The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by มะ เหมย', 2024-02-10 05:57:16

แฟ้มน้องเหมย

แฟ้มน้องเหมย

5.สมรรถนะของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ครูทบทวนความรู้และเนื้อหาเรื่อง ละครสร้างสรรค์ในชั่วโมงที่แล้ว ขั้นสอน 1. ครูให้นักเรียนนำหนังสือเรียนวิชานาฏศิลป์มาประกอบการเรียน ครูนำเสนอเนื้อหา เรื่อง ละครใบ้ พร้อมเปิด Powerpoint อธิบายเนื้อหา ละครกับการพัฒนาในด้านการศึกษา และองค์ประกอบของละคร 2. ครูเปิดวีดีทัศน์การแสดงละครใบ้ให้นักเรียนชม 3. ครูให้นักเรียนอธิบายพอสังเขปว่าละครใบ้ที่ชมอยู่นั้นเขามีลักษณะการแสดงแบบไหน ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมสนทนาและสรุปทบทวนบทเรียนอีกครั้ง


2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน เพื่อให้นักเรียนสรุปเนื้อหา เรื่อง ละครใบ้มานำเสนอหน้าชั้น เรียน 9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ 3.1 นักเรียนอธิบาย ละครสร้างสรรค์ได้ (K) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -การนำเสนองาน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.2 นักเรียนแสดงละคร สร้างสรรค์ได้ (P) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.3 นักเรียนใฝ่เรียนรู้(A) -สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน ในห้องเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี


บันทึกผลหลังการสอน รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ละครตะวักตก แผนการจัดการเรียนรู้ที่14 เรื่อง ละครใบ้ เวลา 1 ชั่วโมง 1. สรุปผลการเรียนการสอน ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. 2. ปัญหา / อุปสรรค ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. 3. แนวทางแก้ไข / แนวทางการพัฒนา ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ลงชื่อ…………………………………………..ผู้สอน (นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข) ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วันที่..........เดือน.........................................พ.ศ.....................


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การละครตะวันตก เวลา 8 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การละครสร้างสรรค์ เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.4-6/2 มีทักษะในการแสดงหลายรูปแบบ ศ 3.1 ม.4-6/3 สร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ 2.สาระสำคัญ การเขียนบทละครสั้น คือ การสร้างสรรค์บทละครที่มีการดำเนินเรื่องตั้งแต่ต้นจบในระยะเวลาเพียงแค่ 5-10 นาที โดยต้องอาศัยหลักการและขั้นตอนในการเขียนเพื่อจัดลำดับเหตุการณ์ให้มีความน่าสนใจ และ น่า ติดตาม 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถบอกวิธีการเขียนบทละครสั้นได้(K) 2.นักเรียนเขียนบทละครสั้นได้(P) 3.นักเรียนใฝ่เรียนรู้ (A) 4.สาระการเรียนรู้ 4.1 การเขียนบทละครสั้น


5.สมรรถนะของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ครูแจ้งวัตถุประสงค์ในการเขียนบทละครสั้นให้นักเรียนทราบ 2.ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างหนังสั้นที่นักเรียนรู้จักมาคนละ 1 เรื่อง ขั้นสอน 1.ครูสาธิตเกี่ยวกับการเขียนบทละครสั้นให้นักเรียนดู 2.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6 คนเพื่อเขียนละครสั้น ขั้นสรุป 1.ครูให้นักเรียนออกมานำเสนอเกี่ยวกับการเขียนละครสั้นหน้าชั้นเรียนและให้นักเรียนศึกษาหาความรู้ เพิ่มเติมในอินเทอร์เน็ต


9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ 3.1 นักเรียนสามารถ บอกวิธีการเขียนบท ละครสั้นได้(K) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -การนำเสนองาน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.2 นักเรียนเขียนบท ละครสั้นได้(P) -การเขียนบทละครสั้น -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.3 นักเรียนใฝ่เรียนรู้(A) -สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน ในห้องเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี


บันทึกผลหลังการสอน รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การละครตะวันตก แผนการจัดการเรียนรู้ที่15 เรื่อง การละครสร้างสรรค์(การเขียนบทละครสั้น) เวลา 1 ชั่วโมง 1. สรุปผลการเรียนการสอน ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. 2. ปัญหา / อุปสรรค ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. 3. แนวทางแก้ไข / แนวทางการพัฒนา ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ลงชื่อ…………………………………………..ผู้สอน (นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข) ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วันที่..........เดือน.........................................พ.ศ.....................


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้(Active learning) รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง รำวงมาตรฐาน เพลงหญิงไทยใจงาม เวลา 2 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง รำวงมาตรฐาน เพลงหญิงไทยใจงาม (คำร้อง ท่ารำ นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการรำ) เวลา 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ มาตรฐานศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า นาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.4-6/2 มีทักษะในการแสดงหลายรูปแบบ 2.สาระสำคัญ นาฏศิลป์ไทยเป็นการแสดงที่มีลักษณะเฉพาะตัว แบ่งเป็นประเภทต่างๆ คือ ระบำ รำ ฟ้อน โขน ละคร ซึ่งการแสดงแต่ละประเภทจะมีรูปแบบการแสดงที่แตกต่างกัน รำวงมาตรฐานเป็นการแสดงที่พัฒนามาจากการเล่นรำโทน เป็นการแสดงที่สร้างความสนุกสนาน ผ่อน คลายให้กับคนในชาติ และเป็นศิลปะการแสดงที่แสดงถึงเอกลักษณ์ของชาติที่ควรอนุรักษ์ไว้สืบไป 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 นักเรียนสามารอธิบายเกี่ยวกับการแสดงรำวงมาตรฐานเพลงหญิงไทยใจงามได้ถูกต้อง (K) 3.2 นักเรียนสามารถปฏิบัติร้องและรำเพลงหญิงไทยใจงามได้อย่างกูต้อง (P) 3.3 นักเรียนเห็นคุณค่าทางวัฒนธรรมและนาฏศิลป์(A) 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เพลงหญิงไทยใจงาม( คำร้อง ท่ารำ นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการรำ)


5.สมรรถนะของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7. กิจกรรมการเรียนรู้ (ชั่วโมงที่ 1) ชั้นนำ 1.ครูพานักเรียนทบทวนเนื้อหาในชั่วโมงที่แล้ว ขั้นสอน 1.ครูอธิบายเกี่ยวกับการแสดงรำวงมาตรฐานเพลงหญิงไทยใจงาม ให้นักเรียนฟัง 2.ครูสาธิตการรำเพลงหญิงไทยใจงามให้นักเรียนดู และปฏิบัติตามทีละท่าจนนักเรียนสามารถทำได้ ถูกต้องแล้วให้นักเรียนแบ่งกลุ่มจับคู่ชาย-หญิง กลุ่มละ 5 คู่ เพื่อร่วมกันฝึกการแสดงรำวงมาตรฐานประกอบเพลง หญิงไทยใจงามให้ครูและเพื่อนกลุ่มอื่น ๆ ดู หากพบข้อผิดพลาด ครูคอยให้คำแนะนำ ถ้ากลุ่มนั้นทำได้ดีให้ร่วมกัน แสดงความชื้นชมทีละกลุ่ม จนครบทุกกลุ่ม 3. จากนั้นครูบอกให้นักเรียนกับไปทบทวนท่ารำในวันนี้ และสอบปฏิบัติในชั่วโมงถัดไป ขั้นสรุป 1.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาการแสดงรำวงมาตรฐานเป็นการแสดงที่ใช้ผู้แสดงมากกว่า 2 คนขึ้นไป ความงามของการแสดงอยู่ที่ท่ารำ และความพร้อมเพรียงของผู้แสดง ทำให้ผู้ชมเกิดความประทับใจเมื่อ ได้ชมการแสดงนั้นนอกจากนี้ยังเป็นการร่วมสืบสานนาฏศิลป์ไทยให้คงอยู่ตลอดไป


(ชั่วโมงที่ 2) ขั้นนำ 1. ครูเปิดเพลงหญิงไทยใจงาม ให้นักเรียนได้ทบทวนท่ารำเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนสอบปฏิบัติประมาณ 1-2 รอบ ขั้นสอน 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มจับคู่ชาย-หญิง กลุ่มละ 5 คู่ เหมือนสัปดาห์ที่แล้ว เพื่อร่วมกันสอบปฏิบัติการ แสดงรำวงมาตรฐานประกอบเพลงหญิงไทยใจงาม ให้ครูและเพื่อนกลุ่มอื่นๆดูหากพบข้อผิดพลาดครูให้คำแนะนำ ถ้ากลุ่มนั้นทำได้ดีให้ร่วมกันแสดงความชื่นชมทีละกลุ่ม จนครบทุกกลุ่ม ขั้นสรุป 1.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาการแสดงรำวงมาตรฐานเป็นการแสดงที่ใช้ผู้แสดงมากกว่า 2 คนขึ้น ไป ความงามของการแสดงอยู่ที่ท่ารำ และความพร้อมเพรียงของผู้แสดง ทำให้ผู้ชมเกิดความประทับใจเมื่อได้ชม การแสดงนั้นนอกจากนี้ยังเป็นการร่วมสืบสานนาฏศิลป์ไทยให้คงอยู่ตลอดไป 8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ -youtube รำวงมาตรฐาน เพลง หญิงไทยใจงาม 8.2 แหล่งการเรียนรู้ -ห้องเรียน -อินเทอร์เน็ต


9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ 3.1 นักเรียนสามาร อธิบายเกี่ยวกับการ แสดงรำวงมาตรฐาน เพลงหญิงไทยใจงามได้ ถูกต้อง (K) -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -สังเกตจากการตอบ คำถาม คำตอบของ นักเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.2 นักเรียนสามารถ ปฏิบัติร้องและรำเพลง หญิงไทยใจงามได้อย่างกู ต้อง (P) -สอบปฏิบัติรำวง มาตรฐานประกอบเพลง หญิงไทยใจงาม -แบบประเมินการรำวง มาตรฐานประกอบเพลง หญิงไทยใจงาม -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี 3.3 นักเรียนเห็นคุณค่า ทางวัฒนธรรมและ นาฏศิลป์(A) -สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน ในห้องเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียนในห้องเรียน -ผ่านเกณฑ์การให้ คะแนนอยู่ในระดับดี


บันทึกผลหลังการสอน รหัสวิชา ศ31101 วิชา นาฏศิลป์พื้นฐาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง รำวงมาตรฐาน เพลงหญิงไทยใจงาม แผนการจัดการเรียนรู้ที่14 เรื่อง รำวงมาตรฐาน เพลงหญิงไทยใจงาม เวลา 1 ชั่วโมง 1. สรุปผลการเรียนการสอน ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. 2. ปัญหา / อุปสรรค ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. 3. แนวทางแก้ไข / แนวทางการพัฒนา ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ……..........................................................................................................................................................…….............. ลงชื่อ…………………………………………..ผู้สอน (นางสาวมณีรัตน์ สาธะวีสุข) ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วันที่..........เดือน.........................................พ.ศ.....................


Click to View FlipBook Version