครในสมัยสุโขทัยได้(P) 3.3 นักเรียนใฝ่เรียนรู้รักความเป็นไทย (A) 4. สาระการเรียนรู้ -ประวัติการละครในสมัยสุโขทัย
5.สมรรถนะของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1. ครูทบทวนความรู้เนื้อหาชั่วโมงที่แล้ว ขั้นสอน 1.ครูให้นักเรียนนำหนังสือเรียนวิชานาฏศิลป์มาประกอบการเรียน ครูอธิบายประวัติและการแสดงใน สมัยสุโขทัย 2.ครูให้นักเรียนออกมาอธิบายหน้าชั้นเรียนพอสังเขปว่าประวัติและการแสดงในสมัยสุโขทัย เขามี ลักษณะการแสดงแบบไหน ขั้นสรุป 1.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่องประวัติและการแสดงในสมัยสุโขทัย 8.สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ -หนังสือเรียนวิชา นาฏศิลป์ ม.4 8.2 แหล่งการเรียนรู้ -ห้องเรียน -อินเทอร์เน็ต
9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ 3.1 นักเรียนสามารถ อธิบายประวัติการละคร ในสมัยสุโขทัยได้(K) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.2 นักเรียนสามารถ อภิปรายการละครใน สมัยสุโขทัยได้(P) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.3 นักเรียนใฝ่เรียนรู้รัก ความเป็นไทย (A) -สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน ในห้องเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้(Active learning) รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย เวลา 6 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย(สมัยอยุธยา) เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ มาตรฐานศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า นาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ นาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.4-6/5 วิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์และการละครที่ต้องการสื่อความหมาย ในการแสดง ศ 3.2 ม.4-6/3 บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 2. สาระสำคัญ นาฏศิลป์ไทยเป็นศิลปะการแสดงที่มีความอ่อนช้อย งดงาม เป็นศิลปะที่แสดงถึงความเป็นชาติไทยซึ่งใน การจัดการแสดงนาฏศิลป์ไทยจะต้องมีศิลปะและประองค์กอบด้านต่างๆมีหลักในการสร้างสรรค์การแสดงเพื่อให้ สวยงาม เกิดคุณค่าและประทับใจต่อผู้ชม สมัยอยุธยา สมันนี้มีต้นกำเนิดมาจากการเล่นมโนห์ราและละครชาตรี ละครสมัยนี้เล่นกัน 3 ประเภท คือ ละครชาตรี ละครนอก และละครใน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 นักเรียนสามารถอธิบายต้นกำเนิดละครในสมัยอยุธยาได้(K) 3.2 นักเรียนค้นคว้าการละครในสมัยอยุธยาได้(P) 3.3 นักเรียนใฝ่เรียนรู้(A)
4. สาระการเรียนรู้ -ต้นกำเนิดละครในสมัยน่านเจ้า 5.สมรรถนะของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1. ครูทบทวนความรู้เนื้อหาชั่วโมงที่แล้ว ขั้นสอน 1. ครูเปิดวิดีโอเกี่ยวกับละครในสมัยอยุธยาให้นักเรียนศึกษา 2. เมื่อวิดีโอจบลง ครูให้นักเรียนร่วมกันอธิบายละครในสมัยอยุธยา ขั้นสรุป 1. ครูผู้สอนและนักเรียนร่วมกันสรุปอธิบายเนื้อหา เรื่อง การละครไทยสมัยอยุธยา 8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ -วิดีโอ เรื่องละครในสมัยอยุธยา
8.2 แหล่งการเรียนรู้ -ห้องเรียน -ยูทูป 9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ 3.1 นักเรียนสามารถ อธิบายต้นกำเนิดละคร ในสมัยอยุธยาได้ (K) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.2 นักเรียนค้นคว้าการ ละครในสมัยอยุธยาได้ (P) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.3 นักเรียนใฝ่เรียนรู้(A) -สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน ในห้องเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้(Active learning) รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย เวลา 6 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย (สมัยธนบุรี สมัยรัตนโกสินทร์) เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ มาตรฐานศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า นาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ นาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.4-6/5 วิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์และการละครที่ต้องการสื่อความหมาย ในการแสดง ศ 3.2 ม.4-6/3 บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 2.สาระสำคัญ นาฏศิลป์ไทยมีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่องจากอดีตถึงปัจจุบัน และมีความสัมพันธ์กับวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล อันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติไทย 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 นักเรียนสามารถอธิบายความหมายและความสำคัญของนาฏศิลป์ได้ (K) 3.2 นักเรียนสามารถค้นคว้าละครไทยในสมัยสมัยธนบุรีและสมัยรัตนโกสินทร์(P) 3.3 นักเรียนตะหนักถึงความสำคัญของนาฏศิลป์(A)
4. สาระการเรียนรู้ การละครไทยในสมัยต่างๆ -สมัยธนบุรี -สมัยรัตนโกสินทร์ 5.สมรรถนะของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ครูผู้สอนทบทวนเนื้อหาการละครไทยในสมัยต่างๆ (สมัยน่านเจ้า สมัยสุโขทัย และสมัยอยุธยา) ขั้นสอน 1.ครูผู้สอนเปิดวิดีโอเรื่อง การละครไทยในสมัยต่างๆ ได้แก่ สมัยธนบุรี สมัยรัตน์โกสินทร์ ให้ นักเรียนศึกษา 2. เมื่อวิดีโอจบลง ครูผู้สอนให้นักเรียนร่วมกันอธิบายการละครไทยในสมัยต่างๆ ได้แก่ สมัย ธนบุรีสมัยรัตน์โกสินทร์ โดยให้นักเรียนร่วมกันอธิบายทั้งชั้นเรียน 3.ครูผู้สอนให้นักเรียนทำงานกลุ่มๆ ละไม่เกิน 4 คน เพื่อให้ทำใบงาน 1.1 การละครไทยในยุค สมัยต่างๆ
ขั้นสรุป 1. ครูผู้สอนอธิบายเนื้อหาเรื่อง การละครไทยในสมัยต่างๆ ได้แก่ สมัยธนบุรี สมัยรัตน์โกสินทร์ให้ นักเรียนฟังเพิ่มเติมสมัยต่างๆ 2. ครูผู้สอนให้นักเรียนทำคำถามพัฒนากระบวนการคิดประจำหน่วยที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของ นาฏศิลป์และละครไทย (งานเดี่ยว) 8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ - ใบความรู้เรื่อง การละครไทยในสมัยต่างๆ -ใบงาน 1.1 การละครไทยในยุคสมัยต่างๆ - คำถามพัฒนากระบวนการคิดประจำหน่วยที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย 8.2 แหล่งการเรียนรู้ -youtube "การละครไทยในสมัยต่างๆ
9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ 3.1 นักเรียนสามารถ อธิบายความหมายและ ความสำคัญของ นาฏศิลป์ได้ (K) -สังเกตพติกรรมของ นักเรียนในการเข้าร่วม กิจกรรม -ตรวจใบงาน -แบบสังเกตพฤติกรรม การเข้าร่วมกจกรรม -ใบงาน 1.1 การละคร ไทยในยุคสมัยต่างๆ -คำถามพัฒนา กระบวนการคิดประจำ หน่วยที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของ นาฏศิลป์และละครไทย -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.2 นักเรียนสามารถ ค้นคว้าละครไทยในสมัย สมัยธนบุรีและสมัย รัตนโกสินทร์(P) -สังเกตพติกรรมของ นักเรียนในการเข้าร่วม กิจกรรม -แบบสังเกตพฤติกรรม การเข้าร่วมกจกรรม -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.3 นักเรียนตะ หนักถึงความสำคัญของ นาฏศิลป์ -สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน ในห้องเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้(Active learning) รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย เวลา 6 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความงามและคุณค่าของนาฏศิลป์ไทย เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ มาตรฐานศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า นาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ นาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.4-6/5 วิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์และการละครที่ต้องการสื่อความหมาย ในการแสดง ศ 3.2 ม.4-6/3 บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 2.สาระสำคัญ นาฏศิลป์ไทยเป็นศิลปะการแสดงที่มีความอ่อนช้อย งดงาม เป็นศิลปะที่แสดงถึงความเป็นชาติไทยซึ่งใน การจัดการแสดงนาฏศิลป์ไทยจะต้องมีศิลปะและประองค์กอบด้านต่างๆมีหลักในการสร้างสรรค์การแสดงเพื่อให้ สวยงาม เกิดคุณค่าและประทับใจต่อผู้ชม 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 นักเรียนสามารถอธิบายความงามและคุณค่าของนาฏศิลป์ไทยได้ (K) 3.2 นักเรียนสามารถค้นคว้าความงามและคุณค่าของนาฏศิลป์ไทยได้ (P) 3.3 นักเรียนรักความเป็นไทย (A )
4.สาระการเรียนรู้ -ความงามและคุณค่าของนาฏศิลป์ 5.สมรรถนะของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ของบทเรียนให้นักเรียนทราบ ขั้นสอน 1.นักเรียนนำหนังสือเรียนวิชานาฏศิลป์มาประกอบการเรียน ครูอธิบายเกี่ยวกับความงามและ คุณค่า ของนาฏศิลป์ไทย 2.ครูและนักเรียนร่วมวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวเกี่ยวกับความงามและคุณค่าของนาฏศิลป์ไทย ขั้นสรุป 1.ครูสุ่มให้นักเรียนสรุปเนื้อหาแล้วนำเสนอหน้าชั้นเรียน 2.ครูและนักเรียนร่วมสนทนาและสรุป ทบทวนบทเรียนอีกครั้งและให้นักเรียนศึกษาความรู้เนื้อหา เพิ่มเติมใน หนังสือเรียน อินเทอร์เน็ต
8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ -หนังสือเรียน 8.2 แหล่งการเรียนรู้ -ห้องเรียน -อินเทอร์เน็ต 9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ 3.1 นักเรียนสามารถ อธิบายความงามและ คุณค่าของนาฏศิลป์ไทย ได้ (K) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.2 นักเรียนสามารถ ค้นคว้าความงามและ คุณค่าของนาฏศิลป์ไทย ได้ (P) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.3 นักเรียนรักความ เป็นไทย (A ) -สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน ในห้องเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้(Active learning) รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง รำวงมาตรฐานเพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า เวลา 4 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติความเป็นมาการแสดงรำวงมาตรฐาน (คำร้อง ท่ารำ นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการรำ) เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ มาตรฐานศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า นาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.4-6/2 มีทักษะในการแสดงหลายรูปแบบ 2. สาระสำคัญ รำวงมาตรฐานเป็นการแสดงที่พัฒนามาจากการเล่นรำโทน เป็นการแสดงที่สร้างความสนุกสนาน ผ่อน คลายให้กับคนในชาติ และเป็นศิลปะการแสดงที่แสดงถึงเอกลักษณ์ของชาติที่ควรอนุรักษ์ไว้สืบไป 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับการแสดงรำวงมาตรฐานเพลงจันทร์ขวัญฟ้าได้ (K) 3.2 นักเรียนสามารถปฏิบัติร้องและรำเพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า (P) 3.3 นักเรียนเห็นคุณค่าทางวัฒนธรรมและนาฏศิลป์ (A) 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ประวัติความเป็นมาการแสดงรำวงมาตรฐาน 4.2 ลักษณะการแสดงรำวงมาตรฐาน 4.3 การแต่งกาย
5.สมรรถนะของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ครูให้นักเรียนชมYoutubeการแสดงรำวงมาตรฐาน ขั้นสอน 1.ครูอธิบายเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาการแสดงรำวงมาตรฐาน ลักษณะการแสดงรำวงมาตรฐานการ แต่งกายและเนื้อเพลงรำวงมาตรฐาน เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า 2.ครูผู้สอนให้นักเรียนชมวีดีโอเพลงรวงมาตรฐาน(เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า) 3.ครูผู้สอนให้นักเรียนเขียนเนื้อ เพลง ดวงจันทร์ขวัญฟ้า 4.จากนั้นครูบอกให้นักเรียนกลับไปทบทวนท่ารำในวันนี้ และสอบปฏิบัติในชั่วโมงถัดไป ขั้นสรุป 1.ครูผู้สอนนัดหมายให้นักเรียนฝึกร้องเพลง ดวงจันทร์ขวัญฟ้า
(ชั่วโมงที่ 2) ขั้นนำ 1. ครูพานักเรียนทบทวนเนื้อหาในชั่วโมงที่แล้ว ขั้นสอน 1. ครูผู้สอนให้นักเรียนร้องเพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า ตามครูผู้สอนที่ละวรรค 2. ครูผู้สอนและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง ดวงจันทร์ขวัญฟ้า 2 รอบ โดยไม่เปิดเพลง 3. ครูผู้สอนและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง ดวงจันทร์ขวัญฟ้า 2 รอบ โดยเปิดเพลง 4. ครูผู้สอนบอกนาฏยศัพท์ที่ใช้ในเพลง ให้นักเรียนได้ทราบ ขั้นสรุป 1. ครูผู้สอนนัดหมายให้นักเรียนฝึกร้องเพลง ดวงจันทร์ขวัญฟ้า พร้อมศึกษาท่ารำใน youtube "รำวง มาตรฐาน เพลง ดวงจันขวัญฟ้า (ชั่วโมงที่ 3) ขั้นนำ 1.ครูพานักเรียนทบทวนเนื้อหาในชั่วโมงที่แล้ว ขั้นสอน 1.ครูสาธิตการรำดวงจันทร์ขวัญฟ้าให้นักเรียนดู และปฏิบัติตามทีละท่าจนนักเรียนสามารถทำได้ถูกต้อง แล้วให้นักเรียนแบ่งกลุ่มจับคู่ชาย-หญิง กลุ่มละ 5 คู่ เพื่อร่วมกันฝึกการแสดงรำวงมาตรฐานประกอบเพลง ดวง จันทร์ขวัญฟ้าให้ครูและเพื่อนกลุ่มอื่น ๆ ดู หากพบข้อผิดพลาด ครูคอยให้คำแนะนำ ถ้ากลุ่มนั้นทำได้ดีให้ร่วมกัน แสดงความชื่นชมทีละกลุ่ม จนครบทุกกลุ่ม 2.จากนั้นครูบอกให้นักเรียนกลับไปทบทวนท่ารำในวันนี้ และสอบปฏิบัติในชั่วโมงถัดไป
(ชั่วโมงที่ 4) ขั้นนำ 1.ครูเปิดเพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า ให้นักเรียนได้ทบทวนท่ารำเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนสอบปฏิบัติ ประมาณ 1-2 รอบ ขั้นสอน 1.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มจับคู่ชาย-หญิง กลุ่มละ 5 คู่ เหมือนสัปดาห์ที่แล้ว เพื่อร่วมกันสอบปฏิบัติรำวง มาตรฐานประกอบเพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า ให้ครูและเพื่อนกลุ่มอื่นๆ ดู หากพบข้อผิดพลาด ครูให้คำแนะนำ ถ้า กลุ่มนั้นทำได้ดีให้ร่วมกันแสดงความชื่นชมที่ละกลุ่ม จนครบทุกกลุ่ม ขั้นสรุป 1.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาการแสดงรำวงมาตรฐานเป็นการแสดงที่ใช้ผู้แสดงมากกว่า 2 คนขึ้น ไป ความงามของการแสดงอยู่ที่ท่ารำ และความพร้อมเพรียงของผู้แสดง ทำให้ผู้ชมเกิดความประทับใจเมื่อได้ชม การแสดงนั้นนอกจากนี้ยังเป็นการร่วมสืบสานนาฏศิลป์ไทยให้คงอยู่ตลอดไป 8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ -Youtube "รำวงมาตรฐาน เพลง ดวงจันขวัญฟ้า 8.2 แหล่งการเรียนรู้ -ห้องเรียน -อินเทอร์เน็ต
9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ 3.1 นักเรียนอธิบาย เกี่ยวกับการแสดงรำวง มาตรฐานเพลงจันทร์ ขวัญฟ้าได้ (K) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.2 นักเรียนสามารถ ปฏิบัติร้องและรำเพลง ดวงจันทร์ขวัญฟ้า (P) -สอบปฏิบัติรำวง มาตรฐานประกอบเพลง ดวงจันทร์ขวัญฟ้า -แบบประเมินการรำวง มาตรฐานประกอบเพลง ดวงจันทร์ขวัญฟ้า -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.3 นักเรียนรักความ เป็นไทย (A ) -สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน ในห้องเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การละครตะวันตก เวลา 8 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การละครตะวันตก(ละครยุคแรก) เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ มาตรฐานศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่า นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.4-6/1 ทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบศ 3.1 ม.4-6/2 สร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ 2. สาระสำคัญ ละคร เป็นการรวมศิลปะหลายแขนงไว้ด้วยกันตั้งแต่วรรณกรรมการละคร อันเป็นศิลปะในการประพันธ์ เรื่องราวที่ใช้แสดง การออกแบบฉาก ออกแบบเครื่องแต่งกาย การเคลื่อนไหว และดนตรี การแสดงแต่ละยุคสมัย จะมีความแตกต่างกันและมีการพัฒนาศิลปะต่าง ๆ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 นักเรียนสามารถศึกษาอธิบายประวัติละครตะวันตกยุคแรกได้ (K) 3.1 นักเรียนสามารถค้นคว้าประวัติของละครตะวันตกยุคแรกได้(P) 3.3 นักเรียนใฝ่เรียนรู้ (A) 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 พื้นฐานประวัติการละครตะวันตก -ละครยุคแรก
5.สมรรถนะของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 2. ครูให้นักเรียนศึกษาในหนังสือเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่องละครตะวันตก พร้อมเปิด Powerpoint อธิบาย เนื้อหาพื้นฐาน ประวัติการละครตะวันตกยุคแรก ขั้นสอน 1.ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานของการละคร 2.ครูให้นักเรียนศึกษาในหนังสือเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่องละครตะวันตก พร้อมเปิด เปิดวิดีโอการแสดง ละครตะวันตกในสมัยกลาง พร้อมกับอธิบายเนื้อหาพื้นฐาน ประวัติการละครตะวันตกยุดแรก ขั้นสรุป 1.ครูและนักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและอภิปรายสรุปเรื่อง ประวัติการละครตะวันตกในยุคแรกโดย ครูผู้สอนคอยให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนที่นักเรียนไม่เข้าใจหรือสรุปไม่ตรงประเด็นกับเป้าหมายการเรียนรู้ 2.ครูให้นักเรียนทำ ใบงานเรื่อง ละครตะวันตกยุคแรก
8.สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ -หนังสือเรียนวิชา นาฏศิลป์ ม.4 8.2 แหล่งการเรียนรู้ -ห้องเรียน -Youtube 9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ 3.1 นักเรียนสามารถ อธิบายต้นกำเนิดละคร ในสมัยอยุธยาได้ (K) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.2 นักเรียนค้นคว้าการ ละครในสมัยอยุธยาได้ (P) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -ตรวจใบงาน เรื่อง ละครตะวันตกยุคแรก -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ใบงานเรื่อง ละคร ตะวันตกยุคแรก -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.3 นักเรียนใฝ่เรียนรู้(A) -สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน ในห้องเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี
บันทึกผลหลังการสอน รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การละครตะวันตก แผนการจัดการเรียนรู้ที่8 เรื่อง การละครตะวันตก (ละครยุคแรก) เวลา 1 ชั่วโมง 1. สรุปผลการเรียนการสอน ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. 2. ปัญหา / อุปสรรค ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. 3. แนวทางแก้ไข / แนวทางการพัฒนา ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ลงชื่อ…………………………………………..ผู้สอน (นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข) ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วันที่..........เดือน.........................................พ.ศ.....................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การละครตะวันตก เวลา 8 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การละครตะวันตก(ละครยุคกลาง) เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ มาตรฐานศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่า นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.4-6/1 ทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ ศ 3.1 ม.4-6/2 สร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ 2. สาระสำคัญ ละคร เป็นการรวมศิลปะหลายแขนงไว้ด้วยกันตั้งแต่วรรณกรรมการละคร อันเป็นศิลปะในการประพันธ์ เรื่องราวที่ใช้แสดง การออกแบบฉาก ออกแบบเครื่องแต่งกาย การเคลื่อนไหว และดนตรี การแสดงแต่ละยุคสมัย จะมีความแตกต่างกันและมีการพัฒนาศิลปะต่าง ๆ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 นักเรียนสามารถศึกษาอธิบายประวัติละครตะวันตกสมัยกลางได้ (K) 3.2 นักเรียนสามารถค้นคว้าประวัติของละครตะวันตกสมัยกลางได้ (P) 3.3 นักเรียนใฝ่เรียนรู้ (A) 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 พื้นฐานประวัติการละครตะวันตก -ละครสมัยกลาง
5.สมรรถนะของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ครูทบทวนความรู้เนื้อหาเรื่อง ละครตะวันตกยุคแรกในชั่วโมงที่แล้ว ขั้นสอน 1.ครูให้นักเรียนศึกษาในหนังสือเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่องละครตะวันตกสมัยกลางอธิบายเนื้อหาพื้นฐาน ประวัติการละครตะวันตกยุคกลาง ขั้นสรุป 1.ครูให้นักเรียนจักกลุ่ม กลุ่มละไม่เกิน5คนมาอธิบายประวัติละครตะวันตกยุคแรกและยุคกลางแล้ว นำเสนอหน้าชั้นเรียน 8.สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ -หนังสือเรียนวิชา นาฏศิลป์ ม.4
8.2 แหล่งการเรียนรู้ -ห้องเรียน 9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ 3.1 นักเรียนสามารถ ศึกษาอธิบายประวัติ ละครตะวันตกสมัยกลาง ได้ (K) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.2 นักเรียนสามารถ ค้นคว้าประวัติของละคร ตะวันตกสมัยกลางได้ (P) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.3 นักเรียนใฝ่เรียนรู้(A) -สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน ในห้องเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี บันทึกผลหลังการสอน
รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การละครตะวันตก แผนการจัดการเรียนรู้ที่9 เรื่อง การละครตะวันตก (ละครยุคกลาง) เวลา 1 ชั่วโมง 1. สรุปผลการเรียนการสอน ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. 2. ปัญหา / อุปสรรค ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. 3. แนวทางแก้ไข / แนวทางการพัฒนา ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ลงชื่อ…………………………………………..ผู้สอน (นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข) ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วันที่..........เดือน.........................................พ.ศ.....................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การละครตะวันตก เวลา 8 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การละครตะวันตก(ละครยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา) เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ มาตรฐานศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่า นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.4-6/1 ทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบศ 3.1 ม.4-6/2 สร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ 2. สาระสำคัญ ละคร เป็นการรวมศิลปะหลายแขนงไว้ด้วยกันตั้งแต่วรรณกรรมการละคร อันเป็นศิลปะในการประพันธ์ เรื่องราวที่ใช้แสดง การออกแบบฉาก ออกแบบเครื่องแต่งกาย การเคลื่อนไหว และดนตรี การแสดงแต่ละยุคสมัย จะมีความแตกต่างกันและมีการพัฒนาศิลปะต่าง ๆ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 นักเรียนสามารถอธิบายประวัติของละครตะวันตกยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาได้ (K) 3.2 นักเรียนสามารถศึกษาค้นคว้าประวัติละครตะวันตกยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา (P) 3.3 นักเรียนใฝ่เรียนรู้ (A) 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 พื้นฐานประวัติการละครตะวันตก -ละครยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา
5.สมรรถนะของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ครูทบทวนความรู้และเนื้อในชั่วโมงที่แล้ว ขั้นสอน 1.ครูให้นักเรียนศึกษาในหนังสือเรียนวิชานาฏศิลป์เรื่องละครตะวันตก เนื้อหาละครยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยา ขั้นสรุป 1.ครูนักเรียนร่วมกันสนทนาและสรุปทบทวนบทเรียนอีกครั้งและให้นักเรียนศึกษาความรู้เพิ่มเติมใน หนังสือเรียน อินเทอร์เน็ต 2.ครูให้นักเรียนทำ ใบงานเรื่อง ละครตะวันตกยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา
8.สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ -หนังสือเรียนวิชา นาฏศิลป์ ม.4 -ใบงานเรื่อง ละครตะวันตกยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา 8.2 แหล่งการเรียนรู้ -ห้องเรียน - youtube 9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ 3.1 นักเรียนสามารถ อธิบายประวัติของละคร ตะวันตกยุคฟื้นฟู ศิลปวิทยาได้ (K) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.2 นักเรียนสามารถ ศึกษาค้นคว้าประวัติ ละครตะวันตกยุคฟื้นฟู ศิลปวิทยา (P) -ตรวจใบงานเรื่อง ละคร ตะวันตกยุคฟื้นฟู ศิลปวิทยา -ตรวจใบงานเรื่อง ละคร ตะวันตกยุคฟื้นฟู ศิลปวิทยา -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.3 นักเรียนใฝ่เรียนรู้(A) -สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน ในห้องเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี
บันทึกผลหลังการสอน รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การละครตะวันตก แผนการจัดการเรียนรู้ที่10 เรื่อง การละครตะวันตก(ละครยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา) เวลา 1 ชั่วโมง 1. สรุปผลการเรียนการสอน ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. 2. ปัญหา / อุปสรรค ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. 3. แนวทางแก้ไข / แนวทางการพัฒนา ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ลงชื่อ…………………………………………..ผู้สอน (นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข) ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วันที่..........เดือน.........................................พ.ศ.....................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การละครตะวันตก เวลา 8 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การละครตะวันตก(ละครสมัยใหม่) เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ มาตรฐานศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่า นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด ศ 3.1ม.4-6/1 ทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ ศ 3.1 ม.4-6/2 สร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ 2. สาระสำคัญ ละคร เป็นการรวมศิลปะหลายแขนงไว้ด้วยกันตั้งแต่วรรณกรรมการละคร อันเป็นศิลปะในการประพันธ์ เรื่องราวที่ใช้แสดง การออกแบบฉาก ออกแบบเครื่องแต่งกาย การเคลื่อนไหว และดนตรี การแสดงแต่ละยุคสมัย จะมีความแตกต่างกันและมีการพัฒนาศิลปะต่าง ๆ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะการแสดงละครตะวันตกยุดะครสมัยใหม่ (K) 3.2 นักเรียนสามารถศึกษาค้นคว้าประวัติละครตะวันตกยุคละครสมัยใหม่ (P) 3.3 นักเรียนใฝ่เรียนรู้ (A) 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 พื้นฐานประวัติการละครตะวันตก -ยุคละครสมัยใหม่
5.สมรรถนะของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ครูทบทวนความรู้และเนื้อในชั่วโมงที่แล้ว ขั้นสอน 1.ครูให้นักเรียนศึกษาในหนังสือเรียนวิชานาฏศิลป์เรื่องละครตะวันตก เนื้อหาละครยุคสมัยใหม่ 2.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละไม่เกิน6คน เพื่อนำเสนอเนื้อหาละครยุคสมัยใหม่หน้าชั้นเรียน ขั้นสรุป 1.ครูนักเรียนร่วมกันสนทนาและสรุปทบทวนบทเรียนอีกครั้งและให้นักเรียนศึกษาความรู้เพิ่มเติมใจ หนังสือเรียน อินเทอร์เน็ต 8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ -หนังสือเรียนวิชา นาฏศิลป์ ม.4
8.2 แหล่งการเรียนรู้ -ห้องเรียน -youtube 9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ 3.1 นักเรียนสามารถ อธิบายลักษณะการ แสดงละครตะวันตก ยุดะครสมัยใหม่ (K) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.2 นักเรียนสามารถ ศึกษาค้นคว้าประวัติ ละครตะวันตกยุคละคร สมัยใหม่ (P) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.3 นักเรียนใฝ่เรียนรู้(A) -สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน ในห้องเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี
บันทึกผลหลังการสอน รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การละครตะวันตก แผนการจัดการเรียนรู้ที่11 เรื่อง การละครตะวันตก(ละครสมัยใหม่) เวลา 1 ชั่วโมง 1. สรุปผลการเรียนการสอน ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. 2. ปัญหา / อุปสรรค ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. 3. แนวทางแก้ไข / แนวทางการพัฒนา ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ลงชื่อ…………………………………………..ผู้สอน (นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข) ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วันที่..........เดือน.........................................พ.ศ.....................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การละครตะวันตก เวลา 8 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การละครสร้างสรรค์ เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.4-6/2 มีทักษะในการแสดงหลายรูปแบบ ศ 3.1 ม.4-6/3 สร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ 2.สาระสำคัญ ละครเป็นการรวบรวมศิลปะหลายแขนงไว้ด้วยกัน เช่น วรรณกรรมการละคร การออกแบบเครื่อง แต่งกาย ฉาก ศิลปะการเคลื่อนไหวและดนตรี และยังสะท้อนสภาพชีวิตมนุษย์ต่างๆ 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 นักเรียนอธิบายละครสร้างสรรค์ได้ (K) 3.2 นักเรียนแสดงละครสร้างสรรค์ได้ (P) 3.3 นักเรียนใส่เรียนรู้(A) 4.สาระการเรียนรู้ 4.1.ละครสร้างสรรค์ - ละครกับการพัฒนาในด้านการศึกษา - องค์ประกอบของละคร
5.สมรรถนะของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ครูทบทวนความรู้และเนื้อหาเรื่อง ละครตะวันตกในชั่วโมงที่แล้ว ขั้นสอน 1. ครูให้นักเรียนนำหนังสือเรียนวิชานาฏศิลป์มาประกอบการเรียน ครูนำเสนอเนื้อหา เรื่อง ละคระ สร้างสรรค์ พร้อมเปิด Powerpoint อธิบายเนื้อหา ละครกับการพัฒนาในด้านการศึกษา และองค์ประกอบของ ละคร 2. ครูเปิดวีดีทัศน์การแสดงละครสร้างสรรค์ให้นักเรียนชม 3. ครูให้นักเรียนอธิบายพอสังเขปว่าละครสร้างสรรค์ที่ชมอยู่นั้นเขามีลักษณะการแสดงแบบไหน ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมสนทนาและสรุปทบทวนบทเรียนอีกครั้ง 2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน เพื่อให้นักเรียนสรุปเนื้อหา เรื่อง ละครสร้างสรรค์และมานำเสนอ หน้าชั้นเรียนในชั่วโมงต่อไป
8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ -หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.4 8.2 แหล่งการเรียนรู้ -ห้องเรียน -อินเทอร์เน็ต 9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ 3.1 นักเรียนอธิบาย ละครสร้างสรรค์ได้ (K) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.2 นักเรียนแสดงละคร สร้างสรรค์ได้ (P) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.3 นักเรียนใฝ่เรียนรู้(A) -สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน ในห้องเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี
บันทึกผลหลังการสอน รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การละครตะวันตก แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 เรื่อง การละครสร้างสรรค์ เวลา 1 ชั่วโมง 1. สรุปผลการเรียนการสอน ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. 2. ปัญหา / อุปสรรค ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. 3. แนวทางแก้ไข / แนวทางการพัฒนา ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ลงชื่อ…………………………………………..ผู้สอน (นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข) ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วันที่..........เดือน.........................................พ.ศ.....................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การละครตะวันตก เวลา 8 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การละครสร้างสรรค์ เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.4-6/2 มีทักษะในการแสดงหลายรูปแบบ ศ 3.1 ม.4-6/3 สร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ 2.สาระสำคัญ ละครเป็นการรวบรวมศิลปะหลายแขนงไว้ด้วยกัน เช่น วรรณกรรมการละคร การออกแบบเครื่อง แต่งกาย ฉาก ศิลปะการเคลื่อนไหวและดนตรี และยังสะท้อนสภาพชีวิตมนุษย์ต่างๆ 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 นักเรียนอธิบายละครสร้างสรรค์ได้ (K) 3.2 นักเรียนแสดงละครสร้างสรรค์ได้ (P) 3.3 นักเรียนใส่เรียนรู้(A) 4.สาระการเรียนรู้ 4.1.ละครสร้างสรรค์ - ละครกับการพัฒนาในด้านการศึกษา - องค์ประกอบของละคร
5.สมรรถนะของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง ที่จะนำมาเสนอ 2. ให้เวลา10 นาที เพื่อให้นักเรียนเตรียมการนำเสนอ ขั้นสอน 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอ ละครสร้างสรรค์ ตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย ขั้นสรุป 1. ครูร่วมสนทนาและสรุปเนื้อหาที่นักเรียนออกมานำเสนอให้ฟังอีกครั้ง 8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ -หนังสือเรียนวิชานาฏศิลป์ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ -ห้องเรียน -อินเทอร์เน็ต
9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ 3.1 นักเรียนอธิบาย ละครสร้างสรรค์ได้ (K) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -การนำเสนองาน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.2 นักเรียนแสดงละคร สร้างสรรค์ได้ (P) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.3 นักเรียนใฝ่เรียนรู้(A) -สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน ในห้องเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี
บันทึกผลหลังการสอน รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การละครตะวันตก แผนการจัดการเรียนรู้ที่13 เรื่อง การละครสร้างสรรค์ เวลา 1 ชั่วโมง 1. สรุปผลการเรียนการสอน ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. 2. ปัญหา / อุปสรรค ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. 3. แนวทางแก้ไข / แนวทางการพัฒนา ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ลงชื่อ…………………………………………..ผู้สอน (นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข) ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วันที่..........เดือน.........................................พ.ศ.....................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การละครตะวันตก เวลา 8 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การละครสร้างสรรค์ เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.4-6/2 มีทักษะในการแสดงหลายรูปแบบ ศ 3.1 ม.4-6/3 สร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ 2.สาระสำคัญ ละครเป็นการรวบรวมศิลปะหลายแขนงไว้ด้วยกัน เช่น วรรณกรรมการละคร การออกแบบเครื่อง แต่งกาย ฉาก ศิลปะการเคลื่อนไหวและดนตรี และยังสะท้อนสภาพชีวิตมนุษย์ต่างๆ 4.สาระการเรียนรู้ 4.1.ละครสร้างสรรค์ - ละครกับการพัฒนาในด้านการศึกษา - องค์ประกอบของละคร - ละครใบ้