40
รายได้เงนิ สดท่ขี ายไดด้ ้านพืชเฉล่ียตอ่ ไร่ ได้แก่ ขา้ วเจ้านาปีจาํ นวน 4,160 บาท ขา้ วเหนยี วนาปจี ํานวน
4,019 บาท ข้าวเจ้านาปรังจํานวน 5,107 บาท ข้าวเหนียวนาปรังจํานวน 6,608 บาท ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 1
จํานวน 3,359 บาท ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 2 จํานวน 4,306 บาท มันสําปะหลังโรงงานจํานวน 4,471 บาท อ้อย
โรงงานปีท่ี 1 จํานวน 12,527 บาท อ้อยโรงงานปีท่ี 2 จํานวน 9,997 บาท อ้อยโรงงานปีที่ 3 จํานวน 10,811 บาท
ดาวเรืองเกษตรจํานวน 61,333 บาท ไม้ผลรวมจํานวน 1,535 บาท สําหรับทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์เกษตรกรจะปลูกเพื่อใช้
ในฟารม์ ตนเองท้งั หมด
รายจ่ายเงินสดในการผลิตด้านพืชเฉล่ียต่อไร่ ได้แก่ ข้าวเจ้านาปีจํานวน 2,428 บาท ข้าวเหนียวนาปี
จํานวน 2,347 บาท ข้าวเจ้านาปรังจํานวน 2,733 บาท ข้าวเหนียวนาปรังจํานวน 2,371 บาท ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
รุ่น 1 จํานวน 2,524 บาท ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รุ่น 2 จํานวน 3,583 บาท มันสําปะหลังโรงงานจํานวน 2,657 บาท
อ้อยโรงงานปีท่ี 1 จํานวน 7,108 บาท อ้อยโรงงานปีท่ี 2 จํานวน 4,179 บาท อ้อยโรงงานปีท่ี 3 จํานวน 5,119
บาท ดาวเรืองเกษตรจํานวน 32,373 บาท ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ จํานวน 699 บาท และไม้ผลรวมจํานวน 1,745 บาท
(ตารางท่ี 4.13)
พืน้ ทีน่ อกโครงการ ผลผลติ ดา้ นพชื เฉลยี่ ต่อไร่ ได้แก่ ข้าวเจ้านาปจี าํ นวน 833 กโิ ลกรัม ข้าวเหนียวนา
ปีจํานวน 680 กิโลกรัม ข้าวเจ้านาปรังจํานวน 952 กิโลกรัม ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 1 จํานวน 916 กิโลกรัม มัน
สําปะหลังโรงงานจํานวน 1,241 กิโลกรัม อ้อยโรงงานปีท่ี 1 จํานวน 8,654 กิโลกรัม อ้อยโรงงานปีท่ี 2 จํานวน
5,832 กิโลกรัม อ้อยโรงงานปีที่ 3 จํานวน 7,606 กิโลกรัม ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ จํานวน 3,650 กิโลกรัม กล้วยนํ้าว้า
จํานวน 600 กิโลกรมั
รายไดเ้ งินสดท่ขี ายได้ดา้ นพชื เฉลยี่ ตอ่ ไร่ ไดแ้ ก่ ขา้ วเจ้านาปจี าํ นวน 5,093 บาท ข้าวเหนียวนาปีจํานวน
6,600 บาท ข้าวเจ้านาปรังจํานวน 5,948 บาท ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รุ่น 1 จํานวน 3,970 บาท มันสําปะหลังโรงงาน
จํานวน 2,169 บาท อ้อยโรงงานปีที่ 1 จาํ นวน 10,269 บาท อ้อยโรงงานปีที่ 2 จํานวน 6,887 บาท อ้อยโรงงานปีท่ี
3 จาํ นวน 8,626 บาท สว่ นกลว้ ยน้าํ ว้าและหญ้าเลยี้ งสตั ว์ไมม่ กี ารจาํ หน่าย
รายจ่ายเงินสดในการผลิตด้านพืชเฉล่ียต่อไร่ ได้แก่ ข้าวเจ้านาปีจํานวน 2,496 บาท ข้าวเหนียวนาปี
จํานวน 2,610 บาท ขา้ วเจา้ นาปรังจํานวน 2,868 บาท ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 1 จํานวน 2,761 บาท มันสําปะหลัง
โรงงานจํานวน 2,493 บาท อ้อยโรงงานปีที่ 1 จํานวน 7,094 บาท อ้อยโรงงานปีที่ 2 จํานวน 3,688 บาท อ้อย
โรงงานปีที่ 3 จํานวน 4,490 บาท กล้วยนํ้าว้าจํานวน 4,000 บาท ส่วนหญ้าเลี้ยงสัตว์ไม่มีรายจ่ายเงินสด (ตารางท่ี
4.14)
รวมทัง้ โครงการ ผลผลิตดา้ นพืชเฉล่ียตอ่ ไร่ ไดแ้ ก่ ข้าวเจ้านาปีจํานวน 788 กิโลกรัม ข้าวเหนียวนาปี
จํานวน 730 กิโลกรัม ข้าวเจ้านาปรังจํานวน 859 กิโลกรัม ข้าวเหนียวนาปรังจํานวน 976 กิโลกรัม ข้าวโพดเล้ียง
สัตว์รุ่น 1 จํานวน 838 กิโลกรัม ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 2 จํานวน 917 กิโลกรัม มันสําปะหลังโรงงานจํานวน 2,251
กิโลกรัม อ้อยโรงงานปีท่ี 1 จํานวน 9,796 กิโลกรัม อ้อยโรงงานปีที่ 2 จํานวน 7,878 กิโลกรัม อ้อยโรงงานปีที่ 3
จํานวน 9,306 กิโลกรัม ดาวเรืองเกษตรจํานวน 1,120 กิโลกรัม ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ จํานวน 3,917 กิโลกรัม องุ่น
จาํ นวน 1,120 กโิ ลกรมั เมลอ่ นจาํ นวน 1,930 กิโลกรัม ไม้ผลรวมจาํ นวน 89 กิโลกรัม
รายได้เงินสดที่ขายได้ด้านพืชเฉล่ียต่อไร่ ได้แก่ ข้าวเจ้านาปีจํานวน 4,211 บาท ข้าวเหนียวนาปี
จํานวน 4,253 บาท ข้าวเจา้ นาปรงั จํานวน 5,155 บาท ขา้ วเหนยี วนาปรงั จาํ นวน 6,608 บาท ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น
1 จํานวน 3,554 บาท ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รุ่น 2 จํานวน 4,306 บาท มันสําปะหลังโรงงานจํานวน 3,391 บาท อ้อย
โรงงานปีที่ 1 จํานวน 12,099 บาท อ้อยโรงงานปีที่ 2 จํานวน 9,090 บาท อ้อยโรงงานปีที่ 3 จํานวน 10,423 บาท
ดาวเรืองเกษตรจํานวน 61,333 บาท องุ่นจํานวน 110,000 บาท เมล่อนจํานวน 180,000 บาท และไม้ผลรวม
จํานวน 2,030 บาท
รายจ่ายเงินสดในการผลิตด้านพืชเฉล่ียต่อไร่ ได้แก่ ข้าวเจ้านาปีจํานวน 2,433 บาท ข้าวเหนียวนาปี
จํานวน 2,371 บาท ขา้ วเจา้ นาปรังจาํ นวน 2,739 บาท ขา้ วเหนยี วนาปรังจาํ นวน 2,371 บาท ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รุ่น
41
1 จํานวน 2,599 บาท ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 2 จํานวน 3,583 บาท มันสําปะหลังโรงงานจํานวน 2,580 บาท อ้อย
โรงงานปีท่ี 1 จํานวน 7,105 บาท อ้อยโรงงานปีท่ี 2 จํานวน 4,036 บาท อ้อยโรงงานปีท่ี 3 จํานวน 5,007 บาท
ดาวเรอื งเกษตรจาํ นวน 32,373 บาท องุ่นจํานวน 89,700 บาท เมลอ่ นจาํ นวน 122,800 บาท และไมผ้ ลรวมจาํ นวน
1,359 บาท (ตารางที่ 4.15)
เม่ือพิจารณาแยกเป็นพื้นที่ในเขตสูบน้ําด้วยไฟฟ้า พบว่า ผลผลิตด้านพืชเฉลี่ยต่อไร่ ได้แก่ ข้าวเจ้า
นาปีจํานวน 805 กิโลกรัม ข้าวเหนียวนาปีจํานวน 805 กิโลกรัม ข้าวเจ้านาปรังจํานวน 861 กิโลกรัม ข้าวเหนียว
นาปรังจาํ นวน 1,000 กโิ ลกรัม ข้าวโพดเลีย้ งสตั วร์ นุ่ 1 จาํ นวน 600 กิโลกรัม ขา้ วโพดเล้ยี งสัตวร์ ุ่น 2 จาํ นวน 1,167
กิโลกรัม อ้อยโรงงานปีท่ี 1 จํานวน 8,654 กิโลกรัม อ้อยโรงงานปีท่ี 2 จํานวน 6,211 กิโลกรัม อ้อยโรงงานปีท่ี 3
จาํ นวน 13,694 กิโลกรัม ทงุ่ หญ้าเล้ยี งสตั ว์ จํานวน 1,784 กโิ ลกรมั ไม้ผลรวมจํานวน 219 กโิ ลกรัม
รายไดเ้ งนิ สดท่ขี ายได้ด้านพืชเฉล่ียตอ่ ไร่ ได้แก่ ข้าวเจ้านาปจี าํ นวน 4,310 บาท ข้าวเหนียวนาปจี ํานวน
4,955 บาท ข้าวเจ้านาปรังจํานวน 5,137 บาท ข้าวเหนียวนาปรังจํานวน 6,715 บาท ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 1
จํานวน 2,946 บาท ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รุ่น 2 จํานวน 5,347 บาท อ้อยโรงงานปีท่ี 1 จํานวน 11,844 บาท อ้อย
โรงงานปที ี่ 2 จํานวน 7,086 บาท ออ้ ยโรงงานปีที่ 3 จํานวน 16,655 บาท และไม้ผลรวมจาํ นวน 3,750 บาท
รายจ่ายเงินสดในการผลิตด้านพืชเฉลี่ยต่อไร่ ได้แก่ ข้าวเจ้านาปีจํานวน 2,447 บาท ข้าวเหนียวนาปี
จํานวน 2,539 บาท ข้าวเจ้านาปรังจํานวน 2,737 บาท ข้าวเหนียวนาปรังจํานวน 2,276 บาท ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
รุน่ 1 จํานวน 2,727 บาท ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์รุน่ 2 จํานวน 3,066 บาท อ้อยโรงงานปีท่ี 1 จํานวน 4,365 บาท อ้อย
โรงงานปที ี่ 2 จํานวน 1,937 บาท ออ้ ยโรงงานปที ี่ 3 จาํ นวน 5,786 บาท ทุ่งหญา้ เล้ียงสัตว์ จํานวน 1,201 บาท และ
ไม้ผลรวมจํานวน 213 บาท (ตารางที่ 4.16)
สว่ นพ้นื ทน่ี อกเขตสูบนํ้าด้วยไฟฟ้า พบวา่ ผลผลิตด้านพืชเฉล่ียต่อไร่ ได้แก่ ข้าวเจ้านาปีจํานวน
708 กิโลกรัม ข้าวเหนียวนาปีจาํ นวน 722 กโิ ลกรมั ขา้ วเจา้ นาปรังจาํ นวน 833 กิโลกรัม ข้าวเหนียวนาปรังจํานวน
889 กิโลกรัม ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 1 จํานวน 841 กิโลกรัม ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 2 จํานวน 659 กิโลกรัม มัน
สําปะหลังโรงงานจํานวน 2,251 กิโลกรัม อ้อยโรงงานปีที่ 1 จํานวน 8,625 กิโลกรัม อ้อยโรงงานปีท่ี 2 จํานวน
8,382 กิโลกรัม อ้อยโรงงานปีที่ 3 จํานวน 8,537 กิโลกรัม ดาวเรืองเกษตรจํานวน 1,120 กิโลกรัม ทุ่งหญ้าเลี้ยง
สัตว์ จํานวน 1,761 กิโลกรัม องุ่นจํานวน 1,120 กิโลกรัม เมล่อนจํานวน 1,930 กิโลกรัม และไม้ผลรวมจํานวน 25
กโิ ลกรัม
รายได้เงินสดท่ีขายได้ด้านพืชเฉลี่ยต่อไร่ ได้แก่ ข้าวเจ้านาปีจํานวน 3,692 บาท ข้าวเหนียวนาปี
จํานวน 4,097 บาท ข้าวเจ้านาปรังจํานวน 5,456 บาท ข้าวเหนียวนาปรังจํานวน 6,222 บาท ข้าวโพดเล้ียงสัตว์
รุ่น 1 จํานวน 3,562 บาท ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รุ่น 2 จํานวน 3,232 บาท มันสําปะหลังโรงงานจํานวน 3,392 บาท
อ้อยโรงงานปีท่ี 1 จํานวน 12,390 บาท อ้อยโรงงานปีที่ 2 จํานวน 9,697 บาท อ้อยโรงงานปีที่ 3 จํานวน 9,332
บาท ดาวเรืองเกษตรจํานวน 61,333 บาท องุ่นจํานวน 110,000 บาท เมล่อนจํานวน 180,000 บาท และไม้ผลรวม
จํานวน 822 บาท
รายจ่ายเงินสดในการผลิตด้านพืชเฉล่ียต่อไร่ ได้แก่ ข้าวเจ้านาปีจํานวน 2,373 บาท ข้าวเหนียว
นาปีจํานวน 2,333 บาท ข้าวเจ้านาปรังจํานวน 2,768 บาท ข้าวเหนียวนาปรังจํานวน 2,716 บาท ข้าวโพดเล้ียง
สตั วร์ ่นุ 1 จาํ นวน 2,597 บาท ข้าวโพดเลย้ี งสตั วร์ นุ่ 2 จํานวน 4,115 บาท มนั สาํ ปะหลงั โรงงานจํานวน 2,580 บาท
อ้อยโรงงานปีท่ี 1 จํานวน 10,230 บาท อ้อยโรงงานปีท่ี 2 จํานวน 4,672 บาท อ้อยโรงงานปีที่ 3 จํานวน 4,871
บาท ดาวเรืองเกษตรจํานวน 32,373 บาท ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ จํานวน 589 บาท องุ่นจํานวน 89,700 บาท เมล่อน
จาํ นวน 122,800 บาท และไม้ผลรวมจาํ นวน 1,031 บาท (ตารางท่ี 4.17)
42
ตารางที่ 4.13 รายได้ – รายจา่ ยเงนิ สดในการประกอบกจิ กรรมการเกษตรทางด้านพืช ในพืน้ ทีโ่ ครงการ
ปเี พาะปลูก 2559/60
หน่วย : บาท/ไร่
ผลผลติ รายได้ มลู ค่า รายจา่ ยเงินสดในการผลิต
ตอ่ ไร่ เงินสด ผลผลติ ทใี่ ช้
ชนิดพืช (กก./ไร่) ในครัวเรือน คา่ พันธุ์ ค่า คา่ ค่าจา้ ง อืน่ ๆ รวม
ป๋ยุ /ยา นํา้ มัน แรงงาน
ข้าวเจ้านาปี 785 4,160 274 254 812 120 1,070 172 2,428
ข้าวเหนียวนาปี 735 4,019 455 331 771 102 939 204 2,347
ขา้ วเจา้ นาปรงั 854 5,107 23 294 858 123 1,180 278 2,733
ขา้ วเหนียวนาปรงั 976 6,608 33 347 748 125 871 280 2,371
ขา้ วโพดเลี้ยงสัตวร์ ่นุ 1 801 3,359 - 509 695 82 1,199 39 2,524
ขา้ วโพดเลยี้ งสตั วร์ ุ่น 2 917 4,306 - 777 1,115 625 899 167 3,583
ถว่ั เขียวผิวมัน 61 1,391 - 243 52 26 513 98 932
ถว่ั ดํา 467 14,000 - 3,200
มันสาํ ปะหลงั โรงงาน 3,143 4,471 - 1,333 1067 333 467 - 2,657
- 18 508 227 1904
ออ้ ยโรงงานปที ี่ 1 11,468 12,527 - 1,186 1,078 32 4,760 52 7,108
อ้อยโรงงานปีท่ี 2 8,719 9,997 - - 844 32 2,824 479 4,179
ออ้ ยโรงงานปที ่ี 3 9,672 10,811 - 162 1,115 82 3,587 173 5,119
งา 15 450
ถว่ั เลสิ งรุ่น 2 291 4,364 - 150 105 169 - 250 674
- 727 105 168 - 250 1,250
ถั่วฝกั ยาว 538 12,500 238 769 6,154 - - - 6,923
ผกั สวนครัวรวม 500 50 4,950 - - - - - -
ดาวเรอื งเกษตร 1,120 61,333 - 8,000 19,573 3,333 800 667 32,373
ทงุ่ หญ้าเลี้ยงสัตว์
ทุเรียน 3,927 -* 3,927 64 106 261 265 3 699
8 200 - - 140 - - - 140
ลําไย -- - - 160 - - - 160
มะขามเปร้ียว -- - 133 - - - - 133
องนุ่ 1,120 110,000 2,000 60,000 3,700 2,000 24,000 - 89,700
กลว้ ยนา้ํ ว้า 541 635 47 1,929 1,718 649 1,506 - 5,802
มะมว่ งหิมพานต์ 21 1,022 -- - 1,998
325 86 1,587
มะนาว -- - 6,000 800 - 2,000 6,000 14,800
เมล่อน 1,930 180,000 13,000 60,000 36,800 2,000 24,000 - 122,800
หน่อไม้ไผ่ 315 3,750 225 - - 700 - 50 750
ไมส้ ัก
ไม้ยนื ตน้ รวม -- - - - 12 346 - 358
-- - - - 42 83 - 125
ไม้ผลรวมอืน่ ๆ 98 1,535 223 921 292 41 491 - 1,745
ไรน่ าสวนผสม 182 5,455 - - 82 - 182 818 1,082
ไม้ผลไมย้ นื ต้นอื่น ๆ 48 1,659 117 - 240 118 - 37 396
ทม่ี า : จากการวิเคราะห์
องนุ่ และเมล่อน ปลกู แบบกางมุ้ง
43
ตารางท่ี 4.14 รายได้ – รายจ่ายเงนิ สดในการประกอบกิจกรรมการเกษตรทางด้านพชื นอกพนื้ ทโ่ี ครงการ
ปีเพาะปลกู 2559/60
หน่วย : บาท/ไร่
ผลผลติ รายได้ มลู ค่า รายจา่ ยเงนิ สดในการผลิต
ต่อไร่ เงินสด ผลผลิตทีใ่ ช้
ชนิดพชื (กก./ไร)่ ในครัวเรอื น ค่าพันธุ์ คา่ ค่า คา่ จ้าง อืน่ ๆ รวม
ปุย๋ /ยา นา้ํ มนั แรงงาน
ขา้ วเจา้ นาปี 833 5,093 173 341 799 144 977 235 2,496
ขา้ วเหนียวนาปี 680 6,600 880 340 660 - 1,410 200 2,610
ข้าวเจ้านาปรงั 952 5,948 - 384 804 156 1,137 387 2,868
ขา้ วโพดเลี้ยงสตั วร์ นุ่ 1 916 3,970 - 517 771 87 1,268 118 2,761
มนั สําปะหลงั โรงงาน 1,241 2,169 - - 386 229 1,811 67 2,493
ออ้ ยโรงงานปีที่ 1 8,654 10,269 - 1,400 1,131 38 4,108 417 7,094
ออ้ ยโรงงานปีที่ 2 5,832 6,887 - - 684 227 2,118 659 3,688
ออ้ ยโรงงานปีที่ 3 7,606 8,626 - - 910 29 3,240 311 4,490
ถั่วเลสิ งรนุ่ 1 638 6,000 - 750 150 100 1,775 - 2,775
ผกั อ่ืนๆ 533 8,000 - 533 507 267 - - 1,307
ผกั สวนครัวรวม 528 147 5,253 - - - 588 - 588
ทงุ่ หญ้าเลยี้ งสัตว์ 3,650 -* 3,650 ---- - -
ลองกอง -- - - 624 100 - - 724
มะขามเปรี้ยว -- - - - - 1000 - 1,000
มะขามหวาน 4 - 145 ---- - -
กล้วยนํ้าวา้ 600 - - - - 4,000 - - 4,000
มะมว่ งหิมพานต์ 33 1,486 - - 194 11 634 4 843
ไมผ้ ลรวมอน่ื ๆ 72 2,930 167 - 381 279 - - 660
ไม้ผลไมย้ นื ต้นอื่น ๆ 60 444 156 4,100 6,051 489 7,136 1,822 19,598
ที่มา : จากการวเิ คราะห์
44
ตารางท่ี 4.15 รายได้ – รายจา่ ยเงินสดในการประกอบกจิ กรรมการเกษตรทางดา้ นพชื รวมพ้ืนท่ีท้ังโครงการ
ปเี พาะปลูก 2559/60
หน่วย : บาท/ไร่
ผลผลติ รายได้ มลู ค่า รายจา่ ยเงนิ สดในการผลิต
ตอ่ ไร่ เงินสด ผลผลิตท่ีใช้
ชนดิ พืช (กก./ไร)่ ในครวั เรือน ค่าพันธ์ุ คา่ คา่ ค่าจ้าง อื่น ๆ รวม
ปยุ๋ /ยา นาํ้ มนั แรงงาน
ข้าวเจา้ นาปี 788 4,211 268 259 811 121 1,067 175 2,433
ข้าวเหนียวนาปี 730 4,253 489 332 761 92 982 204 2,371
ขา้ วเจ้านาปรงั 859 5,155 22 298 854 124 1,180 283 2,739
ข้าวเหนียวนาปรัง 976 6,608 33 347 748 125 871 280 2,371
ขา้ วโพดเล้ียงสตั วร์ ุน่ 1 838 3,554 - 511 719 84 1,221 64 2,599
ข้าวโพดเล้ียงสตั วร์ นุ่ 2 917 4,306 - 777 1,115 625 899 167 3,583
ถว่ั เขียวผิวมนั 61 1,391 - 243 52 26 513 98 932
ถวั่ ดํา 467 14,000 - 1,333 1,067 333 467 - 3,200
มนั สาํ ปะหลงั โรงงาน 2,251 3,391 - 9 451 228 1,860 32 2,580
ออ้ ยโรงงานปีที่ 1 9,796 12,099 - 1,226 1,088 33 4,636 122 7,105
อ้อยโรงงานปที ่ี 2 7,878 9,090 - - 798 89 2,618 531 4,036
อ้อยโรงงานปีที่ 3 9,306 10,423 - 133 1,079 72 3,526 197 5,007
งา 15 450 - 150 105 169 - 250 674
ถั่วเลิสงรนุ่ 1 638 6,000 - 750 150 100 1,775 - 2,775
ถว่ั เลิสงรนุ่ 2 291 4,364 - 727 105 168 - 250 1,250
ถว่ั ฝักยาว 538 12,500 238 769 6,154 - - - 6,923
ผกั อื่นๆ 533 8,000 - 533 507 267 - - 1,307
ผักสวนครวั รวม 525 137 5,221 - - - 526 - 526
ดาวเรืองเกษตร 1,120 61,333 - 8,000 19,573 3,333 800 667 32,373
ทุ่งหญ้าเล้ียงสตั ว์ 3,917 -* 3,917 62 102 252 255 3 674
ทเุ รยี น 8 200 - - 140 - - - 140
ลําไย -- - - 160 - - - 160
ลองกอง -- - - 624 100 - - 724
มะขามเปร้ียว -- - 67 - - 500 - 567
มะขามหวาน 4 - 145 ---- - -
องุ่น 1,120 110,000 2,000 60,000 3,700 2,000 24,000 - 89,700
กล้วยนํา้ ว้า 544 600 378 1,822 1,622 836 1,422 - 5,702
มะมว่ งหิมพานต์ 25 1,184 - - 279 60 1,254 2 1,595
มะนาว -- - 6,000 800 - 2,000 6,000 14,800
เมล่อน 1,930 180,000 13,000 60,000 36,800 2,000 24,000 - 122,800
หนอ่ ไม้ไผ่ 315 3,750 225 - - 700 - 50 750
ไม้สัก -- - - - 12 346 - 358
ไม้ยืนตน้ รวม -- - - - 42 83 - 125
ไมผ้ ลรวมอ่ืน ๆ 89 2,030 240 594 323 125 317 - 1,359
ไร่นาสวนผสม 182 5,455 - - 82 - 182 818 1,082
ไม้ผลไม้ยืนตน้ อื่น ๆ 50 1,476 167 618 1,116 174 1,075 306 3,289
ที่มา : จากการวิเคราะห์
หมายเหตุ : มลู คา่ ผลผลิตทเ่ี กษตรกรไดร้ ับ เท่ากับ รายได้เงนิ สดจากการขายผลผลิตรวมกบั มลู ค่าผลผลิตทใี่ ช้ในครวั เรอื น
45
ตารางท่ี 4.16 รายได้ – รายจา่ ยเงินสดในการประกอบกิจกรรมการเกษตรทางดา้ นพืช
ในเขตพนื้ ท่ีสบู นา้ํ ด้วยไฟฟ้า ปีเพาะปลูก 2559/60
หน่วย : บาท/ไร่
ผลผลติ รายได้ มลู ค่า รายจา่ ยเงนิ สดในการผลิต
ตอ่ ไร่ เงนิ สด ผลผลิตทีใ่ ช้
ชนิดพืช (กก./ไร)่ ในครัวเรือน คา่ พนั ธ์ุ คา่ คา่ คา่ จา้ ง อ่นื ๆ รวม
ปุ๋ย/ยา นํ้ามัน แรงงาน
ขา้ วเจ้านาปี 805 4,310 252 259 825 126 1,059 178 2,447
ข้าวเหนียวนาปี 805 4,955 496 587 507 120 1,150 175 2,539
ข้าวเจ้านาปรงั 861 5,137 22 294 863 125 1,181 274 2,737
ข้าวเหนียวนาปรัง 1,000 6,715 42 265 725 82 847 357 2,276
ข้าวโพดเล้ียงสตั วร์ ุ่น 1 600 2,946 - 535 619 - 1,063 510 2,727
ขา้ วโพดเลย้ี งสัตวร์ ุ่น 2 1,167 5,347 - 689 883 230 1,014 250 3,066
ถั่วเขยี วผวิ มนั 33 1,111 - 178 - 67 200 250 695
ถั่วดาํ 467 14,000 - 1,333 1,067 333 467 - 3,200
อ้อยโรงงานปีท่ี 1 8,654 11,844 - 548 921 18 2,826 52 4,365
ออ้ ยโรงงานปีที่ 2 6,211 7,086 - - 263 18 1,656 - 1,937
อ้อยโรงงานปที ี่ 3 13,694 16,655 - - 1,212 63 4,457 54 5,786
งา 15 450 - 150 105 169 - 250 674
ถว่ั เลสิ งรุน่ 2 291 4,364 - 727 105 168 - 250 1,250
ผักสวนครัวรวม 527 156 5,238 - - - 625 - 625
ทงุ่ หญา้ เลย้ี งสัตว์ 3,934 - 3,934 - 53 632 516 - 1,201
มะม่วงหิมพานต์ 70 3,500 - - ---- -
ไมผ้ ลรวมอ่ืน ๆ 219 3,750 235 - 175 38 - - 213
ไร่นาสวนผสม 182 5,455 - - - - - 818 818
ไม้ผลไม้ยนื ตน้ อ่ืน ๆ 16 167 35 749 1,169 187 1,304 333 3,742
ที่มา : จากการวิเคราะห์
46
ตารางที่ 4.17 รายได้ – รายจา่ ยเงินสดในการประกอบกิจกรรมการเกษตรทางด้านพชื
นอกเขตพ้ืนท่ีสูบน้ําด้วยไฟฟ้า ปีเพาะปลูก 2559/60
หน่วย : บาท/ไร่
ผลผลติ รายได้ มูลคา่ รายจา่ ยเงินสดในการผลิต
ตอ่ ไร่ เงินสด ผลผลติ ทีใ่ ช้
ชนดิ พืช (กก./ไร่) ในครัวเรือน คา่ พันธ์ุ ค่า คา่ ค่าจ้าง อ่นื ๆ รวม
ปยุ๋ /ยา น้าํ มนั แรงงาน
ขา้ วเจ้านาปี 708 3,692 368 279 727 103 1,106 158 2,373
ข้าวเหนียวนาปี 722 4,097 622 275 817 86 945 210 2,333
ข้าวเจ้านาปรัง 833 5,456
ข้าวเหนียวนาปรงั 889 6,222 - 306 746 104 1,146 466 2,768
- 643 834 281 958 - 2,716
ข้าวโพดเลยี้ งสตั วร์ ุน่ 1 841 3,562 - 511 720 85 1,223 58 2,597
ข้าวโพดเล้ยี งสตั วร์ ุ่น 2 659 3,232 - 869 1,354 1,031 780 81 4,115
ถว่ั เขยี วผวิ มนั 79 1,571 - 286 86 - 714 - 1,086
มนั สําปะหลงั โรงงาน 2,251 3,392 - 9 451 228 1,860 32 2,580
ออ้ ยโรงงานปีที่ 1 8,625 12,390 - 2,000 1,278 50 6,701 201 10,230
อ้อยโรงงานปีที่ 2 8,382 9,697 - - 960 110 2,910 692 4,672
อ้อยโรงงานปที ่ี 3 8,537 9,332 - 156 1,055 74 3,363 223 4,871
ถัว่ เลิสงรนุ่ 1 638 6,000 - 750 150 100 1,775 - 2,775
ถั่วฝักยาว 538 12,500 - 6,923
ผักอื่นๆ 533 8,000 238 769 6,154 - - - 1,307
- 533 507 267 -
ผักสวนครวั รวม 517 33 5,133 ---- - -
ดาวเรืองเกษตร 1,120 61,333 - 8,000 19,573 3,333 800 667 32,373
ทงุ่ หญ้าเล้ยี งสัตว์ 3,761 - 3,761 70 103 204 209 3 589
ทุเรียน - 140 - - - 140
ลําไย 8 200 - - 229 - - - 229
-- -
ลองกอง -- - - 624 100 - - 724
มะขามเปร้ียว -- - 67 - - 500 - 567
มะขามหวาน 4- - ---- --
องนุ่ 1,120 110,000 2,000 60,000 3,700 2,000 24,000 - 89,700
กล้วยน้าํ ว้า - 2,769
544 600 378 667 733 569 800
มะม่วงหิมพานต์ 2,471 2,972 - - 285 61 1,279 2 1,627
มะนาว -- - 6,000 800 - 2,000 6,000 14,800
เมลอ่ น 1,930 180,000 13,000 60,000 36,800 2,000 24,000 - 122,800
หน่อไมไ้ ผ่ 315 3,750 225 -- 700 - 50 750
ไมส้ กั -- - -- 12 346
- 358
ไม้ยืนตน้ รวม -- - - - 42 83 - 125
ไมผ้ ลรวมอน่ื ๆ 25 822 200 470 219 91 251 - 1,031
ไมผ้ ลไมย้ นื ตน้ อ่ืน ๆ 206 7,619 610 - 867 76 - 179 1,122
ทม่ี า : จากการวเิ คราะห์
47
4.2.4 รายได้เงินสดการเกษตร ในการผลิตทางการเกษตรปีเพาะปลูก 2559/60 เกษตรกรมีรายได้เป็น
เงินสดในการเกษตร มีรายละเอยี ดดงั นีค้ ือ
1) ด้านพืช รายได้เงินสดด้านพืชรวมท้ังหมด 144,144 บาท/ครัวเรือน ส่วนใหญ่เป็นรายได้เงิน
สดจากการปลูกข้าวเจ้านาปีจํานวน 60,489 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 41.96 รองลงมาเป็นรายได้จากการปลูกข้าว
เจ้านาปรังจํานวน 52,624 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 36.51 ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ รุ่น 1 จํานวน 7,238 บาท หรือคิด
เป็นร้อยละ 5.02 อ้อยโรงงานปีท่ี 1-3 จํานวน 4,144 5,574 และ 9,700 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 2.87 3.87
และ 6.73 ตามลําดับ (ตารางที่ 4.18)
ตารางท่ี 4.18 รายได้ – รายจ่ายเงนิ สดในการประกอบกิจกรรมการเกษตรทางด้านพืช
รวมพน้ื ที่ทัง้ โครงการ ปเี พาะปลกู 2559/60
หน่วย : บาท/ครัวเรือน
ผลผลิต รายได้ มูลคา่ รายจ่ายเงินสดในการผลิต
ต่อไร่ เงินสด ผลผลติ ทีใ่ ช้
ชนิดพชื (กก./ไร)่ ในครวั เรอื น ค่าพันธ์ุ คา่ ค่า คา่ จ้าง อ่นื ๆ รวม
ป๋ยุ /ยา น้ํามนั แรงงาน
ขา้ วเจา้ นาปี 788 60,489 3,854 3,725 11,647 1,742 15,325 2,513 34,952
ข้าวเหนียวนาปี 730 587 68 46 105 13 136 28 328
ขา้ วเจ้านาปรงั 859 52,624 220 3,046 8,723 1,271 12,043 2,893 27,976
ขา้ วเหนียวนาปรัง 976 516 3 27 58 10 68 22 185
ข้าวโพดเลย้ี งสัตวร์ ุ่น 1 838 7,238 - 1,041 1,464 171 2,487 130 5,293
ข้าวโพดเลยี้ งสตั ว์รุ่น 2 917 700 - 126 181 102 146 27 582
ถว่ั เขียวผวิ มนั 61 40 - 7 2 1 15 3 28
ถั่วดาํ 467 53 - 5 4 1 2 - 12
มันสําปะหลงั 2,251 1,341 - 4 178 90 735 13 1,020
โรงงาน
ออ้ ยโรงงานปีที่ 1 9,796 4,144 - 420 373 11 1,588 42 2,434
อ้อยโรงงานปีท่ี 2 7,878 5,574 - - 489 55 1,605 326 2,475
ออ้ ยโรงงานปที ี่ 3 9,306 9,700 - 124 1,004 67 3,281 184 4,660
งา 15 2 - 111 -1 4
ถว่ั เลิสงรุ่น 1 638 30 - 4 1 1 9 - 15
ถั่วเลสิ งรุน่ 2 291 30 1 511 -2 9
ถว่ั ฝักยาว 538 4 - -2 - - - 2
ผักอ่ืนๆ 533 75 - 5 5 3 - - 13
ผกั สวนครัวรวม 525 1 25 - - - 3 - 3
ดาวเรืองเกษตร 1,120 115 - 15 37 6 2 1 61
ทงุ่ หญ้าเลีย้ งสตั ว์ 3,917 -* 2,430 26 43 107 108 1 285
ทุเรียน 85 - -4 - - - 4
ลาํ ไย -- - -2 - - 2
ลองกอง -- - -81 - - 9
มะขามเปร้ียว -- 1 -8 - - - 8
มะขามหวาน 4- 2 ----- -
องนุ่ 1,120 138 3 75 5 3 30 - 113
กล้วยนํ้าวา้ 544 7 4 21 18 9 16 - 64
มะม่วงหิมพานต์ 25 148 - - 35 7 157 - 199
มะนาว -- - 15 2 - 5 15 37
48
ตารางท่ี 4.18 (ตอ่ ) รายได้ – รายจ่ายเงินสดในการประกอบกจิ กรรมการเกษตรทางด้านพชื
รวมพื้นทท่ี ้ังโครงการ ปเี พาะปลูก 2559/60
หนว่ ย : บาท/ครวั เรอื น
ผลผลิต รายได้ มูลค่า รายจา่ ยเงินสดในการผลิต
ตอ่ ไร่ เงนิ สด ผลผลิตท่ใี ช้
ชนดิ พชื (กก./ไร)่ ในครัวเรือน คา่ พนั ธุ์ คา่ คา่ ค่าจ้าง อ่นื ๆ รวม
ปยุ๋ /ยา นาํ้ มัน แรงงาน
เมลอ่ น 16 75
หนอ่ ไมไ้ ผ่ 1,930 225 1 - 46 3 30 - 154
ไมส้ กั - -
ไมย้ นื ตน้ รวม 315 19 - - -4 - - 4
ไมผ้ ลรวมอืน่ ๆ 18
ไรน่ าสวนผสม -- - 45 - 1 23 - 24
ไมผ้ ลไมย้ ืนตน้ อ่ืน ๆ 12 -
-- 6,658 -13 - 4
รวมพชื 46
89 154 8,904 25 10 24 - 104
182 75 1 - 3 11 15
50 110 83 13 80 23 245
- 144,144 24,555 3,705 37,924 6,235 81,323
ทมี่ า : จากการวิเคราะห์
หมายเหตุ : มูลค่าผลผลิตท่เี กษตรได้รับเทา่ กบั รายได้เงินสดจากการขายผลผลิตรวมกับมูลคา่ ผลผลติ ทีใ่ ช้ในครวั เรือน
ค่า * คอื ใชภ้ ายในฟารม์ ตนเอง
2) ด้านปศุสัตว์ รายได้เงินสดด้านปศุสัตว์รวมท้ังหมด 22,387 บาท/ครัวเรือน ส่วนใหญ่เป็น
รายได้เงินสดจากการเล้ียงโคจํานวน 12,674 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 56.61 รองลงมาเป็นรายได้จากการเลี้ยงสุกร
จํานวน 9,396 บาท หรือคิดเป็นรอ้ ยละ 41.97 ไก่พื้นเมอื ง/ไกบ่ ้านจํานวน 191 บาท หรือคิดเปน็ ร้อยละ 0.85 รายได้
จากการเลย้ี งไก่ชนจาํ นวน 82 บาท หรือคดิ เป็นรอ้ ยละ 0.37 (ตารางที่ 4.19)
ตารางที่ 4.19 รายได้ - รายจ่ายเงนิ สดในการประกอบกจิ กรรมการเกษตรทางด้านปศุสตั ว์
หน่วย : บาท/ครวั เรือน
รายได้ มลู คา่ ผลผลติ รายจา่ ยเงนิ สดในการผลิต
เงินสด ปศสุ ัตวท์ ีใ่ ช้
ชนิดปศสุ ัตว์ ในครวั เรือน คา่ พนั ธ์ุ คา่ อาหาร/ คา่ จ้าง อ่นื ๆ รวม
คา่ ยา แรงงาน
ไก่พ้ืนเมือง/ไกบ่ า้ น 191 158 13 113 - - 126
ไกไ่ ข่ 2 - 20 13 - 1 34
ไกช่ น 82 41 50 88 - - 138
เป็ดไข่ -- 15 - - 6
เป็ดเนอ้ื 5- 8- - - 8
สุกร 9,396 8 356 6,728 88 - 7,172
กระบอื -- - 38 1 - 39
โค 12,674 - 5,595 291 335 301 6,522
ไขไ่ ก่/ไขเ่ ป็ด 37 36 -- - - -
รวมปศสุ ตั ว์ 22,387 243 6,043 7,276 424 302 14,045
3) ด้านสัตว์นํ้า รายได้เงินสดด้านสัตว์น้ํารวมทั้งหมด 1,507 บาท/ครัวเรือน เป็นรายได้เงินสด
จากการเลี้ยงปลานํ้าจืดจํานวน 825 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 54.74 การเลี้ยงกบจํานวน 682 บาท หรือคิดเป็นร้อย
45.26 (ตารางที่ 4.20)
49
ตารางที่ 4.20 รายได้ - รายจา่ ยเงินสดในการประกอบกจิ กรรมการเกษตรทางดา้ นสัตวน์ าํ้
หน่วย : บาท/ครวั เรอื น
รายได้ มลู คา่ ผลผลิต รายจา่ ยเงนิ สดในการผลิต
เงินสด สตั วน์ า้ํ ท่ีใช้
ชนิดสัตวน์ ํ้า ในครัวเรอื น ค่าพันธุ์ ค่าอาหาร/ ค่าจ้าง อนื่ ๆ รวม
ค่ายา แรงงาน
กบ 682 1 190 135 46 - 371
ปลานา้ํ จืด 825 1,106 475 489 - 4 968
รวมสัตวน์ ํ้า 1,507 1,107 665 624 46 4 1,339
ทีม่ า : จากการวิเคราะห์
4) ด้านอ่ืนๆ เป็นรายได้เงินสดอื่นๆท้ังในเขตและนอกเขตโครงการ จํานวน 23.832 บาท/
ครวั เรือน (ตารางท่ี 4.25)
4.2.5 รายจ่ายเงินสดการเกษตร ในการผลิตทางการเกษตรปีเพาะปลูก 2559/60 เกษตรกรมีรายจ่าย
เปน็ เงินสดในการเกษตร มรี ายละเอียดดังนค้ี อื
1) ดา้ นพืช รายจ่ายเงินสดด้านพืชรวมท้ังหมด 81,323 บาท/ครัวเรือน โดยแยกเป็นค่าพันธุ์ ค่า
ปุ๋ย/ยา ค่าน้ํามัน ค่าจ้างแรงงาน และอ่ืน ๆ จํานวน 8,904 24,555 3,705 37,924 และ 6,235 บาท/
ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 10.95 30.19 4.56 46.63 และ 7.67 ตามลําดับ ส่วนใหญ่เป็นรายจ่ายเงินสด
จากการปลูกข้าวเจ้านาปีจํานวน 34,952 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 42.98 รองลงมาเป็นรายจ่ายจากการปลูกข้าวเจ้า
นาปรังจํานวน 27,976 บาท หรอื คดิ เป็นรอ้ ยละ 34.40 ขา้ วโพดเลย้ี งสตั ว์ รนุ่ 1 จํานวน 5,293 บาท หรือคิดเป็นร้อย
ละ 6.51 อ้อยโรงงานปีที่ 3 จํานวน 4,660 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 5.73 อ้อยโรงงานปีท่ี 2 จํานวน 2,475 บาท
หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3.04 และอ้อยโรงงานปที ี่ 1 จาํ นวน 2,434 บาท หรือคิดเปน็ ร้อยละ 2.99 (ตารางที่ 4.18)
2) ด้านปศุสัตว์ รายจ่ายเงินสดด้านปศุสัตว์รวมท้ังหมด 14,045 บาท/ครัวเรือน โดยแยกเป็น
คา่ พันธ์ุ ค่าอาหาร/ยา คา่ จา้ งแรงงาน และอ่ืน ๆ จํานวน 6,043 7,276 424 และ 302 บาท/ครัวเรือน หรือคิด
เป็นร้อยละ 43.03 51.80 3.02 และ 2.15 ตามลําดับ ส่วนใหญ่เป็นรายจ่ายเงินสดจากการเล้ียงสุกรจํานวน
7,172 บาท หรือคิดเปน็ ร้อยละ 51.06 รองลงมาเป็นรายจ่ายจากการเล้ียงโคจํานวน 6,522 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ
46.44 และรายจ่ายจากการเล้ียงไก่พื้นเมือง/ไก่บ้านจํานวน 126 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 0.90 ส่วนใหญ่การเลี้ยง
ไก่เกษตรกรจะปลอ่ ยตามบา้ นคา่ ใชจ้ ่ายจึงมนี อ้ ย (ตารางท่ี 4.19)
3) ด้านสัตว์น้ํา รายจ่ายเงินสดด้านสัตว์นํ้ารวมท้ังหมด 1,339 บาท/ครัวเรือน โดยแยกเป็นค่า
พันธุ์ ค่าอาหาร/ยา ค่าจ้างแรงงาน และอื่น ๆ จํานวน 665 624 46 และ 4 บาท/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ
49.66 46.60 3.44 และ 0.30 ตามลําดับ เป็นรายจ่ายเงินสดจากการเลี้ยงปลานํ้าจืดจํานวน 968 บาท/ครัวเรือน
หรือคิดเป็นร้อยละ 72.29 ส่วนใหญ่เป็นการเล้ียงปลาปล่อยตามธรรมชาติ และรายจ่ายเงินสดจากการเล้ียงกบ
จํานวน 371 บาท/ครวั เรือน หรือคดิ เปน็ ร้อยละ 27.71 (ตารางท่ี 4.20)
4) ด้านอ่ืนๆ เป็นรายจ่ายเงินสดอื่นๆท้ังในเขตและนอกเขตโครงการ จํานวน 15.964 บาท/
ครัวเรือน (ตารางท่ี 4.25)
4.2.6 มูลค่าผลิตผลที่นํามาบริโภคในครัวเรือน จากการทําการเกษตรตลอดท้ังปีเพาะปลูก 2559/60
เกษตรกรได้นาํ ผลผลติ การเกษตรภายในฟาร์มตนเองมาบรโิ ภคและใชใ้ นครวั เรอื น มรี ายละเอียดดังนคี้ อื
1) ด้านพืช เกษตรกรได้นําผลผลิตมาบริโภคและใช้ในครัวเรือนจํานวน 6,658 บาท/ครัวเรือน
ไดแ้ ก่ ขา้ วเจ้านาปี/นาปรัง ข้าวเหนยี วนาปี ผักสวนครัว เมลอ่ น กลว้ ยน้าํ วา้ ไมผ้ ลรวม เป็นต้น (ตารางท่ี 4.18)
2) ด้านปศุสัตว์ เกษตรกรได้นําผลผลิตมาบริโภคและใช้ในครัวเรือนจํานวน 243 บาท/ครัวเรือน
ไดแ้ ก่ ไก่พน้ื เมือง/ไก่บา้ น ไกช่ น ไข่ไก/่ ไข่เปด็ สกุ ร (ตารางท่ี 4.19)
50
3) ด้านสัตว์นํ้า เกษตรกรได้นําผลผลิตมาบริโภคและใช้ในครัวเรือนจํานวน 1,107 บาท/
ครัวเรอื น ได้แก่ ปลาน้ําจืด และกบ (ตารางที่ 4.20)
4.2.7 รายได้สทุ ธิเกษตร ในการผลิตทางการเกษตรปเี พาะปลกู 2559/60 มีรายละเอยี ดดงั นี้ คอื
1) ด้านพชื รายไดเ้ งินสดสุทธจิ ากการปลูกพืชเฉลี่ย 62,821 บาท/ครัวเรือน สําหรับมูลค่าผลผลิต
พืชท่ีใช้ในครัวเรือนหมายถึงมูลค่าผลผลิตพืชรวมหักมูลค่าผลผลิตพืชขายเฉล่ีย 6,658 บาท/ครัวเรือน สรุปรายได้
สุทธิจากการปลูกพืชหมายถึงรายได้เงินสดสุทธิจากการปลูกพืชรวมกับมูลค่าผลผลิตพืชท่ีใช้ในครัวเรือนเท่ากับเฉล่ีย
69,479 บาท/ครวั เรือน
เมื่อพิจารณารายละเอียดพบว่า รายได้สุทธิของข้าวเจ้านาปีจํานวน 29,391 บาท/ครัวเรือน หรือ
คิดเป็นร้อยละ 42.30 รองลงมาเป็นข้าวเจ้านาปรังจํานวน 24,868 บาท/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 35.79 อ้อย
โรงงานปีที่ 3 จํานวน 5,040 บาท/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 7.25 อ้อยโรงงานปีที่ 2 จํานวน 3,099 บาท/
ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 4.46 หญ้าเลี้ยงสัตว์ จํานวน 2,145 บาท/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ3.09 อ้อย
โรงงานปีท่ี 1 จํานวน 1,710 บาท/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 2.46 ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ รุ่น 1 จํานวน 1,945
บาท/ครวั เรือน หรือคดิ เป็นรอ้ ยละ 2.80 (ตารางท่ี 4.21)
ตารางท่ี 4.21 รายได้สุทธจิ ากการปลูกพชื ปเี พาะปลูก 2559/60
ชนดิ พืช รายได้เงนิ สดสุทธิ มลู คา่ ผลผลติ พืช หนว่ ย : บาท/ครวั เรอื น
จากการปลกู พืช 1 ทีใ่ ช้ในครัวเรือน 2 รายไดส้ ทุ ธิ
ขา้ วเจา้ นาปี จากการปลกู พืช 1 + 2
ข้าวเหนียวนาปี 25,537 3,854 29,391
ขา้ วเจา้ นาปรงั 259 68 327
ข้าวเหนียวนาปรัง 220 24,868
ขา้ วโพดเลี้ยงสัตวร์ ่นุ 1 24,648 3 334
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ร่นุ 2 331 - 1,945
ถวั่ เขียวผวิ มัน - 118
ถว่ั ดํา 1,945 - 12
มันสําปะหลงั โรงงาน 118 - 41
ออ้ ยโรงงานปที ่ี 1 12 - 321
ออ้ ยโรงงานปีที่ 2 41 - 1,710
ออ้ ยโรงงานปีที่ 3 321 - 3,099
งา - 5,040
ถว่ั เลสิ งรุน่ 1 1,710 - -2
ถ่ัวเลิสงร่นุ 2 3,099 - 15
ถั่วฝักยาว 5,040 1 22
ผักอืน่ ๆ - 2
ผักสวนครวั รวม -2 - 62
ดาวเรืองเกษตร 15 25 23
ท่งุ หญา้ เล้ยี งสตั ว์ 21 - 54
ทุเรียน 2 2,145
ลําไย 62 2,430 1
ลองกอง -2 - -2
มะขามเปร้ียว 54 - -9
มะขามหวาน - 285 - -7
1 1 2
-2 2
-9
-8
-
51
ตารางที่ 4.21 (ต่อ) รายไดส้ ทุ ธจิ ากการปลูกพชื ปีเพาะปลกู 2559/60
หน่วย : บาท/ครวั เรือน
ชนดิ พืช รายไดเ้ งินสดสทุ ธิ มลู ค่าผลผลติ พืช รายไดส้ ทุ ธิ
จากการปลูกพชื 1 ท่ใี ช้ในครวั เรือน 2 จากการปลกู พืช 1 + 2
อง่นุ 25 3 28
กล้วยนํ้าวา้ - 57 4 - 53
มะมว่ งหิมพานต์ - 51 - - 51
มะนาว - 37 - - 37
เมล่อน 71 16 87
หนอ่ ไม้ไผ่ 15 1 16
ไม้สกั - 24 - - 24
ไม้ยืนต้นรวม -4 - -4
ไม้ผลรวมอ่ืน ๆ 50 18 68
ไร่นาสวนผสม 60 - 60
ไมผ้ ลไมย้ นื ต้นอ่ืน ๆ - 135 12 - 123
รวมพืช 62,821 6,658 69,479
ทมี่ า : จากการสํารวจ
หมายเหตุ : มูลคา่ ผลผลิตพชื ท่ใี ช้ในครวั เรือนคอื รวมมลู ค่าบรโิ ภคในครวั เรือน/เก็บไว้ทาํ พนั ธุ์/แจกใหญ้ าตพิ ี่น้อง/คงเหลือ
ปลายปี
2) ด้านปศุสตั ว์ รายไดเ้ งนิ สดสุทธิจากดา้ นปศสุ ัตว์ จากการสํารวจพบว่า มีรายได้เงินสดสุทธิเฉล่ีย
8,342 บาท/ครัวเรือน มูลค่าผลผลิตปศุสัตว์ท่ีใช้ในครัวเรือนเฉลี่ย 243 บาท/ครัวเรือน ส่วนต่างมูลค่าปศุสัตว์ต้นปี
และปลายปีเฉลี่ย 1,905 บาท/ครัวเรือน เนื่องจากเกษตรกรมีการเลี้ยงโคซึ่งมีส่วนต่างถึง 1,215 บาท/ครัวเรือน ทํา
ให้โดยภาพรวมของครัวเรือนเกษตรมีค่าเป็นบวก สรุปรายได้สุทธิเฉลี่ย 10,490 บาท/ครัวเรือน หมายเหตุ : มูลค่า
ผลผลิตปศุสัตว์ท่ีใช้ในครัวเรือนคือ รวมมูลค่าบริโภคในครัวเรือน นํามาแปรรูป และแจกให้ญาติพ่ีน้อง (ตารางที่
4.22)
ตารางที่ 4.22 รายได้สทุ ธิจากการเล้ียงปศุสตั ว์ ปีเพาะปลกู 2559/60
หน่วย : บาท/ครัวเรือน
ชนิดปศุสตั ว์ รายไดเ้ งนิ สดสุทธิ มูลคา่ ผลผลติ ส่วนตา่ งมูลค่า รายไดส้ ทุ ธิจากการ
จากการ ปศสุ ตั ว์ทีใ่ ช้ ปศุสตั ว์ต้นปี เล้ียงปศุสตั ว์ 1 + 2 + 3
ในครัวเรอื น 2 และปลายปี 3
เลย้ี งปศุสัตว์ 1
ไก่พนื้ เมือง/ไกบ่ า้ น 65 158 - 118 105
ไก่ไข่ - 32 - 12 - 20
ไกช่ น - 56 41 16 1
เป็ดไข่ -6 - 4 -2
เปด็ เนอ้ื -3 - - -3
สุกร 2,224 8 443 2,675
กระบอื - 39 - 333 294
โค 6,152 - 1,215 7,367
ไข่ไก/่ ไข่เปด็ 37 36 - 73
รวมปศุสตั ว์ 8,342 243 1,905 10,490
ทม่ี า : จากการสาํ รวจ
หมายเหตุ : รายไดส้ ุทธิจากการเลีย้ งปศุสัตว=์ รายไดเ้ งนิ สดสุทธจิ ากการเลี้ยงปศสุ ัตว์ + มลู ค่าผลผลติ ปศสุ ัตวท์ ่ีใช้ในครวั เรอื น +
ส่วนต่างมูลค่าผลผลติ ปศสุ ตั วต์ น้ ปีและปลายปี
52
3) ด้านสัตว์น้ํา รายได้เงินสดสุทธิจากการเล้ียงสัตว์นํ้า จากการสํารวจพบว่า มีการเล้ียงปลาน้ําจืด
และกบเท่านั้น มีรายไดเ้ งนิ สดสุทธิเฉลีย่ 168 บาท/ครวั เรือน มลู ค่าผลผลติ ปศุสัตว์ท่ีใช้ในครัวเรือนเฉล่ีย 1,107 บาท/
ครัวเรือน ส่วนต่างมูลค่าปศุสัตว์ต้นปีและปลายปีเฉลี่ย 1,023 บาท/ครัวเรือน รายได้สุทธิเฉล่ีย 2,298 บาท/
ครวั เรือน (ตารางที่ 4.23)
ตารางท่ี 4.23 รายไดส้ ุทธจิ ากการเล้ยี งสตั ว์นํ้า
ชนิดสัตวน์ ํ้า รายได้เงินสดสทุ ธิ มูลค่าผลผลิต ส่วนตา่ งมูลค่า หน่วย : บาท/ครวั เรือน
กบ จากการ สตั ว์นาํ้ ท่ีใช้ สัตว์น้าํ ตน้ ปี รายไดส้ ทุ ธิจากการ
ในครวั เรอื น 2 และปลายปี 3 เลี้ยงสตั ว์นํา้ 1 + 2 + 3
เลี้ยงสัตว์น้ํา 1 247
1 - 65
311
ปลานํา้ จืด - 143 1,106 1,088 2,051
รวมสตั วน์ า้ํ 168 1,107 1,023 2,298
ท่ีมา : จากการสาํ รวจ
หมายเหตุ : รายได้สุทธจิ ากการเลี้ยงสัตว์น้ํา=รายได้เงนิ สดสุทธจิ ากการเลีย้ งสตั วน์ ํา้ +มูลค่าผลผลติ สัตว์นํา้ ที่ใชใ้ นครัวเรือน+
สว่ นตา่ งมูลค่าผลผลติ สตั วน์ า้ํ ต้นปแี ละปลายปี
มลู ค่าผลผลติ สัตวน์ ้ําที่ใช้ในครัวเรือน=มลู ค่าผลผลิตสัตวน์ ํ้าท่ีจับได–้ มลู ค่าสตั วน์ ํ้าท่ีขาย
4) ดา้ นอน่ื ๆ รายไดเ้ งินสดสทุ ธจิ าํ นวน 7,868 บาท/ครวั เรอื น (ตารางท่ี 4.25)
4.2.8 รายได้สุทธิเกษตร เงินออม และการออมสุทธิ ในการผลิตทางการเกษตรปีเพาะปลูก 2559/60 มี
รายละเอยี ดดังนีค้ ือ
1) รายได้เงินสดเกษตร รายได้เงินสดเกษตรรวมเท่ากับ 191,870 บาท/ครัวเรือน เป็นด้านพืช
ดา้ นปศสุ ตั ว์ ดา้ นสัตว์นา้ํ และอืน่ ๆ เท่ากับ 144,144 22,387 1,507 และ 23,832 บาท/ครวั เรือน หรือคิดเป็นร้อย
ละ 75.13 11.67 0.79 และ 12.42 ตามลาํ ดับ (ตารางที่ 4.24)
2) รายจ่ายเงินสดเกษตร รายจ่ายเงินสดเกษตรรวมเท่ากับ 112,671 บาท/ครัวเรือน เป็นด้าน
พืช ด้านปศุสัตว์ ด้านสัตว์นํ้า และอ่ืนๆ เท่ากับ 81,323 14,045 1,339 และ 15,964 บาท/ครัวเรือน หรือคิดเป็น
ร้อยละ 72.18 12.46 1.19 และ 14.17 ตามลาํ ดับ (ตารางที่ 4.24)
3) รายได้เงินสดสุทธิเกษตร รายได้เงินสดสุทธิเกษตรรวมเท่ากับ 79,199 บาท/ครัวเรือน เป็น
ด้านพืช ด้านปศุสัตว์ ด้านสัตว์นํ้า และอื่นๆ เท่ากับ 62,821 8,342 168 และ 7,868 บาท/ครัวเรือน หรือคิดเป็น
รอ้ ยละ 79.32 10.54 0.21 และ 9.93 ตามลําดบั (ตารางที่ 4.24)
4) มูลค่าผลผลิตเกษตรที่ใช้ในครัวเรือน และส่วนต่างมูลค่าผลผลิตเกษตรต้นปีและปลายปี
มูลค่าผลผลิตเกษตรท่ีใช้ในครัวเรือน และส่วนต่างมูลค่าผลผลิตเกษตรต้นปีและปลายปีรวมเท่ากับ 10,936 บาท/
ครัวเรือน เป็นด้านพืช ด้านปศุสัตว์ และด้านสัตว์น้ําเท่ากับ 6,658 2,148 และ 2,130 บาท/ครัวเรือน หรือคิดเป็น
รอ้ ยละ 60.88 19.64 และ 19.48 ตามลาํ ดบั (ตารางที่ 4.24)
5) รายไดส้ ทุ ธเิ กษตร รายไดส้ ุทธเิ กษตรในเขตโครงการฯ หมายถงึ รายได้เงินสดสุทธิเกษตรรวม
กับมูลค่าผลผลิตเกษตรท่ีใช้ในครัวเรือนและส่วนต่างมูลค่าผลผลิตเกษตรต้นปีและปลายปี ดังนั้น รายได้สุทธิเกษตร
รวมเท่ากับ 90,135 บาท/ครัวเรือน เป็นด้านพืช ด้านปศุสัตว์ ด้านสัตว์น้ํา และอื่นๆ เท่ากับ 69,479 10,490
2,298 และ 7,868 บาท/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 77.08 11.64 2.88 และ 8.73 ตามลําดับ (ตารางท่ี
4.24)
6) รายได้เงินสดนอกเกษตร นอกจากรายได้เงินสดการเกษตรภายในฟาร์มตนเองแล้ว
เกษตรกรส่วนใหญก่ ารครองชพี มีรายได้เสริมจากนอกการเกษตร เนื่องจากระบบการผลิตทางการเกษตรที่ไม่ต่อเนื่อง
ทําให้มีแรงงานภายในครัวเรือนว่างงานจึงออกทํางานนอกฟาร์มและมีแรงงานนอกการเกษตร ได้แก่ ครัวเรือนไป
53
รับจ้างการเกษตรนอกฟาร์ม กําไรจากการค้าขาย(ซ้ือสินค้าเกษตรมาขาย) ให้บริการนอกการเกษตร คนในครัวเรือน
รับจ้างกิจกรรมนอกเกษตร นําเครื่องมือไปรับจ้างนอกการเกษตร เงินเดือน/ค่าตอบแทน ได้รับเงินทํางานจาก
ต่างประเทศ/ลูกหลานอยู่ต่างประเทศส่งให้ เป็นต้น ในปีเพาะปลูก 2559/60 มีรายได้นอกการเกษตรรวมเท่ากับ
112,550 บาท/ครัวเรือน โดยเป็นรายได้จากเงินเดือน/ค่าตอบแทนจํานวน 52,198 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 46.38
ได้เงินทํางานในต่างถ่ิน/ลูกหลานในประเทศส่งให้จํานวน 14,143 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 12.57 กําไรจากการค้า
ขาย(ซื้อของมาขายฯ/รา้ นขายของชํา)จาํ นวน 12,162 บาท หรือคดิ เปน็ ร้อยละ 10.81 คนในครัวเรือนไปรับจ้างนอก
การเกษตรจํานวน 11,465 บาท หรอื คดิ เปน็ ร้อยละ 10.19 (ตารางที่ 4.25)
7) รายจ่ายเงินสดนอกเกษตร เป็นรายจ่ายในครัวเรือนซ่ึงเป็นค่าใช้จ่ายเพ่ือการดํารงชีพของ
ครอบครวั เกษตรของบุคคลภายในครัวเรือนทั้งหมด(ค่าบริโภค/อุปโภค) คือ ค่าอาหาร ค่าหัตถกรรม/อุตสาหกรรมใน
ครัวเรือน เส้ือผ้าเคร่ืองนุ่งห่ม สิ่งของใช้ในครัวเรือน (สบู่ ยาสีฟัน ผงซักฟอก ของใช้ส่วนบุคคล) ค่าเชื้อเพลิง/ไฟฟ้า/
แสงสว่าง ค่าน้ําใช้ในครัวเรือน ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายการศึกษา เป็นต้น ดังนั้น โดยเฉล่ียรวมต่อครัวเรือน
เกษตรกรมีรายจ่ายนอกเกษตรท้ังหมดตลอดทั้งปีเท่ากับ 101,190 บาท/ครัวเรือน โดยเป็นค่าอาหารจํานวน 31,325
บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 30.96 ค่าอุปโภค อื่นๆ จํานวน 69,865 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 69.04 ได้แก่ ค่าใช้จ่าย
การศึกษาจํานวน 9,710 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 9.60 ค่าน้ํามัน(ใช้กับยานพาหนะ)จํานวน 8,702 บาท หรือคิด
เป็นร้อยละ 8.60 ค่ากิจกรรมทางศาสนา/พิธีกรรมจํานวน 7,405 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 7.32 ค่าเช้ือเพลิง/
ไฟฟ้า/แสงสว่างจํานวน 6,818 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 6.74 ที่อยู่อาศัย (ค่าเช่าบ้าน/ค่าซ่อมแซมบ้าน)จํานวน
6,418 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 6.34 ค่าภาษีท่ีดินนอกเกษตร/ค่าธรรมเนียม/ค่าเบี้ยประกันต่าง ๆ จํานวน 5,755
บาท หรือคดิ เป็นร้อยละ 5.69 (ตารางที่ 4.25)
8) รายได้เงินสดคงเหลือเพ่ือใช้จ่ายในครัวเรือน รายได้เงินสดคงเหลือเพ่ือใช้จ่ายในครัวเรือน
หมายถึง รายได้เงินสดสุทธิเกษตรรวมกับรายได้นอกการเกษตร ดังนั้นรายได้เงินสดคงเหลือเพื่อใช้จ่ายในครัวเรือน
เท่ากบั 191,749 บาท/ครวั เรือน (ตารางที่ 4.24)
9) เงินออม เงนิ ออมหมายถึง เปน็ เงนิ คงเหลือจากการใชจ้ า่ ยท้งั ในการเกษตรและนอกการเกษตร
เป็นเงินออมท่ีเกษตรกรคงเหลือเพื่อไว้ใช้สอยในปีต่อไปหรือใช้สอยเม่ือมีความจําเป็น ดังน้ัน เกษตรกรมีเงินออม
เทา่ กบั 90,559 บาท/ครวั เรอื น (ตารางท่ี 4.24)
10) เงินออมสทุ ธิ เงินออมสุทธิหมายถึง รายได้สุทธิเกษตรรวมกับรายได้นอกการเกษตร แล้วหัก
รายจา่ ยนอกการเกษตร ดังนนั้ เกษตรกรมเี งนิ ออมสทุ ธเิ ท่ากบั 101,495 บาท/ครัวเรอื น (ตารางที่ 4.24)
11) รายได้เงินสดสุทธิเกษตรเหลือจากการใช้จ่ายในครัวเรือน รายได้เงินสดสุทธิเกษตรเหลือ
จากการใช้จ่ายในครัวเรือนหมายถึง รายได้เงินสดสุทธิเกษตรหักรายจ่ายนอกการเกษตร ดังน้ัน รายได้เงินสดสุทธิ
เกษตรเหลือจากการใชจ้ า่ ยในครัวเรือนเท่ากบั ติดลบ 21,991 บาท/ครัวเรือน (ตารางท่ี 4.24)
54
ตารางท่ี 4.24 รายไดส้ ทุ ธเิ กษตร เงินออม และการออมสุทธิ ปีเพาะปลูก 2559/60
รายการ หน่วย : บาท/ครวั เรือน
1. รายได้เงนิ สดเกษตร
จํานวน
191,870
- พืช 144,144
- ปศุสัตว์ 22,387
- สตั ว์น้าํ 1,507
- อ่นื ๆ 23,832
2. รายจา่ ยเงนิ สดเกษตร 112,671
- พชื 81,323
- ปศสุ ัตว์ 14,045
- สตั วน์ า้ํ 1,339
- อน่ื ๆ 15,964
3. รายได้เงนิ สดสทุ ธเิ กษตร 1 (1) - (2) 79,199
- พืช 62,821
- ปศุสัตว์ 8,342
- สตั วน์ าํ้
168
- อ่นื ๆ 7,868
4. มลู ค่าผลผลิตเกษตรทใี่ ชใ้ นครวั เรือน และส่วนตา่ งมลู คา่ ผลผลิต 10,936
เกษตรตน้ ปีและปลายปี 6,658
- พืช 2,148
- ปศสุ ตั ว์
- สัตวน์ ํา้ 2,130
- อ่ืนๆ -
5. รายไดส้ ทุ ธเิ กษตร 2 (3) + (4)
90,135
- พชื 69,479
- ปศุสัตว์ 10,490
- สัตวน์ าํ้ 2,298
- อน่ื ๆ 7,868
6. รายได้เงนิ สดนอกเกษตร 112,550
7. รายจา่ ยเงนิ สดนอกเกษตร 101,190
8. รายได้เงนิ สดคงเหลือเพอ่ื ใช้จา่ ยในครวั เรอื น (3) + (6) 191,749
9. เงนิ ออม (3) + (6) – (7) 90,559
10. เงนิ ออมสทุ ธิ (5) + (6) – (7) 101,495
11. รายได้เงนิ สดสุทธเิ กษตรเหลอื จากการใชจ้ ่ายในครัวเรือน (3) - (7) - 21,991
ท่ีมา : จากการวเิ คราะห์
55
ตารางที่ 4.25 รายได้ – รายจ่ายเงินสดเกษตรอน่ื ๆ ในและนอกเขตโครงการของครวั เรอื นเกษตร
ปเี พาะปลูก 2559/60
รายการ หนว่ ย : บาท/ครัวเรอื น
๏ รายได้เงนิ สดเกษตรอน่ื ๆ (ในเขตโครงการ)
จํานวน
- ไดค้ า่ เช่าทดี่ นิ การเกษตร 11,819
- ไดค้ า่ เช่าโรงเรือน 1,144
- ขายทรพั ยส์ นิ เกษตร (ที่ดินในเขตโครงการ)
- อื่นๆ ไดแ้ ก่ เงินชว่ ยเหลือเกษตรกรจากภาครฐั 13
๏ รายได้เงนิ สดเกษตรอืน่ ๆ (นอกเขตโครงการ) 2,020
- ไดค้ า่ เช่าทด่ี ินการเกษตร 8,642
- แปรรปู เกษตรจากผลผลติ นอกฟารม์ (เบอ้ื งตน้ ) 12,013
- ครัวเรอื นไปรับจ้างการเกษตรนอกฟารม์
- นาํ เครือ่ งมือไปรบั จา้ งการเกษตรนอกฟารม์ 60
- นําพาหนะรับจ้างขนผลผลติ เกษตรนอกฟาร์ม 30
- ได้รบั เงินช่วยเหลือดา้ นการเกษตร 5,393
- ใหบ้ ริการด้านการเกษตรอืน่ ๆ 1,305
- กําไรจากการค้าขาย (ซื้อสนิ ค้าเกษตรมาขาย) 200
- อื่นๆ เกษตรนอกเขตโครงการ (ขายรถไถ) 4,442
๏ รายไดเ้ งนิ สดนอกเกษตร 55
- กําไรจากการคา้ ขาย (ซื้อของมาขายฯ/รา้ นขายของชํา) 315
- ใหบ้ ริการนอกการเกษตร 213
- ทาํ หตั ถกรรม/อุตสาหกรรมครัวเรอื น (เยบ็ ผ้า ฯ) 112,550
- คนในครวั เรอื นรบั จา้ งกิจกรรมนอกเกษตร 12,162
- นําเครอ่ื งมือไปรบั จา้ งนอกการเกษตร 1,383
- ไดร้ ับเงนิ ชว่ ยเหลอื นอกการเกษตร/รัฐบาลให้ (เกดิ อทุ กภัย ฯลฯ) 1,725
- ได้รบั เงินชดเชย โบนัส นายหนา้ 11,465
- เงินเดือน/คา่ ตอบแทน 3,473
- เงินพนัน/หวย/เสีย่ งโชค 6,934
- ไดร้ ับเงนิ คา่ ดอกเบ้ยี 654
- ไดร้ บั เงินค่าเงนิ ประกนั 52,198
- ได้รับเงนิ ทาํ งานในต่างถน่ิ /ลูกหลานในประเทศส่งให้ 1,379
- ได้รับเงนิ ทํางานจากต่างประเทศ/ลูกหลานอยูต่ ่างประเทศส่งให้ 250
- กําไรธรุ กิจนอกการเกษตร 1,050
- ขายทรพั ยส์ นิ นอกการเกษตร (อื่นๆ) 14,143
- ได้รับเงินจากงานพิธกี รรมต่างๆ (บวช/แต่งงาน/ศพ ฯลฯ) 1,346
- อ่นื ๆ นอกการเกษตรนอกฟารม์ 360
500
2,646
882
56
ตารางที่ 4.25 (ต่อ) รายได้ – รายจา่ ยเงินสดเกษตรอ่ืนๆ ในและนอกเขตโครงการของครัวเรือนเกษตร
ปเี พาะปลกู 2559/60
รายการ หน่วย : บาท/ครัวเรือน
๏ รายจา่ ยเงนิ สดเกษตรอนื่ ๆ (ในเขตโครงการ)
จํานวน
- คา่ ซ่อมเคร่ืองจักร/โรงเรอื นเกษตร (กรณแี ยกเปน็ รายพืชไมไ่ ด้) 14,548
- คา่ เชา่ เครอ่ื งจักร/โรงเรอื นเกษตร 1,969
- ค่าดอกเบยี้ เงินกเู้ กษตร รวมทุกกจิ กรรม
- ค่าจัดรูป / ปรับรปู ท่ีดินการเกษตร 448
- ค่าซ้ือทีด่ ินเกษตร 4,835
- คา่ ซอ้ื เคร่ืองจกั รอุปกรณ์การเกษตร
- ค่าภาษีทด่ี นิ การเกษตร 75
- คา่ เช่าทด่ี นิ การเกษตร (กรณแี ยกเปน็ รายพชื ไม่ได)้ 1,675
๏ รายจ่ายเงนิ สดเกษตรอนื่ ๆ (นอกเขตโครงการ) 1,313
- คา่ แปรรปู สนิ ค้าเกษตรจากผลผลติ นอกเขตโครงการ
- คา่ ซอ่ มเครอ่ื งจักร / โรงเรือนเกษตร (กรณแี ยกเป็นรายพืชไม่ได้) 61
- ค่าดอกเบ้ยี เงนิ ก้เู กษตร รวมทกุ กจิ กรรม 4,172
- คา่ ซอ้ื เครื่องจักรอปุ กรณเ์ กษตร 1,416
- คา่ ภาษีที่ดินเกษตร (กรณแี ยกเปน็ รายพชื ไมไ่ ด้)
- ค่าเชา่ ท่ดี นิ เกษตร (กรณีแยกเปน็ รายพชื ไมไ่ ด)้ 9
๏ รายจา่ ยเงนิ สดนอกเกษตร (นอกโครงการ) 777
๏ บรโิ ภค 216
- อาหาร 175
๏ อปุ โภค อืน่ ๆ
- เส้อื ผ้าเครื่องน่งุ หม่ 4
- เครือ่ งแต่งกายเสรมิ สวย/เครือ่ งประดับ 235
- ส่ิงของใชใ้ นครวั เรือน (สบู่ ยาสฟี ัน ผงซกั ฟอก ของใชส้ ว่ นบคุ คล) 101,190
- ท่อี ยู่อาศยั (คา่ เชา่ บ้าน คา่ ซอ่ มแซมบ้าน) 31,325
- ค่าเช้อื เพลงิ /ไฟฟา้ /แสงสวา่ ง 31,325
- ค่าน้ํามนั (ใชก้ บั ยานพาหนะ) 69,865
- ค่านํ้าใชใ้ นครวั เรือน 1,415
- ซอื้ เครื่องมอื เครอื่ งใช้ในบ้าน/เฟอรน์ เิ จอร์ ฯ 783
- ค่ารักษาพยาบาล 3,218
- คา่ ขนสง่ /สือ่ สาร (ใน-ต่างถิ่น) 6,418
- ค่าซ้ือยานพาหนะ/คา่ บาํ รุงรกั ษา 6,818
- คา่ กิจกรรมทางศาสนา/พธิ ีกรรม 8,702
- คา่ ใช้จา่ ยการศกึ ษา 1,886
- ค่าใช้จา่ ยเส่ยี งโชค/บนั เทงิ มหรสพ 421
1,599
2,814
1,783
7,405
9,710
3,704
57
ตารางที่ 4.25 (ต่อ) รายได้ – รายจา่ ยเงนิ สดเกษตรอ่นื ๆ ในและนอกเขตโครงการของครัวเรือนเกษตร
ปเี พาะปลกู 2559/60
รายการ หน่วย : บาท/ครัวเรือน
๏ อุปโภค อื่นๆ (ต่อ)
จํานวน
- ค่าภาษีทด่ี ินนอกการเกษตร/ค่าธรรมเนยี ม/คา่ เบยี้ ประกันตา่ ง ๆ
- ค่าดอกเบ้ยี เงนิ กู้นอกการเกษตร/ดอกเบยี้ ซอ้ื ของเงนิ ผ่อน 5,755
- อื่น ๆ 4,400
3,034
ทม่ี า : จากการสาํ รวจ
เม่ือพิจารณารายได้เงินสดสุทธิเกษตร ปีเพาะปลูก 2558/59 ในระดับประเทศ ภาคเหนือ และ
จังหวัดอุตรดิตถ์ มีค่าเท่ากับ 57,405 44,354 และ 42,822 บาท/ครัวเรือน ตามลําดับ ส่วนรายได้เงินสดสุทธิ
เกษตรของโครงการเขอ่ื นทดนํา้ ผาจุก จงั หวดั อุตรดติ ถ์ ปีเพาะปลูก 2559/60 (พ้ืนที่สูบน้ําด้วยไฟฟ้า เพ่ือทดแทนไม่ได้
รับนํ้าจากโครงการเข่ือนทดนํ้าผาจุก ครอบคลุมพื้นท่ีประมาณ 16,000 ไร่) มีค่าเท่ากับ 79,199 บาท/ครัวเรือน
หมายเหตุ : ข้อมูลท่ีมาเปรียบเทียบรายได้สุทธิเกษตร ปีเพาะปลูก 2558/59 เป็นข้อมูลที่มีล่าสุดในปัจจุบัน และเป็น
ขอ้ มูลเบื้องต้นจากศูนยส์ ารสนเทศการเกษตร สาํ นกั งานเศรษฐกิจการเกษตร (ตารางที่ 4.26)
ตารางท่ี 4.26 เปรียบเทียบรายได้สทุ ธเิ กษตร
หนว่ ย : บาท/ครวั เรือน
ปเี พาะปลกู
รายการ 2558/59* 2559/60
ระดับประเทศ ภาคเหนอื จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ พ้นื ที่โครงการ
1. รายไดเ้ งนิ สดเกษตร 157,248 151,306 139,672 191,870
- พืช 115,820 117,357 112,512 144,144
- ปศสุ ัตว์ 25,949 25,447 21,281 22,387
- สตั วน์ ้ํา 9,535 2,448 2,371 1,507
- อนื่ ๆ 5,944 6,054 3,508 23,832
2. รายจา่ ยเงนิ สดเกษตร 99,843 106,952 96,850 112,671
- พชื 66,555 74,176 68,906 81,323
- ปศุสตั ว์/สัตวน์ ้าํ 20,075 16,627 15,663 15,384
- อ่ืน ๆ 13,213 16,149 12,281 15,964
3. รายได้เงนิ สดสทุ ธเิ กษตร (1) - (2) 57,405 44,354 42,822 79,199
- พืช 49,265 43,181 43,606 62,821
- ปศุสัตว/์ สัตวน์ ้ํา 15,409 11,268 7,989 8,510
- อนื่ ๆ - 7,269 - 10,095 - 8,773 7,868
ท่ีมา : จากการวเิ คราะห์
หมายเหตุ : * เป็นข้อมูลเบื้องตน้ จากศนู ยส์ ารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
58
4.3 ปัญหาของเกษตรกรในพ้นื ท่ี
จากการสํารวจและจัดเก็บข้อมูลภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือนเกษตรกรตามแผนปฏิบัติการป้องกัน
แก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและแผนติดตามตรวจผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการเขื่อนทดนํ้าผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ์
ปีเพาะปลูก 2559/60 (1 พฤษภาคม 2559 – 30 เมษายน 2560) เป็นพื้นที่สูบน้ําด้วยไฟฟ้า เพ่ือทดแทนไม่ได้รับน้ํา
จากโครงการเขื่อนทดนํ้าผาจกุ ครอบคลุมพื้นท่ปี ระมาณ 16,000 ไร่ เกษตรกรมีปญั หาเรือ่ งต่างๆ ดังน้ีคอื
4.3.1 ปญั หาเรอื่ งดิน มรี ายละเอียดดงั น้ี
สภาพดินและสภาพพนื้ ทท่ี าํ การเกษตรมปี ัญหาคิดเปน็ ร้อยละ 12.00 เนือ่ งจากสภาพพื้นท่ีการเกษตร
เป็นดินปนทรายคิดเป็นร้อยละ 5.50 ดินเป็นลูกรัง/หินกรวดคิดเป็นร้อยละ 3.80 ดินแข็งคิดเป็นร้อยละ 2.20 และ
สภาพพ้ืนที่เป็นที่ลุ่มนํ้าคิดเป็นร้อยละ 0.50 คุณสมบัติของดินมีปัญหาคิดเป็นร้อยละ 2.25 เน่ืองจากสภาพดินขาด
ธาตุอาหารคิดเป็นร้อยละ 1.50 และสภาพดินเปร้ียว/กรดคิดเป็นร้อยละ 0.75 ความเหมาะสมของสภาพพ้ืนที่ใน
โครงการเหมาะสมกับการปลูกพืชทั้งหมดจึงไม่มีปัญหากับการปลูกพืช ส่วนสภาพพื้นท่ีการเลี้ยงสัตว์ไม่มีความ
เหมาะสมในโครงการคดิ เป็นร้อยละ 29.50 (ตารางท่ี 4.27)
ตารางที่ 4.27 ปญั หาเรือ่ งดนิ
รายการ ร้อยละ
๏ ดิน และสภาพพืน้ ทีท่ ําการเกษตร
100.00
- ไมม่ ปี ญั หา 88.00
- มปี ญั หา * 12.00
5.50
ดนิ ปนทราย 3.80
ดนิ เป็นลูกรัง/หินกรวด 2.20
ดนิ แขง็ 0.50
สภาพพ้นื ทเ่ี ป็นท่ลี ่มุ น้าํ 100.00
๏ คณุ สมบัตขิ องดิน 97.75
- ไมม่ ีปญั หา 2.25
- มีปญั หา * 1.50
ดนิ ขาดธาตุอาหาร 0.75
ดนิ เปรยี้ ว/กรด 100.00
๏ ความเหมาะสมของสภาพพนื้ ที่การปลูกพืช 100.00
- มีความเหมาะสม
- ไม่มคี วามเหมาะสม -
๏ ความเหมาะสมของสภาพพ้ืนท่ีการเล้ียงสัตว์ 100.00
- มีความเหมาะสม 70.50
- ไม่มคี วามเหมาะสม 29.50
ทีม่ า : จากการสาํ รวจ
หมายเหตุ : * คอื เกษตรกรหน่งึ รายสามารถตอบไดม้ ากกว่า 1 คาํ ตอบ
4.3.2 ปัญหาเร่อื งนาํ้ มีรายละเอยี ดดงั น้ี
คุณภาพของน้ํามีปัญหาเกี่ยวกับความเปร้ียว/กรดคิดเป็นร้อยละ 2.50 กรณีมีบ่อน้ําในไร่นา
เกษตรกรไม่ใช้ประโยชน์คิดเป็นร้อยละ 44.90 และใช้ประโยชน์คิดเป็นร้อยละ 55.10 ได้แก่ เลี้ยงปลาคิดเป็นร้อยละ
28.75 ปลูกพืชฤดูแล้งคิดเป็นร้อยละ 16.50 และใช้นํ้าบ่อตอนฝนทิ้งช่วงคิดเป็นร้อยละ 9.85 กรณีฝนตกการ
59
ระบายน้ํามีปัญหาคิดเป็นร้อยละ 7.25 ไม่มีแหล่งน้ําในหมู่บ้านคิดเป็นร้อยละ 52.72 ในรอบปีเพาะปลูกท่ีผ่านมา
เกษตรกรประสบปัญหาเกยี่ วกับเรอ่ื งนํ้าคดิ เป็นร้อยละ 74.00 เน่อื งจากในฤดแู ล้งขาดแคลนนํ้า (ตารางที่ 4.28)
ตารางท่ี 4.28 ปญั หาเร่อื งนา้ํ
รายการ รอ้ ยละ
๏ คณุ ภาพของนาํ้
100.00
- ไม่มีปญั หา 97.50
- มีปญั หา เกยี่ วกบั ความเปรย้ี ว/กรด 2.50
๏ กรณีมบี อ่ นาํ้ ในไรน่ า ทา่ นใช้ประโยชน์ 100.00
- ไมใ่ ช้ประโยชน์ 44.90
- ใช้ประโยชน์ * 55.10
28.75
- เลี้ยงปลา 16.50
- ปลูกพืชฤดูแล้ง 9.85
- ใชน้ ้ําบ่อตอนฝนทงิ้ ช่วง 100.00
๏ กรณีฝนตกการระบายน้าํ 92.50
- ไม่มีปญั หา 7.25
- มีปญั หา 100.00
๏ แหล่งนาํ้ ในหมู่บา้ น 52.72
- ไมม่ ี 47.25
- มี การใช้ประโยชน์ 20.25
16.75
ไมส่ ามารถนาํ มาใช้ได้ 10.25
ใช้ในการเกษตร 100.00
ใชใ้ นครัวเรอื น 26.00
๏ ในรอบปเี พาะปลกู ทผี่ า่ นมา ทา่ นประสบปญั หาเก่ียวกบั เรือ่ งนาํ้ 74.00
- ไมม่ ี
- มี * เนอื่ งจาก ฤดูแล้งขาดแคลนนาํ้
ท่ีมา : จากการสาํ รวจ
หมายเหตุ : * คือ เกษตรกรหนงึ่ รายสามารถตอบได้มากกวา่ 1 คําตอบ
4.3.3 ปญั หาเร่ืองการผลิตและการตลาด มรี ายละเอียดดงั นี้
พ้ืนที่ทําการเกษตรสามารถทําได้เพียงหนึ่งคร้ังต่อปีคิดเป็นร้อยละ 68.00 สําหรับเร่ืองโรคพืชและ
แมลงระบาดเกษตรกรท่ีมีปัญหาคิดเป็นร้อยละ 12.75 มีครัวเรือนที่เล้ียงปศุสัตว์คิดเป็นร้อยละ 4.00 และไม่มีปัญหา
เกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์ท้ังหมด ส่วนเรื่องการขาดแคลนแรงงานคนในท้องถิ่นคิดเป็นร้อยละ 9.75 เน่ืองจากลักษณะ
กิจกรรมการปลูกพืชคล้ายกันทําให้ขาดแคลนแรงงาน ช่วงเก็บเกี่ยวส่วนใหญ่เกษตรกรทําของตัวเอง และแรงงาน
ออกไปรับจ้างต่างท้องท่ี ช่วงฤดูเก็บเก่ียวผลผลิตขาดแคลนแรงงานเครื่องจักรในท้องถิ่นคิดเป็นร้อยละ 5.75
เน่ืองจากช่วงทํานาปีไม่มีรถเก่ียวหายากทําให้ผลผลิตเสียหาย ขาดแคลนปัจจัยการผลิตในท้องถ่ินคิดเป็นร้อยละ
0.50 คือ ขาดแคลนเมล็ดพันธ์ุพืช มีปัญหาด้านการตลาด/การจําหน่ายคิดเป็นร้อยละ 15.00 เน่ืองจากราคาขาย
ผลผลิตทางการเกษตรไม่แนน่ อน (ตารางท่ี 4.29)
60
ตารางท่ี 4.29 ปญั หาด้านการผลติ และการตลาด
รายการ รอ้ ยละ
๏ พื้นทีท่ าํ การเกษตรสามารถปลูกพืชได้
100.00
- 1 คร้ัง/ปี 68.00
- มากกว่า 1 ครัง้ /ปี 32.00
๏ ปัญหาโรคพชื และแมลง 100.00
- ไม่มีปญั หา 87.25
- มีปญั หา 12.75
๏ จาํ นวนครัวเรือนท่ีเลย้ี งปศสุ ัตว์ 100.00
- ไมเ่ ลีย้ ง 96.00
- เลีย้ ง เรอื่ งโรคสตั ว์ 4.00
4.00
ไมม่ ีปญั หา
มปี ัญหา -
๏ ขาดแคลนแรงงานคนในทอ้ งถ่ิน 100.00
- ไมม่ ปี ญั หา 90.25
- มีปญั หา
๏ ขาดแคลนแรงงานเครื่องจกั รในทอ้ งถน่ิ 9.75
- ไม่มีปญั หา 100.00
- มปี ญั หา 94.25
๏ ขาดแคลนปัจจยั การผลติ ในทอ้ งถนิ่
- ไมม่ ปี ญั หา 5.75
- มีปญั หา * เกย่ี วกบั พันธพ์ุ ชื 100.00
๏ ปัญหาด้านการตลาด/การจาํ หน่าย 99.50
- ไมม่ ีปญั หา
- มีปญั หา เน่อื งจากราคาขายไม่แนน่ อน 0.50
100.00
ทมี่ า : จากการสาํ รวจ 85.00
หมายเหตุ : * คือ เกษตรกรหน่ึงรายสามารถตอบไดม้ ากกว่า 1 คาํ ตอบ 15.00
4.4 ข้อมลู เก่ียวกับการใช้ประโยชนจ์ ากแหลง่ นา้ํ และการบริการของภาครฐั
4.4.1 การเปน็ สมาชิกกลุม่ สบู นาํ้ ด้วยไฟฟ้า
การเป็นสมาชิกกลุ่มสูบน้ําด้วยไฟฟ้าของครัวเรือนเกษตรคิดเป็นร้อยละ 75.50 และไม่เป็นสมาชิก
กลมุ่ สบู นํ้าด้วยไฟฟ้าคิดเปน็ ร้อยละ 24.50 (ตารางที่ 4.30)
ตารางที่ 4.30 การเปน็ สมาชิกกลุ่มสบู นํ้าด้วยไฟฟ้าของครัวเรือนเกษตร ณ วันสํารวจ
รายการ ร้อยละ
๏ การเป็นสมาชกิ กลมุ่ สบู น้าํ ดว้ ยไฟฟา้
100.00
- เป็น 75.50
- ไม่เป็น 24.50
ที่มา : จากการสาํ รวจ
61
4.4.2 ค่าใชจ้ า่ ยในการจดั หานํ้ามาใชเ้ พ่อื การเกษตร
เกษตรกรไม่มีคา่ ใช้จ่ายในการจดั หานาํ้ มาใชเ้ พื่อการเกษตรของครัวเรือนคิดเป็นรอ้ ยละ 19.75 และ
มีค่าใช้จ่ายในการจัดหาน้ํามาใชเ้ พือ่ การเกษตรคดิ เปน็ ร้อยละ 80.25 โดยเฉล่ียจํานวน 4,889 บาท/ครัวเรือน โดยแยก
เป็นค่านํ้ามันในการสูบน้ําเพื่อการเกษตรเท่ากับ 760 บาท/ครัวเรือน ค่าไฟฟ้าในการสูบนํ้าเพ่ือการเกษตรเท่ากับ
4,089 บาท/ครวั เรอื น คา่ ซือ้ น้าํ ทําการเกษตร/สบู น้าํ ดว้ ยไฟฟา้ เทา่ กบั 40 บาท/ครัวเรอื น (ตารางที่ 4.31)
ตารางท่ี 4.31 ค่าใช้จ่ายในการจัดหานํ้ามาใช้เพอ่ื การเกษตรของครวั เรอื นเกษตร ปีเพาะปลูก 2559/60
รายการ ร้อยละ บาท/คร.
๏ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดหานํ้าเพือ่ การเกษตร 100.00 -
19.75 -
- ไมม่ ี 80.25 4,889
- มี ไดแ้ ก่
760
ค่าน้าํ มันในการสบู นํา้ เพือ่ การเกษตร 4,089
คา่ ไฟฟา้ ในการสบู น้าํ เพือ่ การเกษตร
คา่ ซื้อนํ้าทาํ การเกษตร/สูบนํ้าด้วยไฟฟ้า 40
ทมี่ า : จากการสาํ รวจ
4.4.3 การไดร้ บั การสนบั สนนุ ปัจจยั การผลติ จากสว่ นราชการในสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เกษตรกรไมไ่ ด้รับการสนับสนนุ ปัจจยั การผลิตจากสว่ นราชการในสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณข์ อง
ครวั เรอื นเกษตร ปเี พาะปลูก 2559/60 คิดเป็นร้อยละ 86.75 สําหรับเกษตรกรได้รับการสนับสนุนปัจจัยการผลิตคิดเป็น
ร้อยละ 13.25 ปัจจัยท่ีได้รับเป็นพันธ์ุไก่ เมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ เมล็ดพันธ์ุผัก พันธ์ุปลา และพันธ์ุไม้ผล คิดเป็น
รอ้ ยละ 6.50 2.50 2.00 1.50 และ 0.75 ตามลําดับ (ตารางท่ี 4.32)
ตารางที่ 4.32 การไดร้ ับการสนบั สนนุ ปจั จยั การผลิตจากส่วนราชการในสังกดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ของครัวเรือนเกษตร ปีเพาะปลูก 2559/60
รายการ รอ้ ยละ
๏ การไดร้ บั การสนบั สนนุ ปจั จยั การผลติ จากส่วนราชการฯ 100.00
86.75
- ไม่ไดร้ ับ 13.25
- ได้รับ * 6.50
2.50
พนั ธุ์ไก่ 2.00
เมลด็ พันธุ์ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์ 1.50
เมลด็ พันธุผ์ ัก 0.75
พันธ์ปุ ลา
พนั ธไุ์ มผ้ ล
ทมี่ า : จากการสาํ รวจ
หมายเหตุ : * คอื เกษตรกรหน่ึงรายสามารถตอบไดม้ ากกวา่ 1 คําตอบ
4.4.4 การไดร้ ับการบริการจากส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เกษตรกรไม่ได้รับการบริการจากส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์คิดเป็นร้อยละ
96.50 สาํ หรับเกษตรกรได้รบั การบรกิ ารคดิ เป็นรอ้ ยละ 3.50 บริการทไี่ ดร้ ับเป็นตรวจวเิ คราะห์ดนิ (ตารางท่ี 4.33)
62
ตารางที่ 4.33 การไดร้ บั การบริการจากสว่ นราชการในสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ของครวั เรือนเกษตร ปีเพาะปลกู 2559/60
รายการ รอ้ ยละ
๏ การได้รบั การบริการจากส่วนราชการฯ
100.00
- ไมไ่ ด้รบั 96.50
- ไดร้ ับ เร่ืองตรวจวเิ คราะหด์ ิน 3.50
ท่มี า : จากการสาํ รวจ
4.4.5 ความเพยี งพอของแหลง่ เงินทุน
แหล่งเงินทุนของครัวเรือนเกษตร ส่วนใหญ่เห็นว่าเพียงพอคิดเป็นร้อยละ 94.75 ท่ีเหลือเห็นว่าไม่
เพียงพอคิดเปน็ รอ้ ยละ 5.25 สาเหตุจากต้นทนุ การเกษตรสงู ขนึ้ ประสบภยั แล้ง และมรี ายได้น้อยคิดเป็นร้อยละ 2.25
2.25 และ 0.75 ตามลําดบั (ตารางท่ี 4.34)
ตารางท่ี 4.34 ความเพยี งพอของแหลง่ เงินทุนของครัวเรือนเกษตร ปเี พาะปลกู 2559/60
รายการ ร้อยละ
๏ ความเพยี งพอของแหลง่ เงินทนุ
100.00
- เพยี งพอ 94.75
- ไม่เพยี งพอ * 5.25
2.25
ต้นทุนการเกษตรสูงขึน้ 2.25
ประสบภัยแล้ง 0.75
มรี ายไดน้ อ้ ย
ทมี่ า : จากการสาํ รวจ
หมายเหตุ : * คอื เกษตรกรหน่งึ รายสามารถตอบไดม้ ากกว่า 1 คาํ ตอบ
4.5 ความคาดหวงั และความสนใจของเกษตรกรภายหลงั มีโครงการฯ
4.5.1 ความคาดหวังของเกษตรกรต่อการผลติ ดา้ นการเกษตรภายหลงั มีโครงการฯ
เกษตรกรส่วนใหญ่เห็นว่าเกิดประโยชน์มากคิดเป็นร้อยละ 78.75 รองลงมาเห็นว่าเกิดประโยชน์
ปานกลางคิดเป็นร้อยละ 15.75 เห็นว่าเกิดประโยชน์น้อยคิดเป็นร้อยละ 3.25 และเห็นว่าไม่เกิดประโยชน์คิดเป็น
ร้อยละ 2.25 (ตารางที่ 4.35)
ตารางที่ 4.35 ความคาดหวังของเกษตรกรตอ่ การผลิตด้านการเกษตรภายหลังมโี ครงการฯ
รายการ รอ้ ยละ
๏ ความคาดหวงั ของเกษตรกรดา้ นการเกษตรภายหลงั มีโครงการฯ
100.00
- เกิดประโยชน์มาก 78.75
- เกดิ ประโยชน์ปานกลาง 15.75
- เกิดประโยชนน์ อ้ ย 3.25
- ไมเ่ กิดประโยชน์ 2.25
ทม่ี า : จากการสาํ รวจ
63
4.5.2 ความคาดหวงั ของเกษตรกรเกีย่ วกับการแกป้ ัญหาเรอ่ื งนาํ้ เพ่อื การเกษตรภายหลังมโี ครงการฯ
จากการสํารวจพบวา่ เกษตรกรทีเ่ ข้ารว่ มโครงการส่วนใหญ่คาดหวังว่าสามารถช่วยแก้ปัญหาเร่ืองนํ้า
เพือ่ การเกษตรภายหลังมีโครงการคิดเปน็ ร้อยละ 97.25 โดยเห็นวา่ จะชว่ ยแก้ปัญหามีน้าํ เพียงพอในการทําการเกษตร
ในฤดูแล้ง มีจํานวนรอบการผลิตเพิ่มขึ้น ลดค่าใช้จ่ายในการจัดหาน้ํา ขยายพ้ืนท่ีทําการเกษตรเพ่ิมข้ึน ลดหรือ
บรรเทาภัยจากนาํ้ ทว่ ม คดิ เปน็ ร้อยละ 94.75 76.00 54.00 36.00 และ 22.50 ตามลาํ ดับ (ตารางท่ี 4.36)
ตารางที่ 4.36 ความคาดหวงั ของเกษตรกรเกีย่ วกับการแก้ปัญหาเรอื่ งน้ําเพ่อื การเกษตร
ภายหลงั มโี ครงการฯ
รายการ รอ้ ยละ
๏ การแก้ปญั หาเรื่องนํ้าเพอื่ การเกษตรภายหลังมโี ครงการ
100.00
- ไม่ช่วยแกป้ ญั หา 2.75
- ช่วยแก้ปัญหา * 97.25
94.75
มนี ํา้ เพียงพอในการทาํ การเกษตรในฤดแู ลง้ 76.00
มจี ํานวนรอบการผลติ เพ่มิ ขน้ึ 54.00
ลดค่าใช้จ่ายในการจัดหานา้ํ 36.00
ขยายพนื้ ทที่ ําการเกษตรเพม่ิ ขึน้ 22.50
ลดหรอื บรรเทาภัยจากนาํ้ ทว่ ม
ที่มา : จากการสาํ รวจ
หมายเหตุ : * คอื เกษตรกรหน่งึ รายสามารถตอบได้มากกว่า 1 คาํ ตอบ
4.5.3 ความสนใจในการทาํ กจิ กรรมเพ่ิมเตมิ ภายหลงั มีโครงการฯ
เกษตรกรมีความสนใจและต้องการในการทํากิจกรรมเพ่ิมเติมภายหลังมีโครงการคิดเป็นร้อยละ
49.75 ส่วนใหญ่เป็นด้านการผลิตพืชคิดเป็นร้อยละ 44.00 ได้แก่ ส่งเสริมเมล็ดพันธ์ุดีข้าว/ข้าวโพดเล้ียงสัตว์/อ้อย
โรงงาน/ถัว่ เขียว/ถ่วั ลิสง/ถวั่ เหลอื ง เมล็ดพันธผ์ุ กั สวนครวั การเพาะเห็ด ไร่นาสว่ นผสม และสนบั สนุนก่ิงพันธุไ์ ม้ผล
ตารางที่ 4.37 ความสนใจในการทํากจิ กรรมเพ่ิมเติมภายหลังมีโครงการฯ ปีเพาะปลกู 2559/60
รายการ ร้อยละ
๏ ความสนใจในการทาํ กจิ กรรมเพิม่ เติมภายหลังมีโครงการฯ 100.00
50.25
- ไมต่ ้องการ 49.75
- ตอ้ งการ * 44.00
15.75
ด้านการผลติ พืช 14.25
ด้านประมง 7.00
ดา้ นปศุสัตว์ 3.75
ดา้ นการจัดทําปุ๋ยอนิ ทรยี ์/ชวี ภาพ 2.50
ดา้ นการจดั ทําบญั ชคี รัวเรือน 2.50
ด้านส่งเสรมิ อาชีพเสรมิ 0.25
ด้านเงนิ ลงทนุ การเกษตร
ด้านป่าไม้
ที่มา : จากการสาํ รวจ
หมายเหตุ : * คอื เกษตรกรหนึ่งรายสามารถตอบได้มากกวา่ 1 คาํ ตอบ
64
ด้านประมงคิดเป็นร้อยละ 15.75 ได้แก่ การเลี้ยงปลากินพืช/กบ ขุดบ่อเลี้ยงปลา เลี้ยงปลาในวงบ่อ เป็นต้น ด้าน
ปศุสัตว์คิดเป็นร้อยละ 14.25 ได้แก่ ส่งเสริมการเลี้ยงโค กระบือ สุกร เป็ด ไก่ไข่ ไก่พ้ืนเมือง เป็นต้น ด้านการจัดทํา
ปุ๋ยอินทรีย์/ชีวภาพคิดเป็นร้อยละ 7.00 ด้านการจัดทําบัญชีครัวเรือนคิดเป็นร้อยละ 3.75 ด้านส่งเสริมอาชีพเสริม
คิดเป็นร้อยละ 2.50 ได้แก่ จักรสาน แปรรูปอาหาร การเล้ียงจิ้งหรีด เป็นต้น ด้านเงินลงทุนการเกษตรคิดเป็นร้อย
ละ 2.50 และดา้ นปา่ ไมค้ ดิ เป็นร้อยละ 0.25 (ตารางท่ี 4.37)
4.6 ทศั นคติ ระดับความพงึ พอใจ และผลกระทบที่มีตอ่ โครงการ
4.6.1 ทศั นคตแิ ละระดบั ความพึงพอใจของเกษตรกรที่มตี ่อโครงการ มีรายละเอียดดงั น้ี
1) การจัดโครงการตรงกับความต้องการของเกษตรกร
เกษตรกรเห็นว่าตรงกบั ความตอ้ งการระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และน้อย คิดเป็น
รอ้ ยละ 81.00 12.75 5.25 และ 1.00 ตามลาํ ดบั
2) ความเหมาะสมกับพ้นื ที่
เกษตรกรเห็นว่ามีความเหมาะสมกับพื้นท่ีในระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และน้อย
คดิ เปน็ ร้อยละ 75.50 17.25 5.50 และ 1.75 ตามลําดบั
3) พื้นท่ีทําการเกษตรเพิ่มขึ้น
เกษตรกรเห็นว่ามีพ้ืนที่ทําการเกษตรเพิ่มขึ้นในระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และ
น้อย คิดเปน็ รอ้ ยละ 58.75 16.00 9.50 และ 15.75 ตามลําดบั
4) รายไดท้ างการเกษตรเพิ่มขึ้น
เกษตรกรเห็นว่ามีรายไดท้ างการเกษตรเพ่ิมขึ้นในระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และ
น้อย คดิ เป็นร้อยละ 68.50 23.00 6.75 และ 1.75 ตามลาํ ดบั
5) สามารถปลกู พืชฤดแู ล้งได้
เกษตรกรเห็นว่าสามารถปลกู พืชฤดแู ลง้ ได้ในระดบั มาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และน้อย
คิดเปน็ รอ้ ยละ 76.00 18.00 4.75 และ 1.25 ตามลาํ ดับ
6) สามารถแกไ้ ขปญั หาการขาดแคลนนาํ้ ในชว่ งฝนทิ้งชว่ ง
เกษตรกรเห็นว่าสามารถแก้ไขปัญหาการขาดแคลนนํ้าในช่วงฝนท้ิงช่วงในระดับมาก
ค่อนข้างมาก คอ่ นขา้ งนอ้ ย และนอ้ ย คิดเป็นรอ้ ยละ 75.00 16.50 4.25 และ 4.25 ตามลาํ ดับ
7) บรรเทาปญั หานํ้าทว่ ม
เกษตรกรเห็นว่าสามารถบรรเทาปัญหาน้ําท่วมในระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และ
น้อย คดิ เป็นรอ้ ยละ 8.50 39.00 34.00 และ 18.50 ตามลาํ ดับ
8) การลดใช้ปุย๋ เคมี/สารเคมี
เกษตรกรเห็นว่าสามารถลดใช้ปุ๋ยเคมี/สารเคมีในระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และ
น้อย คิดเปน็ ร้อยละ 1.25 21.25 48.00 และ 29.25 ตามลาํ ดับ
9) ความเหมาะสมของเกษตรกรตอ่ โครงการ
เกษตรกรเห็นว่าความเหมาะสมของเกษตรกรต่อโครงการในระดับมาก ค่อนข้างมาก
ค่อนข้างน้อย และน้อย คิดเปน็ ร้อยละ 58.50 29.50 5.00 และ 7.00 ตามลําดบั
10) โครงการจดั รปู ท่ีดิน
เกษตรกรเห็นว่าถ้ามีโครงการจัดรูปท่ีดินมีความสนใจเข้าร่วมโครงการคิดเป็นร้อยละ 14.50
และไมส่ นใจในโครงการคดิ เป็นรอ้ ยละ 85.50 ตามลาํ ดับ (ตารางที่ 4.38)
65
ตารางท่ี 4.38 ทัศนคตแิ ละระดบั ความพึงพอใจของเกษตรกรท่มี ตี อ่ โครงการ
รายการ ร้อยละ
๏ การจัดโครงการตรงกับความต้องการของเกษตรกร 100.00
81.00
- ระดบั มาก 12.75
- คอ่ นขา้ งมาก 5.25
- ค่อนขา้ งนอ้ ย 1.00
- น้อย 100.00
๏ มีความเหมาะสมกบั พ้ืนที่ 75.50
- ระดับมาก 17.25
- ค่อนขา้ งมาก 5.50
- ค่อนข้างนอ้ ย 1.75
- นอ้ ย 100.00
๏ มีพื้นทท่ี าํ การเกษตรเพม่ิ ข้ึน 58.75
- ระดับมาก 16.00
- คอ่ นข้างมาก 9.50
- ค่อนขา้ งน้อย 15.75
- นอ้ ย 100.00
๏ เกษตรกรมีรายไดท้ างการเกษตรเพ่มิ ขึน้ 68.50
- ระดับมาก 23.00
- ค่อนขา้ งมาก 6.75
- คอ่ นขา้ งนอ้ ย 1.75
- นอ้ ย 100.00
๏ สามารถปลกู พชื ฤดแู ลง้ ได้ 76.00
- ระดับมาก 18.00
- ค่อนข้างมาก 4.75
- ค่อนขา้ งนอ้ ย 1.25
- น้อย 100.00
75.00
๏ สามารถแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ําในช่วงฝนทง้ิ ชว่ ง 16.50
4.25
- ระดับมาก 4.25
- ค่อนข้างมาก 100.00
- คอ่ นข้างน้อย 8.50
- นอ้ ย 39.00
๏ บรรเทาปัญหาน้าํ ท่วม 34.00
- ระดับมาก 18.50
- คอ่ นข้างมาก
- คอ่ นขา้ งน้อย
- นอ้ ย
66
ตารางที่ 4.38 (ตอ่ ) ทศั นคติและระดบั ความพงึ พอใจของเกษตรกรท่ีมตี อ่ โครงการ
รายการ ร้อยละ
๏ การลดใช้ปยุ๋ เคม/ี สารเคมี
100.00
- ระดบั มาก 1.25
- ค่อนขา้ งมาก 21.25
- ค่อนขา้ งน้อย 48.00
- นอ้ ย 29.25
๏ ความเหมาะสมของเกษตรต่อโครงการ
- ระดับมาก 100.00
- คอ่ นข้างมาก 58.50
- คอ่ นขา้ งนอ้ ย 29.50
- นอ้ ย 5.00
7.00
๏ ถา้ มโี ครงการจัดรปู ทีด่ ินท่านสนใจเข้าร่วมโครงการหรือไม่ 100.00
14.50
- สนใจ 85.50
- ไมส่ นใจ
ที่มา : จากการสาํ รวจ
4.6.2 ทัศนคตขิ องเกษตรกรในด้านผลกระทบจากโครงการฯ มีรายละเอยี ดดงั น้ี
1) ผลกระทบทางบวกจากโครงการ
เกษตรกรเห็นว่าไม่มีผลกระทบทางบวกจากโครงการคิดเป็นร้อยละ 6.75 ส่วนท่ีเห็นว่ามี
ผลกระทบทางบวกจากโครงการคิดเป็นร้อยละ 93.25 เก่ียวกับสามารถปลูกพืชฤดูแล้งได้คิดเป็นร้อยละ 80.75 การ
บรรเทาปัญหาการขาดแคลนนํ้าในช่วงฤดูฝน/ฝนท้ิงช่วงคิดเป็นร้อยละ 79.25 มีพื้นที่การเกษตรเพิ่มข้ึนคิดเป็น
รอ้ ยละ 66.25 และบรรเทาปญั หานาํ้ ท่วมคดิ เป็นรอ้ ยละ 18.75 (ตารางที่ 4.39)
ตารางท่ี 4.39 ทศั นคตขิ องเกษตรกรในด้านผลกระทบจากโครงการฯ
รายการ รอ้ ยละ
๏ ผลกระทบทางบวกจากโครงการ *
100.00
- ไมม่ ี 6.75
- มี * 93.25
80.75
สามารถปลูกพชื ฤดูแล้งได้ 79.25
บรรเทาปญั หาการขาดแคลนนา้ํ ในชว่ งฤดูฝน/ฝนทงิ้ ช่วง 66.25
มพี น้ื ทก่ี ารเกษตรเพ่มิ ขึน้ 18.75
บรรเทาปัญหาน้าํ ท่วม
๏ ผลกระทบทางลบจากโครงการ * 91.25
- ไมม่ ี 8.75
- มี * 8.75
อตั ราคา่ เช่าท่ีดนิ มแี นวโนม้ เพ่มิ สูงขน้ึ
ทมี่ า : จากการสาํ รวจ
หมายเหตุ : * คอื เกษตรกรหนง่ึ รายสามารถตอบผลกระทบได้ทง้ั ดา้ นบวกและดา้ นลบ และตอบได้มากกวา่ 1 คาํ ตอบ
67
2) ผลกระทบทางลบจากโครงการ
เกษตรกรเห็นว่าไม่มีผลกระทบทางลบจากโครงการคิดเป็นร้อยละ 91.25 ส่วนที่เห็นว่ามี
ผลกระทบทางลบจากโครงการคดิ เปน็ รอ้ ยละ 8.75 เกี่ยวกับอัตราคา่ เชา่ ที่ดนิ มแี นวโนม้ เพม่ิ สงู ข้นึ (ตารางที่ 4.39)
4.7 ขอ้ คิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ ของเกษตรกร
จากการสมั ภาษณเ์ กษตรกรทท่ี าํ การเกษตรในพื้นท่โี ครงการ ในปีเพาะปลกู 2559/60 (1 พฤษภาคม 2559
– 30 เมษายน 2560) เก่ียวกับข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะเพิ่มเติมของโครงการเข่ือนทดน้ําผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ์
โดยมีรายละเอียดดังนี้คอื
มีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมคือ ควรมีการประกันราคาข้าว/ข้าวโพดเล้ียงสัตว์คิดเป็นร้อยละ 8.00
รัฐควรมีตลาดรองรบั ผลผลติ ทางการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 6.00 สนับสนุนเงินทุนด้านการเกษตรดอกเบี้ยต่ําคิดเป็น
ร้อยละ 2.00 ควรมีนํ้าเพ่ือการเกษตรอย่างสมํ่าเสมอคิดเป็นร้อยละ 1.75 สนับสนุนปัจจัยการผลิตให้มีราคาตํ่าลงคิด
เป็นร้อยละ 0.75 และรัฐควรมีการจัดสรรพ้ืนท่ีทํากินให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีพ้ืนที่ของตนเองคิดเป็นร้อยละ 0.25
(ตารางท่ี 4.40)
ตารางท่ี 4.40 ข้อคิดเห็น และขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติมของเกษตรกร ปเี พาะปลูก 2559/60
หนว่ ย : ร้อยละ
ข้อคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะ เสนอแนะ ไม่เสนอแนะ รวม
- ควรมีการประกันราคาขา้ ว/ขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ 8.00 92.00 100.00
- รฐั ควรมีตลาดรองรับผลผลติ ทางการเกษตร 6.00 94.00 100.00
- สนับสนุนเงนิ ทนุ ด้านการเกษตรดอกเบีย้ ต่ํา 2.00 88.00 100.00
- ควรมีนํ้าเพ่อื การเกษตรอยา่ งสมํา่ เสมอ 1.75 98.25 100.00
- สนับสนุนปจั จัยการผลิตใหม้ รี าคาตาํ่ ลง 0.75 99.25 100.00
- รัฐควรมีการจดั สรรพื้นทท่ี ํากนิ ให้แกเ่ กษตรกรท่ีไมม่ ีพืน้ ทข่ี องตนเอง 0.25 99.75 100.00
ท่ีมา : จากการสาํ รวจ
บทที่ 5
สรปุ และข้อเสนอแนะ
5.1 สรปุ
ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นการสํารวจและจัดเก็บข้อมูลภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือนเกษตรกรตาม
แผนปฏิบัติการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและแผนติดตามตรวจผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการเขื่อนทด
นํ้าผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ์ ปีเพาะปลูก 2559/60 (1 พฤษภาคม 2559 – 30 เมษายน 2560) ซ่ึงเป็นการจัดเก็บ
ข้อมูลในระยะก่อนการดําเนินงานโครงการฯ ประชากรเป้าหมาย คือ เกษตรกรจํานวน 400 ราย ในพื้นที่สูบนํ้า
ด้วยไฟฟา้ เพื่อทดแทนไมไ่ ดร้ ับนาํ้ จากโครงการเข่อื นทดนํ้าผาจุก ครอบคลุมพื้นท่ีประมาณ 16,000 ไร่ เพื่อใช้เป็น
ฐานข้อมูลในการประเมนิ ผลในระยะต่อไป มีรายละเอยี ดดงั นค้ี อื
ส่วนใหญ่หัวหน้าครัวเรือนเกษตรเป็นเพศชายคิดเป็นร้อยละ 71.00 และเป็นเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ
29.00 โดยอายุเฉลี่ยเท่ากับ 59.67 ปี ส่วนอายุเฉล่ียของหัวหน้าครัวเรือนส่วนใหญ่ช่วงอายุ 56 – 65 ปี คิดเป็น
ร้อยละ 37.50 ระดับการศึกษาส่วนใหญ่เรียนจบช้ันประถมศึกษาตอนต้น(ป.4)คิดเป็นร้อยละ 64.75 รองลงมา
จบช้ันประถมศึกษาตอนปลาย(ป.6,7)คิดเป็นร้อยละ 18.25 หัวหน้าครัวเรือนมีอาชีพหลักคิดเป็นร้อยละ 97.50
ซ่ึงประกอบอาชีพการเพาะปลูกพืชคิดเป็นร้อยละ 87.50 อาชีพเลี้ยงสัตว์คิดเป็นร้อยละ 4.00 สําหรับอาชีพรอง
ส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพรองคิดเป็นร้อยละ 56.00 ส่วนที่มีอาชีพรองคิดเป็นร้อยละ 44.00 โดยมีอาชีพรับจ้าง
การเกษตรคิดเป็นร้อยละ 16.25 รองลงมาเป็นการรับจ้างนอกการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 10.25 การเป็นสมาชิก
กลุ่มฯ คิดเป็นร้อยละ 88.00 โดยเป็นสมาชิกธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร(ธกส.)คิดเป็นร้อยละ
33.10 กล่มุ สหกรณ์คดิ เป็นรอ้ ยละ 23.17 กล่มุ เกษตรกรคิดเป็นร้อยละ 19.17 กล่มุ องค์กรชมุ ชนทอ้ งถิ่นคิดเป็น
รอ้ ยละ 7.32 และกลมุ่ ออมทรัพยค์ ิดเป็นร้อยละ 5.24 และไม่เปน็ สมาชิกกลุม่ คดิ เป็นร้อยละ 12.00
สมาชิกในครัวเรือนเกษตรเป็นเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 61.61 และเป็นเพศชายคิดเป็นร้อยละ 38.39
โดยอายุเฉลี่ยเท่ากับ 35.90 ปี ส่วนอายุเฉล่ียของสมาชิกในครัวเรือนเกษตรส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุตํ่ากว่า 30 ปี
คิดเป็นร้อยละ 44.77 รองลงมาช่วงอายุ 30 – 45 ปี คิดเป็นร้อยละ 17.89 ระดับการศึกษาส่วนใหญ่เรียนจบช้ัน
ประถมศึกษาตอนต้น(ป.4)คิดเป็นร้อยละ 32.57 รองลงมาจบช้ันประถมศึกษาตอนปลาย(ป.6,7)คิดเป็นร้อยละ
14.96 อาชีพสมาชิกในครัวเรือนเกษตรมีอาชีพคิดเป็นร้อยละ 63.48 ส่วนที่เหลือไม่ประกอบอาชีพคิดเป็นร้อย
ละ 36.52 เน่ืองจากกําลังเรียนหนังสือและอยู่ในวัยชราไม่ประกอบอาชีพ การเป็นสมาชิกกลุ่มฯ ส่วนใหญ่ไม่เป็น
สมาชิกกลุ่มฯคิดเป็นร้อยละ 73.28 และเป็นสมาชิกกลุ่มฯคิดเป็นร้อยละ 26.72 โดยเป็นสมาชิกธนาคารเพื่อ
การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร(ธกส.)คิดเป็นร้อยละ 14.15 กลุ่มสหกรณ์คิดเป็นร้อยละ 8.98 กลุ่มองค์กร
ชุมชนทอ้ งถิ่นคดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.58 กลุม่ เกษตรกรคิดเปน็ ร้อยละ 1.16 และกลุ่มออมทรพั ย์คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.85
จํานวนสมาชิกท้ังหมดในครัวเรือนเฉล่ียเท่ากับ 3.39 คน/ครัวเรือน โดยเป็นเพศชายเฉลี่ยเท่ากับ 1.63
คน/ครวั เรือน และเปน็ เพศหญิงเฉลย่ี เท่ากบั 1.76 คน/ครัวเรอื น
พื้นที่การเกษตรปีเพาะปลูก 2559/60 โดยเฉลี่ย 21.02 ไร่/ครัวเรือน ส่วนใหญ่จะเป็นพ้ืนท่ีทํานาปี/นา
ปรังจํานวน 14.43 ไร่/ครัวเรือน รองลงมาเป็นท่ีพืชไร่จํานวน 4.41 ไร่/ครัวเรือน ท่ีไม้ผล/ไม้ยืนต้นจํานวน 0.80
ไร่/ครัวเรือน ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์จํานวน 0.62 ไร่/ครัวเรือน ที่บ่อเลี้ยงปลาจํานวน 0.29 ไร่/ครัวเรือน ที่เลี้ยงสัตว์
(คอก)จํานวน 0.22 ไร่/ครัวเรือน และท่ีไร่นาสวนผสมจํานวน 0.12 ไร่/ครัวเรือน ส่วนพื้นท่ีปลูกพืชผักและที่ปลูก
ไมด้ อกไม้ประดบั มเี พียงเล็กน้อย การใช้ที่ดินจริงในการประกอบการเกษตรเฉลี่ย 34.32 ไร่/ครัวเรือน ส่วนใหญ่จะ
เป็นพ้นื ท่ีปลกู ขา้ วนาป/ี นาปรังจาํ นวน 25.13 ไร่/ครัวเรือน รองลงมาเป็นที่ปลูกพืชไร่จํานวน 7.01 ไร่/ครัวเรือน ที่
ปลูกไม้ผล/ไม้ยืนต้นจํานวน 0.80 ไร่/ครัวเรือน ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์จํานวน 0.62 ไร่/ครัวเรือน ที่บ่อเลี้ยงปลาจํานวน
0.29 ไร่/ครัวเรือน ท่ีเล้ียงสัตว์(คอก)จํานวน 0.22 ไร่/ครัวเรือน และที่ไร่นาสวนผสมจํานวน 0.12 ไร่/ครัวเรือน
69
และประสิทธิภาพการใช้ท่ีดินคิดเป็นร้อยละ 163.27 ส่วนพื้นท่ีอยู่อาศัย 0.71 ไร่/ครัวเรือน และพ้ืนที่การเกษตร
เฉล่ีย 4.32 ผืน/ครัวเรือน ลักษณะการถือครองท่ีดินจํานวน 34.31 ไร่/ครัวเรือน แยกเป็นท่ีดินของตนเอง ท่ีดิน
เช่า และทดี่ ินได้ทําฟรี เน้ือทปี่ ระมาณ 15.90 15.21 และ 3.20 ไร/่ ครัวเรือน ตามลาํ ดับ ถ้าแยกตามลักษณะ
การใช้ท่ดี นิ ในการเกษตร เปน็ ท่นี า ทไี่ ร่ ที่ไม้ผล/ไม้ยืนต้น ทุ่งหญ้าเล้ียงสัตว์ ท่ีรกร้างว่างเปล่า ท่ีบ่อเลี้ยงปลา ท่ี
เลี้ยงสัตว์(คอก) และที่ไร่นาสวนผสม เน้ือที่ประมาณ 25.13 7.01 0.80 0.62 0.12 0.29 0.22 และ
0.12 ไร/่ ครวั เรือน ตามลําดับ
มูลค่าทรัพย์สินการเกษตรเฉลี่ยต่อครัวเรือนต้นปี ส่วนใหญ่จะเป็นทรัพย์สินคงท่ีมีมูลค่า 1,254,373 บาท
รองลงมาเป็นทรัพย์สินในการดําเนินการมีมูลค่า 86,874 บาท และเป็นทรัพย์สินหมุนเวียนมีมูลค่า 20,612 บาท
สรุปเกษตรกรมที รัพย์สนิ การเกษตรท้ังหมดประมาณ 1,361,859 บาท ถา้ ไม่คิดมลู คา่ ทดี่ ินจะมที รัพยส์ นิ การเกษตร
มีมูลค่า 107,486 บาท สําหรับมูลค่าทรัพย์สินการเกษตรเฉลี่ยต่อครัวเรือนปลายปี ส่วนใหญ่เป็นทรัพย์สินคงที่
ใกลเ้ คียงกับต้นปีคือ มมี ลู คา่ 1,257,356 บาท รองลงมาเป็นทรัพย์สินในการดําเนินการมีมูลค่า 84,226 บาท และ
เป็นทรัพย์สินหมุนเวียนมีมูลค่า 18,235 บาท สรุปเกษตรกรมีทรัพย์สินการเกษตรท้ังหมดประมาณ 1,359,817
บาท ถ้าไมค่ ิดมลู คา่ ที่ดินจะมที รัพย์สินการเกษตรมีมลู ค่า 102,461 บาท
หน้ีสิน มีเกษตรกรท่ีไม่เป็นหน้ีหรือไม่ได้กู้ยืมเงินคิดเป็นร้อยละ 17.00 ส่วนที่เป็นหน้ีหรือกู้ยืมเงินอยู่ ณ
30 เมษายน 2560 คิดเป็นร้อยละ 83.00 โดยแหล่งกู้ยืมเงินของเกษตรกรส่วนใหญ่เป็นแหล่งกู้ยืมในระบบคิดเป็น
ร้อยละ 81.36 สําหรับหน้ีนอกระบบคิดเป็นร้อยละ 5.92 จํานวนหน้ีสินของเกษตรกรท้ังหมดเฉลี่ย 179,051
บาท/ครัวเรือน โดยเป็นหน้ีสินในระบบจํานวน 172,968 บาท/ครัวเรือน แบ่งเป็นเงินต้น และดอกเบี้ยค้างจ่าย
จํานวน 161,343 และ 11,625 บาท/ครัวเรือน ตามลําดับ ส่วนหน้ีสินนอกระบบจํานวน 6,083 บาท/ครัวเรือน
แบ่งเป็นเงินต้น และดอกเบ้ียค้างจ่าย จํานวน 5,668 และ 415 บาท/ครัวเรือน ตามลําดับ สําหรับวัตถุประสงค์
การกู้ยืมเงินเพ่ือใช้นอกการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 44.11 ส่วนการกู้ยืมเพื่อใช้ในการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 55.89
โดยแยกเป็นการกู้เพื่อใช้ในการเกษตรพื้นที่ในโครงการคิดเป็นร้อยละ 40.34 และกู้ใช้ในการเกษตรพื้นที่นอก
โครงการคดิ เป็นรอ้ ยละ 15.55
รายได้เงนิ สดการเกษตร รวมทงั้ หมดเท่ากบั 191,870 บาท/ครวั เรือน คอื 1) ด้านพืช รายได้เงินสดด้าน
พืชรวมทั้งหมด 144,144 บาท/ครัวเรือน ส่วนใหญ่เป็นรายได้เงินสดจากการปลูกข้าวเจ้านาปีจํานวน 60,489
บาท รองลงมาเป็นรายได้จากการปลูกข้าวเจ้านาปรังจํานวน 52,624 บาท ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ รุ่น 1 จํานวน
7,238 บาท อ้อยโรงงานปีที่ 1-3 จํานวน 4,144 5,574 และ 9,700 บาท ตามลําดับ 2) ด้านปศุสัตว์ รายได้
เงนิ สดดา้ นปศสุ ัตวร์ วมท้งั หมด 22,387 บาท/ครวั เรือน ส่วนใหญ่เปน็ รายไดเ้ งนิ สดจากการเล้ียงโคจํานวน 12,674
บาท รองลงมาเป็นรายได้จากการเล้ียงสุกรจํานวน 9,396 บาท ไก่พ้ืนเมือง/ไก่บ้านจํานวน 191 บาท รายได้จาก
การเลยี้ งไก่ชนจํานวน 82 บาท 3) ด้านสัตวน์ ํา้ รายไดเ้ งนิ สดดา้ นสัตวน์ า้ํ รวมท้ังหมด 1,507 บาท/ครวั เรือน เป็น
รายได้เงินสดจากการเล้ียงปลานํ้าจืดจํานวน 825 บาท และการเล้ียงกบจํานวน 682 บาท 4) ด้านอ่ืนๆ จํานวน
23,832 บาท/ครัวเรือน รายจ่ายเงินสดการเกษตร รวมท้ังหมดเท่ากับ 112,671 บาท/ครัวเรือน คือ 1) ด้าน
พืช รายจ่ายเงินสดด้านพืชรวมทั้งหมด 81,323 บาท/ครัวเรือน ส่วนใหญ่เป็นรายจ่ายเงินสดจากการปลูกข้าวเจ้า
นาปีจํานวน 34,952 บาท รองลงมาเป็นรายจ่ายจากการปลูกข้าวเจ้านาปรังจํานวน 27,976 บาท ข้าวโพดเล้ียง
สตั ว์ รุน่ 1 จํานวน 5,293 บาท ออ้ ยโรงงานปที ่ี 3 จํานวน 4,660 บาท ออ้ ยโรงงานปที ่ี 2 จํานวน 2,475 บาท และ
อ้อยโรงงานปีที่ 1 จํานวน 2,434 บาท 2) ด้านปศุสัตว์ รายจ่ายเงินสดด้านปศุสัตว์รวมทั้งหมด 14,045 บาท/
ครัวเรอื น ส่วนใหญเ่ ป็นรายจา่ ยเงนิ สดจากการเลยี้ งสุกรจาํ นวน 7,172 บาท รองลงมาเปน็ รายจ่ายจากการเลี้ยงโค
จํานวน 6,522 บาท และรายจ่ายจากการเลี้ยงไก่พื้นเมือง/ไก่บ้านจํานวน 126 บาท 3) ด้านสัตว์น้ํา รายจ่ายเงิน
สดด้านสัตว์น้ํารวมท้ังหมด 1,339 บาท/ครัวเรือน เป็นรายจ่ายเงินสดจากการเลี้ยงปลานํ้าจืดจํานวน 968 บาท/
ครัวเรือน และรายจ่ายเงินสดจากการเลี้ยงกบจํานวน 371 บาท/ครัวเรือน 4) ด้านอ่ืนๆ จํานวน 15,964 บาท/
ครัวเรือน รายได้เงินสดสุทธิเกษตร รายได้เงินสดสุทธิเกษตรรวมเท่ากับ 79,199 บาท/ครัวเรือน เป็นด้านพืช
70
ดา้ นปศสุ ตั ว์ ดา้ นสตั วน์ าํ้ และอื่นๆ เทา่ กับ 62,821 8,342 168 และ 7,868 บาท/ครวั เรอื น ตามลาํ ดับ มลู คา่
ผลผลิตเกษตรที่ใช้ในครัวเรือน และส่วนต่างมูลค่าผลผลิตเกษตรต้นปีและปลายปี รวมเท่ากับ 10,936 บาท/
ครัวเรือน เป็นด้านพืช ด้านปศุสัตว์ และด้านสัตว์น้ําเท่ากับ 6,658 2,148 และ 2,130 บาท/ครัวเรือน
ตามลําดับ รายได้สุทธิเกษตร หมายถึง รายได้เงินสดสุทธิเกษตรรวมกับมูลค่าผลผลิตเกษตรที่ใช้ในครัวเรือนและ
ส่วนต่างมูลค่าผลผลิตเกษตรตน้ ปีและปลายปี ดังน้ัน รายได้สุทธิเกษตรรวมเท่ากับ 90,135 บาท/ครัวเรือน เป็น
ด้านพืช ด้านปศุสัตว์ ด้านสัตว์น้ํา และอ่ืนๆ เท่ากับ 69,479 10,490 2,298 และ 7,868 บาท/ครัวเรือน
ตามลําดับ รายได้เงินสดนอกเกษตร นอกจากรายได้เงินสดการเกษตรภายในฟาร์มตนเองแล้ว เกษตรกรส่วน
ใหญ่การครองชีพมีรายได้เสริมจากนอกการเกษตร เน่ืองจากระบบการผลิตทางการเกษตรท่ีไม่ต่อเน่ืองทําให้มี
แรงงานภายในครัวเรือนว่างงานจึงออกทํางานนอกฟาร์มและมีแรงงานนอกการเกษตร ได้แก่ ครัวเรือนไปรับจ้าง
การเกษตรนอกฟาร์ม กําไรจากการค้าขาย(ซ้ือสินค้าเกษตรมาขาย) ให้บริการนอกการเกษตร คนในครัวเรือน
รับจ้างกิจกรรมนอกเกษตร นําเครื่องมือไปรับจ้างนอกการเกษตร เงินเดือน/ค่าตอบแทน ได้รับเงินทํางานจาก
ต่างประเทศ/ลูกหลานอยู่ต่างประเทศส่งให้ เป็นต้น ในปีเพาะปลูก 2559/60 มีรายได้นอกการเกษตรรวมเท่ากับ
112,550 บาท/ครัวเรอื น โดยเป็นรายได้จากเงินเดือน/ค่าตอบแทนจํานวน 52,198 บาท ได้เงินทํางานในต่างถ่ิน/
ลูกหลานในประเทศส่งให้จํานวน 14,143 บาท กําไรจากการค้าขาย(ซื้อของมาขายฯ/ร้านขายของชํา)จํานวน
12,162 บาท คนในครัวเรือนไปรับจ้างนอกการเกษตรจํานวน 11,465 บาท เป็นต้น รายจ่ายเงินสดนอกเกษตร
เป็นรายจ่ายในครัวเรือนซ่ึงเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อการดํารงชีพของครอบครัวเกษตรของบุคคลภายในครัวเรือนท้ังหมด
(ค่าบริโภค/อุปโภค) คือ ค่าอาหาร ค่าหัตถกรรม/อุตสาหกรรมในครัวเรือน เสื้อผ้าเคร่ืองนุ่งห่ม ส่ิงของใช้ใน
ครัวเรือน (สบู่ ยาสีฟัน ผงซักฟอก ของใช้ส่วนบุคคล) ค่าเชื้อเพลิง/ไฟฟ้า/แสงสว่าง ค่านํ้าใช้ในครัวเรือน ค่า
รักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายการศึกษา เป็นต้น ดังนั้น โดยเฉล่ียรวมต่อครัวเรือนเกษตรกรมีรายจ่ายนอกเกษตร
ท้ังหมดตลอดทั้งปีเท่ากับ 101,190 บาท/ครัวเรือน โดยเป็นค่าอาหารจํานวน 31,325 บาท และค่าอุปโภคอ่ืนๆ
จํานวน 69,865 บาท ได้แก่ ค่าใช้จ่ายการศึกษาจํานวน 9,710 บาท ค่าน้ํามัน(ใช้กับยานพาหนะ)จํานวน 8,702
บาท ค่ากิจกรรมทางศาสนา/พิธีกรรมจํานวน 7,405 บาท ค่าเช้ือเพลิง/ไฟฟ้า/แสงสว่างจํานวน 6,818 บาท ที่
อยู่อาศัย (ค่าเช่าบ้าน/ค่าซ่อมแซมบ้าน)จํานวน 6,418 บาท ค่าภาษีท่ีดินนอกเกษตร/ค่าธรรมเนียม/ค่าเบี้ย
ประกันตา่ ง ๆ จาํ นวน 5,755 บาท เป็นต้น รายได้เงินสดคงเหลือเพ่ือใช้จ่ายในครัวเรือน หมายถึง รายได้เงินสด
สุทธิเกษตรรวมกับรายได้นอกการเกษตร ดังน้ันรายได้เงินสดคงเหลือเพื่อใช้จ่ายในครัวเรือนเท่ากับ 191,749
บาท/ครัวเรือน เงินออม หมายถึง เป็นเงินคงเหลือจากการใช้จ่ายทั้งในการเกษตรและนอกการเกษตร เป็นเงิน
ออมที่เกษตรกรคงเหลือเพื่อไว้ใช้สอยในปีต่อไปหรือใช้สอยเมื่อมีความจําเป็น ดังนั้น เกษตรกรมีเงินออมเท่ากับ
90,559 บาท/ครัวเรือน เงินออมสุทธิ หมายถึง รายได้สุทธิเกษตรรวมกับรายได้นอกการเกษตร แล้วหักรายจ่าย
นอกการเกษตร ดังน้ัน เกษตรกรมีเงินออมสุทธิเท่ากับ 101,495 บาท/ครัวเรือน รายได้เงินสดสุทธิเกษตรเหลือ
จากการใช้จ่ายในครัวเรือน หมายถึง รายได้เงินสดสุทธิเกษตรหักรายจ่ายนอกการเกษตร ดังนั้น รายได้เงินสด
สุทธิเกษตรเหลอื จากการใชจ้ า่ ยในครวั เรือนเทา่ กบั ติดลบ 21,991 บาท/ครวั เรือน
เกษตรกรมีปัญหาเร่ืองต่างๆ คือ เร่ืองดิน เก่ียวกับเรื่องสภาพดินและสภาพพ้ืนที่ทําการเกษตรมีปัญหา
คิดเป็นร้อยละ 12.00 ได้แก่ สภาพพื้นท่ีการเกษตรเป็นดินปนทรายคิดเป็นร้อยละ 5.50 ดินเป็นลูกรัง/หินกรวด
คดิ เป็นร้อยละ 3.80 ดินแข็งคดิ เป็นรอ้ ยละ 2.20 และสภาพพืน้ ท่เี ป็นที่ล่มุ นํ้าคิดเป็นร้อยละ 0.50 คุณสมบัติของ
ดินมปี ญั หาคิดเปน็ ร้อยละ 2.25 ไดแ้ ก่ สภาพดินขาดธาตุอาหารคิดเป็นรอ้ ยละ 1.50 และสภาพดนิ เปรีย้ ว/กรดคิด
เป็นร้อยละ 0.75 ความเหมาะสมของสภาพพื้นท่ีในโครงการเหมาะสมกับการปลูกพืชท้ังหมดจึงไม่มีปัญหากับ
การปลูกพืช ส่วนสภาพพ้ืนท่ีการเล้ียงสัตว์ไม่มีความเหมาะสมในโครงการคิดเป็นร้อยละ 29.50 เรื่องน้ํา
เก่ียวกับเรื่องคุณภาพของนํ้ามีปัญหาเก่ียวกับความเปรี้ยว/กรดคิดเป็นร้อยละ 2.50 กรณีมีบ่อน้ําในไร่นา
เกษตรกรไม่ใชป้ ระโยชนค์ ิดเปน็ ร้อยละ 44.90 และใช้ประโยชน์คิดเป็นร้อยละ 55.10 ได้แก่ เลี้ยงปลาคิดเป็นร้อย
ละ 28.75 ปลูกพืชฤดูแล้งคิดเป็นร้อยละ 16.50 และใช้นํ้าบ่อตอนฝนทิ้งช่วงคิดเป็นร้อยละ 9.85 กรณีฝนตก
71
การระบายนํ้ามีปัญหาคิดเป็นร้อยละ 7.25 ไม่มีแหล่งน้ําในหมู่บ้านคิดเป็นร้อยละ 52.72 ในรอบปีเพาะปลูกที่
ผ่านมาเกษตรกรประสบปัญหาเก่ียวกับเรื่องนํ้าคิดเป็นร้อยละ 74.00 เน่ืองจากในฤดูแล้งขาดแคลนน้ํา เร่ืองการ
ผลิตและการตลาด เก่ียวกับเร่ืองพ้ืนที่ทําการเกษตรสามารถทําได้เพียงหนึ่งครั้งต่อปีคิดเป็นร้อยละ 68.00
สําหรับเร่ืองโรคพืชและแมลงระบาดเกษตรกรท่ีมีปัญหาคิดเป็นร้อยละ 12.75 มีครัวเรือนท่ีเล้ียงปศุสัตว์คิดเป็น
ร้อยละ 4.00 และไม่มีปัญหาเกี่ยวกับการเล้ียงสัตว์ท้ังหมด ส่วนเร่ืองการขาดแคลนแรงงานคนในท้องถิ่นคิดเป็น
ร้อยละ 9.75 เน่ืองจากลักษณะกิจกรรมการปลูกพืชคล้ายกันทําให้ขาดแคลนแรงงาน ช่วงเก็บเกี่ยวส่วนใหญ่
เกษตรกรทาํ ของตัวเอง และแรงงานออกไปรับจ้างตา่ งทอ้ งท่ี ช่วงฤดูเก็บเกี่ยวผลผลิตขาดแคลนแรงงานเคร่ืองจักร
ในท้องถ่ินคิดเป็นร้อยละ 5.75 เนื่องจากช่วงทํานาปีไม่มีรถเก่ียวหายากทําให้ผลผลิตเสียหาย ขาดแคลนปัจจัย
การผลิตในท้องถิ่นคิดเป็นร้อยละ 0.50 คือ ขาดแคลนเมล็ดพันธุ์พืช มีปัญหาด้านการตลาด/การจําหน่ายคิดเป็น
ร้อยละ 15.00 เน่อื งจากราคาขายผลผลิตทางการเกษตรไมแ่ นน่ อน
การเป็นสมาชิกกลุ่มสูบน้ําด้วยไฟฟ้าของครัวเรือนเกษตรคิดเป็นร้อยละ 75.50 และไม่เป็นสมาชิกกลุ่มสูบ
นํ้าด้วยไฟฟ้าคิดเป็นร้อยละ 24.50 เกษตรกรมีค่าใช้จ่ายในการจัดหานํ้ามาใช้เพื่อการเกษตรของครัวเรือนคิด
เป็นร้อย 80.25 โดยเฉลี่ยจํานวน 4,889 บาท/ครัวเรือน โดยแยกเป็นค่านํ้ามันในการสูบน้ําเพ่ือการเกษตรเท่ากับ
760 บาท/ครวั เรือน คา่ ไฟฟ้าในการสบู น้ําเพื่อการเกษตรเทา่ กบั 4,089 บาท/ครัวเรือน คา่ ซอ้ื นํ้าทําการเกษตร/สูบ
นํ้าด้วยไฟฟ้าเท่ากับ 40 บาท/ครัวเรือน เกษตรกรได้รับการสนับสนุนปัจจัยการผลิตจากส่วนราชการในสังกัด
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของครัวเรือนเกษตร ปีเพาะปลูก 2559/60 คิดเป็นร้อยละ 13.25 ปัจจัยที่ได้รับเป็น
พันธุ์ไก่ เมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ เมล็ดพันธุ์ผัก พันธุ์ปลา และพันธ์ุไม้ผล คิดเป็นร้อยละ 6.50 2.50 2.00
1.50 และ 0.75 ตามลําดับ เกษตรกรได้รับการบริการจากส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์คิด
เป็นร้อยละ 3.50 บรกิ ารท่ีไดร้ บั เป็นตรวจวิเคราะห์ดิน แหล่งเงินทุนของเกษตรกรเห็นว่าไม่เพียงพอคิดเป็นร้อย
ละ 5.25 สาเหตุจากต้นทุนการเกษตรสูงขึ้น ประสบภัยแล้ง และมีรายได้น้อยคิดเป็นร้อยละ 2.25 2.25 และ
0.75 ตามลําดับ
ความคาดหวงั ของเกษตรกรตอ่ การผลิตด้านการเกษตรภายหลังมโี ครงการฯ เกษตรกรส่วนใหญ่เห็นว่าเกิด
ประโยชน์มากคิดเป็นร้อยละ 78.75 รองลงมาเห็นว่าเกิดประโยชน์ปานกลางคิดเป็นร้อยละ 15.75 เห็นว่าเกิด
ประโยชน์น้อยคิดเป็นร้อยละ 3.25 และเห็นว่าไม่เกิดประโยชน์คิดเป็นร้อยละ 2.25 ความคาดหวังของเกษตรกร
เกย่ี วกับการแก้ปัญหาเร่ืองนาํ้ เพื่อการเกษตรภายหลังมีโครงการฯ เกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่คาดหวังว่า
สามารถชว่ ยแกป้ ัญหาเรือ่ งนํา้ เพอ่ื การเกษตรภายหลังมโี ครงการคดิ เป็นร้อยละ 97.25 โดยเห็นว่าจะช่วยแก้ปัญหา
มีน้ําเพียงพอในการทําการเกษตรในฤดูแล้ง มีจํานวนรอบการผลิตเพิ่มข้ึน ลดค่าใช้จ่ายในการจัดหาน้ํา ขยาย
พื้นท่ีทําการเกษตรเพ่ิมขึ้น ลดหรือบรรเทาภัยจากนํ้าท่วม คิดเป็นร้อยละ 94.75 76.00 54.00 36.00 และ
22.50 ตามลําดับ เกษตรกรมีความสนใจและต้องการในการทํากิจกรรมเพิม่ เติมภายหลังมโี ครงการคิดเปน็ ร้อยละ
49.75 สว่ นใหญเ่ ป็นด้านการผลิตพชื คดิ เป็นร้อยละ 44.00 ได้แก่ ส่งเสรมิ เมล็ดพนั ธ์ุดขี ้าว/ข้าวโพดเลย้ี งสัตว์/ออ้ ย
โรงงาน/ถวั่ เขยี ว/ถว่ั ลสิ ง/ถว่ั เหลือง เมลด็ พนั ธผ์ุ กั สวนครัว การเพาะเห็ด ไร่นาส่วนผสม และสนับสนุนกิ่งพันธุ์ไม้
ผล ด้านประมงคดิ เปน็ รอ้ ยละ 15.75 ได้แก่ การเลยี้ งปลากินพืช การเล้ียงกบ ขุดบ่อเลี้ยงปลา เล้ียงปลาในวงบ่อ
เป็นต้น ด้านปศุสัตว์คิดเป็นร้อยละ 14.25 ได้แก่ ส่งเสริมการเล้ียงโค กระบือ สุกร เป็ด ไก่ไข่ ไก่พ้ืนเมือง เป็นต้น
ด้านการจัดทําปุ๋ยอินทรีย์/ชีวภาพคิดเป็นร้อยละ 7.00 ด้านการจัดทําบัญชีครัวเรือนคิดเป็นร้อยละ 3.75 ด้าน
ส่งเสริมอาชีพเสริมคิดเป็นร้อยละ 2.50 ได้แก่ จักรสาน แปรรูปอาหาร การเล้ียงจิ้งหรีด เป็นต้น ด้านเงินลงทุน
การเกษตรคิดเป็นร้อยละ 2.50 และด้านป่าไมค้ ิดเปน็ ร้อยละ 0.25
ทัศนคติและระดับความพึงพอใจของเกษตรกรที่มีต่อโครงการ คือ การจัดโครงการตรงกับความ
ต้องการของเกษตรกร เกษตรกรเห็นว่าตรงกับความต้องการระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และน้อย คิด
เป็นร้อยละ 81.00 12.75 5.25 และ 1.00 ตามลําดับ ความเหมาะสมกับพื้นที่ เกษตรกรเห็นว่ามีความ
เหมาะสมกับพื้นที่ในระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และน้อย คิดเป็นร้อยละ 75.50 17.25 5.50 และ
72
1.75 ตามลําดับ พ้ืนท่ีทําการเกษตรเพิ่มขึ้น เกษตรกรเห็นว่ามีพื้นท่ีทําการเกษตรเพิ่มขึ้นในระดับมาก
ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และน้อย คิดเป็นร้อยละ 58.75 16.00 9.50 และ 15.75 ตามลําดับ รายได้ทาง
การเกษตรเพิ่มข้ึน เกษตรกรเห็นว่ามีรายได้ทางการเกษตรเพิ่มขึ้นในระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และ
น้อย คิดเป็นร้อยละ 68.50 23.00 6.75 และ 1.75 ตามลําดับ สามารถปลูกพืชฤดูแล้งได้ เกษตรกรเห็นว่า
สามารถปลูกพืชฤดูแล้งได้ในระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และน้อย คิดเป็นร้อยละ 76.00 18.00
4.75 และ 1.25 ตามลําดับ สามารถแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ําในช่วงฝนท้ิงช่วง เกษตรกรเห็นว่าสามารถ
แก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ําในช่วงฝนทิ้งช่วงในระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และน้อย คิดเป็นร้อยละ
75.00 16.50 4.25 และ 4.25 ตามลําดับ บรรเทาปัญหาน้ําท่วม เกษตรกรเห็นว่าสามารถบรรเทาปัญหาน้ํา
ท่วมในระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และน้อย คิดเป็นร้อยละ 8.50 39.00 34.00 และ 18.50
ตามลําดับ การลดใช้ปุ๋ยเคมี/สารเคมี เกษตรกรเห็นว่าสามารถลดใช้ปุ๋ยเคมี/สารเคมีในระดับมาก ค่อนข้างมาก
ค่อนข้างน้อย และน้อย คิดเป็นร้อยละ 1.25 21.25 48.00 และ 29.25 ตามลําดับ ความเหมาะสมของ
เกษตรกรต่อโครงการ เกษตรกรเห็นว่าความเหมาะสมของเกษตรกรต่อโครงการในระดับมาก ค่อนข้างมาก
ค่อนข้างน้อย และน้อย คิดเป็นร้อยละ 58.50 29.50 5.00 และ 7.00 ตามลําดับ โครงการจัดรูปท่ีดิน
เกษตรกรเห็นว่าถ้ามีโครงการจัดรูปที่ดินมีความสนใจเข้าร่วมโครงการคิดเป็นร้อยละ 14.50 และไม่สนใจใน
โครงการคดิ เปน็ รอ้ ยละ 85.50 ตามลาํ ดบั
ทัศนคติของเกษตรกรในด้านผลกระทบจากโครงการฯ คือ ผลกระทบทางบวกจากโครงการ
เกษตรกรเห็นว่าไม่มีผลกระทบทางบวกจากโครงการคิดเป็นร้อยละ 6.75 ส่วนที่เห็นว่ามีผลกระทบทางบวกจาก
โครงการคิดเป็นร้อยละ 93.25 เก่ียวกับสามารถปลูกพืชฤดูแล้งได้คิดเป็นร้อยละ 80.75 การบรรเทาปัญหาการ
ขาดแคลนนํ้าในช่วงฤดูฝน/ฝนท้ิงช่วงคิดเป็นร้อยละ 79.25 มีพื้นที่การเกษตรเพ่ิมข้ึนคิดเป็นร้อยละ 66.25
และบรรเทาปัญหาน้าํ ทว่ มคดิ เปน็ ร้อยละ 18.75 ผลกระทบทางลบจากโครงการ เกษตรกรเห็นว่าไม่มีผลกระทบ
ทางลบจากโครงการคิดเป็นร้อยละ 91.25 ส่วนที่เห็นว่ามีผลกระทบทางลบจากโครงการคิดเป็นร้อยละ 8.75
เกย่ี วกบั อตั ราค่าเชา่ ที่ดินมแี นวโน้มเพ่ิมสูงข้นึ
มีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมคือ ควรมีการประกันราคาข้าว/ข้าวโพดเล้ียงสัตว์คิดเป็นร้อยละ
8.00 รัฐควรมีตลาดรองรับผลผลิตทางการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 6.00 สนับสนุนเงินทุนด้านการเกษตรดอกเบี้ย
ต่ําคิดเป็นร้อยละ 2.00 ควรมีนํ้าเพื่อการเกษตรอย่างสม่ําเสมอคิดเป็นร้อยละ 1.75 สนับสนุนปัจจัยการผลิตให้มี
ราคาตํ่าลงคิดเป็นร้อยละ 0.75 และรัฐควรมีการจัดสรรพื้นท่ีทํากินให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีพ้ืนท่ีของตนเองคิดเป็น
รอ้ ยละ 0.25
5.2 ข้อเสนอแนะ
5.2.1 จาํ นวนสมาชกิ ท้งั หมดในครัวเรือนประมาณ 3.39 คน/ครัวเรือน มีพื้นที่การเกษตรเฉล่ีย 21.02 ไร่/
ครัวเรือน อัตราการคุมพ้ืนที่เท่ากับ 6.20 ไร่/คน ระบบการผลิตมีรายได้จากการปลูกข้าวเป็นส่วนใหญ่ และ
แรงงานของหัวหน้าครัวเรือนออกไปทํางานอาชีพรองคิดเป็นร้อยละ 44.00 คือ รับจ้างการเกษตร รับจ้างนอก
การเกษตร ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว เป็นต้น เมื่อพิจารณาพบว่า เกษตรกรมีท่ีดินและมีเวลาเหลือหลังจากทํางานใน
ฟาร์มตนเอง ยังสามารถประกอบอาชีพเสริมได้ ดังนั้น เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพในตัวเกษตรกรมากข้ึนจึงควรมีการ
วางระบบการผลิตท่ีเหมาะสมกบั พื้นท่ใี นแต่ละราย เพือ่ ให้ครอบครวั มีรายไดเ้ พิ่มขน้ึ อย่างยง่ั ยืน
5.2.2 อายเุ ฉล่ยี ของหัวหนา้ ครวั เรอื นเกษตรเทา่ กับ 59.67 ปี และอายเุ ฉล่ยี ส่วนใหญ่อยู่ในชว่ ง 56 – 65 ปี
คิดเปน็ รอ้ ยละ 37.50 และมากกวา่ 65 ปี คดิ เป็นร้อยละ 28.00 ถา้ คํานงึ ถงึ อนาคตของทายาททางการเกษตร ใน
แต่ละครัวเรือนนา่ จะมีการปลกู ฝงั เตรยี มพรอ้ ม เพื่อหาผสู้ บื สานความเปน็ เกษตรกรทม่ี คี ณุ ภาพตอ่ ไป
5.2.3 การใช้ที่ดินจริงในการประกอบอาชีพทางการเกษตรมีประสิทธิภาพการใช้ท่ีดินคิดเป็นร้อยละ
163.27 ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ทํานาปี/นาปรังจํานวน 25.13 ไร่/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 119.55 ของการถือ
73
ครองท่ดี ินในการเกษตร สว่ นขา้ วเจา้ นาปแี ละข้าวเหนยี วนาปีราคาเฉล่ยี 5.87 และ 7.20 บาท/กิโลกรัม ตามลําดับ
สําหรับข้าวเจ้านาปรัง และข้าวเหนียวนาปรังมีราคาเฉลี่ย 6.11 และ 6.91 บาท/กิโลกรัม ตามลําดับ ดังน้ัน ควรมี
ระบบการผลิตเชิงฟาร์มผสมผสานเพ่ือลดความเส่ียงจากราคาข้าว และมีแหล่งนํ้าในไร่นาที่เหมาะสมถูกกําหนด
เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการทําฟาร์มของเกษตรกร นอกจากนี้ยังช่วยให้เกิดการใช้ที่ดินและใช้แรงงาน
อย่างมีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน แต่อย่างไรก็ดีควรศึกษาความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติในแต่ละพื้นท่ีเพ่ือให้เกิด
ประสทิ ธิภาพอยา่ งเป็นรปู ธรรม
5.2.4 ในรอบปีเพาะปลูกที่ผ่านมาเกษตรกรประสบปัญหาเกี่ยวกับเร่ืองนํ้าคิดเป็นร้อยละ 74.00
เน่ืองจากในฤดูแล้งขาดนํ้า หยุดทํานาปรัง และพื้นที่ทําการเกษตรสามารถปลูกพืชได้เพียงคร้ังเดียวในรอบหนึ่งปี
คดิ เปน็ ร้อยละ 68.00 ดงั นัน้ ควรส่งเสรมิ ปลกู พชื ทดแทนท่ีใช้น้าํ น้อยในฤดแู ลง้ เพ่อื ลดอัตราความเส่ยี งในการผลิต
5.2.5 ปัญหาของเกษตรกรในพื้นท่ีมีหลายปัญหา ได้แก่ ดินและสภาพพ้ืนที่ทําการเกษตรมีปัญหาคิดเป็น
ร้อยละ 12.00 เนือ่ งจากสภาพพืน้ ทก่ี ารเกษตรเป็นดนิ ปนทราย ดินเป็นลูกรัง/หินกรวด ดินแข็ง และเป็นท่ีลุ่มนํ้า
คุณสมบัติของดินมีปัญหาคิดเป็นร้อยละ 2.25 เน่ืองจากสภาพดินขาดธาตุอาหาร และสภาพดินเปร้ียว/กรด
คุณภาพของนํ้ามีปัญหาเก่ียวกับความเปรี้ยว/กรดคิดเป็นร้อยละ 2.50 กรณีมีบ่อน้ําในไร่นาเกษตรกรไม่ใช้
ประโยชน์คิดเป็นร้อยละ 44.90 โรคพืชและแมลงระบาดมีปัญหาคิดเป็นร้อยละ 12.75 ปัญหาเหล่าน้ีควรมี
การศึกษาหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขโดยผู้ชํานาญเฉพาะด้าน เพื่อกําหนดรูปแบบการพัฒนาท่ีเหมาะสมกับ
โครงการเขอ่ื นทดนาํ้ ผาจกุ ใหส้ ามารถบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ
5.2.6 จากการสํารวจความคิดเห็นของเกษตรกรในด้านทัศนคติ ระดับความพึงพอใจ และผลกระทบที่มี
ต่อโครงการ ได้แก่ ส่วนใหญ่เกษตรกรมีความคิดเห็นในระดับมากและค่อนข้างมาก(รวม) เกี่ยวกับเร่ืองการจัด
โครงการตรงกับความต้องการของเกษตรกรคิดเป็นร้อยละ 93.75 ความเหมาะสมกับพ้ืนที่คิดเป็นร้อยละ 82.75
พื้นที่ทําการเกษตรเพ่ิมข้ึนคิดเป็นร้อยละ 74.75 ความเหมาะสมของเกษตรกรต่อโครงการคิดเป็นร้อยละ 88.00
สําหรบั ความเห็นของเกษตรกรทีเ่ หน็ วา่ มีผลกระทบทางบวกจากโครงการคิดเป็นร้อยละ 93.25 เนื่องจากสามารถ
ปลูกพืชฤดูแล้งได้ บรรเทาปัญหาการขาดแคลนนํ้าในช่วงฤดูฝน/ฝนท้ิงช่วง มีพ้ืนท่ีทําการเกษตรเพิ่มขึ้น และ
บรรเทาปัญหาน้ําท่วม ส่วนมีผลกระทบทางลบจากโครงการคิดเป็นร้อยละ 8.75 เกี่ยวกับอัตราค่าเช่าที่ดินที่มี
แนวโนม้ เพ่มิ สูงขึ้น ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมจากเกษตรกร ได้แก่ ควรมีการประกันราคาข้าว/ข้าวโพดเล้ียงสัตว์คิดเป็น
ร้อยละ 8.00 รัฐควรมีตลาดรองรับผลผลิตทางการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 6.00 สนับสนุนเงินทุนด้านการเกษตร
ดอกเบี้ยตํ่าคิดเป็นร้อยละ 2.00 ควรมีน้ําเพ่ือการเกษตรอย่างสมํ่าเสมอคิดเป็นร้อยละ 1.75 สนับสนุนปัจจัยการ
ผลิตให้มีราคาตํ่าลงคิดเป็นร้อยละ 0.75 และรัฐควรมีการจัดสรรพ้ืนที่ทํากินให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีพ้ืนท่ีของตนเอง
คดิ เป็นร้อยละ 0.25 ดงั น้นั โครงการน้ีควรส่งเสริม และพฒั นาดา้ นการเกษตรอย่างยงั่ ยนื ตอ่ ไป
5.2.7 จากการศึกษาพืน้ ท่ใี นโครงการจะเหน็ วา่ เกษตรกรในโครงการส่วนใหญ่ให้ความต้องการมาก ดังนั้น
ควรมีการพัฒนาด้านการเกษตรเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพให้สูงขึ้น ได้แก่ การพัฒนาพื้นท่ีให้เหมาะสมต่อการประกอบ
อาชีพทางด้านการเกษตร ระบบโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีเหมาะสมและเก้ือกูลต่อการประกอบการเกษตร การพัฒนา
อาชีพเสริมที่เหมาะสมในแต่ละพื้นท่ี การพัฒนาระดับฟาร์ม เพ่ือให้เกิดระบบการทําฟาร์มท่ีมีประสิทธิภาพและ
เหมาะสมกบั พ้ืนท.่ี
74
บรรณานุกรม
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ 2552. โครงการพัฒนาลุ่มนํ้านา่ น งานศึกษาความเหมาะสมและ
ศกึ ษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการพฒั นาชลประทานดอุตรดิตถ์ (เล่ม1-4)
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ 2556. โครงการติดตามการปฏิบตั งิ านตามแผนปฏิบตั ิการปอ้ งกนั
แก้ไขและลดผลกระทบสิง่ แวดล้อมและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการเข่ือนทด
น้าํ ผาจุก จังหวัดอตุ รดิตถ์ ฉบับที่ 1 ประจําปงี บประมาณ 2556 (กรกฎาคม 2556)
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2556. รายงานติดตามการปฏบิ ัตงิ านตามแผนปฏิบตั กิ ารปอ้ งกนั
แกไ้ ขและลดผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มและตดิ ตามตรวจสอบผลกระทบสงิ่ แวดล้อม โครงการเขอ่ื นทด
นา้ํ ผาจุก จังหวัดอตุ รดติ ถ์
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2557. รายงานสรปุ โครงการเขอื่ นทดน้าํ ผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ์
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ 2558. รายงานติดตามการปฏบิ ัติงานตามแผนปฏิบตั ิการป้องกัน
แก้ไขและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอ้ ม โครงการเข่ือนทดนา้ํ ผาจกุ จังหวัดอุตรดติ ถ์
คณะอนกุ รรมการบรู ณาการแผนปฏิบัติการพัฒนาดา้ นการเกษตรระดับจงั หวดั . 2554. รายงานการสํารวจ
ภาวะเศรษฐกจิ และสังคมครวั เรือนเกษตรกร (Benchmark) พ้ืนท่ีบรู ณาการเพื่อพัฒนาระบบ
การบรหิ ารจดั การนํา้ เพอ่ื การเกษตร จังหวดั พษิ ณุโลก ปี 2554 ภายใต้โครงการพฒั นาและสง่
เสริมอาชพี เกษตรกรรมบริเวณเข่ือนแควน้อยบํารุงแดน
ผ.ศ.สมศกั ด์ิ เพยี บพร้อม.หลักและวธิ ีการจดั การฟารม์ . 2527. ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์
และบริหารธรุ กิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สํานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร. 2551. รายงานผลการศกึ ษาเพอื่ จัดทาํ ข้อมูลพืน้ ฐานในการตดิ ตามประเมิน
ผลเกษตรกรทไี่ ด้รบั ผลกระทบจากโครงการสรา้ งเขื่อนแควนอ้ ย อันเนอ่ื งมาจากพระราชดําริ
จงั หวดั พิษณโุ ลก
สาํ นกั งานเศรษฐกิจการเกษตร. 2552. รายงานผลการศกึ ษาเพอ่ื จัดทาํ ขอ้ มูลพ้ืนฐานในการติดตามประเมนิ
ผลเกษตรกรทไ่ี ด้รับผลกระทบจากโครงการสร้างเขือ่ นแควนอ้ ยอนั เนื่องมาจากพระราชดาํ ริ
(ฝัง่ ขวาเขอื่ นพญาแมน) จงั หวดั พษิ ณุโลก
สาํ นักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2545. ศกึ ษาวิจยั เพอื่ จดั ทาํ ข้อมูลพื้นฐานในการประเมินผลการพฒั นา
โครงการกระแสสินธ์ุ จังหวัดสงขลา
สํานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร. 2557. การตดิ ตามตรวจสอบด้านเศรษฐกจิ และสงั คม(Bench Mark)
ตามแผนปฏิบตั ิการป้องกนั แก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มและติดตามตรวจสอบผลกระทบ
สิ่งแวดล้อม โครงการเขื่อนทดน้ําผาจุก จังหวัดอตุ รดติ ถ์ ปงี บประมาณ 2557
สาํ นกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร. 2558. การตดิ ตามตรวจสอบด้านเศรษฐกจิ และสงั คม(Bench Mark)
ตามแผนปฏิบตั กิ ารป้องกันแก้ไขผลกระทบส่ิงแวดล้อมและติดตามตรวจสอบผลกระทบ
สิ่งแวดลอ้ ม โครงการเข่ือนทดนํา้ ผาจุก จงั หวดั อุตรดิตถ์ ปีงบประมาณ 2558
75
ภาคผนวก
76
ตารางภาคผนวกที่ 1 ราคาผลผลิตทางการเกษตรดา้ นพืช ในพืน้ ท่โี ครงการ ปเี พาะปลูก 2559/60
ชนดิ พชื ผลผลติ ตอ่ ไร่ รายไดเ้ งนิ สด มูลคา่ ผลผลิตที่ หน่วย : บาท/ไร่
(กก./ไร)่ ใชใ้ นครัวเรอื น
ขา้ วเจา้ นาปี 4,160 ราคา
ข้าวเหนยี วนาปี 785 4,019 274 (บาท/กก.)
ข้าวเจ้านาปรัง 735 5,107 455
ข้าวเหนยี วนาปรงั 854 6,608 23 5.88
ขา้ วโพดเลี้ยงสัตวร์ ุน่ 1 976 3,359 33 6.82
ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์รนุ่ 2 801 4,306 6.10
ถั่วเขยี วผวิ มนั 917 1,391 - 6.91
ถัว่ ดาํ 61 14,000 - 4.39
มันสําปะหลงั โรงงาน 467 4,471 - 4.70
ออ้ ยโรงงานปีท่ี 1 3,143 12,527 - 22.86
ออ้ ยโรงงานปีที่ 2 11,468 9,997 - 30.00
อ้อยโรงงานปีท่ี 3 8,719 10,811 - 1.42
งา 9,672 - 1.08
ถั่วเลสิ งรนุ่ 2 15 450 - 1.12
ถว่ั ฝกั ยาว 291 4,364 - 1.16
ผกั สวนครัวรวม 538 12,500 - 30.00
ดาวเรอื งเกษตร 500 238 15.00
ทุ่งหญ้าเลยี้ งสตั ว์ 1,120 50 4,950 15.48
ทุเรยี น 3,927 61,333 - 10.00
องนุ่ 3,927 54.76
กล้วยนาํ้ วา้ 8 -* - 1.00
มะม่วงหมิ พานต์ 1,120 200 2,000 25.00
เมลอ่ น 110,000 47 100.00
หนอ่ ไม้ไผ่ 541 635 - 10.00
ไม้ผลรวมอื่น ๆ 21 1,022 13,000 49.28
ไรน่ าสวนผสม 1,930 180,000 225 100.00
ไมผ้ ลไมย้ นื ตน้ อื่น ๆ 315 3,750 223 15.00
98 1,535 - 19.14
182 5,455 117 30.00
48 1,659 37.26
ที่มา : จากการวเิ คราะห์
77
ตารางภาคผนวกท่ี 2 ราคาผลผลติ ทางการเกษตรด้านพืช นอกพ้ืนท่ีโครงการ ปเี พาะปลกู 2559/60
หน่วย : บาท/ไร่
ชนดิ พชื ผลผลติ ต่อไร่ รายได้เงนิ สด มลู ค่าผลผลิตท่ี ราคา
(กก./ไร)่ ใชใ้ นครัวเรือน (บาท/กก.)
ขา้ วเจ้านาปี 833 5,093 173 5.78
ขา้ วเหนียวนาปี 680 6,600 880 11.00
ขา้ วเจา้ นาปรงั 952 5,948 - 6.27
ขา้ วโพดเล้ยี งสัตว์รุน่ 1 916 3,970 - 4.50
มนั สาํ ปะหลังโรงงาน 1,241 2,169 - 1.44
ออ้ ยโรงงานปีที่ 1 8,654 10,269 - 1.11
ออ้ ยโรงงานปีท่ี 2 5,832 6,887 - 1.18
อ้อยโรงงานปีที่ 3 1.13
ถว่ั เลิสงรุ่น 1 7,606 8,626 - 13.33
ผกั อืน่ ๆ 15.00
ผกั สวนครัวรวม 638 6,000 - 10.00
533 8,000 -
528 147 5,253
ทงุ่ หญ้าเลีย้ งสตั ว์ 3,650 -* 3,650 1.00
มะขามหวาน 40.00
มะมว่ งหมิ พานต์ 4 - 145 44.83
ไม้ผลรวมอ่นื ๆ 45.00
ไม้ผลไม้ยนื ตน้ อื่น ๆ 33 1,486 - 10.00
72 2,930 167
60 444 156
ทีม่ า : จากการวิเคราะห์
78
ตารางภาคผนวกท่ี 3 ราคาผลผลติ ทางการเกษตรดา้ นพืช รวมพ้ืนที่ทง้ั โครงการ ปเี พาะปลกู 2559/60
หน่วย : บาท/ไร่
ชนิดพชื ผลผลติ ต่อไร่ รายไดเ้ งนิ สด มูลค่าผลผลิตท่ี ราคา
(กก./ไร่) ใช้ในครวั เรือน (บาท/กก.)
ขา้ วเจา้ นาปี 788 4,211 268 5.87
ข้าวเหนียวนาปี 730 4,253 489 7.20
ข้าวเจ้านาปรัง 859 5,155 22 6.11
ขา้ วเหนียวนาปรัง 976 6,608 33 6.91
ขา้ วโพดเลย้ี งสัตวร์ ุ่น 1 838 3,554 - 4.43
ขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์รนุ่ 2 917 4,306 - 4.70
ถั่วเขยี วผวิ มัน 61 1,391 - 22.86
ถัว่ ดาํ 467 14,000 - 30.00
มนั สําปะหลังโรงงาน 2,251 3,391 - 1.43
อ้อยโรงงานปีท่ี 1 9,796 12,099 - 1.09
อ้อยโรงงานปีท่ี 2 7,878 9,090 - 1.14
อ้อยโรงงานปีท่ี 3 9,306 10,423 - 1.15
งา 15 450 - 30.00
ถว่ั เลิสงรุ่น 1 638 6,000 - 13.33
ถั่วเลิสงร่นุ 2 291 4,364 - 15.00
ถั่วฝักยาว 538 12,500 238 15.48
ผกั อืน่ ๆ 533 8,000 - 15.00
ผกั สวนครวั รวม 10.00
525 137 5,221
ดาวเรอื งเกษตร 1,120 61,333 - 54.76
ท่งุ หญา้ เลยี้ งสตั ว์ 3,917 -* 3,917 1.00
ทเุ รียน 25.00
มะขามหวาน 8 200 - 40.00
อง่นุ 4- 145 100.00
1,120 110,000 2,000
กลว้ ยนํา้ ว้า 544 600 378 10.00
มะมว่ งหมิ พานต์ 47.22
เมล่อน 25 1,184 - 100.00
หนอ่ ไม้ไผ่ 15.00
ไมผ้ ลรวมอ่นื ๆ 1,930 180,000 13,000 27.13
ไร่นาสวนผสม 30.00
ไมผ้ ลไมย้ ืนต้นอ่นื ๆ 315 3,750 225 33.16
89 2,030 240
182 5,455 -
50 1,476 167
ท่ีมา : จากการสาํ รวจ
79
ตารางภาคผนวกท่ี 4 ราคาผลผลิตทางการเกษตรดา้ นพืช ในเขตพ้ืนทสี่ ูบนาํ้ ดว้ ยไฟฟ้า
ปเี พาะปลูก 2559/60
หน่วย : บาท/ไร่
ชนดิ พชื ผลผลิตตอ่ ไร่ รายได้เงนิ สด มลู ค่าผลผลติ ที่ ราคา
(กก./ไร่) ใช้ในครวั เรือน (บาท/กก.)
ขา้ วเจา้ นาปี 805 4,310 252 5.85
ข้าวเหนียวนาปี 805 4,955 496 6.61
ข้าวเจา้ นาปรงั 861 5,137 22 6.09
ข้าวเหนยี วนาปรงั 1,000 6,715 42 6.88
ข้าวโพดเลีย้ งสัตวร์ นุ่ 1 600 2,946 - 4.91
ขา้ วโพดเล้ยี งสัตว์รนุ่ 2 1,167 5,347 - 4.58
ถวั่ เขียวผวิ มนั 33 1,111 - 33.33
ถัว่ ดํา 467 14,000 - 30.00
ออ้ ยโรงงานปีท่ี 1 8,654 11,844 - 1.09
อ้อยโรงงานปีที่ 2 6,211 7,086 - 1.14
ออ้ ยโรงงานปีท่ี 3 13,694 16,655 - 1.22
งา 15 450 - 30.00
ถั่วเลิสงรุ่น 2 291 4,364 - 15.00
ผักสวนครัวรวม 527 156 5,238 10.00
ทุ่งหญา้ เลย้ี งสตั ว์ 3,934 - 3,934 1.00
มะม่วงหมิ พานต์ 70 3,500 - 50.00
ไมผ้ ลรวมอ่นื ๆ 219 3,750 235 19.14
ไรน่ าสวนผสม 182 5,455 - 30.00
ไมผ้ ลไมย้ นื ตน้ อ่ืน ๆ 16 167 35 12.42
ท่ีมา : จากการสาํ รวจ
80
ตารางภาคผนวกท่ี 5 ราคาผลผลติ ทางการเกษตรดา้ นพืช นอกเขตพ้นื ท่สี บู นํ้าด้วยไฟฟา้
ปเี พาะปลกู 2559/60
หนว่ ย : บาท/ไร่
ชนิดพชื ผลผลติ ต่อไร่ รายไดเ้ งนิ สด มูลค่าผลผลิตท่ี ราคา
(กก./ไร่) ใชใ้ นครวั เรือน (บาท/กก.)
ขา้ วเจ้านาปี 708 3,692 368 5.96
ข้าวเหนียวนาปี 722 4,097 622 7.38
ขา้ วเจา้ นาปรัง 6.65
ขา้ วเหนยี วนาปรัง 833 5,456 - 7.00
ข้าวโพดเล้ียงสัตวร์ ่นุ 1 4.43
ข้าวโพดเลย้ี งสัตวร์ ุ่น 2 889 6,222 - 4.90
841 3,562 -
659 3,232 -
ถว่ั เขยี วผิวมนั 79 1,571 - 20.00
มันสําปะหลังโรงงาน 2,251 3,392 - 1.43
อ้อยโรงงานปีท่ี 1 8,625 12,390 - 1.08
ออ้ ยโรงงานปีท่ี 2 8,382 9,697 - 1.14
ออ้ ยโรงงานปีท่ี 3 8,537 9,332 - 1.14
ถ่วั เลิสงรุน่ 1 - 13.33
ถัว่ ฝกั ยาว 638 6,000 238 15.48
538 12,500
ผักอ่ืนๆ 533 8,000 - 15.00
ผักสวนครัวรวม 517 33 5,133 10.00
ดาวเรืองเกษตร 1,120 61,333 54.76
ทุ่งหญา้ เลยี้ งสตั ว์ 3,761 - - 1.00
ทเุ รียน 3,761 25.00
อง่นุ 8 200 100.00
กล้วยนาํ้ วา้ 1,120 110,000 - 10.00
2,000
544 600
378
มะมว่ งหิมพานต์ 2,471 2,972 - 45.00
เมล่อน 100.00
หน่อไม้ไผ่ 1,930 180,000 13,000 15.00
ไมผ้ ลรวมอนื่ ๆ 45.00
ไม้ผลไม้ยืนตน้ อน่ื ๆ 315 3,750 225 40.00
25 822 200
206 7,619 610
ท่ีมา : จากการสาํ รวจ
81
ตารางภาคผนวกท่ี 6 พนั ธข์ุ า้ วเจา้ ทีป่ ลกู ในพืน้ ที่ทง้ั โครงการ ปเี พาะปลูก 2559/60
ชนดิ พนั ธขุ์ า้ ว* ร้อยละ
พิษณโุ ลก 33.09
ปทมุ ธานี 24.39
สุพรรณบรุ ี 1.96
หอมมะลิ 9.93
กข 31 0.86
กข 47 1.10
กข 49 12.62
กข 29 8.46
ชัยนาท 1.23
กข 57 0.98
อื่น ๆ 5.38
ท่มี า : จากการสาํ รวจ
หมายเหตุ : * คือ เกษตรกรหน่ึงรายสามารถปลกู ได้หลายพันธ์ุ
พนั ธ์อุ น่ื ๆ ได้แก่ กข 10/กข 11/กข 12/กข 14/กข 32 กข 54 สนั ป่าตอง เปน็ ต้น
ตารางภาคผนวกท่ี 7 สตู รปยุ๋ เคมี ทีใ่ ช้ปลกู ขา้ วในพน้ื ทีท่ ัง้ โครงการ ปเี พาะปลูก 2559/60
สูตรปยุ๋ เคมี * รอ้ ยละ
สูตร 16-20-0 38.78
สูตร 15-15-15 3.05
สูตร 46-0-0 46.39
สูตร 16-8-8 0.48
สตู ร 30-0-0 0.80
สตู ร 36-0-0 0.16
สตู ร 0-0-60 0.33
สตู ร 21-0-0 1.04
สตู ร 21-4-21 0.72
สตู ร อ่นื ๆ 8.25
ที่มา : จากการสาํ รวจ
หมายเหตุ : * คือ เกษตรกรหนงึ่ รายสามารถใชป้ ุ๋ยเคมไี ด้หลายสูตร
สตู ร อ่นื ๆ คอื เปน็ ปยุ๋ เคมสี ตู รตา่ งๆ ทเี่ กษตรกรใชห้ ลากหลายสตู ร แต่จาํ นวนปรมิ าณทใ่ี ช้ไมม่ ากนกั
รายงานการสา้ รวจภาวะเศรษฐกจิ และสงั คมครวั เรอื นเกษตรกร (Benchmark)
ตามแผนปฏบิ ตั กิ ารป้องกนั แกไ้ ขผลกระทบสิง่ แวดลอ้ มและแผนตดิ ตามตรวจผลกระทบสิง่ แวดลอ้ ม โครงการเขอ่ื นทดนา้ ผาจกุ จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ ปงี บประมาณ 2560