The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

_หนังสือเขื่อนผาจุก60 บน ฉบับสมบูรณ์OK

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sumarin0618, 2021-11-15 11:25:14

_หนังสือเขื่อนผาจุก60 บน ฉบับสมบูรณ์OK

_หนังสือเขื่อนผาจุก60 บน ฉบับสมบูรณ์OK

รายงานการสารวจภาวะเศรษฐกิจและสงั คมครวั เรอื นเกษตรกร (Benchmark)
ตามแผนปฏบิ ตั ิการปอ้ งกันแก้ไขผลกระทบสงิ่ แวดล้อม
และแผนติดตามตรวจผลกระทบส่งิ แวดลอ้ ม

โครงการเขอ่ื นทดนาผาจกุ จังหวดั อตุ รดติ ถ์ ปงี บประมาณ 2560

สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2
สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กันยายน 2560

รายงานการสํารวจภาวะเศรษฐกจิ และสังคมครัวเรอื นเกษตรกร (Benchmark)
ตามแผนปฏบิ ัตกิ ารปอ้ งกนั แก้ไขผลกระทบสง่ิ แวดล้อมและแผนติดตามตรวจผลกระทบส่งิ แวดลอ้ ม

โครงการเขอ่ื นทดนาํ้ ผาจกุ จงั หวดั อตุ รดิตถ์ ปีงบประมาณ 2560

สํานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 2
สํานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กันยายน 2560

บทคัดยอ

การสํารวจและจัดเก็บขอมูลภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือนเกษตรกรตามแผนปฏิบัติการปองกันแกไข
ผลกระทบส่ิงแวดลอมและแผนติดตามตรวจผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการเข่ือนทดนํ้าผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ ป
เพาะปลูก 2559/60 (1 พฤษภาคม 2559 – 30 เมษายน 2560) ซึ่งเปนการจัดเก็บขอมูลในระยะกอนการ
ดําเนนิ งานโครงการฯ ประชากรเปาหมาย คอื เกษตรกรจาํ นวน 400 ราย ในพื้นที่สูบน้ําดวยไฟฟา เพ่ือทดแทนไมได
รับนํ้าจากโครงการเขื่อนทดนํ้าผาจุก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 16,000 ไร เพื่อศึกษาถึงสภาพท่ัวไปทั้งทางดาน
เศรษฐกิจสังคม ดานการผลิต ดานตนทุนและผลตอบแทนจากการผลิต ตลอดจนศึกษาทัศนคติ ปญหาและ
อปุ สรรคของเกษตรกรที่เขา รวมโครงการ มีรายละเอียดดังนี้คอื

สวนใหญห วั หนาครวั เรือนเปนเพศชายคดิ เปน รอยละ 71.00 และเปนเพศหญิงคิดเปนรอยละ 29.00 โดย
อายุเฉล่ียเทากับ 59.67 ป ระดับการศึกษาสวนใหญเรียนจบชั้นประถมศึกษาตอนตน(ป.4)คิดเปนรอยละ 64.75
สมาชิกในครัวเรือนเปนเพศหญิงคิดเปนรอยละ 61.61 โดยอายุเฉล่ียเทากับ 35.90 ป จํานวนสมาชิกทั้งหมดใน
ครัวเรอื นเฉล่ยี เทา กบั 3.39 คน/ครวั เรือน โดยเปนเพศชายเฉลีย่ เทากับ 1.63 คน/ครัวเรือน และเปนเพศหญิงเฉล่ีย
เทากับ 1.76 คน/ครัวเรือน พื้นท่ีการเกษตรปเพาะปลูก 2559/60 โดยเฉลี่ย 21.02 ไร/ครัวเรือน หน้ีสิน มี
เกษตรกรที่เปนหน้ีหรือกูยืมเงิน ณ 30 เมษายน 2560 คิดเปนรอยละ 83.00 จํานวนหนี้สินของเกษตรกรท้ังหมด
เฉลี่ย 179,051 บาท/ครวั เรือน

รายไดเงินสดการเกษตร รวมทั้งหมดเทากับ 191,870 บาท/ครัวเรือน คือ 1) ดานพืช เทากับ 144,144
บาท/ครัวเรือน 2) ดานปศุสัตว เทากับ 22,387 บาท/ครัวเรือน 3) ดานสัตวน้ํา เทากับ 1,507 บาท/ครัวเรือน
และ 4) ดา นอน่ื ๆ เทา กบั 23,832 บาท/ครัวเรือน รายจายเงินสดการเกษตร รวมท้ังหมดเทากับ 112,671 บาท/
ครัวเรือน คือ 1) ดานพืช เทากับ 81,323 บาท/ครัวเรือน 2) ดานปศุสัตว เทากับ 14,045 บาท/ครัวเรือน 3)
ดา นสัตวน ํ้า เทากับ 1,339 บาท/ครวั เรือน และ 4) ดานอ่ืนๆ เทากับ 15,964 บาท/ครัวเรือน รายไดเงินสดสุทธิ
เกษตร รวมเทากับ 79,199 บาท/ครัวเรือน เปนดานพืช ดานปศุสัตว ดานสัตวนํ้า และอื่นๆ เทากับ 62,821
8,342 168 และ 7,868 บาท/ครัวเรือน ตามลําดับ มูลคาผลผลิตเกษตรที่ใชในครัวเรือน และสวนตางมูลคา
ผลผลิตเกษตรตนปและปลายป รวมเทากับ 10,936 บาท/ครัวเรือน เปนดานพืช ดานปศุสัตว และดานสัตวนํ้า
เทากับ 6,658 2,148 และ 2,130 บาท/ครัวเรือน ตามลําดับ รายไดสุทธิเกษตร รวมเทากับ 90,135 บาท/
ครัวเรือน เปนดานพืช ดานปศุสัตว ดานสัตวนํ้า และอื่นๆ เทากับ 69,479 10,490 2,298 และ 7,868 บาท/
ครัวเรือน ตามลําดับ รายไดเงินสดนอกเกษตร รวมเทากับ 112,550 บาท/ครัวเรือน รายจายเงินสดนอกเกษตร
รวมเทา กับ 101,190 บาท/ครัวเรือน โดยเปนคาอาหารจํานวน 31,325 บาท และคาอุปโภคอ่ืนๆ จํานวน 69,865
บาท รายไดเงินสดคงเหลือเพ่ือใชจายในครัวเรือน เทากับ 191,749 บาท/ครัวเรือน เงินออม เทากับ 90,559
บาท/ครัวเรอื น เงินออมสุทธิ เทากับ 101,495 บาท/ครัวเรือน รายไดเงินสดสุทธิเกษตรเหลือจากการใชจายใน
ครวั เรอื น เทากับตดิ ลบ 21,991 บาท/ครวั เรอื น

เกษตรกรมปี ญ หาเรื่องตา งๆ คือ เรื่องดิน เก่ียวกับเรื่องสภาพดินและสภาพพ้ืนท่ีทําการเกษตรมีปญหาคิด
เปนรอยละ 12.00 คุณสมบัติของดินมีปญหาคิดเปนรอยละ 2.25 ความเหมาะสมของสภาพพ้ืนที่ในโครงการ
เหมาะสมกับการปลูกพืชทั้งหมดจึงไมมีปญหากับการปลูกพืช และสภาพพื้นที่การเล้ียงสัตวไมมีความเหมาะสมใน
โครงการคดิ เปน รอยละ 29.50 เรือ่ งนา้ํ เกีย่ วกบั เร่อื งคุณภาพของน้ํามีปญหาเกี่ยวกับความเปรี้ยว/กรดคิดเปนรอย
ละ 2.50 ไมมีแหลงน้ําในหมูบา นคดิ เปนรอ ยละ 52.72 ในรอบปเพาะปลูกที่ผานมาเกษตรกรประสบปญหาเกี่ยวกับ
เรื่องน้าํ คิดเปนรอ ยละ 74.00 เนื่องจากในฤดูแลงขาดแคลนน้ํา เร่ืองการผลิตและการตลาด เก่ียวกับเร่ืองพื้นที่ทํา
การเกษตรสามารถทาํ ไดเ พยี งหน่ึงครง้ั ตอปคิดเปนรอยละ 68.00 สําหรับเรื่องโรคพืชและแมลงระบาดเกษตรกรท่ีมี
ปญหาคิดเปนรอยละ 12.75 สวนเร่ืองการขาดแคลนแรงงานคนในทองถิ่นคิดเปนรอยละ 9.75 ชวงฤดูเก็บเก่ียว
ผลผลิตขาดแคลนแรงงานเคร่อื งจักรในทองถ่ินคิดเปน รอ ยละ 5.75


ทศั นคตแิ ละระดบั ความพึงพอใจของเกษตรกรท่ีมีตอโครงการ คือ การจัดโครงการตรงกับความตองการ
ของเกษตรกร เกษตรกรเห็นวาตรงกับความตอ งการระดับมาก คอนขางมาก คอนขางนอย และนอย คิดเปนรอยละ
81.00 12.75 5.25 และ 1.00 ตามลําดับ รายไดท างการเกษตรเพมิ่ ข้ึน เกษตรกรเห็นวามรี ายไดทางการเกษตร
เพิ่มข้ึนในระดับมาก คอนขางมาก คอนขางนอย และนอย คิดเปนรอยละ 68.50 23.00 6.75 และ 1.75
ตามลาํ ดบั ความเหมาะสมของเกษตรกรตอโครงการ เกษตรกรเห็นวาความเหมาะสมของเกษตรกรตอโครงการใน
ระดบั มาก คอนขา งมาก คอนขางนอย และนอ ย คดิ เปน รอยละ 58.50 29.50 5.00 และ 7.00 ตามลาํ ดบั
ทัศนคติของเกษตรกรในดานผลกระทบจากโครงการฯ คือ ผลกระทบทางบวกจากโครงการ เกษตรกร
เห็นวามีผลกระทบทางบวกจากโครงการคิดเปนรอยละ 93.25 เกี่ยวกับสามารถปลูกพืชฤดูแลงไดคิดเปนรอยละ
80.75 การบรรเทาปญหาการขาดแคลนน้ําในชวงฤดูฝน/ฝนทิ้งชวงคิดเปนรอยละ 79.25 มีพ้ืนที่การเกษตรเพิ่มข้ึน
คิดเปน รอ ยละ 66.25 และบรรเทาปญหานา้ํ ทว มคดิ เปนรอ ยละ 18.75 ผลกระทบทางลบจากโครงการ เกษตรกร
เห็นวาไมม ผี ลกระทบทางลบจากโครงการคดิ เปนรอ ยละ 91.25
ขอเสนอแนะ มีดังน้ีคือ 1) เกษตรกรมีท่ีดินและมีเวลาเหลือหลังจากทํางานในฟารมตนเอง ยังสามารถ
ประกอบอาชีพเสริมได ดังนั้น เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในตัวเกษตรกรมากขึ้นจึงควรมีการวางระบบการผลิตท่ี
เหมาะสมกับพ้ืนท่ีในแตละราย เพื่อใหครอบครัวมีรายไดเพิ่มขึ้นอยางย่ังยืน 2) ควรคํานึงถึงอนาคตของทายาททาง
การเกษตร ในแตละครัวเรือนนาจะมีการปลูกฝงเตรียมพรอม เพื่อหาผูสืบสานความเปนเกษตรกรท่ีมีคุณภาพ 3)
ควรมีระบบการผลิตเชิงฟารมผสมผสานเพื่อลดความเส่ียงจากราคาขาว และมีแหลงนํ้าในไรนาที่เหมาะสมถูก
กําหนดเปนแนวทางในการพัฒนาระบบการทําฟารมของเกษตรกร นอกจากน้ียังชวยใหเกิดการใชท่ีดินและใช
แรงงานอยางมีประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้น แตอยางไรก็ดีควรศึกษาความเปนไปไดในทางปฏิบัติในแตละพื้นท่ีเพ่ือใหเกิด
ประสิทธิภาพอยา งเปน รูปธรรม 4) ควรสงเสริมปลูกพืชทดแทนที่ใชนํ้านอยในฤดูแลง เพื่อลดอัตราความเส่ียงในการ
ผลิต 5) ปญหาของเกษตรกรในพ้ืนท่ีมีหลายปญหา ควรมีการศึกษาหาแนวทางปรับปรุงแกไขโดยผูชํานาญเฉพาะ
ดาน เพ่ือกําหนดรูปแบบการพฒั นาที่เหมาะสมกับโครงการเขื่อนทดน้ําผาจุกใหสามารถบรรลุตามวัตถุประสงคของ
โครงการ 6) โครงการน้ีควรสงเสริม และพัฒนาดานการเกษตรอยางย่ังยืนตอไป และ 7) ควรมีการพัฒนาดาน
การเกษตรเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพใหสูงขึ้น ไดแก การพัฒนาพ้ืนที่ใหเหมาะสมตอการประกอบอาชีพทางดาน
การเกษตร ระบบโครงสรางพ้ืนฐานที่เหมาะสมและเก้ือกูลตอการประกอบการเกษตร การพัฒนาอาชีพเสริมที่
เหมาะสมในแตละพ้ืนที่ การพัฒนาระดับฟารม เพื่อใหเกิดระบบการทําฟารมที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับ
พนื้ ท่ี.

สารบญั หน้า

บทคดั ยอ่ ง
คาํ นํา ช
สารบัญตาราง ฌ
สารบญั ตารางผนวก 1
บทที่ 1 บทนาํ 1
2
1.1 ความเปน็ มาของโครงการ 3
1.2 วตั ถุประสงค์ของโครงการ 3
1.3 เปา้ หมายและงบประมาณของโครงการ 3
1.4 พ้นื ท่ีดาํ เนนิ การ 3
1.5 วิธกี ารและข้ันตอนการดําเนินการ
1.6 การวางแผนการก่อสร้างโครงการ 4
1.7 แผนปฏิบัตกิ ารปอ้ งกนั แกไ้ ขและลดผลกระทบสงิ่ แวดล้อมและแผนตดิ ตามตรวจสอบ 7
7
ผลกระทบสง่ิ แวดล้อม 8
1.8 ระยะเวลาดําเนินการ 8
1.9 ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะได้รับจากโครงการ 8
บทที่ 2 ระเบยี บวธิ กี ารศึกษา 8
2.1 ความสาํ คญั ของการศึกษา 9
2.2 วัตถุประสงคข์ องการศึกษา 11
2.3 ขอบเขตของการศึกษา 11
2.4 วิธกี ารศกึ ษา 12
2.5 หนว่ ยงานดาํ เนนิ การ 12
2.6 ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ บั จากการศึกษา 15
บทท่ี 3 สภาพทวั่ ไป 27
3.1 ลกั ษณะทั่วไปของจงั หวัด 27
3.2 ลักษณะของโครงการ 36
บทที่ 4 ผลการศกึ ษา 58
4.1 ข้อมูลทว่ั ไปของครัวเรอื นเกษตร 60
4.2 การประกอบการผลิตการเกษตร ปเี พาะปลูก 2559/60 62
4.3 ปญั หาของเกษตรกรในพนื้ ท่ี 64
4.4 ข้อมูลเกยี่ วกบั การใชป้ ระโยชน์จากแหล่งน้าํ และการบรกิ ารของภาครัฐ 67
4.5 ความคาดหวัง และความสนใจของเกษตรกรภายหลงั มโี ครงการฯ
4.6 ทศั นคติ ระดบั ความพึงพอใจ และผลกระทบท่ีมตี ่อโครงการ
4.7 ข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะเพ่ิมเตมิ ของเกษตรกร



สารบญั (ต่อ)

บทที่ 5 สรุป และข้อเสนอแนะ หนา้
5.1 สรุป 68
5.2 ขอ้ เสนอแนะ 68
72
บรรณานุกรม
ภาคผนวก 74
85

สารบญั ตาราง

ตารางท่ี งบประมาณและแผนการเงนิ ในการดําเนนิ งานแผนปฏิบัตกิ ารลดผลกระทบสง่ิ แวดล้อม หนา้
1.1 และติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการเขื่อนทดน้ําผาจกุ จงั หวดั อุตรดิตถ์
5
1.2 งบประมาณแผนปฏิบัติการลดผลกระทบส่ิงแวดล้อมและแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบ
สิ่งแวดล้อม ปงี บประมาณ 2560 7
4.1 28
4.2 อายุ และการประกอบอาชพี ของหัวหนา้ ครวั เรือนเกษตร 30
4.3 อายุ และการประกอบอาชพี ของสมาชกิ ในครัวเรือนเกษตร 31
4.4 จาํ นวนสมาชกิ ในครัวเรือนแยกตามลักษณะการใช้แรงงานการเกษตร 33
4.5 การใช้ทีด่ ินจรงิ ในการประกอบการเกษตร ปเี พาะปลกู 2559/60 34
4.6 แหลง่ น้าํ ท่ใี ชเ้ พอ่ื การเกษตร ตามลักษณะการถือครองทดี่ ิน ปเี พาะปลูก 2559/60 35
4.7 แหล่งน้าํ ท่ใี ชเ้ พอื่ การเกษตร ตามลักษณะการใชท้ ีด่ ินในการเกษตร ปเี พาะปลกู 2559/60 36
4.8 ทรัพยส์ ินการเกษตร ปเี พาะปลกู 2559/60 37
4.9 แหล่งก้ยู มื เงนิ ของเกษตรกร ปเี พาะปลูก 2559/60 37
4.10 จํานวนหน้สี นิ ทั้งหมดในครัวเรือนเกษตร ณ 30 เม.ย. 2560 38
4.11 วัตถุประสงค์การกยู้ ืมเงนิ ของครวั เรอื นเกษตร 38
4.12 มูลคา่ ทรพั ยส์ นิ นอกการเกษตร ปเี พาะปลูก 2559/60 39
4.13 จาํ นวนสัตว์เลีย้ งคงเหลอื ตน้ ปีและปลายปี
รายได้ – รายจ่ายเงินสดในการประกอบกิจกรรมการเกษตรทางดา้ นพืช ในพื้นทีโ่ ครงการ 42
4.14 ปีเพาะปลูก 2559/60
รายได้ – รายจา่ ยเงนิ สดในการประกอบกิจกรรมการเกษตรทางด้านพืช 43
4.15 นอกพืน้ ทโ่ี ครงการ ปีเพาะปลูก 2559/60
รายได้ – รายจา่ ยเงินสดในการประกอบกจิ กรรมการเกษตรทางด้านพชื 44
4.16 รวมพ้ืนที่ทง้ั โครงการ ปีเพาะปลกู 2559/60
รายได้ – รายจ่ายเงินสดในการประกอบกจิ กรรมการเกษตรทางด้านพชื 45
4.17 ในเขตพ้ืนท่สี บู นํา้ ด้วยไฟฟ้า ปีเพาะปลกู 2559/60
รายได้ – รายจา่ ยเงินสดในการประกอบกจิ กรรมการเกษตรทางด้านพืช 46
4.18 นอกเขตพนื้ ท่ีสูบน้าํ ดว้ ยไฟฟ้า ปีเพาะปลูก 2559/60
รายได้ – รายจ่ายเงินสดในการประกอบกจิ กรรมการเกษตรทางด้านพชื 47
4.19 รวมพนื้ ที่ทงั้ โครงการ ปีเพาะปลูก 2559/60 48
4.20 รายได้ - รายจา่ ยเงนิ สดในการประกอบกิจกรรมการเกษตรทางดา้ นปศสุ ตั ว์ 49
4.21 รายได้ - รายจา่ ยเงินสดในการประกอบกิจกรรมการเกษตรทางดา้ นสตั ว์นํ้า 50
4.22 รายได้สทุ ธจิ ากการปลูกพืช ปีเพาะปลกู 2559/60 51
4.23 รายไดส้ ทุ ธจิ ากการเลี้ยงปศุสตั ว์ ปีเพาะปลกู 2559/60 52
4.24 รายไดส้ ทุ ธิจากการเลยี้ งสตั ว์นาํ้ 54
4.25 รายไดส้ ทุ ธเิ กษตร เงินออม และการออมสุทธิ ปีเพาะปลกู 2559/60
รายได้ – รายจา่ ยเงินสดเกษตรอ่นื ๆ ในและนอกเขตโครงการของครัวเรอื นเกษตร 55
4.26 ปีเพาะปลกู 2559/60 57
เปรียบเทียบรายไดส้ ทุ ธิเกษตร



สารบญั ตาราง (ตอ่ )

ตารางที่ ปัญหาเรือ่ งดิน หน้า
4.27 ปัญหาเร่อื งนํา้ 58
4.28 ปัญหาดา้ นการผลิตและการตลาด 59
4.29 การเป็นสมาชกิ กล่มุ สูบนาํ้ ดว้ ยไฟฟา้ ของครัวเรอื นเกษตร ณ วนั สํารวจ 60
4.30 60
4.31 ค่าใชจ้ า่ ยในการจัดหานํ้ามาใชเ้ พื่อการเกษตรของครัวเรอื นเกษตร ปีเพาะปลกู 2559/60 61
4.32
การไดร้ ับการสนับสนุนปจั จยั การผลติ จากส่วนราชการในสงั กดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 61
4.33 ของครัวเรอื นเกษตร ปเี พาะปลกู 2559/60
62
4.34 การไดร้ ับการบริการจากสว่ นราชการในสังกดั กระทรวงเกษตรและสหกรณข์ องครัวเรอื นเกษตร 62
4.35 ปเี พาะปลูก 2559/60 62
4.36
ความเพยี งพอของแหลง่ เงินทนุ ของครัวเรอื นเกษตร ปีเพาะปลกู 2559/60 63
4.37 ความคาดหวังของเกษตรกรตอ่ การผลติ ด้านการเกษตรภายหลังมีโครงการฯ 63
4.38 ความคาดหวังของเกษตรกรเกีย่ วกับการแก้ปัญหาเรือ่ งนาํ้ เพอื่ การเกษตร 65
4.39 ภายหลงั มีโครงการฯ 66
4.40 ความสนใจในการทํากจิ กรรมเพิ่มเติมภายหลงั มโี ครงการฯ ปเี พาะปลูก 2559/60 67
ทัศนคติและระดบั ความพงึ พอใจของเกษตรกรทม่ี ตี อ่ โครงการ
ทัศนคตขิ องเกษตรกรในด้านผลกระทบจากโครงการฯ
ขอ้ คิดเห็น และขอ้ เสนอแนะเพิม่ เติมของเกษตรกร ปีเพาะปลกู 2559/60

.

สารบญั ตารางผนวก หนา้
76
ตารางผนวกท่ี 77
1 ราคาผลผลิตทางการเกษตรด้านพชื ในพ้ืนทโ่ี ครงการ ปเี พาะปลกู 2559/60 78
2 ราคาผลผลติ ทางการเกษตรด้านพชื นอกพื้นทโ่ี ครงการ ปเี พาะปลกู 2559/60
3 ราคาผลผลิตทางการเกษตรด้านพืช รวมพื้นทท่ี ั้งโครงการ ปเี พาะปลกู 2559/60 79
4 ราคาผลผลิตทางการเกษตรด้านพชื ในเขตพ้ืนทสี่ บู นา้ํ ดว้ ยไฟฟา้
ปเี พาะปลูก 2559/60 80
5 ราคาผลผลิตทางการเกษตรด้านพืช นอกเขตพื้นท่ีสบู นา้ํ ด้วยไฟฟา้ 81
ปเี พาะปลูก 2559/60 81
6 พันธ์ขุ ้าวเจ้าท่ีปลูกในพ้นื ท่ที งั้ โครงการ ปเี พาะปลกู 2559/60
7 สตู รปุ๋ยเคมี ทใี่ ช้ปลกู ข้าวในพนื้ ทที่ ง้ั โครงการ ปีเพาะปลกู 2559/60

บทท่ี 1
บทนาํ

1.1 ความเปน มาของโครงการ
การศึกษาเพอ่ื พฒั นาทรัพยากรนํา้ ในลุมน้ํานาน เร่ิมมาตั้งแตป พ.ศ.2510 โดยกรมชลประทานไดวางแผน

พัฒนาลุม นา้ํ นาน ประกอบดวยโครงการชลประทานขนาดใหญไดแก การกอสรางเขื่อนสิริกิติ์ จังหวัดอุตรดิตถ ซ่ึง
เปนเขอื่ นอเนกประสงคเ พอ่ื ผลิตกระแสไฟฟา พลงั นํ้าและเพื่อสนับสนุนน้ําใหแกพ้ืนที่เกษตรกรรม โครงการพัฒนา
ชลประทานอุตรดติ ถ(เขอื่ นทดนํ้าผาจุก) โครงการชลประทานพิษณุโลกฝงซาย และโครงการชลประทานพิษณุโลก
ฝงขวา(เข่ือนนเรศวร) นอกจากนั้น ยังมีแผนการกอสรางโครงการชลประทานขนาดกลางและขนาดเล็กอีกหลาย
โครงการ ซงึ่ จะใหผลประโยชนเ พ่อื การอปุ โภคบริโภค การบรรเทาอทุ กภยั การคมนาคมทางน้ํา การผลักดันนํ้าเค็ม
การรักษาระบบนิเวศในแมนํ้านานและเพ่ือการพักผอนหยอนใจ โดยกรมชลประทานไดดําเนินการกอสราง
โครงการชลประทานขนาดใหญเสร็จเรียบรอยแลว จํานวน 2 โครงการ คือ เขื่อนสิริกิต์ิ จังหวัดอุตรดิตถ และ
โครงการชลประทานพิษณุโลกฝงขวา(เขื่อนนเรศวร) จังหวัดพิษณุโลก สวนโครงการที่เหลือ กรมชลประทานได
ชะลอการดําเนินการออกไปเน่ืองจากแหลงเก็บกักน้ําที่มีอยูในขณะนั้น มีปริมาณน้ําตนทุนเพื่อการชลประทานไม
เพยี งพอ

ตอมากรมชลประทานไดดําเนินการกอสรางเข่ือนปาสักชลสิทธ์ิ จังหวัดลพบุรี และเขื่อนแควนอยบํารุง
แดน จังหวัดพิษณุโลก ซ่ึงดําเนินการแลวเสร็จเม่ือป พ.ศ.2542 และป พ.ศ.2552 ตามลําดับ ทําใหสามารถ สง
นํ้าใหพ้ืนท่ีโครงการเจาพระยาในฤดูแลงได 580,000 ไร ซ่ึงเปนการลดภาระการสงน้ําเพื่อการชลประทานจาก
เข่ือนสิรกิ ติ ิ์และเขอื่ นภมู พิ ล ทเ่ี ปน แหลงนา้ํ ตนทนุ ของโครงการชลประทานเจาพระยาใหญ กลา วคอื

เข่ือนปาสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี สามารถสงน้ําชวยเหลือพ้ืนที่เพาะปลูกของโครงการชลประทาน
เจาพระยาฝงตะวันออกตอนลาง เนื้อท่ีประมาณ 330,000 ไร มีปริมาณนํ้าในแมนํ้าปาสักเพิ่มข้ึนจากเดิมที่เคยมีป
ละ 246.48 ลานลูกบาศกเมตร เปน 523.24 ลานลูกบาศกเมตร หรือเพิ่มขึ้น 276.76 ลานลูกบาศกเมตร ซึ่ง
สามารถลดปริมาณการระบายนา้ํ จากอางเก็บน้ําเข่อื นสิรกิ ิติ์ ในฤดูแลงเฉลย่ี ปละ 237 ลา นลกู บาศกเมตร

เขอื่ นแควนอยบาํ รงุ แดน จังหวัดพษิ ณุโลก สามารถสงนาํ้ ใหพื้นท่ีชลประทานในโครงการเจาพระยาในฤดู
แลงประมาณ 250,000 ไร มีปริมาณน้ําในแมนํ้าแควนอยเพิ่มข้ึนจาก 215.35 ลานลูกบาศกเมตร เปน 469.46
ลานลูกบาศกเมตร หรือเพ่ิมข้ึน 254.11 ลานลูกบาศกเมตร ซ่ึงสามารถลดปริมาณการระบายน้ําจากอางเก็บนํ้า
เขื่อนสริ ิกติ ์ิ เพอื่ การเพาะปลกู พืชในฤดูแลง ในโครงการเจาพระยาไดเ ฉล่ียปละ 269 ลานลกู บาศกเมตร

จากการจัดการนํ้าอยางเปนระบบจะทําใหมีปริมาณน้ําที่เพิ่มขึ้นในฤดูแลง 506 ลานลูกบาศกเมตร ซึ่งจะ
เพียงพอท่ีจะสามารถสงนํ้าใหกับพื้นที่ในเขตจังหวัดอุตรดิตถที่ประสบปญหาการขาดแคลนน้ํา นอกจากน้ัน ใน
ปจจุบันการใชนาํ้ ในพน้ื ทเ่ี พาะปลูกของจงั หวดั อุตรดิตถตองอาศัยโครงการสูบน้ําดวยไฟฟา ทําใหตองเสียคาใชจาย
ในการสบู นํา้ เปนจาํ นวนมาก จงึ มีราษฎรเรียกรอ งใหก รมชลประทานดําเนินการกอสรางโครงการเขื่อนทดนํ้าผาจุก
จงั หวัดอตุ รดติ ถ โดยเรว็

กรมชลประทาน จึงไดทบทวนการศึกษาโครงการพัฒนาลุมน้ํานานในขั้นการศึกษาความเหมาะสม
(Feasibility Study) โดยเร่ิมการศึกษาโครงการเม่ือวันท่ี 18 กันยายน 2546 และดําเนินการแลวเสร็จเมื่อเดือน
พฤศจกิ ายน 2548 โดยมีวัตถปุ ระสงค คอื

- การศึกษาในขั้นแผนหลัก(Master Plan Study) เพ่ือศึกษาแผนพัฒนากําหนดทางออก
โครงการ

- การศึกษาในขั้นการศึกษาความเหมาะสม(Feasibility Study) เพื่อศึกษาความเหมาะสมและ
ศึกษาผลกระทบสงิ่ แวดลอม

2

จากผลการศึกษาความเหมาะสมของโครงการ พบวาการแกไขปญหาทรพั ยากรนํ้าในลุมนํ้านาน จะตองทํา
ใหลุมน้ํานานมีนํ้าอยางเพียงพอและมีคุณภาพ เพื่อประโยชนในการผลิตและการอุปโภคบริโภค สนับสนุนการ
สรา งเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ท่ีดีของประชาชน ควบคไู ปกบั การบรรเทาอุทกภัยไดอ ยางตอ เนื่อง โดยคํานึงถึงผลกระทบท่ี
อาจเกดิ ขึน้ กบั สภาพแวดลอ มและทรัพยากรธรรมชาติอ่ืนๆ และเพ่ือใหเกิดการพัฒนาลุมนํ้านานอยางเปนรูปธรรม
จึงไดคัดเลือกโครงการนํารองที่มีลําดับความเหมาะสมในการพัฒนาสูง คือ โครงการเขื่อนทดน้ําผาจุก จังหวัด
อุตรดิตถ เสนอตอคณะกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าและการชลประทานพิจารณา ซ่ึงตอมา
คณะกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าและการชลประทานไดมอบหมายใหกระทรวงเกษตรและ
สหกรณโดยกรมชลประทานเรงเตรียมความพรอมโครงการชลประทานขนาดใหญ จํานวน 16 โครงการ ในการ
ประชุมคร้ังที่ 1/2551 ลงวันท่ี 27 พฤษภาคม 2551 โดยมติท่ีประชุมดังกลาวไดผานการเห็นชอบจาก
คณะรฐั มนตรีแลว เมื่อวนั ที่ 10 มิถุนายน 2551

ในสวนของการดาํ เนนิ การสํารวจออกแบบรายละเอียด กรมชลประทานวาจางบริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอน
จิเนียริ่ง แอนด แมเนจเมนท จาํ กัด และบริษทั แอสดิคอน คอรป อเรชน่ั จํากดั ดําเนินงานสํารวจออกแบบตัวเข่ือน
ทดน้ําผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ ในวงเงิน 48,970,000 บาท ระยะเวลา 3 ป โดยเร่ิมดําเนินการสํารวจออกแบบตัว
เข่ือนทดนํ้าผาจุกเม่ือเดือนตุลาคม 2550 แลวเสร็จเม่ือเดือนกันยายน 2551 สําหรับดานการศึกษาผลกระทบ
สิ่งแวดลอม กรมชลประทานไดดําเนินการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอมโครงการฯแลวเสร็จเมื่อเดือนพฤศจิกายน
2548 และสงใหสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมพิจารณาในป พ.ศ. 2549 ซึ่ง
คณะกรรมการผูชํานาญการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมดานโครงการพัฒนาแหลงนํ้า
(คชก.) มีขอเสนอแนะใหปรับปรุงรายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมบางสวน กรมชลประทานจึง
ดําเนินการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอ มเพมิ่ เตมิ แลว เสรจ็ ในเดือนมกราคม 2552 และเสนอรายงานดังกลาวอีกครั้ง
ซ่ึงไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ เม่ือวันที่ 4 พฤษภาคม 2552 แจงตามหนังสือ
คณะกรรมการสิง่ แวดลอมแหงชาติ ที่ ทส (กกวล)1008/ว 4655 ลงวันท่ี 22 มิถุนายน 2552 เห็นชอบกับรายงาน
การวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการพัฒนาชลประทานอุตรดิตถ จังหวัดอุตรดิตถ ตามความเห็นของ
คณะกรรมการผูเชี่ยวชาญการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม ดานโครงการพัฒนาแหลงน้ํา
โดยกรมชลประทาน และคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมตั ใิ หดาํ เนนิ การกอ สราง วันที่ 3 พฤศจกิ ายน 2552
1.2 วตั ถุประสงคข องโครงการ

1.2.1 เพื่อกําหนดแผนการดําเนินการบริหารจัดการน้ําภายในลุมน้ํานานใหไดประสิทธิภาพสูงสุด ทั้ง
ทางดานการพัฒนาแหลงนํ้า การปองกันอุทกภัย และดานอ่ืนๆ ตลอดจนการดําเนินการตางๆ ใหผูใชนํ้าและผูท่ี
เกีย่ วของ ไดม สี วนรวมในการกาํ หนดสิทธใิ นการใชน ้าํ โดยแบง ปนกนั ดว ยความเปนธรรมเอื้ออาทรตอกัน และเปนที่
ยอมรบั ของทกุ ฝาย

1.2.2 เพื่อติดตามการดําเนินงานของหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของใหเปนไปตามแผนการปองกันแกไขและ
ลดผลกระทบส่ิงแวดลอมส่ิงแวดลอมและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการพัฒนาชลประทาน
อตุ รดิตถ เข่ือนทดน้ําผาจุก จังหวดั อตุ รดติ ถ

1.2.3 เพ่ือติดตามการดําเนินงานของโครงการใหเปนไปตามมาตรการปองกันแกไข และมาตรการติดตาม
ตรวจสอบผลกระทบสงิ่ แวดลอมที่ระบุไวในรายงานการวิเคราะหผ ลกระทบสิ่งแวดลอม

1.2.4 เพ่ือบูรณาการหนวยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณในพ้ืนท่ีจังหวัดรวมกับทุกภาคสวนท่ี
เก่ยี วของ ใหเกิดผลลัพธต อเกษตรกรในการพัฒนาอาชีพ และสงเสริมรายไดภาคเกษตรจากการใชประโยชนจากนํ้าอยาง
เหมาะสม

3

1.3 เปา หมายและงบประมาณของโครงการ
1.3.1 เปาหมายของโครงการ
ผลงานการกอสรางและผลงานการดําเนินของหนวยงานตางๆ ท่ีเกี่ยวของภายใตแผนปฏิบัติการลด

ผลกระทบสง่ิ แวดลอมและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการพัฒนาชลประทานอุตรดิตถ เขื่อนทด
น้ําผาจกุ จังหวดั อตุ รดิตถ

1.3.2 งบประมาณการกอสรางโครงการ
จาํ นวนทัง้ สนิ้ ประมาณ 10,500 ลา นบาท ประกอบดวยงบบุคลากร 197.95 ลานบาท งบดําเนินงาน

28.01 ลานบาท งบลงทุน 9,769.72 ลานบาท (รวมคาดําเนินการดานส่ิงแวดลอม 120.87 ลานบาท และ
คาชดเชยที่ดินและทรัพยสิน 1,211.36 ลานบาท) และเงินเผื่อเหลือเผื่อขาด 504.32 ลานบาท โดยมีแผนการใช
จา ยเงินงบประมาณในแตละปด ังน้ี

แผนการใชจายเงินงบประมาณในแตละป หนวย : ลานบาท
2558 - 2561
ปงบประมาณ พ.ศ. 2553 2554 2555 2556 2557 4,482.17
จาํ นวนเงิน - 305.01 845.73 2,187.09 2,680.00

1.4 พ้นื ที่ดาํ เนนิ การ
บริเวณพ้ืนที่โครงการพัฒนาชลประทานอุตรดิตถ เขื่อนทดน้ําอุตรดิตถ(ผาจุก) ระบบชลประทานและพื้นท่ี

รอบโครงการ ที่ตั้งเขื่อนทดน้ําผาจุก ต้ังอยูในแมนํ้านานบานคลองนาพง หมู 7 ตําบลผาจุก อําเภอเมือง จังหวัด
อุตรดิตถ ประมาณพิกดั ท่ี 47 QPV 347517 ระวาง 5044 II

1.5 วิธีการและขน้ั ตอนการดําเนนิ การ
1.5.1 ติดตามผลการดําเนินงานของโครงการพัฒนาชลประทานอุตรดิตถ ในภาพรวม และติดตาม

ตรวจสอบการดําเนินงานของแผนงานจากรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานและการติดตามตรวจสอบผลกระทบ
สิง่ แวดลอมของหนวยงานตา งๆ ทีจ่ ัดสงใหก รมชลประทาน

1.5.2 ตดิ ตามผลการดําเนินงานของโครงการพัฒนาชลประทานอุตรดิตถ โดยการตรวจสอบในภาคสนาม
เพ่ือติดตามผลการดาํ เนนิ งานของโครงการและตรวจสอบความถกู ตอ งของผลปฏบิ ัติของแผนงานท่ีไดเสนอ
1.6 การวางแผนการกอ สรางโครงการ

ระยะเวลากอสรางโครงการ 9 ป (พ.ศ. 2553 - 2561) จากหลักเกณฑและวิธีการกอสรางนํามากําหนด
ระยะเวลาของการดําเนินงานแตล ะองคประกอบของโครงการ 5 ป แบง เปน งานประเภทตา ง ๆ ดงั นี้

1.6.1 งานเตรียมการกอสราง ใชระยะเวลาประมาณ 7 เดือน เปนการเตรียมสถานท่ีบริเวณหัวงานเขื่อน
ทดน้ําใหมคี วามพรอมสาํ หรบั การกอสราง

1.6.2 งานจดั กรรมสิทธท์ิ ี่ดินและคาทดแทน ใชระยะเวลาประมาณ 6 เดือน เปนงานท่ีวางแผนไวในกรณีที่
ตอ งมกี ารดาํ เนนิ การที่จาํ เปน เพิ่มเตมิ นอกจากพ้ืนทท่ี ่ีไดจ ัดซ้ือไวแลว

1.6.3 งานขุดชอ งลัดเพอ่ื การผนั นํา้ ใชร ะยะเวลาประมาณ 5 เดือน
1.6.4 งานกอสรางทํานบปดลํานํ้าเพ่ือทําบอกอสราง ใชระยะเวลาประมาณ 6 เดือน โดยเริ่มดําเนินการ
เมือ่ กอ สรางคลองผนั น้าํ ไปแลว 3 เดอื น โดยทําการกอสรางทํานบดินปดกั้นลําน้ําเดิมและผันน้ําไปทางคลองผันน้ํา
รวมท้ังเตรยี มบอกอ สรางโดยการระบายนาํ้ ออกใหห มดเมื่อกอสรางทํานบปด กนั้ ลาํ นํ้าเสรจ็ หมดแลว
1.6.5 งานกอสรางฐานรากและตัวเข่ือนทดนํ้า โดยงานปรับปรุงฐานรากใชเวลา 3 เดือน และงาน
โครงสราง ใชระยะเวลาประมาณ 15 เดือน สวนงานปองกันการกัดเซาะใชเวลาประมาณ 5 เดือน รวมใชเวลา
ประมาณ 19 เดือน

4

1.6.6 งานติดตั้งบานประตูและอุปกรณ ใชระยะเวลาประมาณ 23 เดือน โดยจะเร่ิมมีการจัดซ้ือสั่งผลิตท่ี
โรงงานในปลายปที่ 1 และจัดการขนสงมาทบ่ี ริเวณกอสรางภายในปท่ี 3 การตดิ ตั้งจะใชเ วลาประมาณ 5 เดือน

1.6.7 งานร้ือถอนทํานบบอกอสราง และกอสรางทํานบปดคลองผันนํ้า ใชระยะเวลาประมาณ 7 เดือน
โดยจะเร่ิมทางเชื่อมอาคารประตูระบายนํ้าปากคลองสงนํ้าชลประทานฝงซาย หลังจากไดรื้อถอนทํานบใหระบาย
น้ําผา นเขื่อนทดน้ําไดแลว

1.6.8 งานระบบสายสง ไฟฟา ใชร ะยะเวลาประมาณ 1 ป โดยดาํ เนนิ การในปแรกของแผนงานกอสรา ง
1.6.9 งานกอสรา งระบบชลประทาน ใชร ะยะเวลาประมาณ 4 ป
หลังจากนั้นจะเร่มิ ทาํ การกอ สรา งโรงไฟฟาพลังน้าํ รวมท้งั ติดตง้ั เครอื่ งจกั รกลไฟฟาและอุปกรณประกอบ
จะตอ งใชเ วลาประมาณ 16 เดือน ในระหวา งน้จี ะกอสรางคลองชักน้าํ ควบคูกันไปดวย ซ่ึงจะใชระยะเวลาประมาณ
4 เดือน งานร้ือถอนทํานบปดคลองผันน้ําใชระยะเวลาประมาณ 3 เดือนรวมระยะเวลากอสรางเขื่อนทดนํ้าท้ังสิ้น
4 ป
1.7 แผนปฏิบัติการปองกันแกไขและลดผลกระทบสิ่งแวดลอมและแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบ
สิ่งแวดลอม
การดําเนินโครงการเขื่อนทดน้ําผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ ตลอดอายุโครงการที่จะมิใหเกิดผลกระทบตอ
สง่ิ แวดลอม หรือกอใหเกิดผลกระทบในระดับท่ียอมรับไดน้ัน หนวยงานผูรับผิดชอบจําเปนจะตองปฏิบัติตามแผน
และมาตรการลดผลกระทบโดยเครงครัด ท้ังน้ี ในการศึกษาไดเสนอแผนปฏิบัติการลดผลกระทบส่ิงแวดลอมและ
แผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอมไวแลว รวมทั้งส้ิน 18 แผน ไดแก แผนปฏิบัติการปองกันแกไขลด
ผลกระทบส่ิงแวดลอมจํานวน 7 แผน และแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอมจํานวน 18 แผน โดยใช
งบประมาณในการดาํ เนินการตามแผนในระยะ 9 ป ดงั สรุปในตารางที่ 1.1

ตารางที่ 1.1 งบประมาณและแผนการเงินในการดําเนินงานแผนปฏบิ ัติการลดผลกระทบสิง่ แวดลอมและติดตามตรวจ

แผนปฏิบัตกิ าร ระยะเวลา ระยะกอ สรา ง 2557 2557 ปท่ดี าํ เนนิ
ดําเนินการ (ใหม)
2555 2556 2556 2558 2558
(ป) 2554 2555 (ใหม) (ใหม) (ใหม)

1. แผนปฏิบัตกิ ารลดผลกระทบสิ่งแวดลอมในระยะกอ สราง 6 2 2 1.6 1.6 1.6 1.6 1.6 1.6
1.1 แผนประชาสัมพนั ธโครงการ 784.15*
1.2 แผนการชดเชยทรพั ยส นิ 4 0.2 0.2 0.2 0.2 0.2 0.2 0.2
1.3 แผนการลดผลกระทบดานนเิ วศวทิ ยาทางนาํ้ และทรัพยากรประมง 8 0.2 - 7.20 - 14.394 - 1.92 11.63
1.4 แผนการปรับปรงุ สภาพภูมิสถาปต ยกรรมบรเิ วณพ้ืนทีห่ ัวงานเขอ่ื นและ 0.56
7 - 0.90 - 0.6
สภาพภมู ิทัศนพน้ื ที่ใกลเ คียงแนวคลองชลประทานทีต่ ดั ผา นชุมชน 5 0.3
1.5 แผนการปอ งกันแกไ ขผลกระทบดานโบราณคดแี ละประวัตศิ าสตร (เพิม่ ใหม) 0.17 - 0.17 -
2. แผนปฏบิ ตั ิการลดผลกระทบส่ิงแวดลอ มในระยะดาํ เนินการ 7 0.05 10.50 -
2.1 แผนการบรหิ ารการใชน ํ้า 3 0.04
2.2 แผนการสง เสรมิ และพัฒนาการเกษตรหลังมีโครงการ 9 0.20 0.30 0.30 0.30 0.30 0.30 0.40 0.4
3. แผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิง่ แวดลอม 4 0.5 0.30 0.30 - 0.3
3.1 แผนการตดิ ตามตรวจสอบดานคุณภาพน้าํ ผิวดินและน้ําใตด นิ 3 0.05 0.05 0.05 0.05 0.106 0.07 0.0
3.2 แผนการตดิ ตามตรวจสอบดา นเศรษฐกจิ สังคม 5 0.12 0.04 - 0.40 - 0.40 0.40 0.4
3.3 แผนการตดิ ตามตรวจสอบดานอทุ กวทิ ยานา้ํ ผิวดนิ 5 0.22 0.20 - 0.23 - 0.30 0.10 0.3
3.4 แผนการตดิ ตามตรวจสอบดานน้ําใตดนิ และคณุ ภาพน้ํานํ้าใตด ิน 5 0.35 - - 0.50 0.50 0.5
3.5 แผนการติดตามตรวจสอบดา นนิเวศวทิ ยาทางนา้ํ และทรัพยากรประมง 2 0.35 - 0.20 0.20 0.23
3.6 แผนการติดตามตรวจสอบดานทรพั ยากรดินและการใชท ่ดี ิน 9 0.12 - 0.12 0.12 0.1
3.7 แผนการตดิ ตามตรวจสอบดา นการเกษตร 4.89 0.22 - 0.25 0.35 0.35 0.22 0.2
3.8 3.8 แผนการติดตามเฝา ระวงั โรคติดตอ นําโดยยุง 9 0.35 0.35 0.35 0.35 0.3
3.9 แผนการติดตามเฝาระวงั โรคพยาธิใบไมใ นคน 4.89
3.10 แผนการติดตามการปฏิบตั ิตามการปองกนั แกไ ขและลดผลกระทบส่งิ แวดลอม 0.35 0.25 ไมรบั งบฯ 0.45 ไมร บั งบฯ 0.25 ไมร ับงบ

และติดตามตรวจสอบผลกระทบส่งิ แวดลอ ม 5.25 4.89 9.95 10.00 25.02 17.000 17.0
3.11 แผนการตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏิบตั ติ ามการลดผลกระทบสงิ่ แวดลอ ม 4.89 10.00 20.00 17.0
3.83 9.95 3.50 17.00
และตดิ ตามตรวจสอบผลกระทบสิง่ แวดลอ ม 1.06 6.50 17.81 5.156 17.00 0.00
รวมทงั้ สนิ้ (งบยังไมไดปรับ & งบประมาณจริงกอนโอน) 14.844
งบประมาณทอ่ี นมุ ตั ิตาม พรบ. 50.66487
รวมท้ังสน้ิ (งบปรบั & งบประมาณทโ่ี อนจรงิ ) 27.22513
คงเหลือรวมทงั้ สน้ิ
งบประมาณทใ่ี ชไประหวา ง 2555-2560 รวมท้งั ส้ิน
งบประมาณ 2555-2560 คงเหลือสทุ ธิ

หมายเหตุ : _1/ คาใชจ า ยในการจดั การสงิ่ แวดลอ มขางตน เปนมูลคาทางการเงิน ณ ราคาคงท่ีป 2548 รายละเอียดท้ัง 54 ป ดูในบทท่ี 7 การวเิ คราะหโ ครงการดา นเศรษ
_2/ ทมี่ าจากการประเมินของผเู ชย่ี วชาญสาขาตางๆ ท่ีเกย่ี วขอ ง,บริษทั ทีป่ รึกษา
_3/ ดูรายละเอยี ดเพม่ิ จากหวั ขอมาตรการตรวจสอบและลดผลกระทบดานส่งิ แวดลอมจากการดําเนินโครงการ
_4/ แผนพฒั นาสงเสริมดา นการเกษตร ประกอบดว ยคา ใชจ า ยเกย่ี วกบั การอบรมใหค วามรเู รอื่ งวิธีการปลูกพืชสมยั ใหม/ ความรเู รื่องดนิ การจดั ทาํ แ
_5/ คาใชจา ยบางรายการตองมีการติดตามตรวจสอบเปน ระยะจนสิน้ สุดระยะดาํ เนนิ โครงการ
_6/ ระยะเวลา 25 ป เปนระยะเวลาท่ใี ชใ นการวเิ คราะหโครงการสาํ หรับการศกึ ษาครัง้ น้ี
* งบประมาณรวมอยใู นคากอ สรา งและดาํ เนนิ โครงการและงบประมาณการบรหิ ารงานปกตขิ องกรมชลประทานแลว จึงไมนํามารวมอยใู นงบประม

จสอบผลกระทบสิ่งแวดลอ ม โครงการเขอ่ื นทดน้ําผาจกุ จังหวัดอตุ รดติ ถ

นการโครงการ ระยะดําเนนิ การ 2561 2561 2562 รวม(ลาน หนวยงานท่รี บั ผดิ ชอบ
(ใหม) 2563 บาท)
2559 2559 2560 2560
) (ใหม) (ใหม)

0.6 2.4 1 0.8 0.80 10.00 สํานักงานกอสรา งโครงการชลประทานขนาดใหญท ี่ 4

784.15* กรมชลประทาน/หนวยงานในจงั หวดั

- 0.1 0.10 1.00 กรมประมง กองวิจัยและพัฒนาประมงนา้ํ จดื

39 1.92 6.2011 1.92 4.414 1.92 1.92 1.92 11.599 41.380 สํานักงานกอ สรา งโครงการชลประทานขนาดใหญท ่ี 4

64 0.90 กรมศิลปากร

0.17 - 0.17 - 0.12 0.12 0.12 0.46 1.040 กรมชลประทาน สาํ นักบรหิ ารจัดการนา้ํ และอทุ กวทิ ยา
10.50 - 2.50 10.00 10.50 51.500 กรมสง เสริมการเกษตร/เกษตรและสหกรณ จ.อุตรดิตถ
10.50 2.6531 10.00

40 0.40 0.40 0.40 0.4 0.40 0.40 0.30 2.800 กรมชลประทาน สวนสงิ่ แวดลอม

30 0.40 0.3 0.30 0.10 1.100 กรมชลประทาน/สาํ นักงานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2

07 0.32 0.09 0.07 0.3252 0.07 0.07 0.07 0.06 0.870 กรมชลประทาน สาํ นักบริหารจัดการน้าํ และอทุ กวทิ ยา

40 0.40 0.40 0.40 0.2 0.20 0.36 2.400 กรมชลประทาน สํานักสํารวจวิศวกรรมและธรณีวทิ ยา

30 0.10 0.30 0.10 0.3 0.30 0.730 กรมประมง กองวจิ ยั และพฒั นาประมงน้ําจดื

50 0.60 0.60 0.50 - 0.60 2.700 กรมพฒั นาท่ดี ิน สํานักงานพฒั นาที่ดนิ เขตท่ี 8

31 0.20 0.47547 0.20 - 0.17 0.17 1.000 กรมสง เสริมการเกษตร สาํ นกั งานเกษตรจงั หวัดอตุ รดิตถ

12 0.12 - 0.12 0.12 0.12 0.12 0.12 0.840 กรมควบคุมโรค สาํ นักโรคติดตอ นําโดยแมลง

25 0.19 0.910 กรมควบคมุ โรค สาํ นกั โรคตดิ ตอท่ัวไป

35 0.35 0.35 0.35 0.35 0.35 0.35 0.35 0.35 3.500 กรมชลประทาน สวนสง่ิ แวดลอ ม

บฯ 0.64 ไมร บั งบฯ 0.25 ไมร บั งบฯ 0.43 ไมรบั งบฯ 0.25 0.535 3.395 สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม

0 2,572.24 16.315 30.71 16.38 12.15 13.205 13.205 14.930 121.665
77.890
0 16.000 10.00 50.66487
27.22513
0 16.315 11.31657 16.38 9.8623

4.68343 0.14

ษฐศาสตรส ่ิงแวดลอม
แปลงสาธิต การประชาสมั พันธเ รอ่ื งขา วสารขอ มลู ทางการเกษตรฯลฯ
มาณของแผนปฏบิ ตั ิการลดผลกระทบฯและตดิ ตามตรวจสอบฯ

6
สําหรับแผนปฏิบัติการลดผลกระทบสิ่งแวดลอมและแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบส่ิงแวดลอม
ปง บประมาณ 2560 จํานวน 18 แผน มรี ายละเอยี ดดังนคี้ ือ
1. แผนปฏบิ ตั กิ ารลดผลกระทบสงิ่ แวดลอมในระยะกอสราง

1.1 แผนประชาสมั พันธโ ครงการ
1.2 แผนการชดเชยทรัพยสิน
1.3 แผนการลดผลกระทบดา นนิเวศวิทยาทางน้ําและทรัพยากรประมง
1.4 แผนการปรับปรุงสภาพภูมิสถาปตยกรรมบริเวณพื้นที่หัวงานเข่ือนและสภาพภูมิทัศนพื้นที่
ใกลเ คียงแนวคลองชลประทานทตี่ ดั ผานชมุ ชน
1.5 แผนการปอ งกนั แกไขผลกระทบดา นโบราณคดแี ละประวัติศาสตร (เพมิ่ ใหม)
2. แผนปฏิบัติการลดผลกระทบส่งิ แวดลอ มในระยะดําเนินการ
2.1 แผนการบรหิ ารการใชน้าํ
2.2 แผนการสง เสริมและพฒั นาการเกษตรหลงั มโี ครงการ
3. แผนติดตามตรวจสอบผลกระทบส่ิงแวดลอม
3.1 แผนการติดตามตรวจสอบดานคณุ ภาพน้ําผิวดนิ และนา้ํ ใตดิน
3.2 แผนการตดิ ตามตรวจสอบดา นเศรษฐกิจสังคม
3.3 แผนการตดิ ตามตรวจสอบดานอทุ กวทิ ยานา้ํ ผวิ ดิน
3.4 แผนการติดตามตรวจสอบดา นนา้ํ ใตดนิ และคณุ ภาพนํา้ นํ้าใตดิน
3.5 แผนการตดิ ตามตรวจสอบดา นนิเวศวทิ ยาทางนํา้ และทรพั ยากรประมง
3.6 แผนการติดตามตรวจสอบดานทรัพยากรดินและการใชท ี่ดนิ
3.7 แผนการติดตามตรวจสอบดานการเกษตร
3.8 แผนการติดตามเฝาระวงั โรคติดตอ นาํ โดยยุง
3.9 แผนการติดตามเฝาระวงั โรคพยาธใิ บไมในคน
3.10 แผนการติดตามการปฏิบัติตามการปองกันแกไขและลดผลกระทบสิ่งแวดลอมและติดตาม
ตรวจสอบผลกระทบสงิ่ แวดลอม
3.11 แผนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามการลดผลกระทบส่ิงแวดลอมและติดตาม
ตรวจสอบผลกระทบสง่ิ แวดลอม
งบประมาณแผนปฏิบัติการลดผลกระทบสิ่งแวดลอมและแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบส่ิงแวดลอม
ปงบประมาณ 2560 มรี ายละเอียดดงั นคี้ อื

7

ตารางท่ี 1.2 งบประมาณแผนปฏบิ ัติการลดผลกระทบส่งิ แวดลอ มและแผนตดิ ตามตรวจสอบผลกระทบส่งิ แวดลอ ม
ปง บประมาณ 2560

แผนปฏบิ ตั กิ าร งบประมาณป 2560 หนวยงานทีร่ บั ผดิ ชอบ
(ลา นบาท)
1. แผนปฏิบัตกิ ารลดผลกระทบสงิ่ แวดลอมในระยะกอ สรา ง สนง.กอ สรา งโครงการชลประทานขนาดใหญท่ี 4
1.1 แผนประชาสมั พันธโครงการ แผนเดิม แผนใหม กรมชลประทาน/หนว ยงานในจังหวดั
1.2 แผนการชดเชยทรัพยส นิ 1.00 0.80 กรมประมง
1.3 แผนการลดผลกระทบดา นนเิ วศวิทยาทางน้ําและทรพั ยากรประมง -- สนง.กอสรา งโครงการชลประทานขนาดใหญที่ 4
1.4 แผนการปรับปรุงสภาพภมู สิ ถาปต ยกรรมบรเิ วณพน้ื ทหี่ ัวงานเขื่อน -- กรมศลิ ปากร
1.92 4.414 กรมชลประทาน สาํ นักบรหิ ารจดั การนาํ้ และอทุ กวทิ ยา
และสภาพภูมทิ ัศนพ น้ื ทใี่ กลเคียงแนวคลองชลประทานทตี่ ัดผานชุมชน -- กรมสงเสริมการเกษตร/เกษตรและสหกรณจ ังหวัด
1.5 แผนการปอ งกันแกไ ขผลกระทบดานโบราณคดี และประวัติศาสตร 0.17 - อุตรดิตถ
10.50 2.6531 กรมชลประทาน สวนส่ิงแวดลอม
2. แผนปฏิบัติการลดผลกระทบส่งิ แวดลอ มในระยะดาํ เนนิ การ กรมชลประทาน และ สนง.เศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2
2.1 แผนการบริหารการใชน ํา้ 0.40 0.40 กรมชลประทาน สาํ นักบริหารจัดการนาํ้ และอทุ กวิทยา
2.2 แผนการสงเสรมิ และพฒั นาการเกษตรหลงั มีโครงการ 0.40 0.30 กรมชลประทาน สํานักบริหารจดั การน้ําและอทุ กวิทยา
0.07 0.3252 กรมประมง กองวจิ ยั และพฒั นาประมงนาํ้ จดื
3. แผนตดิ ตามตรวจสอบผลกระทบสิง่ แวดลอ ม 0.04 0.20 กรมพฒั นาที่ดิน สนง.พัฒนาทีด่ นิ เขตท่ื 8
3.1 แผนการตดิ ตามตรวจสอบดานคณุ ภาพนํา้ ผิวดิน 0.01 0.30 กรมสงเสรมิ การเกษตร สนง.เกษตรจังหวัด
3.2 แผนการติดตามตรวจสอบดา นเศรษฐกิจสงั คม 0.50 - กรมควบคุมโรค สํานกั โรคติดตอ นาํ โดยแมลง
3.3 แผนการตดิ ตามตรวจสอบดานอทุ กวทิ ยาน้าํ ผิวดนิ 0.20 - กรมควบคมุ โรค สาํ นักโรคตดิ ตอทวั่ ไป
3.4 แผนการตดิ ตามตรวจสอบดา นนาํ้ ใตด นิ และคณุ ภาพนา้ํ ใตด นิ 0.12 0.12 กรมชลประทาน สว นสิ่งแวดลอม
3.5 แผนการตดิ ตามตรวจสอบดานนเิ วศวทิ ยาทางนํ้าและทรพั ยากรประมง -- สนง.นโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและ
3.6 แผนการติดตามตรวจสอบดา นทรพั ยากรดินและการใชทีด่ ิน 0.35 0.35 สิง่ แวดลอ ม (สผ.)
3.7 แผนการติดตามตรวจสอบดานการเกษตร 0.25 ไมร ับงบฯ
3.8 แผนการติดตามเฝา ระวงั โรคติดตอ นาํ โดยยงุ
3.9 แผนการตดิ ตามเฝา ระวังโรคพยาธิใบไมใ นคน
3.10 แผนการติดตามการปฏิบัตติ ามการปอ งกนั แกไ ขและลดผลกระทบ

สิ่งแวดลอมและตดิ ตามตรวจสอบผลกระทบสง่ิ แวดลอ ม
3.11 แผนการประเมินการปฏิบัตติ ามการปอ งกนั แกไ ขและลดผลกระทบ

สง่ิ แวดลอ มและติตามตรวจสอบผลกระทบสงิ่ แวดลอ ม

1.8 ระยะเวลาดาํ เนินการ
ระยะเวลากอ สรา งโครงการ 9 ป (พ.ศ. 2553 - 2561)

1.9 ประโยชนท คี่ าดวา จะไดรบั จากโครงการ
1.9.1 การบริหารจัดการนํ้าในลุมน้ํานานตอนลางบริเวณ อําเภอเมือง อําเภอลับแล อําเภอตรอน อําเภอ

พชิ ัย จงั หวัดอตุ รดิตถ และอําเภอพรหมพริ าม อําเภอวัดโบสถ จังหวัดพิษณุโลก เพ่อื เกดิ ประสทิ ธภิ าพสูงสุด
1.9.2 สามารถสง นํ้าในพื้นทีช่ ลประทานในเขตโครงการประมาณ 481,400 ไร
1.9.3 สง นํา้ เพือ่ การอุปโภค - บรโิ ภค อุตสาหกรรม และรักษาระบบนิเวศในแมน ํา้ นา น.

บทท่ี 2
ระเบยี บวธิ ีการศึกษา

2.1 ความสาํ คญั ของการศึกษา

โครงการเขอ่ื นผาจุก จังหวดั อตุ รดติ ถ์ เป็นโครงการแก้ไขปัญหาทรัพยากรนํ้าในลุ่มนํ้าน่านให้มีน้ําเพียงพอ
และมีคุณภาพ เพื่อใช้ประโยชน์ในการผลิตและการอุปโภคบริโภค สนับสนุนการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีดีของ
ประชาชน ควบคู่ไปกับการบรรเทาอุทกภัยอย่างต่อเนื่อง โดยคํานึงถึงผลกระทบท่ีอาจเกิดข้ึนกับสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ เพ่ือให้เกิดการพัฒนาลุ่มนํ้าน่านอย่างเป็นรูปธรรม พ้ืนท่ีรับประโยชน์จะครอบคลุม
อําเภอเมืองอุตรดิตถ์ อําเภอลับแล อําเภอตรอน อําเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ และอําเภอพรหมพิราม อําเภอวัด
โบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก เพ่ือพัฒนาระบบชลประทาน ประมาณ 491,400 ไร่ ที่ต้ังตัวเขื่อนอยู่ในแม่นํ้าน่าน หมู่ 7
บ้านคลองนาพง ตําบลผาจุก อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ได้รับอนุมัติให้ดําเนินการก่อสร้างตั้งแต่เดือนตุลาคม
2555 และกรมชลประทานได้ดําเนินการต้ังงบประมาณและจัดสรรไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพ่ือดําเนินการ
ตามแผนป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมฯ ต้ังแต่ปีงบประมาณ 2555 เป็นต้นมา ซึ่งในปีงบประมาณ 2558
สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทานได้จัดตั้งงบประมาณให้แต่ละหน่วยงานดําเนินงานในพ้ืนที่ตามแผนปฏิบัติ
การปอ้ งกันแก้ไขผลกระทบสิง่ แวดล้อมและแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบส่ิงแวดล้อมโครงการเข่ือนทดน้ําผาจุก
จังหวัดอุตรดติ ถ์

สํานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร โดยมสี าํ นกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2 พิษณุโลก (สศท.2) เป็นหนว่ ยงาน
ส่วนกลางที่รับผิดชอบดูแลในพื้นท่ีจังหวัดอุตรดิตถ์ มีพันธกิจหลักด้านหน่ึง คือ การติดตามประเมินผลโครงการท่ี
สําคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซ่ึงในคร้ังน้ีได้รับมอบหมายให้ดําเนินการติดตามตรวจสอบด้านเศรษฐกิจ
และสังคม ตามแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการฯ โดยจัดทํารายงานการสํารวจภาวะ
เศรษฐกิจและสังคมครัวเรือนเกษตร(Bench Mark) ในพื้นท่ีโครงการเขื่อนทดน้ําผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ์
ปงี บประมาณ 2560 ซง่ึ เปน็ การศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานต่างๆของเกษตรกรทีอ่ ยู่ในพน้ื ทีโ่ ครงการฯ ในช่วงก่อนเข้าร่วม
โครงการ ครอบคลุมท้ังทางด้านเศรษฐกิจสังคม ด้านการผลิต ด้านต้นทุนและผลตอบแทนจากการผลิต ด้าน
การพัฒนาเทคโนโลยี ด้านการพัฒนาอาชีพ เป็นต้น ตลอดจนศึกษาถึงปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะของ
เกษตรกรจากการเข้าร่วมโครงการ เพื่อนําไปใช้ประกอบการพิจารณาตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงในการอนุมัติ
โครงการหรือวางแผนพัฒนาปรับปรุงแผนปฏิบัติงาน/กิจกรรมต่างๆในพื้นท่ีโครงการให้เกิดประโยชน์สูงสุด และใช้
เป็นข้อมูลเปรียบเทยี บสาํ หรบั การจัดทําเอกสารรายงานการประเมินผลหลังเขา้ รว่ มโครงการ

2.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา
2.2.1 เพื่อศึกษาถึงสภาพทั่วไปทั้งทางด้านเศรษฐกิจสังคม ด้านการผลิต ด้านต้นทุนและผลตอบแทน

จากการผลติ ดา้ นการพัฒนาเทคโนโลยี ด้านการพฒั นาอาชีพ ของเกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการ
2.2.2 เพอ่ื ศึกษาทัศนคติ ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคของเกษตรกรจากการเขา้ ร่วมโครงการ

2.3 ขอบเขตของการศึกษา
2.3.1 พ้ืนท่ีทําการศึกษา คือ พ้ืนท่ีสูบนํ้าด้วยไฟฟ้า เพื่อทดแทนไม่ได้รับน้ําจากโครงการเข่ือนทดนํ้าผา

จุก ครอบคลุมพืน้ ท่ีประมาณ 16,000 ไร่ มีดงั น้ี คอื
ด้านคลองส่งนาํ้ ฝั่งซา้ ย
- หมู่ท่ี 3 , 4 และ 8 ตําบลผาจุก และหมู่ท่ี 10 ตําบลบ้านด่าน อําเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัด

อตุ รดิตถ์
ดา้ นคลองส่งนาํ้ ฝง่ั ขวา
- หมูท่ ี่ 6 , 7 , 8 และ 10 ตาํ บลง้ิวงาม อําเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดติ ถ์

9

- หมทู่ ่ี 11 , 13 และ 15 ตําบลงิ้วงาม อําเภอเมืองอตุ รดิตถ์ จงั หวดั อตุ รดิตถ์
- หมูท่ ี่ 10 ตาํ บลผาจกุ อาํ เภอเมอื งอุตรดติ ถ์ จังหวดั อุตรดติ ถ์
3.2 ประชากรเป้าหมาย คือ เกษตรกรจํานวน 400 ราย และเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบโครงการและองค์กร
ปกครองสว่ นท้องถ่ินทีเ่ กีย่ วข้อง
3.3 ช่วงเวลาข้อมูลประเมินผล คือ ข้อมูลก่อนโครงการเป็นข้อมูลใน ปีเพาะปลูก 2559/60 (1
พฤษภาคม 2559 – 30 เมษายน 2560)

2.4 วธิ กี ารศกึ ษา

2.4.1 การรวบรวมข้อมูล

1) วิธีการรวบรวมข้อมูล เป็นข้อมูลท่ีได้จากการสัมภาษณ์เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการโดยสุ่ม

ตัวอย่าง เก่ียวกับสภาพความเป็นอยู่ของครัวเรือนเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ และประกอบการเกษตรในช่วง 1

พฤษภาคม 2559 – 30 เมษายน 2560 มีรายละเอียดดงั นค้ี อื

1.1) สภาพสังคมของเกษตรกร/ขอ้ มูลทั่วไป

1.2) การถือครองท่ดี ินและการใชป้ ระโยชน์ทดี่ ิน

1.3) ผลผลิตพชื ของครัวเรือนเกษตร

1.4) รายได้เงนิ สดทางการเกษตร ไดแ้ ก่

- รายได้เงินสดจากด้านพืช

- รายไดเ้ งนิ สดจากด้านปศุสัตว์

- รายไดเ้ งินสดจากดา้ นสัตวน์ ้ํา

- รายได้เงนิ สดการเกษตรอ่นื ๆ

1.5) รายจ่ายเงินสดทางการเกษตร ได้แก่

- รายจา่ ยเงินสดจากดา้ นพืช

- รายจา่ ยเงนิ สดจากดา้ นปศุสตั ว์

- รายจ่ายเงนิ สดจากดา้ นสตั ว์นํ้า

- รายจา่ ยเงินสดการเกษตรอืน่ ๆ

1.6) รายไดเ้ งนิ สดสุทธิทางการเกษตร

1.7) รายได้เงินสดสุทธทิ ัง้ หมดในครัวเรอื นของครวั เรอื นเกษตร

1.8) ภาวะหน้ีสินทัง้ หมดและแหลง่ กยู้ มื ของครวั เรอื นเกษตร

1.9) ทรัพย์สนิ ทง้ั หมดของครัวเรือนเกษตร

1.10) ข้อมลู เกี่ยวกับการใชป้ ระโยชนจ์ ากแหลง่ น้าํ และการบริการของภาครฐั

1.11) ทศั นคติ ระดบั ความพึงพอใจ และผลกระทบทม่ี ตี ่อโครงการ

2) แหล่งขอ้ มลู ขอ้ มูลทใี่ ชใ้ นการศกึ ษา ประกอบด้วยข้อมูล 2 แหลง่ คอื

2.1) ข้อมูลปฐมภูมิ เป็นข้อมูลท่ีได้จากการสัมภาษณ์เกษตรกรในพื้นท่ีโครงการ

เน่ืองจากไม่ทราบขนาดของประชากรทแี่ นน่ อน และไมท่ ราบคา่ สดั สว่ นของประชากรในพื้นทีโ่ ครงการ ดังนั้น จึงใช้

สตู รของคอแครน (Cochran, 1977 อา้ งใน ธีรวุฒิ เอกะกลุ , 2543) ดังนีค้ อื
2
Z
n=
4e2

โดยที่

n = ขนาดของกล่มุ ตวั อยา่ งทีต่ อ้ งการ

p = สดั ส่วนของลักษณะท่สี นใจในประชากร (p =0.50)

10

e = ระดับความคลาดเคลอื่ นของการสุ่มตัวอย่างทย่ี อมให้เกดิ ข้นึ ได้
Z = คา่ Z ทีร่ ะดบั ความเชอื่ ม่ันหรือระดบั นยั สาํ คญั

(ระดับความเช่อื มน่ั 95% หรือระดับนยั สาํ คญั 0.05 มคี ่า Z = 1.96)
ผลจากการคํานวณได้ขนาดของประชากรท่ีต้องการเท่ากับ 384 ราย ดังน้ัน ในการ
สํารวจครั้งน้ีจึงเก็บจํานวนตัวอย่างมากกว่า คือ เท่ากับ 400 ราย ส่วนการสุ่มกลุ่มตัวอย่างในคร้ังนี้ เป็นการไม่ใช้
ความน่าจะเป็น(Non-probability Sampling) เน่ืองจากเป็นการศึกษาจากกลุ่มท่ีเฉพาะเจาะจงหรือมีคุณลักษณะ
ที่สอดคล้องกับประเด็นหรือเง่ือนไขท่ีกาหนดไว้ คือ พ้ืนท่ีทําการศึกษาคือ พื้นที่สูบนํ้าด้วยไฟฟ้าเพ่ือทดแทนไม่ได้
รับน้ําจากโครงการเข่ือนทดน้ําผาจุก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 16,000 ไร่ เกษตรกรในพ้ืนท่ีทั้งหมดได้รับ
ผลประโยชน์ และไม่โดนเวนคืนท่ีดิน เน่ืองจากการทําระบบชลประทาน ส่วนการคัดเลือกเกษตรกรเป็นการสุ่ม
เลือกแบบมีจุดประสงค์/เฉพาะเจาะจง(Purposive Selection) คือ เป็นการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างท่ีมีลักษณะ
เฉพาะเจาะจงตามเหตุผลใหส้ อดคล้องกบั ปญั หาการศกึ ษาใหต้ รงตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
2.2) ข้อมูลทุติยภูมิ แหล่งข้อมูล ได้แก่ เอกสารโครงการ งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องของกรม
ชลประทาน และเอกสารรายงานของหน่วยงานอ่นื ๆ ที่เก่ยี วขอ้ ง เป็นตน้

2.4.2 การวิเคราะหข์ ้อมลู
เป็นการการวิเคราะห์เชิงปริมาณโดยใช้สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics Analysis) เป็นการ

วิเคราะห์ข้อมลู ภาวะเศรษฐกจิ สังคมครวั เรอื นเกษตร ปีเพาะปลกู 2559/60 มีรายละเอียดดงั น้ีคือ

1) การวิเคราะห์รายได้และรายจ่ายการเกษตร เมื่อนําผลผลิตการเกษตรมาขายที่ได้เป็นเงินสด
ไม่รวมถึงผลผลิตทนี่ าํ มาใช้ในครัวเรือนหักค่าใช้จ่ายในการผลิตที่เป็นเงินสด เป็นการวิเคราะห์ว่าในรอบปีการผลิต
หนึง่ ๆ เกษตรกรมีรายได้จากการประกอบการเกษตรในเขตพน้ื ทโี่ ครงการเปน็ เท่าไร สตู รในการคาํ นวณดังน้ี

 รายไดเ้ งินสดเกษตร = มูลคา่ จากการขายผลผลิตพชื + ปศสุ ตั ว์ + สัตวน์ าํ้ + อื่นๆ(ในเกษตร)
 รายจ่ายเงนิ สดเกษตร = รายจา่ ยเงินสดด้านพืช + ปศสุ ตั ว์ + สัตว์น้าํ + อ่ืนๆ(ในเกษตร)

2) การวิเคราะห์รายได้และรายจ่ายของครัวเรือน เป็นการวิเคราะห์รายได้และรายจ่ายทั้งหมด
ของครวั เรือนท้งั ในการเกษตรและนอกการเกษตร คือ

2.1) รายได้เงินสดสุทธิเกษตร เป็นการพิจารณาว่ารายได้เงินสดเกษตรทั้งหมดหัก
รายจ่ายเงนิ สดเกษตรทั้งหมดเป็นเทา่ ไร สูตรในการคาํ นวณดังนี้

 รายไดเ้ งนิ สดสทุ ธเิ กษตร = รายไดเ้ งนิ สดเกษตร(รวม) – รายจา่ ยเงนิ สดเกษตร(รวม)
2.2) รายได้สุทธิเกษตร เป็นการพิจารณาว่าเมื่อนํารายได้เงินสดสุทธิเกษตรวมกับมูลค่า

ผลผลิตเกษตรที่ใช้ในครัวเรอื นเกษตรและส่วนต่างของมลู ค่าทรัพยส์ ินตน้ ปีและปลายปี สูตรในการคาํ นวณดงั น้ี

 รายไดส้ ทุ ธเิ กษตร = รายได้เงินสดสุทธิเกษตร + มูลค่าผลผลิตเกษตรที่ใช้ในครัวเรือนเกษตร
+ (ส่วนต่างของมลู ค่าทรพั ยส์ ินตน้ ปีและปลายป)ี

2.3) รายได้เงินสดสุทธิครัวเรือน หรือ รายได้เงินสดคงเหลือเพ่ือใช้จ่ายในครัวเรือน
เปน็ การพจิ ารณาว่าเม่อื นาํ รายได้เงินสดสุทธิทางการเกษตรมารวมกับรายได้ที่เกิดจากกิจกรรมนอกการเกษตรแล้ว
ครวั เรอื นจะมีเงนิ สดคงเหลอื เพอื่ ใชจ้ ่ายในครัวเรอื นเท่าไร สูตรในการคาํ นวณดงั นี้

 รายไดเ้ งินสดสุทธคิ รัวเรอื น = รายได้เงนิ สดสุทธเิ กษตร + รายไดเ้ งินสดนอกการเกษตรรวม

2.4) เงินสดคงเหลือก่อนการชําระหน้ี หรือ การออม เป็นการนํารายได้เงินสดสุทธิ
ครัวเรือนหักออกด้วยรายจ่ายท่ีเป็นเงินสดนอกการเกษตรท้ังหมด แล้วครัวเรือนเกษตรจะยังคงเหลือเงินสดอยู่เป็น
จํานวนเทา่ ไร สูตรในการคํานวณดังน้ี

 เงนิ สดคงเหลอื ก่อนการชาํ ระหน(ี้ การออม) = รายได้เงนิ สดสทุ ธคิ รัวเรอื น – รายจ่ายนอกการเกษตร(รวม)

11

2.5) เงินออมสุทธิ เป็นการนํารายได้สุทธิเกษตรรวมกับรายได้นอกการเกษตรหัก
รายจา่ ยนอกการเกษตร ยังคงเหลือเงินสดอยูเ่ ปน็ จํานวนเทา่ ไร สตู รในการคํานวณดังน้ี

 รายได้สทุ ธิเกษตร = รายไดส้ ุทธเิ กษตร + รายได้นอกการเกษตร(รวม) – รายจ่ายนอกการเกษตร(รวม)

2.6) รายได้เงินสดสุทธิเกษตรเหลือจากการใช้จ่ายในครัวเรือน เป็นการนํารายได้
สุทธิเกษตรรวมกับรายได้นอกการเกษตรหักรายจ่ายนอกการเกษตร ยังคงเหลือเงินสดอยู่เป็นจํานวนเท่าไร สูตร
ในการคํานวณดังน้ี

 รายไดเ้ งินสดสุทธเิ กษตรเหลอื จากการใช้จ่ายในครัวเรอื น = รายไดเ้ งนิ สดสทุ ธิเกษตร – รายจา่ ยนอกการเกษตร(รวม)

3) การวิเคราะห์ผลิตภาพการผลิตทางการเกษตร เป็นการวิเคราะห์เพ่ือให้ทราบว่า ผลได้ท่ี
เกิดจากการใช้ปัจจัยการผลิต 1 หน่วยการผลติ เปน็ เทา่ ไร ท้งั นี้เพอื่ ทจ่ี ะสามารถนาํ ไปเปรยี บเทียบกบั ผลได้ท่ีเกิดขึ้น
ในพ้นื ทอี่ น่ื ๆ ทเ่ี ป็นฟารม์ ประเภทเดยี วกนั ได้ โดยวิธกี ารวิเคราะห์และตัววัดที่ใช้ ได้แก่

รายไดส้ ทุ ธเิ กษตรต่อพื้นที่ เปน็ การแสดงผลได้ที่เกิดจากการประกอบการผลิตทางการเกษตรต่อ
การใชท้ ่ีดนิ 1 ไร่ สูตรในการคํานวณดงั น้ี

 รายได้สทุ ธิเกษตรต่อพื้นท่ี = รายได้สทุ ธิทางการเกษตร
เนอื้ ท่ีเพาะปลูกท้ังหมด

2.5 หนว่ ยงานดําเนนิ การ
สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 สาํ นกั งานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

2.6 ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะไดร้ บั จากการศกึ ษา
เพ่อื เสนอผูบ้ รหิ ารและหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้อง นําไปใช้ประกอบการพิจารณาปรับปรุง แก้ไขพัฒนาโครงการ

เขื่อนทดนํ้าผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ์ เกษตรกรสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ท่ีดิน ประสิทธิภาพการผลิตและ
การตลาดสนิ ค้าเกษตรให้บรรลุวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ และใช้เป็นแนวทางในการกําหนดนโยบายการพัฒนาการ
เกษตรในพน้ื ทีช่ ลประทานและแหลง่ น้าํ ธรรมชาติต่อไป.

บทท่ี 3

สภาพท่วั ไป

3.1 ลกั ษณะทว่ั ไปของจังหวดั
อุตรดิตถ์เป็นจังหวัดหน่ึงในภาคเหนือตอนล่าง เป็นประตูข้ึนสู่ดินแดนลานนาตะวันออกเป็นเมืองก่อน

ประวัติศาสตร์ตัวเมืองเดิมช่ือ บางโพท่าอิฐ ได้รับการยกฐานะเป็นจังหวัดเมื่อ พ.ศ. 2476 “อุตรดิตถ์” หมายถึง
เมืองท่าแห่งทิศเหนือ เป็นเมืองตํานานแม่ม่ายลับแล และ เมืองถ่ินกําเนิดของวีรบุรุษกู้ชาติ “พระยาพิชัยดาบหัก”
ทหารเอกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช อยู่ห่างจากกรุงเทพฯโดยทางรถยนต์ 491 กิโลเมตร และโดยทางรถไฟ
485 กโิ ลเมตร มีอาณาเขตตดิ ตอ่ กับจงั หวดั ใกล้เคียง ดังนี้

ทิศเหนอื ติดกบั จงั หวดั แพรแ่ ละจงั หวดั น่าน
ทศิ ใต้ ติดกบั จงั หวัดพษิ ณโุ ลก
ทศิ ตะวันออก ติดกับ จังหวัดพษิ ณุโลก และสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว
ทศิ ตะวันตก ติดกับ จงั หวดั สโุ ขทยั

สภาพพื้นทีแ่ ละลักษณะภูมิประเทศ แบง่ ไดเ้ ปน็ 3 ลกั ษณะ คือ
1) ท่ีราบลุ่มแม่น้ําน่าน บริเวณสองฝ่ังของแม่น้ําน่าน และลํานํ้าสาขาท่ีไหลมาบรรจบกับแม่น้ํา

น่าน สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่มอยู่ในเขตอําเภอตรอน อําเภอพิชัย บางส่วนของอําเภอเมืองอุตรดิตถ์
อาํ เภอลบั แล และอาํ เภอทองแสนขัน(ประมาณร้อยละ 20 ของพ้นื ทท่ี ั้งหมด)

2) ที่ราบระหว่างหุบเขาและเชิงเขา บริเวณที่อยู่ต่อเนื่องจากบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ําทางด้าน
เหนือและด้านตะวันออกของจังหวัด ประกอบด้วยท่ีราบแคบๆ ระหว่างหุบเขาตามแนวคลองตรอน แม่น้ําปาด
คลองแม่พร่อง ห้วยน้ําไคร้ และลําธารสายต่างๆ สลับกับภูมิประเทศเป็นเขาอยู่ในเขตอําเภอเมืองอุตรดิตถ์ อําเภอ
ลบั แล อําเภอนาํ้ ปาด อําเภอฟากท่า อําเภอท่าปลา และอําเภอบ้านโคก(ประมาณร้อยละ 20 ของพ้ืนที่ทงั้ หมด )

3) เขตภูเขาและที่สูง อยู่ในบริเวณทางด้านเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด โดยเฉพาะเขต
อําเภอเมืองอุตรดิตถ์ อําเภอลับแล อําเภอนํ้าปาด อําเภอฟากท่า อําเภอท่าปลา และอําเภอบ้านโคก(ประมาณ
60% ของพืน้ ท่ที งั้ หมด)

จังหวัดมีพ้ืนที่ท้ังหมด 7,838 ตารางกิโลเมตร หรือ 4,899,120 ไร่ เป็นอันดับที่ 11 ของ 17 จังหวัด
ภาคเหนือ : อันดับที่ 25 ของประเทศ

ลักษณะการใช้ท่ดี นิ พื้นท่ีการเกษตร 1,255,225 ไร่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 26 ของพื้นท่ที ัง้ หมด คือ เปน็ พ้นื ที่ทาํ
นา 610,057 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 49 ของพื้นท่ีการเกษตร พ้ืนที่ทําไร่ 268,848 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 21 ของพื้นที่
การเกษตร พ้ืนที่ทําสวน 273,879 ไร่ คดิ เปน็ ร้อยละ 22 ของพื้นท่ีการเกษตร และพื้นท่ีการเกษตรอ่ืนๆ 102,441
ไร่ คดิ เปน็ ร้อยละ 8 ของพน้ื ทก่ี ารเกษตร สําหรบั พื้นทปี่ ่าไมม้ ีจาํ นวน 3,075,568 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 62 ของพื้นที่
ทัง้ หมด(ขอ้ มลู ของกรมปา่ ไม้ พ.ศ. 2555)

ลักษณะภูมิอากาศ จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากกระแสลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และตะวันตก
เฉียงใต้มีความช้ืนและความร้อนสูง ในฤดูร้อนอากาศจะร้อนจัดอุณหภูมิเฉล่ีย 35 องศาเซลเซียส และในฤดูฝน
อากาศเย็นสบายมีฝนตกชุกปรมิ าณนาํ้ ฝนของจงั หวัดอุตรดิตถ์อยู่ช่วง 957.3 - 1,695.9 มลิ ลเิ มตร จํานวนวันฝนตก
ประมาณ 99 วนั

จากการสาํ รวจดินของกองสํารวจและจาํ แนกดนิ กรมพัฒนาทด่ี ินสามารถจําแนกลักษณะดินทีพ่ บในพืน้ ที่
จงั หวัดอตุ รดิตถ์ตามลักษณะธรณีสณั ฐาน และวตั ถตุ ้นกําเนิดดนิ มีรายละเอยี ดดังน้ี

1) บริเวณท่ีราบนํ้าท่วมถึง(flood plain) มีเนื้อที่ประมาณ 36,591 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 0.75
เป็นท่ีราบบริเวณสองฝ่ังแม่นํ้าน่านและลํานํ้าสาขา ซ่ึงอาจเกิดนํ้าท่วมทุกปีในฤดูฝน สภาพพ้ืนที่ราบเรียบถึง

13

ค่อนข้างราบเรียบ ความลาดชันร้อยละ 0 – 2 ลักษณะดินเกิดจากการทับถมของตะกอนลํานํ้าทุก ๆ ปี เป็นดิน
ลึก เนื้อดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทราย ดินร่วนถึงดินเหนียวและมีการทับถมของตะกอนลํานํ้าในช่วงเวลาที่
แตกต่างกัน ดินมีการระบายนํ้าดีถึงเลว มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง ใช้ประโยชน์ที่ดินในการทํา
นา ปลูกพืชไร่ และพืชผัก ไดแ้ ก่ กลุม่ ชดุ ดนิ ที่ 21 , 38 และ 59

2) บริเวณสันดินริมน้ําเก่า(old levee) มีเน้ือที่ประมาณ 173,816 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 3.55
เป็นบริเวณท่ีถัดจากท่ีราบนํ้าท่วมถึง เกิดจากการทับถมของตะกอนลํานํ้าเกิดเป็นสันดินริมฝั่งแม่น้ํา สภาพพ้ืนท่ี
ราบเรียบถงึ ลูกคลน่ื ลอนลาดเลก็ น้อย ความลาดชนั รอ้ ยละ 0 - 5 เน้อื ดินเปน็ พวกดนิ รว่ น ดินร่วนปนทรายแป้งถึง
ดินเหนียว เป็นดินลึกมาก การระบายนํ้าดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง มีการใช้
ประโยชนท์ ดี่ ินในการปลกู พชื ไร่ พชื ผัก และไมผ้ ล ไดแ้ ก่ กลมุ่ ชุดดินที่ 33 และ 60

3) บริเวณตะพักลําน้ําค่อนข้างใหม่(semi-recent terrace) มีเนื้อท่ีประมาณ 501,711 ไร่ หรือ
คิดเป็นร้อยละ 10.24 เป็นบริเวณท่ีถัดจากที่ราบนํ้าท่วมถึงและสันดินริมน้ําเก่า เกิดจากการทับถมของตะกอน
ลํานํ้าท่ีมีอายุค่อนข้างใหม่ สภาพพ้ืนที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ ความลาดชันร้อยละ 0 - 2 ลักษณะดินเป็น
ดินลึกมาก เน้ือดินเป็นดินร่วนปนทรายแป้ง ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้งถึงดินเหนียว มีการระบายน้ําเลว ความ
อุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติตํ่าถึงปานกลาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทํานา บางแห่งที่มีแหล่งน้ําสามารถปลูก
พืชไรแ่ ละพชื ผกั ในฤดูแลง้ ได้แก่ กลุ่มชุดดนิ ที่ 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 และ 15

4) บรเิ วณตะพกั ลาํ น้าํ เก่า(old alluvium terrace) มีเนื้อทีป่ ระมาณ 682,346 ไร่ หรือคดิ เปน็
ร้อยละ 13.92 แบง่ เปน็ 2 ลกั ษณะ คอื

4.1) บริเวณตะพักลํานํ้าระดับต่ํา(low terrace) มีเน้ือที่ 194,228 ไร่ หรือคิดเป็นร้อย
ละ 3.96 เกิดจากการทับถมของตะกอนลํานํ้าเก่าบนตะพักลํานํ้าระดับตํ่า สภาพพ้ืนที่ราบเรียบถึงค่อนข้าง
ราบเรียบ ความลาดชันร้อยละ 0 – 2 ลักษณะดินส่วนใหญ่เป็นดินลึกมาก มีบางแห่งท่ีเป็นดินตื้นปนกรวดหรือ
ลูกรัง เนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย ดินร่วน ถึงดินร่วนเหนียวปนทราย มีการระบายน้ําค่อยข้างเลวความอุดม
สมบรู ณ์ตามธรรมชาตติ ํ่า มีการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ในการทาํ นาไดแ้ ก่ กลมุ่ ชุดดนิ ที่ 16 , 17 , 18 , 22 , 24 และ 25

4.2) บริเวณตะพักลํานํ้าเก่าระดับกลางถึงสูง(middle to high terrace) มีเน้ือที่
488,118 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 9.96 เกิดจากการทับถมของตะกอนลําน้ําเก่าบนตะพักลํานํ้าระดับกลางถึงสูง
สภาพพืน้ ทเ่ี ปน็ แบบค่อนขา้ งราบเรียบถึงลกู คลืน่ ลอนชนั ความลาดชนั ร้อยละ 2 - 20 ลักษณะดินเป็นดินตื้นถึงลึก
มาก เน้ือดินเป็นดินร่วนปนทราย ดินร่วน ถึงดินเหนียวปนทราย มีการระบายนํ้าดี ความอุดมสมบูรณ์ตาม
ธรรมชาติต่ํา มีการใช้ประโยชน์ท่ีดินในการปลูกพืชไร่ และไม้ผลต่าง ๆ บางแห่งยังคงสภาพเป็นป่าเต็งรัง ได้แก่
กลมุ่ ชดุ ดนิ ท่ี 35 , 40 , 41 , 44 , 48 และ 49

5) บริเวณพื้นผวิ ท่ีเหลือค้างจากการกร่อน และท่ีลาดเชิงเขา(erosion surface and footslope)
มีเน้ือที่ 589,742 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 12.04 เป็นบริเวณท่ีเกิดจากการผุพังสลายตัวอยู่กับที่หรือ เคลื่อนท่ีไป
เล็กน้อยตามแรงโน้มถ่วงของโลกของวัตถุต้นกําเนิดดินได้แก่ หินดินดาน หินทราย หินควอทไซท์ หินฟิลไลท์ และ
หนิ แอนดไี ซท์ เป็นตน้ สภาพพืน้ ท่ีเป็นแบบลูกคลื่นลอนลาดถึงเนินเขา ความลาดชันร้อยละ 5 – 35 ลักษณะดิน
และความอุดมสมบูรณ์ของดินข้ึนกับวัตถุต้นกําเนิดดิน เป็นดินตื้นถึงลึกมาก เน้ือดินเป็นดินร่วน ร่วนปนดินเหนียว
รว่ นปนทราย ถงึ ดินเหนียว มีการระบายนํ้าดี ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติตํ่าถึงปานกลาง มีการใช้ประโยชน์
ทด่ี นิ ในการปลูกพืชไร่ และไม้ผลชนดิ ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ กลุ่มชุดดินท่ี 26 , 28 , 29 , 31 , 36 , 46 , 47 , 55 และ 56

6) บริเวณเนินเขาและภูเขาสูงชัน(hills and mountains) มีเนื้อท่ี 2,726,027 ไร่ หรือคิดเป็น
ร้อยละ 55.64 เป็นบริเวณที่มีสภาพพ้ืนที่สูงชัน ความลาดชันมากกว่าร้อยละ 35 ประกอบด้วยดินหลายชนิด
เกิดขึ้นปะปนกันยังไม่มีการสํารวจและจําแนกดิน ลักษณะและคุณสมบัติต่าง ๆ ของดิน ตลอดจนความอุดม
สมบูรณ์ของดินไม่แน่นอนข้ึนกับหินท่ีเป็นวัตถุต้นกําเนิดดินบริเวณนั้นๆ เป็นพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมในการทํา

14

การเกษตรใดๆ เนื่องจากมีความลาดชนั มากเกนิ ไป เสย่ี งต่อการชะล้างพังทลายของดินอยา่ งรุนแรงควรสงวนไว้เป็น
พื้นที่ปา่ ไม้ธรรมชาติ

7) พ้นื ทีด่ ินหินโผล่(rock land) มพี ้ืนที่ 22,946 ไร่ หรือคดิ เป็นร้อยละ 0.47
8) พ้นื ทแ่ี หลง่ นา้ํ (water land) มเี นอื้ ท่ี 165,941 ไร่ หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3.39
ความเหมาะสมของทด่ี นิ สาํ หรบั การปลกู พชื จากข้อมูลทรัพยากรดินในจังหวัดอุตรดิตถ์ สามารถสรุปความ
เหมาะสมของทด่ี นิ สําหรับการปลกู พืชชนิดต่าง ๆ ดงั น้ี
1) ดินท่ีมีศักยภาพเหมาะสมต่อการทํานามีเนื้อท่ีประมาณ 699,950 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ
14.29 พบบริเวณที่ราบและที่ราบนํ้าท่วมถึง ส่วนใหญ่เกิดจากการพัฒนาและทับถมของตะกอนท่ีมากับน้ํา ทําให้
เกิดเป็นที่ราบเป็นบริเวณกว้างตามอําเภอต่างๆ และตามหุบเขา ลักษณะดินเป็นดินเหนียว มีการระบายน้ําเลว
ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ําถึงปานกลาง ส่วนมากพบทางด้านตะวันออกและตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัด
ไดแ้ ก่ อาํ เภอตรอน อําเภอพชิ ัย และตอนใตข้ องอาํ เภอลับแล นอกนนั้ พบกระจดั กระจายอยู่ทุกอําเภอ
2) ดินที่มีศักยภาพเหมาะสมสําหรับพืชไร่มีเนื้อที่ 526,038 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 10.74
ส่วนมากพบตามท่ีราบและสันดินริมแม่นํ้าน่านและลํานํ้าสาขา และบริเวณท่ีลาดเชิงเขา สภาพพ้ืนที่ทั่วไปมีความ
ลาดชันเล็กน้อยถึงลูกคล่ืนลอนชัน หรือเชิงเขาความลาดชันร้อยละ 2 – 20 ประกอบด้วยดินหลายกลุ่มแตกต่าง
กันไปตามลักษณะและอิทธิพลของวัตถุต้นกําเนิด เน้ือดินปานกลางถึงละเอียด มีการระบายน้ําดี พ้ืนท่ีส่วนใหญ่
กระจายอยู่ตามอาํ เภอต่างๆ ทีพ่ บมากคอื อําเภอตรอน อาํ เภอพชิ ยั และอาํ เภอเมือง
3) ดินที่มีศักยภาพเหมาะสมสําหรับไม้ผลมีเน้ือที่ 554,858 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 11.33
ส่วนมากพบตามท่ีราบและสันดินริมแม่น้ําน่านและแม่น้ําสาขา บริเวณท่ีลาดเชิงเขาและเนินเขา ความลาดชันร้อย
ละ 2-35 ลักษณะดินเป็นดินลึก มีการระบายนํ้าดี เน้ือดินเป็นดินร่วนปนทราย ดินร่วนถึงดินเหนียว ความอุดม
สมบูรณ์ต่ําถึงปานกลาง พบกระจัดกระจายอยู่ตามอําเภอต่างๆ พบมากท่ีอําเภอตรอน อําเภอพิชัย อําเภอลับแล
และอําเภอท่าปลา
ศักยภาพทส่ี าํ คญั ของจังหวัดอุตรดติ ถ์ คอื
1) ด้านเกษตรกรรม มีพื้นท่ีทําการเกษตรจํานวนมาก(26% ของพ้ืนที่ท้ังหมด) ส่วนใหญ่เป็นนา
ข้าว และสวนผลไม้เป็นแหลง่ ผลติ อาหารสาํ คัญของประเทศ
2) ด้านการค้าชายแดน มีชายแดนติดต่อลาว 135 กม. มีการค้าชายแดนในแต่ละปี ณ จุดผ่อน
ปรนทางการค้าช่องภูดู่ ช่องห้วยต่าง และช่องมหาราช มูลค่าการค้าชายแดนกว่า 200 ล้านบาทต่อปีซ่ึงกําลังจะ
ได้รับการยกระดับเป็นจุดผ่านแดนถาวรช่องภูดู่และมีเส้นทางเชื่อมโยงกับจังหวัดต่างๆและประเทศเพ่ือนบ้านได้
โดยสะดวก
3) การท่องเที่ยว มีแหล่งท่องเท่ียวจํานวนมาก ทั้งด้านประวัติศาสตร์และธรรมชาติเช่น ภูสอย
ดาวสามารถเช่ือมโยงกับจังหวัดในภูมิภาคน้ีและประเทศเพื่อนบ้านได้โดยเป็นประตูเชื่อม 4 เมืองมรดกโลก ท่ีใกล้
ทสี่ ดุ คือ กาํ แพงเพชร สุโขทยั ศรสี ัชนาลยั หลวงพระบางและเป็นจดุ เชอื่ มโยงสปู่ ระเทศในกลุ่มอินโดจีน/อาเช่ียนได้
โดยสะดวกอกี เสน้ ทางหนึ่งของประเทศ
4) จุดท่ีตั้งเปน็ ประตเู ช่อื มภาคเหนือตอนบนกบั ภาคอีสานตอนบน
5) แหล่งน้ําอดุ มสมบูรณม์ ีแหลง่ ขนาดใหญ(่ เข่ือนสริ ิกิต์)ิ และแม่นาํ้ สาํ คัญ 3 สาย คือ แมน่ ํ้าน่าน/
แมน่ ้ําปาด/คลองตรอน มฝี นตกชกุ
6) เสน้ ทางคมนาคมดีสะดวกทง้ั ทางรถไฟ และรถยนตแ์ ละมีพื้นทจี่ ะพฒั นาเป็นศนู ยข์ นส่งสินคา้
ทางรางรถไฟ (Contrainer Yard : CY) ที่ใหญ่ทสี่ ดุ ในภาคเหนอื

15

3.2 ลักษณะของโครงการ
3.2.1 สภาพทว่ั ไปของโครงการ
แม่น้ําน่านตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพ้ืนท่ีรับนํ้าประมาณ 34,238 ตาราง

กิโลเมตร มตี ้นกําเนดิ จากดอยภูแว ในทิวเขาหลวงพระบางในพืน้ ที่ อําเภอทงุ่ ชา้ ง อําเภอเชียงกลาง และ อําเภอปัว
จังหวัดน่าน ไหลลงมาทางทิศใต้ผ่านท่ีราบลุ่มบริเวณอําเภอท่าวังผา อําเภอเมืองน่าน และอําเภอเวียงสา จากน้ัน
ไหลผ่านหุบเขาลงสู่อ่างเก็บนํ้าเขื่อนสิริกิติ์นํ้าจากอ่างเก็บนํ้าเข่ือนสิริกิต์ิจะระบายลงสู่แม่นํ้าน่าน ซ่ึงจะไหลผ่านที่
ราบลุ่มขนาดใหญ่ในเขตจังหวัดอุตรดิตถ์ พิษณุโลก พิจิตร และนครสวรรค์ และไหลไปรวมกับแม่น้ําปิงเป็นแม่น้ํา
เจ้าพระยาที่จังหวัดนครสวรรค์ รวมความยาวประมาณ 770 กิโลเมตร ประกอบด้วยลุ่มน้ําสาขาต่างๆ ท่ีสําคัญ
ได้แก่ แม่นํ้าน่านตอนบน ห้วยนํ้ายาว น้ําสมุน น้ําสา นํ้าว้า น้ําแหง น้ําปาด คลองตรอน แม่น้ําแควน้อย นํ้าภาค
แมน่ ้ําวงั ทอง และลมุ่ นํ้าน่านตอนล่าง

พื้นที่เพาะปลูกในบริเวณลุ่มนํ้าน่านตอนล่าง ตั้งแต่เขตจังหวัดอุตรดิตถ์และบางส่วนของจังหวัด
พิษณุโลก ประสบปัญหาความแห้งแล้งและการขาดแคลนนํ้าในฤดูแล้ง ประกอบกับในปัจจุบัน การใช้นํ้า ในพ้ืนท่ี
เพาะปลูกของจังหวัดอุตรดิตถ์ต้องอาศัยโครงการสูบน้ําด้วยไฟฟ้า ซึ่งทําให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อการสูบน้ําเป็น
จํานวนมาก ราษฎรจึงได้เรียกร้องให้กรมชลประทานดําเนินการก่อสร้างโครงการเข่ือนทดน้ําผาจุก จังหวัด
อุตรดิตถ์ จากผลการศึกษาความเหมาะสมของโครงการ กรมชลประทาน พบว่า การแก้ไขปัญหาทรัพยากรนํ้าใน
ลุ่มนํ้าน่านจะต้องทําให้ลุ่มนํ้าน่านมีนํ้าอย่างเพียงพอและมีคุณภาพ เพื่อประโยชน์ในการผลิตและการอุปโภค
บริโภค สนับสนุนการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน ควบคู่ไปกับการบรรเทาอุทกภัยได้อย่างต่อเนื่อง
โดยคํานึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดข้ึนกับสภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติอ่ืน ๆ และเพื่อให้เกิดการพัฒนาลุ่ม

น้ําน่านอย่างเป็นรูปธรรม จึงได้คัดเลือกโครงการนําร่องท่ีมี
ลําดับความเหมาะสมในการพัฒนาสูง คือ โครงการเข่ือนทด
นํ้าผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่อให้การบริหารจัดการน้ําในลุ่มน้ํา
นา่ นตอนล่างเกดิ ประสทิ ธิภาพสงู สุด

ทตี่ งั้ โครงการเขื่อนทดนํ้าผาจุก ตงั้ อยู่ในแม่นํ้าน่านบา้ น
คลองนาพง หมู่ 7 ตําบลผาจุก อําเภอเมืองจังหวัดอุตรดิตถ์
ประมาณพิกัดท่ี 47 QPV 347517 ระวาง 5044 II ที่ต้ังหัว

งานมีแนวสายส่งไฟฟ้าแรงสูง และมีเส้นทางคมนาคมเข้าถึง
สะดวกเป็นถนนผิวจราจรลาดยางกว้างประมาณ 8 ม.ขนานไป
ตามแนวลําน้ําในด้านฝ่ังขวา พ้ืนที่ชลประทานของโครงการ
ครอบคลุมในเขตอําเภอเมือง อําเภอลับแล อําเภอตรอน
อําเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ และอําเภอพรหมพิราม จังหวัด
พิษณุโลก เนื่องจากสภาพพื้นท่ีชลประทานของโครงการเป็นที่
ราบลุ่มมีความลาดเทของพื้นท่ีจากทิศเหนือลงมาทางทิศใต้ มี
แม่นํ้าน่านไหลผ่านกลางพื้นที่จึงแบ่งพื้นที่ชลประทานออกเป็น
2 ส่วน คือ พื้นท่ชี ลประทานฝ่ังซา้ ย และพื้นท่ชี ลประทานฝ่งั ขวา

3.2.2 วตั ถุประสงค์ของโครงการ
เพื่อศึกษาทบทวนความเหมาะสม และศึกษาผลกระทบส่ิงแวดล้อมของโครงการโครงการพัฒนา

ชลประทานอุตรดิตถ์ เขื่อนทดนํ้าผาจุก ในการพัฒนาแหล่งนํ้าสําหรับการเกษตรในฤดูฝนและฤดูแล้ง ของพื้นที่
เพาะปลูกในบริเวณลุ่มน้ําน่านตอนล่าง และให้การบริหารจัดการนํ้าในลุ่มน้ําน่านตอนล่างเกิดประสิทธิภาพ

16

สูงสุด ครอบคลุมพื้นทอ่ี ําเภอเมอื ง อําเภอลบั แล อําเภอตรอน อําเภอพชิ ัย จงั หวัดอุตรดติ ถ์ และอําเภอพรหมพิราม
จงั หวัดพษิ ณุโลก

3.2.3 ประเภทโครงการ
เขอ่ื นทดน้าํ

3.2.4 ลกั ษณะอุทกวิทยา 16,181 ตร.กม.
- พ้นื ที่รับนาํ้ ฝน 5,409 ล้าน ลบ.ม.
- ปรมิ าณนาํ้ ทา่ เฉล่ียรายปี 3,977 ลบ.ม./วนิ าที
- ปริมาณน้ําหลากออกแบบ +67.93 ม.(ร.ท.ก.)
- ระดบั น้าํ หลากในรอบ 100 ปี +69.94 ม.(ร.ท.ก.)
- ระดับน้ําหลากในรอบ 1,000 ปี

3.2.5 ลกั ษณะความจตุ ามลาํ นา้ํ +68.50 ม.(ร.ท.ก.)
- ระดับเกบ็ กักปกติ +68.00 ม.(ร.ท.ก.)
- ระดับเก็บกกั ตา่ํ สุด 46.76 ล้าน ลบ.ม.
- ความจทุ รี่ ะดับเกบ็ กกั ปกติ 5.60 ตร.กม.
- พน้ื ทผ่ี ิวนํา้ ท่รี ะดับเก็บกกั ปกติ
อาคารคอนกรตี เสรมิ เหล็ก ควบคุมด้วยบานระบายเหลก็ โค้ง
3.2.6 เขอื่ นทดน้าํ 72.0 ม.(ร.ท.ก.)
- ชนิดของเขื่อน 17.0 ม.
- ระดับสนั เข่อื น 9 บาน
- ความสงู 12.5x8.0 ม.
- จํานวนชอ่ ง(ประตู) +61.00 ม.(ร.ท.ก.)
- ขนาดบาน กวา้ งxสูง 2.50 ม.
- ระดับธรณีประตู 132.50 ม.
- ความกว้างตอม่อ +72.00 ม.(ร.ท.ก.)
- ความกว้างท้องลํานํา้
- ระดับหลังตอมอ่

17

3.2.7 ประตูปากคลองส่งนา้ํ สายใหญฝ่ ่ังขวา

- ชนิด อาคารคอนกรีตเสริมเหลก็

- ระดับสันฝาย +64.05 ม.(ร.ท.ก.)

- ระดับสนั อาคาร +72.00 ม.(ร.ท.ก.)

- ขนาดบานควบคมุ (จาํ นวน x กว้าง x สูง) 2 x 4 x 4 ม.

- ความยาวคลอง 103.7 กม.

- ระบายนํ้าได้สูงสดุ ประมาณ 46 ลบ.ม./วินาที

- พ้นื ทีช่ ลประทาน 275,700 ไร่

3.2.8 ประตูปากคลองส่งนาํ้ สายใหญฝ่ ่ังซา้ ย

- ชนิด อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

- ระดบั สนั ฝาย +64.55 ม. (รทก.)

- ระดับสนั อาคาร +72.00 ม. (รทก.)

- ขนาดบานควบคมุ (จํานวน x กวา้ ง x สูง) 2 x 4 x 4 ม.

- ความยาวคลอง 70 ก.ม.

- ระบายนา้ํ ได้สงู สุดประมาณ 40 ลบ.ม./วินาที

- พน้ื ทชี่ ลประทาน 205,735 ไร่

3.2.9 โรงไฟฟา้ พลงั นาํ้ ก่อสร้างในคลองผนั นํา้ ระหวา่ งกอ่ สร้าง

- ความกว้างก้นคลอง 20 ม.

- ความลกึ คลองผนั น้าํ 15 ม.

- ระดบั ก้นคลอง +54.00 ม.(ร.ท.ก.)

- ความยาวคลอง 800 ม.

- ขนาดโรงไฟฟ้า (กว้าง x ยาว) 20 x 30 ม.

3.2.10 เครื่องจกั รกลไฟฟา้ พลังนํา้ Bulb
- ชนดิ 2 x 8,500 กโิ ลวัตต์
- กําลังผลติ 11.7 ม.
- แรงดนั หวั น้าํ 87 ลบ.ม./วินาที
- อัตราการไหลต่อเครอื่ ง +52.80 ม.(ร.ท.ก.) โดยประมาณ
- ระดบั การตดิ ต้งั (Unit Centerline) +56.30 ม.(ร.ท.ก.)
- ระดบั นํา้ ต่ําสุดด้านท้ายนํ้า 99.0 ลา้ นหน่วย
- พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยปีละ

3.2.11 บนั ไดปลา
ท่ีอาคารเขื่อนทดนํ้าได้ออกแบบให้มีบันไดปลาชนิด Icehabor แบบมีผนัง ซึ่งเป็นที่นิยมกันอย่าง

กว้างขวาง เพราะสามารถใช้ได้ทั้งในลําน้ําที่มีปริมาณน้ํามากและปริมาณนํ้าน้อย ถ้าออกแบบให้ช่วงของ Over
Wall มีชว่ งความสงู มากก็สามารถใชก้ บั ลาํ น้ําท่ีมอี ตั ราการเปลีย่ นแปลงของระดบั น้ํามากไดด้ ว้ ย

3.2.12 ระบบชลประทาน
เข่ือนทดนํ้าอุตรดิตถ์(ผาจุก) เป็นอาคารหัวงานที่ทําหน้าที่ทดน้ําในแม่นํ้าน่านให้เพียงพอท่ีจะส่ง

นํ้าเข้าคลองส่งนํ้าสายใหญ่ฝ่ังซ้ายและฝั่งขวาของโครงการ คลองส่งน้ําสายใหญ่ฝ่ังซ้าย เป็นคลองดาดคอนกรีตมี
ความจุ 40 ลบ.ม./วินาที ยาว 90 กม. ส่งนํ้าให้กับพ้ืนที่ชลประทานฝั่งซ้าย 205,735 ไร่ คลองส่งนํ้าสายใหญ่ ฝั่ง

18

ขวา เป็นคลองดาดคอนกรีตมีความจุ 46 ลบ.ม./วินาที ยาว 103.65 กม. ส่งนํ้าให้กับพื้นที่ชลประทานฝ่ังขวา
275,700 ไร่

1) อาคาร ปตร.ปากคลองส่งนํ้าสายใหญ่ฝ่ังซ้าย ขนาดกว้างก้นคลอง 30 ม. ลึก 5.55 ม. ลาด
ด้านข้าง 1:1.5 ความจุคลองชักน้ําประมาณ 250 ลบ.ม./วินาที โดยส่งน้ําให้กับโรงไฟฟ้าพลังน้ําอีกประมาณ 200
ลบ.ม./วินาที ซ่ึงแยกออกจากแม่น้ําน่านฝั่งซ้ายทางด้านเหนือน้ําของเขื่อนทดน้ําประมาณ 230 ม.ประกอบ ด้วย
ช่องระบายนํ้าขนาดกว้าง 4.00 ม. จํานวน 2 ช่อง มีตอม่อกลางหนา 0.60 ม. ควบคุมบังคับ ปริมาณน้ําโดยติดต้ัง
ประตูบานระบายชนดิ Vertical Slide Gate ขนาด 4.00 ม. X 4.00 ม. จํานวน 2 บาน สามารถระบายน้าํ ได้สงู สดุ
ประมาณ 40 ลบ.ม./วินาที โดยระดับนํ้าใช้การสูงสุดด้านท้ายนํ้า ปตร.ปากคลอง (Full Supply Level) เท่ากับ
+67.75 ม.(ร.ท.ก.) ระดับหลังอาคาร +72.00 ม.(ร.ท.ก.) ระดับธรณี บานระบาย +64.55 ม.(ร.ท.ก.) และระดับ
ท้องคลองสง่ น้าํ สายใหญฝ่ ่งั ซา้ ยเท่ากับ +64.25 ม.(ร.ท.ก.)

2) อาคาร ปตร.ปากคลองส่งนาํ้ สายใหญฝ่ ัง่ ขวา ประกอบดว้ ย ทอ่ ระบายนาํ้ (Box Culvert)ขนาด
กว้าง 4.00 ม. จํานวน 2 แถว ยาวประมาณ 60 ม. ลอดผ่านหลังคันเข่ือนทดนํ้าฝั่งขวา ไปเช่ือมต่อกับคลองส่งนํ้า
โดยมีอาคาร Transition คอนกรีตเสริมเหล็ก เชื่อมต่อระหว่างท่อลอดและคลองส่งนํ้า ควบคุมบังคับ ปริมาณน้ํา
โดยติดตั้งประตูบานระบายชนิด Vertical Slide Gate ขนาด 4.00 ม. X 4.00 ม. จํานวน2 บาน สามารถระบาย
นาํ้ ไดส้ งู สดุ ประมาณ 46 ลบ.ม./วนิ าที โดยระดับนํา้ ใชก้ ารสงู สุดดา้ นท้ายนํ้า ปตร.ปากคลอง (Full Supply Level)
เท่ากับ +67.75 ม.(ร.ท.ก.) ระดับหลังอาคาร +72.00 ม.(ร.ท.ก.) ระดับธรณีบานระบาย +64.05 ม.(ร.ท.ก.) และ
ระดับทอ้ งคลองส่งน้ําสายใหญ่ฝงั่ ซา้ ยเท่ากับ +64.05 ม.(ร.ท.ก.)

3.2.13 การคดั เลอื กขนาดทเ่ี หมาะสมของโครงการ
ในการคัดเลือกขนาดที่เหมาะสมของโครงการพัฒนาชลประทานอุตรดิตถ์ ได้มีการศึกษาเพื่อ

คัดเลือกระดับเก็บกักและขนาดพื้นที่ชลประทานที่มีความเหมาะสมในด้านวิศวกรรม เศรษฐกิจสังคม สิ่งแวดล้อม
และเศรษฐศาสตร์

ระดับเก็บกักท่ีเหมาะสม ในการคัดเลือกระดับนํ้าเก็บกักที่เหมาะสมของเขื่อนทดน้ํา (ผาจุก) ที่
ปรึกษาได้กําหนดเกณฑใ์ นการพจิ ารณา ดังนี้

1) ระดบั เกบ็ กกั สามารถผันนาํ้ เขา้ สู่คลองส่งนํ้าสายใหญฝ่ ่งั ซ้ายและฝั่งขวาได้
2) ระดับเก็บกักมีผลกระทบต่อพ้ืนที่อยู่อาศัยและพ้ืนที่เพาะปลูกของราษฎรที่อยู่อาศัยด้านเหนือ
น้ําน้อยที่สุด ในการศึกษาทางเลือกระดับเก็บกักปกติได้กําหนดระดับเก็บกัก 3 ระดับ คือ +67.00+68.00 และ
+69.00 ม.(ร.ท.ก.) ดงั แสดงรายละเอยี ดของหวั งานเขื่อนทดนาํ้ และพื้นท่ีชลประทาน ดังน้ี
อาคารหัวงานเข่ือนทดนํ้า รูปแบบเบื้องต้นของเข่ือนทดนํ้าเป็นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก
กอ่ สร้างในลํานํ้าโดยมีประตบู านโคง้ (Radial Gate) เปน็ ตัวควบคมุ การระบายนํ้าทรี่ ะดบั เกบ็ กกั ต่างๆ
พ้ืนท่ีชลประทาน ในพื้นที่ชลประทานมีการออกแบบระบบชลประทานของโครงการมีลักษณะ
เป็นคลองดาดคอนกรีต ส่งน้ําด้วยระบบแรงโน้มถ่วง ดังน้ันขนาดของพื้นท่ีชลประทานจึงข้ึนอยู่กับระดับเก็บกัก
ของหวั งานเขอื่ นทดนํา้ ซง่ึ ในการพิจารณาในขนั้ นี้ไดก้ าํ หนดให้ส่งนํา้ ให้ครอบคลมุ พ้ืนทีโ่ ครงการมากทสี่ ุด
ขนาดพื้นที่ชลประทานท่ีเหมาะสม ระบบชลประทานโครงการพัฒนาชลประทานอุตรดิตถ์
ครอบคลุมพ้นื ที่ 5 อาํ เภอ ไดแ้ ก่ อาํ เภอเมืองอุตรดิตถ์ อําเภอลับแล อําเภอตรอน อําเภอพิชัย ของจังหวัดอุตรดิตถ์
และอําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก รวมพ้ืนท่ีโครงการประมาณ 811,940 ไร่ โดยได้กําหนดทางเลือกในการ
วางระบบชลประทานออกเป็น 3 ทางเลือก โดยแต่ละทางเลือกจะมีระบบชลประทานฝ่ังซ้ายเหมือนกันทุก
ทางเลอื ก คอื มีพนื้ ท่ชี ลประทาน 205,735 ไร่ สว่ นพืน้ ท่ีชลประทานฝั่งขวามี 3 รูปแบบ มีรายละเอียดดงั น้ี

19

ตารางท่ี 3.1 รายละเอยี ดทางเลอื กในการวางระบบชลประทาน

รายละเอียด หน่วย ทางเลือกที่ 1 ทางเลอื กท่ี 2 ทางเลือกที่ 3

ระบบชลประทานฝ่ังซา้ ย กม. 90.00 90.00 90.00
ไร่ 205,735 205,735 205,735
ความยาวคลองสง่ นํา้ สายใหญ่ ไร่ 135,629 135,629 135,629
พ้ืนท่ชี ลประทาน ไร่ 70,106 70,106 70,106
ส่งนํา้ พ้นื ทช่ี ลประทานเปดิ ใหม่
สง่ น้ําพน้ื ทสี่ ง่ นา้ํ ดว้ ยไฟฟา้ เดมิ กม. ต.ผาจุก ต.คงุ้ ตะเภา ต.ปา่ เซา่ และ ต.หาดกรวด
พ้นื ท่ไี ด้รบั ประโยชน์ ไร่ ต.วังแดง ต.นํา้ อ่าง ต.บา้ นแกง่ ต.หาดสองแคว
ไร่
- อ.เมือง จ.อุตรดติ ถ์ ไร่ ต.ทา่ สกั ต.บ้านดารา ต.ไร่ออ้ ย ต.นายาง ต.นาอนิ ต.ในเมอื ง ต.ท่ามะเฟือง ต.บ้านโคน ต.บ้านหม้อ
- อ.ตรอน จ.อุตรดิตถ์ ไร่
- อ.พชิ ัย จ.อุตรดิตถ์ ต.ดงประคาํ ต.ตลกุ เทียม ต.ศรภี ิรมย์ ต.วงฆ้อง
- อ.พรหมพริ าม จ.พิษณุโลก ลา้ นบาท
ระบบชลประทานฝง้ั ขวา บาท/ไร่ 80.14 118.98 103.65

ความยาวคลองสง่ นาํ้ สายใหญ่ 130,400 231,600 275,700
พน้ื ที่ชลประทาน
63,231 158,671 168,402
- สง่ น้าํ พนื้ ท่ีชลประทานเปิดใหม่ 24,569 30,329 64,698
- ส่งนาํ้ พน้ื ทสี่ บู น้ําดว้ ยไฟฟา้ เดมิ 42,600 42,600 42,600

- ส่งนํา้ พน้ื ทชี่ ลประทานนาํ้ รดิ ต.ผาจกุ ต.งว้ิ งาม ต.ท่าเสา ต.ทา่ อฐิ ต.บ้านเกาะ ต.วังกะพ้ี
พื้นทไี่ ดร้ บั ประโยชน์
ต.ชัยจมุ พล ต.ท้งุ ย้งั ต.ด่านแมค่ าํ มัน ต.ใผล่ อ้ ม ต.ขอ่ ยสูง
- อ.เมือง จ.อตุ รดติ ถ์
ต.วังแดง ต.บา้ นแกง่ ต.หาดสองแคว
- อ.ลับแล จ.อตุ รดติ ถ์
ต.ทา่ สกั ต.บา้ นดารา ต.ไร่ออ้ ย ต.ท่าสกั ต.บา้ นดารา ต.ไร่ออ้ ย ต.คอรุม ต.ท่ามะเฟอื ง ต.พญาแมน
- อ.ตรอน จ.อตุ รดติ ถ์
- ต.ตลกุ เทยี ม ต.ศรภี ริ มย์ ต.วงฆอ้ ง ต.มะต้อง ต.วงั วน ต.หนองแขม
- อ.พชิ ยั จ.อุตรดติ ถ์
- อ.พรหมพริ าม จ.พษิ ณุโลก 2,752.50 3,570.50 3,678.50

รวมค่ากอ่ สร้างระบบชลประทาน

7,383.32 7,532.70 7,099.98

ที่มา : โครงการพัฒนาลมุ่ น้าํ น่าน สาํ นักบริหารโครงการ กรมชลประธาน

ผลการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบทางเลือกในการพัฒนาโครงการ ในส่วนท่ีเป็นระบบชลประทาน ทางด้าน
วิศวกรรม สังคม เศรษฐศาสตร์ และส่ิงแวดล้อม สรุปได้ว่าระบบชลประทานฝั่งซ้ายซ่ึงมีความยาวของ คลองส่งน้ํา
90.00 กม. กับทางเลือกท่ี 3 ของระบบชลประทานฝั่งขวาซึ่งมีความยาว 103.65 กม.เป็นทางเลือกท่ีมีความ
เหมาะสมสูงสดุ ในการที่จะพฒั นา

3.2.14 คา่ ลงทนุ สาํ หรบั โครงการ
ราคารวมคา่ ลงทุนโครงการ (ปี 2548 ไม่รวมภาษมี ลู คา่ เพ่ิม) 7,836.52 ลา้ นบาท
- เข่อื นทดน้าํ และระบบชลประทาน 6,043.64 ล้านบาท
- โรงไฟฟา้ พลังนํา้ 930.04 ลา้ นบาท
- งานปอ้ งกนั แก้ไข และติดตามตรวจสอบผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม 862.84 ล้านบาท

ตารางท่ี 3.2 สรปุ ราคาคา่ กอ่ สร้างรวมของอาคารหัวงานเขอื่ นทดนาํ้ และระบบชลประทานของโครงการ

ระดับเก็บกัก ราคาค่ากอ่ สรา้ ง(ล้านบาท) พนื้ ทช่ี ลประทาน ราคาคา่ กอ่ สร้าง

(ม.รทก.) อาคารหวั งาน ระบบชลประทาน รวม (ไร)่ พ้นื ทีช่ ลประทาน (บาท/ไร)่

+67.00 1,026.57 3,521.00 4,547.57 495,310 9,181.26
+68.00 9,137.27
+69.00 1,055.52 3,678.50 4,734.02 518,100 9,344.36
1,078.04 3,790.00 4,868.04 520,960

ที่มา : โครงการพฒั นาลมุ่ นา้ํ นา่ น สํานกั บริหารโครงการ กรมชลประธาน

20

จากราคาค่าก่อสร้างรวมของอาคารหัวงานเข่ือนทดน้ําและระบบชลประทานของระดับเก็บกัก
ต่างๆ ของเขื่อนทดน้ํา สามารถสรปุ ได้วา่ เขอ่ื นทดน้ําทม่ี ีระดับเกบ็ กักปกติ +68.00 ม.(ร.ท.ก.) มรี าคาค่าก่อสร้างต่อ
พื้นที่ชลประทานน้อยที่สุด คือ 9,137.27 บาท/ไร่ จึงได้คัดเลือกระดับเก็บกักปกติ +68.00 ม.(ร.ท.ก.) เป็นระดับ
เก็บกกั ทีเ่ หมาะสมสาํ หรับเขอื่ นทดนาํ้ อตุ รดติ ถ์ (ผาจุก)

3.2.15 การวิเคราะหท์ างเศรษฐกจิ
การประมาณราคาค่าลงทุนโครงการ เป็นเงินรวม 7,836.52 ล้านบาท(ราคาปี 2548 ไม่รวม

ภาษมี ลู ค่าเพมิ่ ) โดยมีระยะเวลาดาํ เนินการก่อสร้างโครงการ 5 ปี (รวมการก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังน้ํา) การวิเคราะห์
ด้านเศรษฐกิจของโครงการ ได้ใช้วิธีคิดลดกระแสรายได้และค่าใช้จ่ายโครงการ สรุปได้ว่าโครงการพัฒนา
ชลประทานอุตรดิตถ์มีอัตราผลตอบแทนทางเศรษฐกิจคุ้มค่าการลงทุน มีผลการวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจที่อัตรา
ส่วนลดร้อยละ 12 สรุปไดด้ งั น้ี

ตารางท่ี 3.3 การวเิ คราะห์ทางเศรษฐกจิ

รายการ หนว่ ย พจิ ารณาเฉพาะผล พิจารณาดา้ น เฉพาะคา่
ลา้ นบาท ประโยชน์ดา้ น การเกษตร ลงทนุ ดา้ น
มลู คา่ ปัจจบุ ันสทุ ธ(ิ NPV) เปอรเ์ ซ็นต์ การเกษตร และไฟฟ้าพลงั นาํ้ ไฟฟา้ พลังน้ํา
อตั ราส่วนผลประโยชน์ตอ่ ตน้ ทนุ (B/C Ratio)
อัตราผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของโครงการ(EIRR) 1,397.68 1,859.18 349.71
1.27 1.32 1.60
14.61 15.22 19.74

3.2.16 ผลประโยชน์จากโครงการ
1) ด้านการเกษตร พ้ืนท่ีทําการเกษตรชลประทานเพ่ิมขึ้นประมาณ 295,729 ไร่ จากเดิมเป็น

พ้ืนที่ทําการเกษตรโดยอาศัยนํ้าฝน สภาพการใช้ท่ีดินมีความเหมาะสมกับศักยภาพของดินในการทําการเกษตร
นอกจากน้ี ยังสามารถลดค่าใชจ้ า่ ยในการสูบนา้ํ ด้วยไฟฟ้า

2) ดา้ นการใช้นาํ้ สามารถควบคมุ ปรมิ าณการใชน้ ํ้าได้อย่างมปี ระสิทธิภาพทัง้ ในฤดฝู นและฤดูแล้ง
รวมท้ังสามารถแก้ไขปัญหาการขาดแคลนนํ้า และมีน้ําเพียงพอสําหรับกิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ การอุปโภคบริโภค
เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว และรักษาระบบนิเวศในแม่นํ้าน่านได้อีกอย่างน้อย 20 ปี ข้างหน้า และ
ทําให้การบริหารจัดการการใช้น้ํามปี ระสทิ ธิภาพมากขนึ้ เนอ่ื งจากมกี ารจัด ต้งั องค์กรบรหิ ารการใช้นํ้า

3) ด้านเศรษฐกิจและสังคม เกษตรกรจะมีรายได้เพ่ิมขึ้นและมีรายได้ท่ีแน่นอนมากข้ึน เกิดการ
จ้างงานในพื้นท่ีมากข้ึน ก่อให้เกิดอุตสาหกรรมในท้องถ่ิน ลดการอพยพแรงงานเข้าไปในเมือง และเพิ่มมูลค่า
ทรพั ยส์ ินมากข้นึ

4) ด้านการประมง มีความอุดมสมบูรณ์ของสัตว์นํ้าในธรรมชาติและจากการเพาะเล้ียงที่เพิ่มข้ึน
เนือ่ งจากจะมนี ้าํ ในแหลง่ นา้ํ ตลอดปี

5) ด้านทรัพยากรสัตว์ป่า โครงการทําให้มีน้ําในแหล่งนํ้าและเกิดความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งนํ้า
ธรรมชาติ เพ่ิมขนึ้ ทาํ ใหส้ ตั วม์ ีแหลง่ อาศัย แหล่งอาหาร และแหล่งเพาะพนั ธทุ์ ่อี ดุ มสมบรู ณ์

6) ด้านการคมนาคมขนส่ง การก่อสร้างถนนเพื่อเป็นเส้นทางในการบํารุงรักษาคลองชลประทาน
จะเป็นประโยชน์ ต่อการคมนาคมขนส่งผลผลิตการเกษตร ทําให้การคมนาคมสะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลาและ
คา่ ใช้จา่ ยได้ และยังสามารถเข้าถึงที่ต้งั แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วไดส้ ะดวกยิง่ ขึ้น

7) ด้านน้ําใต้ดิน พื้นท่ีชลประทานอาจมีปริมาณน้ําใต้ดินเพ่ิมขึ้น และนํ้าใต้ดินในบริเวณที่มีเหล็ก
และแมงกานสี บนเป้ือนสูง คาดว่าความเข้มข้นจะลดลงได้บ้างเนื่องจากมีปริมาณนํ้าใต้ดินที่เพ่ิมข้ึน ซึ่งช่วยให้ความ
เขม้ ข้นเจอื จาง

8) ด้านสาธารณสุข ประชาชนในพื้นท่ีโครงการมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นจากการมีสภาพเศรษฐกิจ
ของครัวเรอื นท่ีดขี ้นึ

21

9) ด้านการท่องเที่ยว ทําให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวใหม่เพิ่มขึ้นที่บริเวณหัวงานเขื่อนทดน้ําผาจุก
และจะมเี ส้นทางคมนาคมเขา้ สู่แหล่งทอ่ งเท่ยี วในพ้นื ที่ได้สะดวกข้นึ ในพ้ืนที่ชลประทาน

10) การบรรเทาน้ําท่วม สภาพน้ําท่วมในพ้ืนท่ีชลประทานจะลดลงเนื่องจากมีคลองระบายน้ํา
เพิ่มข้นึ

3.2.17 ผลกระทบตอ่ สิง่ แวดล้อมและมาตรการลดผลกระทบ
1) ด้านทรพั ยากรกายภาพ
1.1) สภาพภมู ิอากาศ
ไม่มีผลกระทบเน่ืองจากโครงการจะไม่ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงของสภาพ

ภูมอิ ากาศบริเวณพนื้ ที่โครงการ
1.2) อทุ กวทิ ยานาํ้ ผิวดิน
เกิดผลกระทบทางบวกจากการผันน้ําในแม่น้ําน่านท่ีไหลผ่านพื้นที่โครงการขึ้นมา

ใชใ้ ห้เกิดประโยชนไ์ ด้สงู สุด และสามารถแก้ไขปญั หาการขาดแคลนน้ําในพน้ื ทีโ่ ครงการได้
มาตรการลดผลกระทบ ในการก่อสร้างให้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันไม่ให้เศษดิน

และหินพังทลายลงสู่แหล่งนํ้าและกีดขวางการไหลของน้ํา กําหนดลําดับความสําคัญของการใช้นํ้าให้สอดคล้องกับ
การจดั สรรน้าํ ของเข่อื นสิรกิ ติ ์

มาตรการติดตามตรวจสอบ ทําบันทึกประจําวันของระดับนํ้าในเขื่อนทดน้ํา
ปริมาณนํ้าที่ปล่อยด้านท้ายน้ํา และนํ้าท่ีปล่อยให้พื้นท่ีชลประทานเพื่อวิเคราะห์และติดตามปริมาณนํ้าท่า จัดทํา
รายงานสถิติปรมิ าณนาํ้ ทา่ ตลอดอายุโครงการ

1.3) คุณภาพนาํ้ ผิวดิน
เกิดผลกระทบทางลบ คือ ในระยะก่อสร้างน้ําในแม่น้ําน่านบริเวณก่อสร้างอาจมี

ความขุ่นเพ่ิมข้ึนแต่จะเปน็ ในระยะเวลาสัน้ ๆเทา่ น้ัน และอาจมีการปนเปอื้ นของสารเคมีทางการเกษตรในแม่น้าํ หาก
มีการใช้สารเคมีที่ไม่เหมาะสมและถูกต้องตามหลักวิชาการ ถ้าหากมีการขยายตัวด้านการเกษตร ปศุสัตว์
อตุ สาหกรรม อาจมีน้าํ เสยี ปนเป้อื นลงสแู่ มน่ ้าํ

มาตรการลดผลกระทบ วางแผนการก่อสร้างอย่างเหมาะสมกับกิจกรรมและ
ฤดูกาล มีมาตรการป้องกันการชะล้างพังทลายของตะกอนดิน มีการควบคุมและให้ความรู้ในการใช้สารเคมีที่
ถูกตอ้ งตามหลักวิชาการให้เกษตรกรและมมี าตรการควบคุมคุณภาพนํา้ ทิ้งจากกจิ กรรรมตา่ งๆ กอ่ นระบายลงแม่น้ํา

1.4) นา้ํ ใต้ดนิ และคณุ ภาพนา้ํ ใต้ดนิ
ผลกระทบทางบวก ในบริเวณพ้ืนที่ชลประทานคาดว่าจะมีปริมาณน้ําใต้ดินเพ่ิมขึ้น

และปรมิ าณน้ําท่เี พมิ่ ข้ึนจะมสี ว่ นชว่ ยลดความเข้มขน้ ของแรธ่ าตุในน้าํ ใตด้ ินให้นอ้ ยลงไดบ้ ้าง
ผลกระทบทางลบ นํ้าใต้ดินอาจถูกปนเปื้อนจากสารเคมีทางการเกษตรท่ีแทรกซึม

ลงสูช่ น้ั น้าํ ใตด้ นิ ได้
มาตรการลดผลกระทบ ลดการใช้สารเคมีและควรส่งเสริมให้มีการทําการเกษตร

แบบชวี ภาพแทนการใช้สารเคมีและควรใช้สารเคมใี ห้ถกู ต้องตามหลักวชิ าการ
1.5) ทรพั ยากรดิน
ผลกระทบทางลบ กรณีมีโครงการ เกิดการชะล้างพังทลายของดินทําให้เกิด

ตะกอนในบริเวณท้ายนํ้า ซ่ึงเป็นผลกระทบช่ัวคราว สูญเสียท่ีดินที่เหมาะสมสําหรับการปลูกพืชที่ดอนอย่างถาวร
ประมาณ 11,820 ไร่ เพื่อใช้เป็นพื้นที่ก่อสร้างคลองส่งนํ้าชลประทาน แต่เม่ือเปรียบเทียบกับประโยชน์ที่ได้รับจาก
การใช้ทรัพยากรดินให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในพื้นที่ชลประทานมากข้ึนแล้ว นับว่าผลกระทบเชิงลบมี
สดั ส่วนนอ้ ยมาก

22

มาตรการลดผลกระทบ จํากัดพ้ืนท่ีในการก่อสร้างโครงการ หลีกเล่ียงกิจกรรมท่ี
ส่งผลให้เกิดการชะล้างพังทลายและถูกปนเปื้อนของดิน วางแผนกําหนดพ้ืนที่การขุดเปิดหน้าดิน แนะนําและให้
ความรู้เร่ืองการบํารุงดินและการอนุรักษ์ดินและนํ้า รวมท้ังการใช้เทคโนโลยี การเกษตรและฟ้ืนฟูสภาพพื้นท่ี
ชลประทานด้านขา้ งแนวคลองแนวชลประทาน

1.6) ธรณวี ทิ ยาและแผน่ ดนิ ไหว
ผลกระทบไม่ก่อให้เกิดผลกระทบทางด้านธรณีวิทยา มีความเสี่ยงต่อการเกิด

แผ่นดินไหวในระดับปานกลาง พ้ืนท่ีโครงการประมาณร้อยละ 50 มีความเส่ียงต่อการเกิดดินถล่มได้ แต่มีโอกาส
น้อยมาก

มาตรลดผลกระทบต้องมีการออกแบบอาคารเพื่อรองรับผลกระทบที่เกิดจาก
แผ่นดินไหว

1.7) การตกตะกอนและการกัดเซาะ
ผลกระทบ หากมีโครงการจะเกิดผลกระทบทางลบตํ่าและช่วงส้ันๆ ในระยะ

กอ่ สรา้ ง ไดแ้ ก่ เกดิ การกดั เซาะบรเิ วณกอ่ สร้างหวั งานในชว่ งฤดฝู น
มาตรการลดผลกระทบ หลีกเลี่ยงกิจกรรมต่างๆ ในช่วงฤดูฝน ปลูกหญ้าแฝก

ปอ้ งกนั การกัดเซาะ ขุดคดู กั ตะกอนเพ่ือป้องกันตะกอนดนิ ในลาํ นํ้า

2) ทรัพยากรทางชีวภาพ
2.1) ทรพั ยากรประมง การเพาะเล้ียงสัตว์นาํ้ และนเิ วศวทิ ยาทางนํา้
ผลกระทบ กรณีมีโครงการ การพัฒนาโครงการจะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการ

อพยพของปลาและสัตวน์ า้ํ ตา่ งๆ ในลําน้ําน่าน เน่ืองจากไม่พบพันธุ์ปลาที่มีการอพยพเพื่อแพร่พันธุ์และวางไข่ ส่วน
ผลกระทบ ที่เกดิ ขน้ึ ไดแ้ ก่

ผลกระทบทางบวก ทําให้ผลผลิตทรัพยากรประมงในแหล่งนํ้ามีเพ่ิมข้ึน เน่ืองจาก
ในพ้ืนทจ่ี ะมนี ้ําและมีความชุ่มชนื้ ตลอดปี ซ่ึงจะก่อใหเ้ กิดความอุดมสมบูรณข์ องแหล่งน้ําต่างๆ

ผลกระทบทางลบ การก่อสร้างโครงการมีผลกระทบต่อคุณภาพนํ้าและการไหล
ของนํา้ ในระยะกอ่ สร้าง ซงึ่ จะส่งผลถงึ ระบบนเิ วศน้าํ ด้วย โดยจะเกดิ ผลกระทบทรัพยากรประมงในระดับปานกลาง
และในระยะเวลาสัน้

มาตรการลดผลกระทบ ห้ามทําการประมงในบริเวณพื้นท่ีต้นนํ้าและท้ายน้ําใน
ระยะไม่นอ้ ยกว่า 2 กม. ในระหวา่ งการก่อสร้าง และในปีแรกของการดาํ เนินการ

2.2) การบริหารลุ่มนาํ้
ผลกระทบทางบวก การพัฒนาโครงการจะทําให้มีการใช้ท่ีดินมีประสิทธิภาพมาก

ขึน้ โดยมาตรการอนรุ กั ษ์ดินและน้ํา ซึ่งจะเป็นการลดผลกระทบดา้ นการชะล้างพงั ทลายของดนิ ในลมุ่ นํ้าได้
ผลกระทบทางลบ การเปิดพ้ืนท่ีในช่วงก่อสร้างทําให้เกิดการชะล้างพังทลายของ

ดิน ซ่ึงส่งผลต่อคุณภาพนํ้า แต่เป็นผลกระทบตํ่าในระยะสั้นๆ การวางแนวคลองส่งนํ้าในพื้นท่ีชลประทานต้องผ่าน
พื้นที่ป่าเศรษฐกิจ(E) ในช้ัน คุณภาพลุ่มน้ําชั้นท่ี 5 ซ่ึงมิใช่ป่าต้นนํ้าลําธาร เป็นระยะทาง 83.23 กม. คิดเป็นพื้นท่ี
1,829.48 ไร่

มาตรการลดผลกระทบ ควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินในพ้ืนท่ีชลประทาน เพ่ือ
ป้องกันและลดการชะล้างพังทลาย ของดินจ่ายค่าชดเชยพื้นที่ป่าในกรณีแนวคลองส่งน้ําที่ผ่านป่าเศรษฐกิจ(E) ใน
ชั้นคุณภาพนํ้า ช้ันท่ี 5 เป็นมูลค่า 124.85 ล้านบาท ปลูกป่าชดเชยเป็นพื้นท่ี 3 เท่า(5,488.44 ไร่) ของพ้ืนที่ป่า
เศรษฐกจิ ท่สี ญู เสยี จากการ กอ่ สรา้ งโครงการพรอ้ มดูแลรักษาอย่างต่อเน่ืองเป็นเวลา 10 ปี

23

2.3) ทรพั ยากรป่าไม้
ไม่มีผลกระทบด้านทรัพยากรป่าไม้ทั้งกรณีมีโครงการและไม่มีโครงการ เนื่องจาก

พ้ืนที่โครงการไม่มีสภาพป่าไม้คงมีเฉพาะสภาพนิเวศวิทยาของป่าละเมาะ สังคมไม้ริมนํ้า และต้นไม้ตาม หัวไร่
ปลายนา และสภาพนิเวศ วทิ ยาจะไมเ่ ปลีย่ นแปลงจากสภาพปัจจุบัน

มาตรการลดผลกระทบ หลีกเล่ียงพ้ืนที่ที่มีต้นไม้ขนาดใหญ่ กําหนดขอบเขตพ้ืนที่
ชัดเจน และควบคุมมิให้มีการลกั ลอบตัดไม้ กําหนดแนวคลองชลประทานทไ่ี มก่ อ่ ให้เกดิ ผลกระทบต่อตน้ ไม้หรอื เกิด
ผลกระทบนอ้ ยที่ สดุ ใหช้ ัดเจน และควรดาํ เนินการเป็นช่วงๆ และหลังฤดูการเก็บเก่ียว มาตรการติดตามตรวจสอบ
ตดิ ตามตรวจสอบการตดั ตน้ ไม้ตามขอบเขตทก่ี ําหนดไว้

2.4) ทรพั ยากรสตั วป์ า่
ผลกระทบทางบวกเม่ือมีความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งน้ําต่างๆในพื้นที่โครงการ

สัตว์ปา่ กจ็ ะมีแหล่งอาหาร ทอ่ี ยอู่ าศยั และแหล่งแพร่พันธุ์ไดเ้ พิม่ ข้นึ
ผลกระทบทางลบ ในระยะก่อสร้างสัตว์ป่าท่ีพบในพ้ืนที่หัวงานและพื้นที่แนวคลอง

สง่ นํ้าอาจจะถกู รบกวนซึง่ เป็นผลกระทบระดับตํ่าและชวั่ คราว
มาตรการลดผลกระทบ ดําเนินการตัดฟันไม้ในพ้ืนท่ีโครงการเฉพาะที่จําเป็น และ

ตอ้ งให้โอกาสสัตว์ปา่ ได้ หลีกเลี่ยงออกไปจากพืน้ ที่ก่อสรา้ ง วางแผนการดาํ เนนิ งานอยา่ งรอบคอบ และวางแผนการ
ก่อสร้างให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง เมื่อก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์ ให้ถมดินในคลองลัดและปรับพ้ืนท่ีแล้วฟื้นฟูสภาพนิเวศ
ให้กลับสู่สภาพเดิม ต้องควบคุมมิให้มีการลักลอบล่าสัตว์ป่า และควรมีแผ่นคอนกรีตกว้าง 15 ซม. พาดข้ามคลอง
สง่ น้าํ สายใหญเ่ ปน็ ระยะ

2.5) พนื้ ทช่ี มุ่ นา้ํ
ผลกระทบทางบวก ในระยะดําเนินการจะเกิดความอุดมสมบูรณ์ในแหล่งนํ้าหนอง

บงึ ธรรมชาติ เน่ืองจากมนี ้าํ จากพน้ื ทช่ี ลประทานเข้ามาชว่ ยเพม่ิ ความชุ่มช้นื
ผลกระทบทางลบ ระยะก่อสร้างอาจมีตะกอนดินจากพื้นที่ก่อสร้างถูกชะล้าง

พฒั นาลงสู่แหลง่ นํา้ ได้
มาตรการลดผลกระทบ ควรหลีกเล่ียงการก่อสร้างเปิดหน้าดินในช่วงฤดูฝน และ

ทาํ คันคู เพอ่ื ปอ้ งกันการชะลา้ งพดั พาตะกอน

3) คณุ คา่ ต่อการใชป้ ระโยชนข์ องมนุษย์
3.1) การใชป้ ระโยชนท์ ดี่ ิน
ผลกระทบทางบวก ซึ่งจะเกิดการใช้ท่ีดินอย่างเหมาะสมและมี ประสิทธิ์ภาพได้

มากขนึ้ จากการพัฒนาโครงการ
ผลกระทบทางลบคือ ทําให้พื้นที่เกษตรกรรมลดลงไปบ้างคือใช้สําหรับสร้างคลอง

ส่งนํ้า
มาตรการลดผลกระทบ จํากัดพื้นท่ีท่ีใช้ในการก่อสร้าง หลีกเลี่ยงกิจกรรมท่ีส่งผล

ต่อสภาพการใช้ท่ีดิน เช่น การขุดถมดิน เปิดหน้าดิน เป็นต้น การพัฒนาฟื้นฟูและการใช้พ้ืนที่ ควรเข้าไปให้
คําแนะนาํ อย่างถกู ต้อง

3.2) การใชน้ าํ้ และการบริหารการใช้นาํ้
ผลกระทบทางบวก สามารถควบคุมปริมาณการใช้น้ําได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งใน

ฤดูฝนและฤดูแล้ง รวม ท้ังปริมาณน้ําท่าในแม่น้ําน่านทางท้ายนํ้า สามารถแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ําและมีน้ํา
เพียงพอสําหรับกิจกรรมต่างๆ ในพ้ืนที่ใน 20 ปีข้างหน้า ทําให้การบริหารจัดการการใช้นํ้ามีประสิทธิภาพมากขึ้น
เน่ืองจากมีการจดั ตั้งองค์กร บรหิ ารการใชน้ ํา้

24

ผลกระทบทางลบ จะเกิดผลกระทบต่อการใช้น้ําของกิจกรรมต่างๆ หากการ
จัดสรรการใช้น้ําไมส่ ามารถดาํ เนินการได้ตามแผนที่วางไว้

มาตรการลดผลกระทบ ควบคุมรักษาระดับน้ําในลําน้ําตามแผนการระบายน้ําและ
จา่ ยนา้ํ ในลําน้ําท่วี างแผนไว้ ให้ความรแู้ กผ่ ู้ใชน้ ้ําเพื่อให้มกี ารใชน้ า้ํ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ การจดั ต้งั องค์กรบริหารการ
ใช้นํ้าต้องมีการจัดการด้านบุคลากรและงบประมาณท่ีดี ให้มีการกําหนดกฎระเบียบ ข้อบังคับ และข้อตกลงของ
กลุ่มผู้ใช้น้ํา และปฏิบัติตามโดย เคร่งครัด มีการวางแผนการใช้นํ้า การผลิต และการตลาด มีการประสานกับ
หน่วยงานท่ีเกีย่ วขอ้ งสมํา่ เสมอ

3.3) การคมนาคมขนสง่ ทางบกและทางนํา้
ผลกระทบทางบวก การก่อสร้างถนนเพื่อเป็นเส้นทางในการบํารุงรักษาคลอง

ชลประทานจะเป็นประโยชน์ต่อการคมนาคมขนส่งผลผลิตการเกษตร ทําให้การคมนาคมสะดวกรวดเร็ว
ประหยัดเวลา ค่าใชจ้ ่ายได้ และยงั สามารถเขา้ ถึงท่ีตัง้ แหลง่ ท่องเที่ยวไดส้ ะดวกยิง่ ขึน้

ผลกระทบทางลบ ระยะกอ่ สร้างทาํ ให้ปริมาณการจราจรเพิ่มขึ้นจากการขนส่งวัสดุ
ก่อสร้าง อาจเกิดฝุ่นละออง การจราจรหนาแน่น เสียงดัง และอุบัติเหตุในบริเวณใกล้เคียงพื้นที่ก่อสร้างการ
ก่อสร้างคลองชลประทานบริเวณจุดตัดถนนทางรถไฟและชุมชน ซึ่งมีจุดใหญ่ๆ จํานวน 31 จุด อาจทําให้การ
คมนาคมไม่สะดวก และปลอดภัย

มาตรการลดผลกระทบ จัดเตรียมมาตรการต่างๆ เพ่ือการป้องกันและลด
ผลกระทบด้านฝุ่น ควัน เสียงดังอุบัติเหตุ ได้แก่ การติดต้ังป้าย สัญญาณไฟเตือนต่างๆ สร้างทางเบ่ียง รวมทั้งการ
ควบคุมความเรว็ ยานพาหนะ น้ําหนักบรรทุกที่ใช้ในการก่อสร้างประสานกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในพื้นท่ีเพื่อแก้ไข
ลดปัญหาการจราจรในช่วงก่อสร้าง ระยะดําเนินการต้องติดต้ังเครื่องหมาย ป้ายเตือน สัญญาณการจราจรให้
ชดั เจนตามถนนทีก่ ่อสร้างใหม่

3.4) เกษตรกรรม
ผลกระทบทางบวกโดยมีพื้นที่เกษตรกรรมเปิดใหม่เพ่ิมขึ้น ซ่ึงเดิมเป็นพื้นท่ี

เกษตรกรรมอาศยั น้ําฝน และสามารถประหยัดค่าไฟฟ้าจากการสูบนํ้าของ เกษตรกรไดด้ ว้ ย
ผลกระทบทางลบนอี้ าจจะเกดิ ขนึ้ จากการเปิดพ้ืนที่เกษตรกรรมเพิ่มขึ้น คือ การชะ

ล้างหนา้ ดิน
มาตรการลดผลกระทบ ป้องกันการชะล้างของดินตามพ้ืนที่ท่ีเปิดใหม่ปรับปรุง

ฟืน้ ฟูพื้นทแี่ นวคลองส่งนํา้ พฒั นาและสง่ เสรมิ การเกษตรชลประทานส่งเสรมิ การพฒั นาเทคโนโลยกี ารเกษตร
3.5) การชลประทานและการระบายนาํ้
ผลกระทบทางบวก มีพื้นที่การเกษตรท่ีได้รับประโยชน์จากระบบชลประทาน

เพ่ิมขึ้นประมาณ 329,265ไร่ จากเดิมเป็นเกษตรอาศัยนํ้าฝน ลดค่าใช้จ่ายในด้านการสูบนํ้าด้วยไฟฟ้า เน่ืองจากมี
ระบบชลประทาน

ผลกระทบทางลบ กิจกรรมระหว่างการก่อสร้างส่งผลต่อการชลประทานและ
ระบายน้ํา เช่น ลําน้ําต้ืนเขินกีดขวางการไหลของน้ํา แต่เป็นผลกระทบช่วงสั้น ๆ พ้ืนท่ีโครงการ 15,255 ไร่ จะถูก
เปลย่ี นแปลงการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ เพ่อื ก่อสร้างคลองสง่ นํา้ ชลประทาน

มาตรการลดผลกระทบ เสนอให้ทําการเวนคืนที่ดินเท่าท่ีจําเป็น กรณีท่ีจําเป็นต้อง
เวนคืน และชดเชยทรัพย์สินควรให้เป็นธรรมและเหมาะสม กําหนดช่วงเวลาการก่อสร้างให้เหมาะสมและเป็น
อุปสรรคต่อการส่งน้ํา-ระบายนํ้าน้อยท่ีสุด มีมาตรการเพื่อควบคุมการจัดสรรนํ้า รวมทั้งการดูแล และบํารุงรักษา
ระบบชลประทานและอาคารบังคบั นา้ํ ควรมกี ารจัดต้ังกล่มุ ผู้ใชน้ ้ําระดบั โครงการ

25

3.6) การปอ้ งกันน้ําทว่ ม
ผลกระทบทางบวก ในพ้ืนท่ีชลประทาน คือสภาพนํ้าท่วมลดลงเน่ืองจากมีคลอง

ระบายนํ้าท่ดี ขี นึ้
3.7) อุตสาหกรรม
ผลกระทบทางบวก การพัฒนาโครงการจะสามารถเพ่ิมผลผลิตทางการเกษตร ซึ่ง

เป็นวัตถุดิบท่ีจะป้อนโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นท่ีได้เพ่ิมมากข้ึน เช่น อ้อย ข้าวโพด เป็นต้น ซ่ึงจะทําให้มีการ
ขยายตัวดา้ นอตุ สาหกรรมได้

ผลกระทบทางลบ นํ้าเสียและส่ิงปฏิกูลจากอุตสาหกรรมท่ีขยายตัวจะมีเพิ่มมาก
ข้ึน ซ่งึ หากมมี าตรการจัดการไม่ดจี ะเกิดผลกระทบต่อแหลง่ นาํ้ ได้

มาตรการลดผลกระทบ ควรมีการจัดสรรการใช้นํ้าอย่างเหมาะสมและมี
ประสทิ ธิภาพการควบคุมโรงงานอุตสาหกรรมใหบ้ ําบดั นา้ํ เสียให้ได้ตามมาตรฐานนํา้ ทิ้งกอ่ นระบายนํ้าทิ้ง

4) คุณคา่ ต่อคณุ ภาพชวี ติ
4.1) เศรษฐกจิ และสังคม
ผลกระทบทางบวก ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นและมี

รายได้ที่แน่นอนมากขึ้น เกิดการจ้างงานในพ้ืนท่ีมากข้ึน ก่อให้เกิดอุตสาหกรรมในท้องถ่ิน ผลกระทบด้านสังคมลด
การอพยพแรงงานเขา้ ไปในเมือง เพิม่ มลู คา่ ทรพั ย์สินมากขึ้น

ผลกระทบทางลบ ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ ผลกระทบต่อราคาผลผลิตทาง
การเกษตรซง่ึ อาจจะตกตา่ํ ผลกระทบเนอ่ื งจากราคาที่ดินสงู ขน้ึ ผลกระทบด้านสงั คม อาจเกดิ การแยง่ นํ้าได้

มาตรการลดผลกระทบ จัดต้ังคณะประชาสัมพันธ์และประสานงานโครงการ
กวดขันให้ผู้รับเหมาดําเนินงานอย่างถูกสุขลักษณะกําหนดอัตราค่าชดเชยทรัพย์สินอย่างเป็นธรรมส่งเสริมและ
สนับสนุนให้มีการพัฒนาอาชีพทางการเกษตรและนอกภาคการเกษตรส่งเสริมและสนับสนุนการจัดตั้งองค์กร
เกษตรกรและสหกรณ์การเกษตรในระดบั หมู่บา้ น

4.2) สาธารณสขุ
ผลกระทบทางบวก มีทรัพยากรน้ํามากข้ึน เพิ่มศักยภาพในการเกษตร น้ํากินน้ําใช้

และเพม่ิ แหล่งโปรตนี จากปลาจะส่งผลให้สภาพสาธารณสุขดขี ึ้น เพ่มิ รายได้ และอาชีพเสริมของประชาชนในพน้ื ท่ี
ผลกระทบทางลบ การก่อสร้างอาจก่อให้เกิดมลพิษต่างๆ เช่น นํ้า อากาศ เสียง

และอุบตั เิ หตทุ ี่เพม่ิ ขนึ้ อาจเกดิ การแพรร่ ะบาดของโรค ปญั หาสงั คมจากแรงงานต่างถ่ิน
มาตรการลดผลกระทบ มีการจัดท่ีพักคนงานที่ถูกสุขลักษณะ ตรวจสุขภาพคนงาน

ก่อนบรรจเุ ขา้ ทํางาน และอบรม ให้รู้จกั ความปลอดภยั ในการทํางาน ประสานงานกับหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่
เพ่ือป้องกันและรักษาโรค ทําลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงและหอยในพื้นท่ี ควบคุมสารเคมีทางการเกษตรไม่ให้ลงสู่
แหล่งนํา้

4.3) โบราณคดีและประวัตศิ าสตร์
ผลกระทบกรณีมีโครงการ แนวคลองส่งนํ้าในพ้ืนท่ีชลประทานไม่ก่อให้เกิด

ผลกระทบต่อแหลง่ โบราณคดี สถานทสี่ าํ คญั ทางประวัตศิ าสตรแ์ ตอ่ ยา่ งใด
4.4) การพักผอ่ นหยอ่ นใจและการทอ่ งเทย่ี ว
ผลกระทบทางบวก ทําให้เกิดแหล่งท่องเท่ียวใหม่เพิ่มขึ้น มีเส้นทางคมนาคมเข้าสู่

แหล่งทอ่ งเทยี่ วในพ้ืนทไ่ี ด้สะดวกข้นึ
มาตรการลดผลกระทบ ปรับปรุงสภาพภูมิสถาปัตยกรรมบริเวณพ้ืนท่ีหัวงานเข่ือน

ทดนํ้าผาจุกท้ังฝั่งซ้ายและฝ่ังขวาให้เป็นแหล่งท่องเท่ียวพักผ่อนหย่อนใจ และปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์พ้ืนที่ว่าง
ใกลเ้ คยี งแนวคลองชลประทานท่ีตัดผ่านชมุ ชนให้เป็นแหล่งพักผ่อนหยอ่ นใจสาํ หรับประชาชนในชุมชน

26

4.5) การชดเชยทรพั ยส์ นิ
ผลกระทบทางลบคือ สูญเสียพื้นท่ีเกษตรกรรมและพื้นท่ีสาธารณประโยชน์เพื่อ

ก่อสร้างคลองส่งน้ําชลประทาน รวมประมาณ 15,255 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.94 ของพ้ืนท่ีชลประทานที่จะได้รับ
ประโยชน์จากระบบคลองสง่ น้าํ ของโครงการ

มาตรการลดผลกระทบ จัดตั้งคณะกรรมการชดเชยทรัพย์สิน โดยให้องค์กรส่วน
ท้องถ่ิน ตัวแทนประชาชนที่ได้รับ ผลกระทบเข้าร่วมด้วย ก่อนการก่อสร้างโครงการต้องเร่งสํารวจความเสียหาย
แล้วทําบัญชีแจ้งติดประกาศในพ้ืนที่ โครงการเพื่อให้ราษฎรได้ตรวจสอบรายช่ือ ทําแผนการปฏิบัติงานเร่งรัดการ
จ่ายค่าชดเชย การชดเชยทรัพย์สินขึ้นอยู่กับคณะกรรมการฯ โดยชดเชยในราคาท่ีเป็นธรรมและให้เสร็จก่อนการ
กอ่ สรา้ งโครงการ.

บทท่ี 4
ผลการศกึ ษา

ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นการสํารวจและจัดเก็บข้อมูลภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือนเกษตรกรตาม
แผนปฏิบัติการป้องกันแก้ไขผลกระทบส่ิงแวดล้อมและแผนติดตามตรวจผลกระทบส่ิงแวดล้อม โครงการเขื่อนทดนํ้า
ผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ์ ปีเพาะปลูก 2559/60 (1 พฤษภาคม 2559 – 30 เมษายน 2560) ซ่ึงเป็นการจัดเก็บข้อมูล
ในระยะก่อนการดําเนินงานโครงการฯ ประชากรเป้าหมาย คือ เกษตรกรจํานวน 400 ราย เป็นพื้นที่สูบนํ้าด้วยไฟฟ้า
เพ่ือทดแทนไม่ได้รับนํ้าจากโครงการเข่ือนทดนํ้าผาจุก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 16,000 ไร่ เพ่ือใช้เป็นฐานข้อมูลใน
การประเมนิ ผลในระยะต่อไป มรี ายละเอยี ดดังนี้คือ

4.1 ข้อมลู ทัว่ ไปของครัวเรอื นเกษตร
4.1.1 อายุ และการประกอบอาชพี
1) หวั หน้าครวั เรือนเกษตร
จากการสํารวจเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ พบว่า ส่วนใหญ่หัวหน้าครัวเรือนเกษตรเป็นเพศ

ชายคิดเป็นร้อยละ 71.00 และเป็นเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 29.00 โดยอายุเฉล่ียเท่ากับ 59.67 ปี เป็นเพศชายเฉล่ีย
59.90 ปี และเป็นเพศหญิงเฉลย่ี 59.10 ปี สว่ นอายเุ ฉลย่ี ของหวั หน้าครัวเรอื นส่วนใหญช่ ว่ งอายุ 56 – 65 ปี คิดเป็น
ร้อยละ 37.50 รองลงมาในช่วงอายุมากกว่า 65 ปี คิดเป็นร้อยละ 28.00 อยู่ในช่วงอายุ 46 – 55 ปี คิดเป็นร้อยละ
27.00 และช่วงอายุ 30– 45 ปี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.50

ระดับการศกึ ษาส่วนใหญ่เรียนจบช้ันประถมศึกษาตอนต้น(ป.4)คิดเป็นร้อยละ 64.75 รองลงมา
จบชั้นประถมศึกษาตอนปลาย(ป.6,7)คิดเป็นร้อยละ 18.25 มัธยมศึกษาตอนปลาย(ม.6)คิดเป็นร้อยละ 6.75 และ
มัธยมศึกษาตอนต้น(ม.3) คิดเป็นร้อยละ 5.25 อาชีวะศึกษา (ปวช./ปวส./ปวท.) คิดเป็นร้อยละ 2.50 จบปริญญา
ตร/ี สงู กวา่ คิดเป็นรอ้ ยละ 1.75 อา่ นออกเขยี นไดค้ ดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.50 และไม่รูห้ นงั สอื คดิ เปน็ ร้อยละ 0.25

การประกอบอาชพี ทางการเกษตรหมายถึง การเพาะปลกู พชื การเล้ยี งปศสุ ัตว์ การเพาะเลี้ยงสัตว์
น้ํา โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือการบริโภคหรือการจําหน่ายหรือการใช้งานภายในฟาร์ม สําหรับอาชีพหลักหมายถึงการ
ประกอบอาชีพในช่วงปีเพาะปลูก 2559/60 ใช้เวลาส่วนใหญ่ในการทํากิจกรรมต่างๆ ในอาชีพใดให้ถือเป็นอาชีพนั้น
หากในกรณีท่ีใช้เวลาเท่ากันหรือกํ้าก่ึงกันให้ยึดรายได้ที่มากกว่าของอาชีพนั้นเป็นหลัก จากการสํารวจพบว่า ส่วนใหญ่
มีอาชีพหลักคิดเป็นร้อยละ 97.50 ซึ่งประกอบอาชีพการเพาะปลูกพืชคิดเป็นร้อยละ 87.50 อาชีพเลี้ยงสัตว์คิดเป็น
ร้อยละ 4.00 รับจ้างนอกการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 1.25 ทํางานโรงงาน/บริษัทคิดเป็นร้อยละ 1.25 รับจ้าง
การเกษตรส่วนคิดเป็นร้อยละ 1.00 ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัวคิดเป็นร้อยละ 0.50 รับราชการ/เงินเดือนประจําคิดเป็น
ร้อยละ 0.50 รับงานทาํ ทบี่ า้ นคิดเปน็ ร้อยละ 0.25 และอ่ืน ๆคิดเป็นร้อยละ 1.25 ท่ีเหลือไม่ประกอบอาชีพเน่ืองจาก
อยใู่ นวัยชรามอี าํ นาจในการตดั สนิ ใจภายในครวั เรือน และเปน็ ผไู้ ด้รับประโยชนจ์ ากการผลิตทางการเกษตรคิดเป็นร้อย
ละ 2.50

อาชพี รองหมายถงึ อาชีพที่ใช้เวลาในการปฏิบัติงานรองจากอาชีพหลัก พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่
ไม่มีอาชีพรองคิดเป็นร้อยละ 56.00 ส่วนที่มีอาชีพรองคิดเป็นร้อยละ 44.00 ซึ่งมีอาชีพรับจ้างการเกษตรคิดเป็น
ร้อยละ 16.25 รองลงมาเป็นการรับจ้างนอกการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 10.25 อาชีพค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัวคิดเป็น
ร้อยละ 5.00 ปลูกพืชคิดเป็นร้อยละ 4.25 เลี้ยงสัตว์คิดเป็นร้อยละ 4.00 รับราชการ/เงินเดือนประจําคิดเป็นร้อยละ
3.50 ทาํ งานโรงงาน/บรษิ ัทคิดเปน็ รอ้ ยละ0.25 และอนื่ ๆคิดเป็นร้อยละ 0.50

การเป็นสมาชิกกลุ่มฯ จากการสํารวจพบว่า ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกกลุ่มฯคิดเป็นร้อยละ 88.00
โดยเป็นสมาชิกธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร(ธกส.)คิดเป็นร้อยละ 33.10 กลุ่มสหกรณ์คิดเป็นร้อย

28

ละ 23.17 กล่มุ เกษตรกรคดิ เปน็ ร้อยละ 19.17 กลมุ่ องค์กรชมุ ชนท้องถน่ิ คิดเป็นร้อยละ 7.32 และกลุ่มออมทรัพย์
คิดเปน็ ร้อยละ 5.24 และไมเ่ ปน็ สมาชิกกลมุ่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.00 (ตารางท่ี 4.1)

ตารางท่ี 4.1 อายุ และการประกอบอาชีพของหัวหน้าครัวเรือนเกษตร

รายการ ร้อยละ
๏ หวั หน้าครัวเรือน 100.00
71.00
- เพศชาย 29.00
- เพศหญงิ 59.67
๏ อายเุ ฉล่ยี (ป)ี 59.90
- เพศชาย 59.10
- เพศหญงิ 100.00
๏ ชว่ งอายุ
- 30 – 45 ปี 7.50
- 46 – 55 ปี 27.00
- 56 – 65 ปี 37.50
- มากกวา่ 65 ปี 28.00
๏ ระดับการศึกษา 100.00
- ไมร่ ู้หนังสอื (อ่าน/เขยี นไมไ่ ด)้ 0.25
- อา่ นออกเขยี นได้ 0.50
- ประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.4) 64.75
- ประถมศกึ ษาตอนปลาย (ป.6,7) 18.25
- มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม.3) 5.25
- มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) 6.75
- อาชีวะศกึ ษา (ปวช./ปวส./ปวท.) 2.50
- ปริญญาตร/ี สงู กวา่ 1.75
๏ อาชีพหลัก 100.00
- ไมม่ ี 2.50
- มี 97.50
87.50
- ปลูกพืช 4.00
- เล้ียงสัตว์ 1.25
- รบั จา้ งนอกการเกษตร 1.25
- ทํางานโรงงาน/บริษทั 1.00
- รับจ้างการเกษตร 0.50
- ค้าขาย/ธุรกจิ สว่ นตวั 0.50
- รับราชการ/เงินเดอื นประจํา 0.25
- รับงานทําทบ่ี ้าน 1.25
- อ่นื ๆ

29

ตารางที่ 4.1 (ตอ่ ) อายุ และการประกอบอาชีพของหวั หน้าครวั เรอื นเกษตร

รายการ รอ้ ยละ
100.00
๏ อาชีพรอง 56.00
44.00
- ไมม่ ี 16.25
10.25
- มี
- รับจ้างการเกษตร 5.00
4.25
- รบั จ้างนอกการเกษตร 4.00
3.50
- คา้ ขาย/ธรุ กิจสว่ นตวั 0.25
0.50
- ปลกู พืช 100.00
12.00
- เลี้ยงสัตว์ 88.00
- รับราชการ/เงนิ เดือนประจํา 33.10
23.17
- ทํางานโรงงาน/บริษทั 19.17
- อนื่ ๆ 7.32
๏ สมาชกิ กลุม่ 5.24

- ไม่เป็น
- เป็น *

- ธกส.

- กลมุ่ สหกรณ์
- กลมุ่ เกษตรกร

- กลมุ่ องคก์ รชมุ ชนทอ้ งถ่นิ
- กลมุ่ ออมทรพั ย์

ท่ีมา : จากการสาํ รวจ
หมายเหตุ : * คือ เกษตรกรหนึ่งรายสามารถตอบได้มากกวา่ 1 คําตอบ

2) สมาชิกในครัวเรือนเกษตร
จากการสํารวจเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ พบว่า ส่วนใหญ่สมาชิกในครัวเรือนเกษตรเป็นเพศ

หญิงคิดเป็นร้อยละ 61.61 และเป็นเพศชายคิดเป็นร้อยละ 38.39 โดยอายุเฉลี่ยเท่ากับ 35.90 ปี เป็นเพศชายอายุ
เฉลีย่ 29.46 ปี และเปน็ เพศหญิงอายุเฉลยี่ 39.92 ปี ส่วนอายุเฉลยี่ ของสมาชิกในครัวเรอื นเกษตรส่วนใหญ่อยู่ในช่วง
อายุตํ่ากว่า 30 ปี คิดเป็นร้อยละ 44.77 รองลงมาช่วงอายุ 30 – 45 ปี คิดเป็นร้อยละ 17.89 ช่วงอายุ 56 – 65 ปี
คิดเปน็ ร้อยละ 12.87 ชว่ งอายมุ ากกว่า 65 ปี คดิ เปน็ ร้อยละ 12.34 และช่วงอายุ 46 – 55 ปี คดิ เป็นร้อยละ 12.13

ระดับการศึกษาส่วนใหญ่เรียนจบชั้นประถมศึกษาตอนต้น(ป.4)คิดเป็นร้อยละ 32.57 รองลงมา
จบช้ันประถมศึกษาตอนปลาย(ป.6,7)คิดเป็นร้อยละ 14.96 มัธยมศึกษาตอนต้น(ม.3) คิดเป็นร้อยละ 12.96 อาชีวะ
ศึกษา(ปวช./ปวส./ปวท.)คดิ เปน็ ร้อยละ 10.64 ปริญญาตรี/สูงกว่าคิดเป็นร้อยละ 8.64 มัธยมศึกษาตอนปลาย(ม.6)
คดิ เป็นร้อยละ 8.22 ไมร่ หู้ นงั สือ(อา่ น/เขียนไม่ได)้ คิดเป็นรอ้ ยละ 6.85 และอา่ นออกเขียนไดค้ ดิ เป็นร้อยละ 5.16

อาชีพสมาชิกในครัวเรือนเกษตร ส่วนใหญ่มีอาชีพคิดเป็นร้อยละ 63.48 โดยมีอาชีพการ
เพาะปลูกพืชคิดเป็นร้อยละ 31.37 ไม่มีงานทํา/รองานใหม่คิดเป็นร้อยละ 10.81 อาชีพรับราชการ/มีเงินเดือน
ประจําคิดเป็นร้อยละ 7.24 อาชีพรับจ้างนอกการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 5.46 ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัวคิดเป็นร้อยละ
2.52 รบั จา้ งการเกษตรคิดเป็นรอ้ ยละ 2.31 ทํางานโรงงาน/บริษัทคิดเป็นร้อยละ 1.99 และเลี้ยงสัตว์คิดเป็นร้อย

30

ละ 1.78 ส่วนที่เหลือไม่ประกอบอาชีพคิดเป็นร้อยละ 36.52 เนื่องจากกําลังเรียนหนังสือและอยู่ในวัยชราไม่
ประกอบอาชพี

การเป็นสมาชิกกลุ่มฯ พบว่า ส่วนใหญ่ไม่เป็นสมาชิกกลุ่มฯคิดเป็นร้อยละ 73.28 และเป็น
สมาชิกกลุ่มฯคิดเป็นร้อยละ 26.72 โดยเป็นสมาชิกธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร(ธกส.)คิดเป็นร้อย
ละ 14.15 กลุ่มสหกรณ์คิดเป็นร้อยละ 8.98 กลุ่มองค์กรชุมชนท้องถ่ินคิดเป็นร้อยละ 1.58 กลุ่มเกษตรกรคิดเป็น
รอ้ ยละ 1.16 และกล่มุ ออมทรพั ยค์ ิดเปน็ รอ้ ยละ 0.85 (ตารางท่ี 4.2)

ตารางท่ี 4.2 อายุ และการประกอบอาชีพของสมาชิกในครัวเรอื นเกษตร

รายการ รอ้ ยละ
๏ สมาชิกในครอบครัว 100.00
38.39
- เพศชาย 61.61
- เพศหญงิ 35.90
๏ อายเุ ฉล่ยี (ปี) 29.46
- เพศชาย 39.92
- เพศหญิง 100.00
๏ ช่วงอายุ 44.77
- ต่าํ กวา่ 30 ปี 17.89
- 30 – 45 ปี 12.13
- 46 – 55 ปี 12.87
- 56 – 65 ปี 12.34
- มากกวา่ 65 ปี 100.00
๏ ระดับการศกึ ษา
- ไม่รู้หนงั สอื (อ่าน/เขยี นไมไ่ ด)้ 6.85
- อา่ นออกเขยี นได้ 5.16
- ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.4) 32.57
- ประถมศกึ ษาตอนปลาย (ป.6,7) 14.96
- มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (ม.3) 12.96
- มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) 8.22
- อาชวี ะศึกษา (ปวช./ปวส./ปวท.) 10.64
- ปริญญาตร/ี สงู กวา่ 8.64
๏ อาชีพสมาชิกในครัวเรอื นเกษตร 100.00
- ไมม่ ี 36.52
36.52
- เรยี นหนงั สือ/อยูใ่ นวัยชราไม่ประกอบอาชีพ 63.48
- มี 31.37
10.81
- ปลกู พชื 7.24
- ไมม่ งี านทาํ /รองานใหม่ 5.46
- รับราชการ/เงินเดอื นประจํา 2.52
- รับจ้างนอกการเกษตร
- ค้าขาย/ธุรกจิ ส่วนตวั

31

ตารางที่ 4.2 (ต่อ) อายุ และการประกอบอาชพี ของสมาชิกในครัวเรือนเกษตร

รายการ รอ้ ยละ
- รบั จา้ งการเกษตร 2.31
- ทํางานโรงงาน/บรษิ ัท 1.99
- เลีย้ งสัตว์ 1.78
๏ สมาชิกกลมุ่ 100.00
- ไม่เป็น 73.28
- เป็น * 26.72
- ธกส. 14.15
- กลมุ่ สหกรณ์ 8.98
- กลมุ่ องค์กรชุมชนท้องถ่นิ 1.58
- กลมุ่ เกษตรกร 1.16
- กลมุ่ ออมทรพั ย์ 0.85

ที่มา : จากการสาํ รวจ
หมายเหตุ : * คือ เกษตรกรหน่ึงรายสามารถตอบได้มากกว่า 1 คําตอบ

4.1.2 จํานวนสมาชกิ ในครัวเรือน และลักษณะการใช้แรงงานการเกษตร
จํานวนสมาชิกในครัวเรือนท้ังหมดหมายถึง จํานวนคนท้ังหมดในครัวเรือนที่อาศัย อยู่กินร่วมกัน

ในช่วงระยะเวลา 1 พฤษภาคม 2559 – 30 เมษายน 2560 และไม่น้อยกว่า 6 เดือน จํานวนสมาชิกท้ังหมดใน
ครัวเรือนเฉล่ียเท่ากับ 3.39 คน/ครัวเรือน โดยเป็นเพศชายเฉลี่ยเท่ากับ 1.63 คน/ครัวเรือน และเป็นเพศหญิงเฉลี่ย
เท่ากับ 1.76 คน/ครัวเรือน เม่อื พจิ ารณาสมาชกิ ทเ่ี ปน็ แรงงานในการเกษตรทั้งโครงการ พบว่า การทํางานการเกษตร
เต็มเวลาคิดเป็นร้อยละ 46.88 ทํางานการเกษตรบางเวลาคิดเป็นร้อยละ 12.64 และไม่ทํางานการเกษตรคิดเป็น
ร้อยละ 40.48

ตารางที่ 4.3 จํานวนสมาชกิ ในครวั เรอื นแยกตามลักษณะการใช้แรงงานการเกษตร

หน่วย : รอ้ ยละ

รายการ เพศ เฉล่ีย ลักษณะการใช้แรงงานการเกษตร รวม
(คน/ครัวเรือน) เต็มเวลา บางเวลา ไมท่ าํ งาน

หัวหนา้ ครวั เรอื น ชาย 0.71 92.17 5.34 2.49 100.00

หญิง 0.29 85.22 7.83 6.95 100.00

รวม 1.00 90.15 6.06 3.79 100.00

สมาชิกในครัวเรือน ชาย 0.92 20.33 20.33 59.34 100.00

หญงิ 1.47 34.08 12.32 53.60 100.00

รวม 2.39 28.80 15.40 55.80 100.00

รวมทัง้ ครัวเรอื น ชาย 1.63 51.63 13.80 34.57 100.00

หญงิ 1.76 42.49 11.59 45.92 100.00

รวม 3.39 46.88 12.64 40.48 100.00

ท่ีมา : จากการสาํ รวจ

32

เมื่อพิจารณาหัวหน้าครัวเรือน พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศชายเฉล่ีย 0.71 คน/ครัวเรือน และการใช้
แรงงานการเกษตรเต็มเวลาคิดเป็นร้อยละ 92.17 ส่วนเพศหญิงเฉลี่ย 0.29 คน/ครัวเรือน และการใช้แรงงาน
การเกษตรเต็มเวลาคิดเปน็ รอ้ ยละ 85.22

ส่วนสมาชิกในครัวเรือนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงเฉล่ีย 1.47 คน/ครัวเรือน และไม่ทํางานด้านการเกษตร
คิดเป็นร้อยละ 53.60 ส่วนเพศชายเฉลี่ย 0.92 คน/ครัวเรือน และไม่ทํางานด้านการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 59.34
เนอ่ื งจากอยู่ในชว่ งอายุตาํ่ กวา่ 30 ปี คิดเปน็ ร้อยละ 44.77 (ตารางที่ 4.3)

4.1.3 การใชท้ ่ีดินเพื่อการเกษตร และลักษณะการถอื ครอง
1) การใชท้ ดี่ ินเพอื่ การเกษตร
พน้ื ท่ีการเกษตรปีเพาะปลูก 2559/60 โดยเฉล่ีย 21.02 ไร่/ครวั เรอื น ส่วนใหญ่จะเป็นพ้ืนที่ทํา

นาป/ี นาปรังจํานวน 14.43 ไร่/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 68.65 ของพื้นท่ีการเกษตรท้ังหมด รองลงมาเป็นที่พืช
ไร่จํานวน 4.41 ไร่/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 20.98 ท่ีไม้ผล/ไม้ยืนต้นจํานวน 0.80 ไร่/ครัวเรือน หรือคิดเป็น
รอ้ ยละ 3.81 ทุง่ หญ้าเล้ยี งสัตว์จํานวน 0.62 ไร/่ ครวั เรอื น หรอื คดิ เป็นร้อยละ 2.95 ที่บ่อเลี้ยงปลาจํานวน 0.29 ไร่/
ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 1.38 ที่เล้ียงสัตว์(คอก)จํานวน 0.22 ไร่/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 1.05 และท่ีไร่
นาสวนผสมจํานวน 0.12 ไร่/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 0.57 ส่วนพื้นที่ปลูกพืชผักและที่ปลูกไม้ดอกไม้ประดับมี
เพียงเล็กนอ้ ย

การใช้ที่ดินจริงในการประกอบการเกษตร ปีเพาะปลูก 2559/60 พ้ืนท่ีทําการเกษตรเฉล่ีย
34.32 ไร่/ครวั เรือน ส่วนใหญ่จะเป็นพน้ื ทปี่ ลูกข้าวนาป/ี นาปรังจาํ นวน 25.13 ไร่/ครวั เรอื น หรอื คิดเป็นร้อยละ 73.22
รองลงมาเป็นที่ปลูกพืชไร่จํานวน 7.01 ไร่/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 20.43 ที่ปลูกไม้ผล/ไม้ยืนต้นจํานวน 0.80
ไร่/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 2.33 ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์จํานวน 0.62 ไร่/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 1.81 ที่บ่อ
เล้ียงปลาจํานวน 0.29 ไร่/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 0.84 ท่ีเล้ียงสัตว์(คอก)จํานวน 0.22 ไร่/ครัวเรือน หรือคิด
เป็นรอ้ ยละ 0.64 และท่ีไร่นาสวนผสมจํานวน 0.12 ไร่/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 0.35 และประสิทธิภาพการใช้
ทีด่ นิ คิดเป็นร้อยละ 163.27

ส่วนพ้นื ทีอ่ ยูอ่ าศยั 0.71 ไร/่ ครัวเรือน และพ้ืนท่กี ารเกษตรเฉล่ยี 4.32 ผนื /ครวั เรือน (ตารางท่ี
4.4)

33

ตารางที่ 4.4 การใชท้ ด่ี ินจรงิ ในการประกอบการเกษตร ปเี พาะปลกู 2559/60

พืน้ ท่ีการเกษตร หนว่ ย : ไร/่ ครวั เรอื น
พ้ืนทีก่ ารใช้ทด่ี ินจริง **

รายการ ใน นอก รวม ใน นอก รวม
โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ

๏ การใชท้ ดี่ นิ จริงในการประกอบการเกษตร

- ทํานาปี - นาปรงั 13.53 0.90 14.43 23.46 1.67 25.13

- พืชไร่ 3.09 1.32 4.41 5.01 2.00 7.01

- พืชผกั 0.00* - 0.00* 0.00* - 0.00*

- ไม้ดอกไมป้ ระดับ - 0.00* 0.00* - 0.00* 0.00*

- ไมผ้ ล/ไม้ยนื ตน้ 0.59 0.21 0.80 0.59 0.21 0.80

- ทุ่งหญา้ เล้ยี งสตั ว์ 0.60 0.02 0.62 0.60 0.02 0.62

- ที่เลย้ี งสัตว์ (คอก) 0.18 0.04 0.22 0.18 0.04 0.22

- ทร่ี กรา้ งว่างเปลา่ 0.10 0.02 0.12 0.10 0.02 0.12

- ที่ห้วย/หนอง/คลอง/บึง (ทถ่ี ือครอง) 0.01 - 0.01 0.01 - 0.01

- บอ่ เลี้ยงปลา 0.19 0.10 0.29 0.19 0.10 0.29

- ไร่นาสวนผสม 0.07 0.05 0.12 0.07 0.05 0.12

รวม 18.36 2.66 21.02 30.21 4.11 34.32

ประสทิ ธิภาพการใชท้ ด่ี นิ (รอ้ ยละ) 100.00 163.27

๏ พื้นที่อย่อู าศยั (ไร/่ ครัวเรอื น) 0.71

๏ พืน้ ทกี่ ารเกษตรเฉลยี่ (ผืน/ครวั เรือน) 4.32

ท่ีมา : จากการสาํ รวจ

หมายเหตุ : พ้ืนท่ีทาํ การเกษตรเฉล่ยี ต่อครัวเรือนไมร่ วมพน้ื ท่ีทอ่ี ยอู่ าศัย
คา่ 0.00* คือ มคี ่าแต่น้อยมาก
** คอื การใชท้ ่ดี ินเกษตรกรมกี ารปลูกพืชหมนุ เวียนในพนื้ ทเี่ ดิม

ประสิทธภิ าพการใชท้ ่ดี นิ (Cropping Intensity) = พืน้ ท่ีเพาะปลูกจริง x 100
พน้ื ที่การเกษตรทัง้ หมด

2) ลักษณะการถือครอง
ลักษณะการถือครองท่ีดินจํานวน 34.31 ไร่/ครัวเรือน แยกเป็นที่ดินของตนเอง ท่ีดินเช่า

และทด่ี ินได้ทาํ ฟรี เน้อื ท่ีประมาณ 15.90 15.21 และ 3.20 ไร่/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 46.34 44.33 และ
9.33 ตามลําดับ เม่ือพิจารณาพบว่า พ้ืนที่ส่วนใหญ่อยู่ในโครงการสูบนํ้าด้วยไฟฟ้าจํานวน 20.68 ไร่/ครัวเรือน หรือ
คิดเป็นร้อยละ 60.27 พื้นท่ีการเกษตรอาศัยนํ้าฝนมีจํานวน 12.68 ไร่/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 36.96 สูบเอง
จากแหล่งนํ้าธรรมชาติ(แม่นํ้า/คู/คลอง/บึง)จํานวน 0.63 ไร่/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 1.84 และสูบน้ําจากบ่อ/
สระในไร่นาของตนเองจํานวน 0.32 ไร่/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 0.93 โดยมีรายเอียดดังนี้คือ พื้นที่ในโครงการ
คือ พนื้ ทใี่ นเขตโครงการเขอ่ื นทดนา้ํ ผาจกุ จํานวน 30.20 ไร/่ ครัวเรือน แยกเปน็ ทดี่ นิ ของตนเอง ท่ีดินเช่า และท่ดี ินได้
ทําฟรี มีเน้ือท่ีประมาณ 13.78 13.99 และ 2.43 ไร่/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 45.63 46.32 และ 8.05
ตามลําดับ ส่วนพื้นที่นอกเขตโครงการคือพ้นื ทีอ่ ยนู่ อกเขตพ้นื ทีใ่ นเขตชลประทานในโครงการเขื่อนทดน้ําผาจุกจํานวน
4.11 ไร่/ครัวเรือน แยกเป็นท่ีดินของตนเอง ที่ดินเช่า และท่ีดินได้ทําฟรี มีเนื้อท่ีประมาณ 2.12 1.22 และ 0.77
ไร่/ครัวเรอื น หรือคดิ เป็นรอ้ ยละ 51.58 29.68 และ 18.73 ตามลาํ ดบั หมายเหตุ : ไม่รวมพื้นที่ห้วย/หนอง/คลอง/
บงึ (ทถี่ ือครอง)ประมาณ 0.01 ไร/่ ครัวเรือน และท่อี ย่อู าศัย (ตารางที่ 4.5)

34

ตารางท่ี 4.5 แหลง่ นา้ํ ท่ีใชเ้ พ่อื การเกษตร ตามลกั ษณะการถอื ครองที่ดนิ ปีเพาะปลูก 2559/60

หน่วย : ไร่/ครัวเรือน

รายการ ลักษณะการถอื ครองท่ีดนิ รวม

ทตี่ นเอง ทเี่ ช่า ท่ีไดท้ าํ ฟรี

๏ แหล่งนา้ํ ทีใ่ ชเ้ พื่อการเกษตร

๏ พน้ื ท่ีในโครงการ

- นาํ้ ฝน 4.74 3.73 0.93 9.40

- สบู เองจากแหลง่ นํา้ ธรรมชาติ 0.19 0.13 0.03 0.35

(แม่น้าํ /ค/ู คลอง/บงึ )

- บอ่ /สระในไรน่ า 0.16 0.03 0.07 0.26

- โครงการสบู นาํ้ ดว้ ยไฟฟ้า 8.69 10.10 1.40 20.19

รวมพืน้ ทีใ่ นโครงการ 13.78 13.99 2.43 30.20

๏ พ้ืนทน่ี อกโครงการ

- นาํ้ ฝน 1.89 0.80 0.59 3.28

- สบู เองจากแหลง่ นํา้ ธรรมชาติ 0.03 0.10 0.15 0.28

(แมน่ ้าํ /คู/คลอง/บึง)

- บอ่ /สระในไร่นา 0.05 - 0.01 0.06

- โครงการสบู นาํ้ ดว้ ยไฟฟ้า 0.15 0.32 0.02 0.49

รวมพื้นทน่ี อกโครงการ 2.12 1.22 0.77 4.11

๏ พื้นท่ีทง้ั โครงการ

- นํ้าฝน 6.63 4.53 1.52 12.68

- สูบเองจากแหล่งน้าํ ธรรมชาติ 0.22 0.23 0.18 0.63

(แมน่ าํ้ /ค/ู คลอง/บงึ )

- บอ่ /สระในไรน่ า 0.21 0.03 0.08 0.32

- โครงการสูบนาํ้ ด้วยไฟฟ้า 8.84 10.42 1.42 20.68

รวมพนื้ ท่ีทั้งหมด 15.90 15.21 3.20 34.31

ทม่ี า : จากการสาํ รวจ
หมายเหตุ : ไมร่ วมพ้ืนท่ีห้วย/หนอง/คลอง/บงึ (ทถ่ี ือครอง)ประมาณ 0.01 ไร่/ครัวเรอื น และทอี่ ยู่อาศยั

ลักษณะการถือครองที่ดินจํานวน 34.31 ไร่/ครัวเรือน แยกตามลักษณะการใช้ท่ีดินในการเกษตร
เป็นท่ีนา ท่ีไร่ ท่ีไม้ผล/ไม้ยืนต้น ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ ที่รกร้างว่างเปล่า ท่ีบ่อเลี้ยงปลา ที่เล้ียงสัตว์(คอก) และท่ีไร่นา
สวนผสม เนื้อท่ีประมาณ 25.13 7.01 0.80 0.62 0.12 0.29 0.22 และ 0.12 ไร่/ครัวเรือน หรือคิดเป็น
รอ้ ยละ 73.24 20.43 2.33 1.81 0.35 0.85 0.64 และ 0.35 ตามลําดับ หมาเหตุ : สําหรับพ้ืนท่ีปลูกผักมี
เพียงเล็กน้อย และไม่รวมพื้นท่ีห้วย/หนอง/คลอง/บึง(ท่ีถือครอง)ประมาณ 0.01 ไร่/ครัวเรือน เมื่อมาพิจารณาราย
เอยี ด มดี ังน้ีคือ พ้นื ทใี่ นโครงการจาํ นวน 30.20 ไร/่ ครัวเรอื น เป็นท่ีนา ท่ีไร่ ที่ไม้ผล/ไม้ยืนต้น ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ ท่ี
รกร้างว่างเปล่า ท่ีบ่อเลี้ยงปลา ที่เลี้ยงสัตว์(คอก) และที่ไร่นาสวนผสม เนื้อที่ประมาณ 23.46 5.01 0.59 0.60
0.10 0.19 0.18 และ 0.07 ไร่/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 77.68 16.59 1.95 1.99 0.33 0.63
0.60 และ 0.23 ตามลําดับ ส่วนพ้ืนที่นอกโครงการจํานวน 4.11 ไร่/ครัวเรือน เป็นท่ีนา ที่ไร่ ที่ไม้ผล/ไม้ยืนต้น
ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ ที่รกร้างว่างเปล่า ท่ีบ่อเล้ียงปลา ท่ีเล้ียงสัตว์(คอก) และท่ีไร่นาสวนผสม เนื้อท่ีประมาณ 1.67
2.00 0.21 0.02 0.02 0.10 0.04 และ 0.05 ไร่/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 40.63 48.66 5.11
0.49 0.49 2.43 0.97 และ 1.22 ตามลาํ ดับ สาํ หรบั ที่ปลกู ผักมีเพยี งเลก็ น้อย (ตารางท่ี 4.6)

ตารางท่ี 4.6 แหลง่ นาํ้ ที่ใช้เพอื่ การเกษตร ตามลกั ษณะการใช้ทด่ี นิ ในการเกษตร ปีเ

รายการ ทีน่ า ท่ไี ร่ ท่ไี ม้ผล/ ท
ไมย้ ืนตน้

๏ แหลง่ นํา้ ทใี่ ช้เพอื่ การเกษตร

๏ พืน้ ที่ในโครงการ

- นํา้ ฝน 4.11 3.90 0.42

- สบู เองจากแหล่งนา้ํ ธรรมชาติ(แม่นํา้ /คู/คลอง/บึง) 0.19 0.15 0.01

- บ่อ/สระในไร่นา 0.01 0.18 0.01

- โครงการสบู นาํ้ ด้วยไฟฟา้ 19.15 0.78 0.15

รวมพื้นทใ่ี นโครงการ 23.46 5.01 0.59 0

๏ พื้นที่นอกโครงการ

- นาํ้ ฝน 1.46 1.78 -

- สูบเองจากแหลง่ นํ้าธรรมชาติ(แม่นํา้ /คู/คลอง/บึง) 0.10 0.18 -

- บอ่ /สระในไร่นา 0.01 0.01 -

- โครงการสูบน้ําดว้ ยไฟฟ้า 0.10 0.03 0.21

รวมพ้ืนท่นี อกโครงการ 1.67 2.00 0.21 0

๏ พ้ืนทท่ี ้งั โครงการ

- น้าํ ฝน 5.57 5.68 0.42

- สูบเองจากแหลง่ นํา้ ธรรมชาติ(แม่นาํ้ /คู/คลอง/บงึ ) 0.29 0.33 0.01

- บอ่ /สระในไรน่ า 0.02 0.19 0.01

- โครงการสูบนาํ้ ด้วยไฟฟ้า 19.25 0.81 0.36

รวมพนื้ ที่ท้งั หมด 25.13 7.01 0.80 0

หมายเหตุ : ไมร่ วมพนื้ ที่ห้วย/หนอง/คลอง/บงึ (ทถ่ี อื ครอง)ประมาณ 0.01 ไร่/ครัวเรอื น
คา่ 0.00* คือ มีคา่ แต่นอ้ ยมาก

เพาะปลกู 2559/60

หน่วย : ไร่/ครวั เรือน

ลักษณะการใชท้ ี่ดนิ ในการเกษตร

ท่ปี ลกู ผกั ทุ่งหญา้ ทรี่ กรา้ งว่าง ทบ่ี อ่ เลี้ยง ท่เี ล้ียงสัตว์ ไร่นาสวน รวม
เล้ียงสตั ว์ เปล่า ปลา (คอก) ผสม

0.00* 0.58 0.09 0.14 0.12 0.04 9.40

-- - - 0.00* - 0.35

- 0.01 - - 0.05 - 0.26

- 0.01 0.01 0.05 0.01 0.03 20.19

0.00* 0.60 0.10 0.19 0.18 0.07 30.20

0.00* - 0.02 0.02 - - 3.28
-- - 0.28
- 0.02 --- - 0.06
-- 0.05 0.49
- 0.01 0.01 0.05 4.11
0.00* 0.02
- 0.07 0.03

0.02 0.10 0.04

0.00* 0.58 0.11 0.16 0.12 0.04 12.68

-- - - 0.00* - 0.63

- 0.03 - 0.01 0.06 - 0.32

- 0.01 0.01 0.12 0.04 0.08 20.68

0.00* 0.62 0.12 0.29 0.22 0.12 34.31

น และทอี่ ยู่อาศยั

36

4.2 การประกอบการผลติ การเกษตร ปเี พาะปลกู 2559/60
4.2.1 ทรพั ย์สนิ การเกษตร และหนส้ี นิ
1) ทรพั ย์สนิ การเกษตร
มูลค่าทรัพย์สินการเกษตรเฉลี่ยต่อครัวเรือนต้นปี ส่วนใหญ่จะเป็นทรัพย์สินคงท่ีมีมูลค่า

1,254,373 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 92.11 ของมูลค่าทรัพย์สินการเกษตรท้ังหมด ซ่ึงจะเป็นมูลค่าของท่ีดิน
1,063,866 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 78.12 ของมูลค่าทรัพย์สินการเกษตรทั้งหมด รองลงมาเป็นทรัพย์สินในการ
ดําเนินการมมี ูลคา่ 86,874 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 6.38 และเป็นทรัพย์สินหมุนเวียนมีมูลค่า 20,612 บาท หรือคิด
เป็นร้อยละ 1.51 สรุปเกษตรกรมีทรัพย์สินการเกษตรทั้งหมดประมาณ 1,361,859 บาท ถ้าไม่คิดมูลค่าท่ีดินจะมี
ทรพั ยส์ นิ การเกษตรมีมูลค่า 107,486 บาท หรือคิดเปน็ รอ้ ยละ 7.89 ของมูลค่าทรัพยส์ ินการเกษตรทงั้ หมด

สําหรับมูลค่าทรัพย์สินการเกษตรเฉล่ียต่อครัวเรือนปลายปี ส่วนใหญ่เป็นทรัพย์สินคงท่ี
ใกล้เคียงกับต้นปีคือ มีมูลค่า 1,257,356 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 92.47 ของมูลค่าทรัพย์สินการเกษตรท้ังหมด ซ่ึง
จะเป็นมูลค่าของที่ดิน 1,068,346 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 78.57 ของมูลค่าทรัพย์สินการเกษตรท้ังหมด รองลงมา
เป็นทรัพย์สินในการดําเนินการมีมูลค่า 84,226 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 6.19 และเป็นทรัพย์สินหมุนเวียนมีมูลค่า
18,235 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 1.34 สรุปเกษตรกรมีทรัพย์สินการเกษตรท้ังหมดประมาณ 1,359,817 บาท ถ้าไม่
คิดมูลคา่ ทีด่ ินจะมที รพั ย์สินการเกษตรมมี ลู คา่ 102,461 บาท หรอื คิดเป็นรอ้ ยละ 7.53 ของมูลค่าทรัพย์สินการเกษตร
ท้ังหมด (ตารางท่ี 4.7)

ตารางท่ี 4.7 ทรัพยส์ ินการเกษตร ปเี พาะปลูก 2559/60

หนว่ ย : บาท/ครวั เรอื น

มลู คา่ ทรพั ย์สนิ การเกษตร

รายการ คงที่ ในการ ปัจจยั หมุนเวยี น รวม
ดําเนนิ งาน* คงเหลอื ผลผลิต ท้ังหมด ยกเวน้ ทีด่ ิน
ท่ีดนิ โรงเรอื น รวม รวม
และอ่นื ๆ พืช สตั ว์

ตน้ ปี 1,063,866 190,507 1,254,373 86,874 75 1,256 19,281 20,612 1,361,859 107,486

ปลายปี 1,068,346 189,010 1,257,356 84,226 75 1,869 16,291 18,235 1,359,817 102,461

ท่มี า : จากการสาํ รวจ
หมายเหตุ : * เป็นทรพั ย์สนิ ในการดําเนินงานมเี คร่ืองจกั ร/อปุ กรณก์ ารเกษตร เป็นต้น

2) หนีส้ ิน เป็นการกูย้ มื เงนิ ของเกษตรกร และแหล่งกู้ยืมเงินของเกษตรกร ปีเพาะปลูก 2559/60
มรี ายละเอียดดงั นีค้ อื

มีเกษตรกรท่ีไม่เป็นหนี้หรือไม่ได้กู้ยืมเงินคิดเป็นร้อยละ 17.00 ส่วนท่ีเป็นหน้ีหรือกู้ยืมเงินอยู่
ณ 30 เมษายน 2560 คิดเป็นร้อยละ 83.00 โดยแหล่งกู้ยืมเงินของเกษตรกรส่วนใหญ่เป็นแหล่งกู้ยืมในระบบคิดเป็น
ร้อยละ 81.36 เป็นหน้กี บั ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร(ธกส.)คิดเป็นร้อยละ 43.41 กองทุนหมู่บ้าน
คิดเป็นร้อยละ 35.81 สหกรณ์การเกษตรคิดเป็นร้อยละ 13.01 ธนาคารอื่นๆคิดเป็นร้อยละ 0.51 และแหล่งออม
ทรัพย์ตา่ ง ๆคดิ เป็นร้อยละ 0.34 สาํ หรับหน้นี อกระบบคดิ เปน็ ร้อยละ 5.92 โดยเปน็ การกู้ยืมจากแหล่งเงินกู้ยืมนอก
ระบบอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 4.90 กู้ยืมเงินจากญาติพ่ีน้อง/เพื่อนบ้านคิดเป็นร้อยละ 0.68 และกู้ยืมจากพ่อค้า/
นายทนุ คดิ เปน็ ร้อยละ 0.34 (ตารางท่ี 4.8)

37

ตารางที่ 4.8 แหลง่ ก้ยู มื เงินของเกษตรกร ปีเพาะปลกู 2559/60 รอ้ ยละ
100.00
รายการ 17.00
๏ การกู้ยมื เงนิ ของเกษตรกร ณ 30 เมษายน 2560 83.00

- ไม่กู้ 81.36
- กู้ 43.41
๏ แหลง่ กู้ยืมเงนิ ของเกษตรกร * 35.81
• แหล่งกยู้ มื เงนิ ในระบบ 13.01
- ธกส. 0.84
- กองทุนหมบู่ ้าน 0.51
- สหกรณ์การเกษตร 0.34
- กลุม่ เกษตรกร 5.92
- ธนาคารอ่นื ๆ 0.68
- แหลง่ ออมทรพั ยต์ า่ ง ๆ 0.34
• แหล่งกู้ยืมเงนิ นอกระบบ 4.90

- ก้ยู ืมจากญาติพี่น้อง/เพ่อื นบา้ น
- ก้ยู ืมจากพอ่ ค้า/นายทุน
- แหล่งเงินกู้ยืมนอกระบบอืน่ ๆ

ที่มา : จากการสาํ รวจ
หมายเหตุ : * คือ เกษตรกรหนงึ่ รายสามารถตอบไดม้ ากกว่า 1 คําตอบ

จาํ นวนหนสี้ ินทัง้ หมดในครัวเรอื นเกษตร ณ 30 เมษายน 2560 มรี ายละเอยี ดดงั นี้คอื
จํานวนหน้ีสินของเกษตรกรท้ังหมดเฉล่ีย 179,051 บาท/ครัวเรือน โดยเป็นหนี้สินในระบบ
จํานวน 172,968 บาท/ครัวเรือน หรอื คิดเป็นรอ้ ยละ 96.60 ของหนี้สินท้งั หมด แบง่ เป็นเงินต้น และดอกเบ้ียค้างจ่าย
จํานวน 161,343 และ 11,625 บาท/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 90.11 และ 6.49 ตามลําดับ ส่วนหน้ีสินนอก
ระบบจํานวน 6,083 บาท/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 3.40 ของหนี้สินท้ังหมด แบ่งเป็นเงินต้น และดอกเบี้ยค้าง
จา่ ย จาํ นวน 5,668 และ 415 บาท/ครวั เรอื น หรอื คดิ เป็นร้อยละ 3.17 และ 0.23 ตามลําดบั (ตารางท่ี 4.9)

ตารางที่ 4.9 จํานวนหนี้สนิ ทงั้ หมดในครัวเรอื นเกษตร ณ 30 เมษายน 2560

รายการ จาํ นวน รอ้ ยละ
บาท/ครัวเรอื น 96.60
1. จํานวนหนสี้ นิ ในระบบ 90.11
1.1 เงินต้น 172,968 6.49
1.2 ดอกเบยี้ คา้ งจ่าย 161,343 3.40
11,625 3.17
2. จํานวนหนสี้ นิ นอกระบบ 0.23
2.1 เงินตน้ 6,083 100.00
2.2 ดอกเบ้ียค้างจ่าย 5,668
รวม
415
ทีม่ า : จากการสาํ รวจ 179,051

38

วัตถุประสงค์การกู้ยืมเงิน สําหรับวัตถุประสงค์การกู้ยืมเงินของครัวเรือนเกษตร เป็นการกู้ยืม
เพ่อื ใช้นอกการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 44.11 ได้แก่ กู้เพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในครัวเรือน เพื่อการศึกษาของบุตร เพื่อสร้าง
ที่อยู่อาศัย ซ้ือรถยนต์ เป็นต้น ส่วนการกู้ยืมเพ่ือใช้ในการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 55.89 ได้แก่ กู้เพื่อซ้ือเครื่องมือ
การเกษตร ค่าวัสดุอุปกรณ์การเกษตร ค่าพันธุ์พืช ค่าปุ๋ยเคมี/ยาฆ่าแมลง เป็นต้น โดยแยกเป็นการกู้เพื่อใช้ใน
การเกษตรพ้ืนท่ีในโครงการคิดเป็นร้อยละ 40.34 และกู้ใช้ในการเกษตรพื้นท่ีนอกโครงการคิดเป็นร้อยละ 15.55
(ตารางที่ 4.10)

ตารางที่ 4.10 วัตถุประสงค์การกู้ยืมเงนิ ของครัวเรอื นเกษตร

รายการ รอ้ ยละ
๏ วตั ถุประสงค์การกยู้ ืม 100.00
44.11
- นอกการเกษตร 55.89
- ในการเกษตร 40.34
15.55
พื้นทใ่ี นโครงการ
พน้ื ท่ีนอกโครงการ

ทมี่ า : จากการสาํ รวจ

3) ทรัพย์สินในครัวเรือน ทรัพย์สินในครัวเรือนหรือทรัพย์สินนอกการเกษตร บ่งบอกถึงฐานะ
ความเป็นอยู่และความสะดวกสบายในการดํารงชพี ของเกษตรกร มรี ายละเอยี ดดังนคี้ อื

ตารางที่ 4.11 มูลคา่ ทรพั ย์สนิ นอกการเกษตร ปีเพาะปลกู 2559/60

รายการ ต้นปี หน่วย : บาท/ครวั เรือน
บ้าน/ทดี่ ิน 464,753
ทดี่ ินนอกการเกษตร ปลายปี
โรงเกบ็ ของ 7,675 465,126
รถจกั รยานยนต/์ รถยนต์ 349
รถบรรทกุ 8,175
เครื่องใช้ไฟฟา้ ครวั เรือน 105,710 325
เตาแก๊ส 1,650
จกั รเย็บผา้ 19,117 106,100
เครื่องป๊ัมนาํ้ ในบา้ น 1,394 1,375
เฟอรน์ ิเจอร์/ตู้เส้อื ผา้ 326 18,770
โทรศัพท์ 1,240 1,206
เคร่อื งมือเคร่ืองจกั ร 8,816 279
ส่ิงอํานวยความสะดวกอนื่ ๆ 2,569 1,195
อนื่ ๆ 6,495 7,880
516 2,146
รวม 1,185 5,347
460
ท่ีมา : จากการสาํ รวจ 621,795 1,323

619,707

39

โดยเฉลยี่ เกษตรกรมีมลู คา่ ทรพั ยส์ นิ นอกการเกษตรตน้ ปีเทา่ กบั 621,795 บาท/ครัวเรือน โดย
เป็นทรัพย์สินเกี่ยวกับบ้านและที่ดินประมาณ 464,753 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 74.74 ของมูลค่าทรัพย์สินนอก
การเกษตรท้ังหมด รองลงมาเป็นรถจักรยานยนต์/รถยนต์ประมาณ 105,710 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 17.00
เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือนจํานวน 19,117 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.70 เฟอร์นิเจอร์/ตู้เสื้อผ้าจํานวน 8,816 บาท คิดเป็น
ร้อยละ 1.42 ที่ดินนอกการเกษตร 7,675 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.23 และเครื่องมือเคร่ืองจักร 6,495 บาท คิดเป็น
ร้อยละ 1.04

ส่วนมูลค่าทรัพย์สินนอกการเกษตรปลายปีเท่ากับ 619,707 บาท/ครัวเรือน โดยเป็น
ทรัพย์สินเก่ียวกับบ้านและที่ดินประมาณ 465,126 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 75.06 ของมูลค่าทรัพย์สินนอก
การเกษตรท้ังหมด รองลงมาเป็นรถจักรยานยนต์/รถยนต์ประมาณ 106,100 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 17.12
เคร่ืองใช้ไฟฟ้าครัวเรือนจํานวน 18,770 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.30 ท่ีดินนอกการเกษตร 8,175 บาท คิดเป็นร้อยละ
1.32 เฟอร์นิเจอร์/ตู้เส้ือผ้าจํานวน 7,880 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.27 และเครื่องมือเคร่ืองจักร 5,347 บาท คิดเป็น
ร้อยละ 0.86 (ตารางท่ี 4.11)

4.2.2 จํานวนสัตวท์ ่เี ลยี้ ง เกษตรกรมีการเลี้ยงสัตว์คงเหลือตน้ ปแี ละปลายปี มีรายละเอียดดงั น้คี อื
1) ด้านปศุสัตว์ เม่อื ต้นปเี กษตรกรเลย้ี งสตั ว์คงเหลอื ไดแ้ ก่ ไกพ่ ้นื เมือง/ไก่บ้าน ไก่ไข่ ไก่ชน เป็ด

ไข่ เป็ดเนื้อ สุกร กระบือ และโคเน้ือ จํานวน 7.70 0.10 0.97 0.02 0.05 0.89 0.06 และ 0.81 ตัว/
ครัวเรือน ตามลําดับ ส่วนปลายปีมีสัตว์เล้ียงคงเหลือ ได้แก่ ไก่พ้ืนเมือง/ไก่บ้าน ไก่ไข่ ไก่ชน เป็ดไข่ เป็ดเนื้อ สุกร
กระบือ และโคเน้ือ จํานวน 6.63 0.20 1.03 0.08 0.06 1.05 0.08 และ 0.89 ตัว/ครัวเรือน ตามลําดับ
(ตารางที่ 4.12)

2) ด้านสัตว์น้ํา ในต้นปีคงเหลือกบ และปลาน้ําจืดเฉลี่ย 0.61 และ 12.56 กิโลกรัม/ครัวเรือน
ตามลาํ ดบั และปลายปีคงเหลือกบ และปลานา้ํ จดื เฉลยี่ 0.34 และ 15.30 กิโลกรัม/ครัวเรือน ตามลําดับ (ตารางท่ี
4.12)

ตารางที่ 4.12 จํานวนสตั วเ์ ลีย้ งคงเหลือตน้ ปีและปลายปี

ดา้ นปศสุ ัตว์ ด้านสัตวน์ ํา้

รายการ ไกพ่ นื้ เมือง/ (ตวั /ครัวเรือน) (กิโลกรมั /ครัวเรือน)
ไก่บ้าน
ไกไ่ ข่ ไก่ชน เป็ดไข่ เป็ดเน้ือ สกุ ร กระบือ โคเนอื้ กบ ปลา
ตน้ ปี 7.70 นํา้ จืด
ปลายปี 6.63 0.10
0.20 0.97 0.02 0.05 0.89 0.06 0.81 0.61 12.56
ทีม่ า : จากการสาํ รวจ
1.03 0.08 0.06 1.05 0.08 0.89 0.34 15.30

4.2.3 ผลผลิตต่อไร่ของพืชท่ีสําคญั อัตราผลผลิตดา้ นพืชทมี่ ีการผลิตในพืน้ ท่ี มรี ายละเอียดดังน้ีคอื

พื้นท่ีในโครงการ ผลผลติ ด้านพชื เฉล่ยี ตอ่ ไร่ ได้แก่ ข้าวเจ้านาปีจํานวน 785 กิโลกรัม ข้าวเหนียวนา
ปีจํานวน 735 กิโลกรัม ข้าวเจ้านาปรังจํานวน 854 กิโลกรัม ข้าวเหนียวนาปรังจํานวน 976 กิโลกรัม ข้าวโพด
เลี้ยงสัตว์รุ่น 1 จํานวน 801 กิโลกรัม ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 2 จํานวน 917 กิโลกรัม มันสําปะหลังโรงงานจํานวน
3,143 กิโลกรัม ออ้ ยโรงงานปีที่ 1 จํานวน 11,468 กิโลกรมั ออ้ ยโรงงานปีที่ 2 จาํ นวน 8,719 กโิ ลกรัม อ้อยโรงงาน
ปที ี่ 3 จํานวน 9,672 กโิ ลกรัม ดาวเรืองเกษตรจาํ นวน 1,120 กิโลกรมั ท่งุ หญ้าเลี้ยงสัตว์ จํานวน 3,927 กิโลกรัม ไม้
ผลรวมจํานวน 98 กิโลกรัม ซ่ึงเกษตรกรจะปลูกผสมผสานกันหลาย ๆ ชนิด ได้แก่ มะม่วง ขนุน และกล้วยนํ้าว้า เป็น
ต้น


Click to View FlipBook Version