ยุทธศาสตร
สถานศึกษาอาชวี ศึกษาวถิ ีพุทธ
วทิ ยาลยั เทคโนโลยตี ้ังตรงจิตรพณชิ ยการ
ป พ.ศ. ๒๕๖๒-๒๕๖๕
ยุทธศาสตร์
สถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาวถิ พี ทุ ธ
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีตงั้ ตรงจิตรพณชิ ยการ
ปี พ.ศ. ๒๕๖๒-๒๕๖๕
สารบญั หนา้
คำนำ ๑
คำชีแ้ จง ๒
สำรบัญ ๓
บทสรปุ ผู้บรหิ ำร ๖
ขอ้ มลู ทวั่ ไปของสถำนศึกษำ ๑๓
๑๔
ประวตั ขิ องสถำนศึกษำ ๑๖
วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ เปำ้ ประสงคก์ ำรจดั กำรศกึ ษำ ๓๒
แผนภมู ิองคก์ ร ๓๒
ทศิ ทำงและแนวทำงกำรพฒั นำกำรจัดกำรศึกษำของสถำนศกึ ษำ ๓๒
แผนปฏบิ ัติกำรวิถพี ทุ ธประจำปี งบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๓๓
กำรติดตำม ประเมนิ ผล และรำยงำนผล
กำรดำเนนิ กำรตำมแผน
กำรประเมนิ ผลกำรดำเนินงำน
กำรรำยงำนผล
ภำคผนวก
คำนำ
วิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรพณิชยการ ดาเนินการจัดทายุทธศาสตร์โรงเรียนวิถีพุทธ
เพื่อให้การดาเนินงาน ขับเคลื่อนโรงเรียนวิถีพุทธของวิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรพณิชยการ จะ
ยังคงดาเนินงาน สบื ทอดต่อไปอย่างม่นั คง ขยายกว้างออกไป โดยมีเครือข่ายสถานศึกษาวถิ ีพุทธมาก
ขึ้น เพ่ือเป็นสถานท่ีหนึ่งท่ีพัฒนาเด็กไทย โดยเฉพาะเด็กอาชีวศึกษาให้มีความรู้วิชาชีพ และมี
คุณธรรมควบคู่กันไป เพือ่ สงั คม ประเทศชาติ เปน็ สงั คมอุดมธรรม โดยมรี ากฐานพุทธธรรมย่ังยนื ด้วย
ธรรมสืบต่อไป
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีตงั้ ตรงจติ รพณชิ ยการ
บทสรปุ ผูบ้ ริหาร
แผนพัฒนาวิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรพณิชยการ ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๑-๒๕๖๕
จัดทาข้ึนเพ่ือใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการและพัฒนาสถานศึกษา ซ่ึงแผนพัฒนาได้ผ่าน
กระบวนการวิเคราะห์ ความสอดคล้อง แผนพัฒนาการศึกษาชาติ ๒๐ ปี การศึกษาศตวรรษท่ี ๒๑
แผนการศึกษาอาชีวศึกษา และเช่ือมโยงกับบริบทต่างๆ อาทิ การวิเคราะห์ สถานการณ์ปัจจุบัน
แนวโน้มการเปล่ยี นแปลงของเศรษฐกิจและสงั คม นโยบายของรฐั บาล นโยบายคณะกรรมการบรหิ าร
สถานศึกษา
แผนพัฒนาวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๑-๒๕๖๕
ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ ๔ พันธกิจ ๕ ยุทธศาสตร์ ๑๐ กลยุทธ์ ๓๒ เป้าประสงค์ ๕๗ งาน ๔๑
โครงการ พร้อมทั้งกาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จจานวน ๑๑๙ ตัวช้ีวัด และกาหนดค่าเป้าหมาย
ความสาเร็จ ของการบรรลุผลการดาเนินงานตามแผนพัฒนาสถานศกึ ษา ๕ ปี (พศ.๒๕๖๑-๒๕๖๕) ที่
๗๕ ๘๐ ๘๕ ๙๐ และ ๙๕ ในแต่ละปีการศึกษาตามลาดับ โดยได้กาหนดยุทธศาสตร์เพ่ือนาไปสู่
เป้าหมาย ที่ไดน้ าเสนอประกอบด้วย ๕ ยทุ ธศาสตร์ คอื
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การจัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพ และสอดคล้องกับการ
เปลยี่ นแปลง
ประกอบด้วย ๔ กลยุทธ์ ๘ เป้าประสงค์ ๒๑ ตัวชีว้ ัด ๙ งาน ๖ โครงการ
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๒ การพัฒนาครู อาจารย์ ให้มีคุณภาพด้านวิชาการ วิชาชีพ งานวิจัย
นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และการก้าวสู่ทศวรรษหนา้ ตอ่ ไป
ประกอบดว้ ย ๑ กลยุทธ์ ๗ เปา้ ประสงค์ ๑๔ ตวั ชว้ี ัด ๔ งาน ๑๐ โครงการ
ยุทธศาสตรท์ ี่ ๓ พัฒนาระบบการบริหารจัดการใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ
ประกอบด้วย ๓ กลยุทธ์ ๗ เป้าประสงค์ ๔๖ ตัวช้ีวัด ๓๗ งาน ๑๒
โครงการ
ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ การใหบ้ รกิ ารวิชาการ วชิ าชีพ และความสมั พันธ์กับชมุ ชม
ประกอบดว้ ย ๒ กลยทุ ธ์ ๒ เป้าประสงค์ ๑๐ ตัวชวี้ ัด ๒ งาน ๑ โครงการ
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๕ การส่งเสริมวินัย คณุ ธรรม จริยธรรม และกจิ กรรมนักศกึ ษา
ประกอบด้วย ๑ กลยุทธ์ ๘ เป้าประสงค์ ๒๘ ตัวชี้วัด ๕ งาน ๑๒
โครงการ
บทสรุปผู้บรหิ าร หน้า ๑
ข้อมลู ท่ัวไปของสถานศกึ ษา
๑. ข้อมลู ทั่วไปของสถานศกึ ษา
ชื่อสถานศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรพณิชยการ-วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตร
บริหารธุรกิจ
ท่ีตั้ง เลขท่ี ๒ ถนนมหาราช แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร จังหวัด
กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ ๑๐๒๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๖๒๒-๑๙๑๙, ๐-๒๒๒๒-๘๒๔๙, ๐-
๒๖๒๒-๑๗๘๕-๖ โทรสาร ๐-๒๖๒๒-๑๔๖๔ Website www.ttc.ac.th E-mail [email protected] เขต
พ้ืนท่กี ารศกึ ษาเขต ๑ สานักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน จงั หวัดกรงุ เทพมหานคร
สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน
๒. ขอ้ มูลดา้ นเศรษฐกจิ สังคม ชมุ ชนบริเวณสถานศึกษา
๒.๑ สภาพสงั คมของชุมชน โดยรอบสถานศกึ ษา นับวา่ เป็นสภาพสง่ิ แวดลอ้ มสังคมที่ดีเพราะ
ด้านทิศเหนืออยู่ติดกับอารามหลวงชั้นเอกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ด้านทิศใต้ติดกับศูนย์
การเรียนรู้มิวเซี่ยมสยาม เดิมคือที่ตั้งของกระทรวงพาณิชย์ ก่อนย้ายไปท่ีปัจจุบัน ด้านทิศตะวันตก
คอื วังจักรพงษ์ ห่างออกไปคอื โรงเรียนราชนิ ี ด้านทิศตะวันออกคือโรงเรียนวัดราชบพิธ สถานศึกษา
ตั้งอยู่ในชุมชนแหล่งการเรียนรู้ ที่เอ้ือให้ผู้เรียนสนใจ ใส่ใจในการเรียนรู้และซึมซับวัฒนธรรม
มาเป็นสว่ นหนึ่งของบคุ ลิกภาพทีด่ ีของตนเอง มสี ่วนของตึกแถวซึง่ เปน็ แหล่งท่ีอยูอ่ าศัย และประกอบ
ธุรกิจของคนในชุมชน โดยรอบบริเวณเป็นแหล่งท่องเที่ยวท่ีมีนักท่องเที่ยวมาชมความงดงาม
ของศิลปวัฒนธรรมของวดั พระเชตุพนวิมลมังคลาราม วดั พระศรีรตั นศาสดาราม และมิวเซ่ียมสยาม
จึงทาให้บริเวณตกึ แถวด้านหน้าวัด ดาเนินธุรกิจเก่ียวกับร้านอาหารและเคร่ืองดม่ื ท่ีจัดสภาพหนา้ รา้ น
ให้สวยงาม อนรุ ักษส์ ภาพของตึกแถวท่ีเก่าแก่ เพิ่มความน่าสนใจ ทันสมยั ดว้ ยสงิ่ อานวยความสะดวก
พร้อมขายของท่ีระลึก ตลอดจนธุรกิจที่สืบเน่ืองจากภูมิปัญญาท้องถ่ิน ของวัดพระเชตุพนวิมล
มงั คลาราม คือนวดแผนไทย ซ่งึ เปน็ ธรุ กจิ ทีเ่ ปน็ ทย่ี อมรับของชาวตา่ งชาติในปัจจบุ ันเปน็ อย่างมาก
๒.๒ สภาพเศรษฐกิจของชุมชน สืบเนื่องจากสังคมของชุมชน ที่เอื้อต่อการดาเนินธุรกิจ
ด้านการค้าขาย ดังน้ันอาชีพส่วนใหญ่ของคนในชุมชน โดยรอบสถานศึกษาจะยึดอาชีพการค้าขาย
ของที่ระลกึ ร้านอาหาร และเคร่อื งด่มื มฐี านะทางเศรษฐกจิ อยใู่ นระดับดี ถึงดีมาก โอกาสการตกงาน
ของคนในชมุ ชนนมี้ นี ้อยหรอื เกอื บไม่มี
๒.๓ ข้อมลู ของผู้ปกครองจากการสารวจ ข้อมูลการกรอกใบสมัครของนักศึกษาเมื่อแรกเข้า
จะพบวา่ วฒุ ิการศึกษาของผูป้ กครองร้อยละ ๕๐.๑๘ จบระดับปรญิ ญาตรี อาชพี โดยเฉล่ียรับราชการ
รอ้ ยละ ๓๑.๓๗ ค้าขาย ลูกจ้าง ร้อยละ ๒๑ และอ่ืนๆ ร้อยละ ๕ เฉล่ียระดับรายได้อยู่ท่ีระดับปาน
กลาง
ขอ้ มลู ท่ัวไปของสถานศกึ ษา หนา้ ๒
๓. ประวัตสิ ถานศกึ ษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรพณิชยการ-วิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรบริหารธุรกิจ
เป็นสถานศึกษาที่เปล่ียนช่ือจากเดิม คือ โรงเรียนต้ังตรงจิตรพณิชยการ-โรงเรียนพณิชยการ
ตั้งตรงจิตร เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เดิมก่อต้ังขึ้นเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๑๔ โดยใช้สถานท่ีเดิมเป็นโรงเรียน
ของรัฐบาล คือ โรงเรียนพณิชยการเชตุพน (ตั้งตรงจิตร) ซึ่งอาคารเรียนสร้างโดยคุณประยงค์
ตงั้ ตรงจิตร และคุณเล็ก ตั้งตรงจิตร ถวายให้วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ปัจจบุ ันสถานศึกษาอยู่
ภายใต้การบรหิ ารงานโดย ดร.วิภาพรรณ ชทู รพั ย์ และดร. อณาวุฒิ ชูทรพั ย์ กากับดแู ล โดยสานักงาน
คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) เปิดสอนประเภทพาณิชยกรรม สาขาวิชาพณิชยการ
(ปวช.) และ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (ปวส.) ผ่านการรับรองคุณภาพการศึกษา จากสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ ต้งั แตป่ ีการศึกษา ๒๕๔๑-๒๕๔๕ และ ปลายปี
การศึกษา ๒๕๔๔ สถานศึกษาได้เข้าร่วมโครงการนาร่องเพ่ือประเมินคุณภาพการศึกษาของ
สานักงานรับรองมาตรฐาน และ ประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา จากสานักงานรับรอง
มาตรฐาน และประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน) ในปีการศกึ ษา ๒๕๔๕ สถานศึกษาได้รับ
การประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา โดยสานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมนิ คุณภาพ
การศกึ ษา (องค์การมหาชน) สาหรับในปีการศึกษา ๒๕๔๘ สถานศึกษาไดร้ ับการคัดเลือกให้เข้ารับ
การประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา จากสานักงานรับรองมาตรฐาน และ ประเมินคุณภาพ
ภายนอกของสถานศึกษา จากสานักงานมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน)
รุ่นแรกและผ่านการประเมินท่ีค่าเฉลี่ย ๔.๓๕ อยู่ในระดับดี ต่อมาปีการศึกษา ๒๕๕๔ จากการ
ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาภายนอก รอบสาม สถานศกึ ษาได้รับการรับรองมาตรฐานการศกึ ษา โดย
สานกั งานรับรองมาตรฐาน และประเมนิ คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ผ่านการประเมนิ อยใู่ น
ระดับดีมากด้านอาชีวศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘
๔. หลกั สตู รทเ่ี ปิดสอนและระดบั การศึกษา
๑. วิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรพณิชยการ ได้รับอนุญาตให้เปิดทาการสอนหลักสูตร
ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) โดยใช้หลักสูตรกระทรวงศึกษาธกิ าร พฒั นาโดยสานักงานอาชีวศึกษา
แห่งชาติ สาขาวิชาพณิชยการและในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศให้ใช้หลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชพี พุทธศกั ราช ๒๕๕๖ ประเภทวชิ า พาณชิ ยกรรม ซึ่งทางวทิ ยาลยั ได้นามาใชใ้ น
ปกี ารศึกษา ๒๕๕๗ จานวน ๔ สาขาวิชา คือ
สาขาวชิ าการบญั ชี สาขาวชิ าการเลขานกุ าร
สาขาวิชาการตลาด สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ
ข้อมูลทัว่ ไปของสถานศกึ ษา หน้า ๓
๒. วิทยาลยั เทคโนโลยีตงั้ ตรงจิตรบริหารธรุ กจิ ได้รับอนญุ าตใหเ้ ปดิ ทาการสอน ๒ ระดบั คอื
๒.๑ หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้หลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ
พัฒนาโดยสานักงานอาชีวศกึ ษาแห่งชาติ และในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ กระทรวงศกึ ษาธิการ ประกาศให้ใช้
หลักสตู ร ประกาศนียบตั รวิชาชพี พุทธศักราช ๒๕๕๖ ประเภทวชิ า พาณิชยกรรม ซ่ึงทางวทิ ยาลัยได้
นามาใชใ้ นปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๗ จานวน ๔ สาขาวิชา คือ
สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการเลขานุการ
สาขาวิชาการตลาด สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ
๒.๒ หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) โดยใช้หลักสตู รของกระทรวงศกึ ษาธิการ
พัฒนาโดยสถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล สาขาวิชาบริหารธุรกจิ มี ๔ สาขาวชิ า คอื
สาขาวิชาการบญั ชี สาขาวิชาการตลาด
สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ สาขาวชิ าการทอ่ งเที่ยว
ขอ้ มูลด้านอาคารสถานท่ี ๕ หลงั
๑. จานวนอาคารเรยี น
๕๕ ห้อง
๒. จานวนหอ้ งเรียน ๑๖ หอ้ ง
๓. จานวนห้องปฏบิ ัติการ ๒ หอ้ ง
๔. จานวนหอ้ งพกั ครู
ห้องประกอบการเรยี น การสอน
๑. หอ้ งสมุด
๒. ห้องศนู ย์คอมพวิ เตอร์
๓. ห้องปฏบิ ัตกิ ารทางบญั ชี
๔. ห้องปฏบิ ัติการขาย
๕. หอ้ งปฏบิ ัติสานักงานและการท่องเทีย่ ว
๖. ห้องปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอร์
๗. หอ้ งพมิ พ์ดดี ภาษาไทย
๘. ห้องพมิ พด์ ดี ภาษาอังกฤษ
๙. ห้องพมิ พด์ ดี ดว้ ยคอมพวิ เตอร์
๑๐. หอ้ งศูนยบ์ ม่ เพาะผปู้ ระกอบการอาชีวศกึ ษา
๑๑. หอ้ งองค์การนกั วชิ าชพี ในอนาคตแห่งประเทศไทย
๑๒. หอ้ งปฏิบตั กิ ารสตูดโิ อ
๑๓. ห้องศูนย์คุณธรรม
จานวนครู / บคุ ลากรทางการศึกษา / บุคลากรอื่นๆ
(ปที ี่จัดทารายงาน สารวจ ณ วนั ที่ ๑๐ มิถนุ ายน ของปีการศึกษา ๒๕๖๑)
ประเภทบุคลากร จานวน(คน) สถานภาพ ใบประกอบ วฒุ ิการศึกษา
วชิ าชพี
ข้อมูลทวั่ ไปของสถานศึกษา หนา้ ๔
ค ูรประจา
ค ูร ิพเศษ
มี
ไม่มี
ป ิรญญาเอก
ป ิรญญาโท
ประกาศ ีนยบัตร ืวชา ีชพค ูร
ป ิรญญาต ีร
่ตาก ่วาป ิรญญาต ีร
ผ้รู บั ใบอนญุ าต ๑ - - ๑ -๑----
ผจู้ ัดการ ๑ - - ๑ -๑----
ผอู้ านวยการ ๒ - - ๒ - -๒- - -
ครู ๙๐ ๙๐ - ๘๒ ๘ - ๒๐ ๓๑ ๓๘ ๑
บุคลากรทางการศึกษา ๕ - - - - - - - ๑๔
บุคลากรสนับสนนุ ๒๐ - - - - - - - - ๒๐
๑๑๙ ๙๐ - ๘๖ ๘ ๒ ๒๒ ๓๑ ๓๙ ๒๕
รวม
ครู หมายถงึ ผ้ทู ีไ่ ดร้ บั การบรรจใุ ห้เปน็ ครใู นสถานศึกษา
ครูพเิ ศษ หมายถงึ ครทู มี่ ีสญั ญาจา้ งตอ่ เนอื่ งไม่น้อยกว่า ๙ เดอื น
บคุ ลากรทางการศึกษา หมายถึง ผู้ปฏิบตั ิหน้าทบี่ รรณารักษ์ งานแนะแนว งานเทคโนโลยีการศึกษา
บคุ ลากรสนับสนนุ งานทะเบยี นวัดผล และงานบริหารงานท่วั ไป
หมายถึง บุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ในสถานศึกษา นอกเหนือจากครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษา
ข้อมลู ทัว่ ไปของสถานศกึ ษา หนา้ ๕
จาแนกครูตามสาขาวชิ า / สาขางาน
ใบ วุฒกิ ารศึกษา
สถานภาพ ประกอบ
วิชาชีพ
ประเภทบุคลากร จานวน(คน) ค ูรประจา
ค ูร ิพเศษ
มี
ไม่มี
ป ิรญญาเอก
ป ิรญญาโท
ประกาศ ีนยบัตร ืวชา ีชพค ูร
ป ิรญญาต ีร
่ตาก ่วาป ิรญญาต ีร
ประเภทวชิ าพาณชิ ยกรรม ๑๔ ๑๔ - ๑๒ ๒ - ๕ ๓ ๖ -
สาขาวชิ าพณชิ ยการ
สาขาวิชาการบญั ชี
สาขาวิชาการเลขานกุ าร ๒ ๒- ๒ - - -๑๑ -
สาขาวิชาการตลาด ๒๑ ๒๑ - ๒๐ ๑ - ๔ ๘ ๙ -
สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ ๑๗ ๑๗ - ๑๖ ๑ - ๕ ๑ ๒ -
สาขาวชิ าการทอ่ งเท่ียว ๒ ๒ - ๒ - - ๑๑ - -
กลุ่มทกั ษะวิชาชพี พน้ื ฐาน (พิมพด์ ดี ) ๕ ๕ - ๕ - - - ๒ ๒ ๑
หมวดวชิ าทักษะชวี ิต ๒๓ ๒๓ - ๒๒ ๑ - ๔ ๕ ๑๔ -
กล่มุ วชิ าภาษาตา่ งประเทศ ๖ ๖ - ๔๒- ๑๑๔ -
รวม ๙๐ ๙๐ - ๘๓ ๗ - ๒๐ ๓๑ ๓๘ ๑
หมายเหตุ ใหส้ ถานศกึ ษารายงานให้ครบทุกสาขาวชิ า
๒.๔ วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ เปา้ หมาย การจัดการศึกษา
แผ นพั ฒ นาการ ศึกษ าวิท ยาลัยเท คโน โล ยีตั้งตร งจิตร พ ณิ ชยก าร -วิท ยาลั ยเทค โนโล ยี
ตง้ั ตรงจิตรบรหิ ารธุรกจิ ปีการศึกษา ๒๕๖๐-๒๕๖๔ ได้ถูกจัดทาข้ึน โดยคณะกรรมการสถานศึกษา
ด้วยการวเิ คราะหน์ โยบายท่เี กีย่ วข้องประกอบด้วย
๑. พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ หมวด ๑
๒. ยทุ ธศาสตร์ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐)
๓. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒
๔. แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙
๕. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสถาบันการอาชีวศกึ ษาระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐-
๒๕๖๔)
๖. มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑
๗. ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ืองมาตรฐานการอาชวี ศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
๘. นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
ข้อมูลทว่ั ไปของสถานศกึ ษา หน้า ๖
๙. นโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ ของรัฐบาล
จากการวิเคราะห์นโยบายท่ีเก่ียวข้องนามากาหนดทิศทางของแผนโดยจัดทาคาส่ังแต่งต้ัง
คณะกรรมการจัดทาแผนพฒั นาการศึกษา และคาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการผู้มีส่วนรว่ ม ผู้รับบริการ
ผู้รับผลกระทบ ต่อการจัดการศึกษา เพื่อวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษาและภายนอก
สถานศึกษาจากการระดมความคิดเห็นของอนุกรรมการสถาบันในเครือท้ัง ๘ ฝ่าย ประกอบด้วย
อนุกรรมการฝ่ายสัมพันธ์กับต่างประเทศ อนุกรรมการฝ่ายนโยบายและแผน อนุกรรมการฝ่าย
แนะแนวและประชาสัมพันธ์ อนุกรรมการฝ่ายพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ อนุกรรมการฝ่ายวิจัย
นวตั กรรม และสงิ่ ประดษิ ฐ์ อนุกรรมการฝ่ายกิจกรรมและปกครอง อนุกรรมการฝา่ ยประกนั คณุ ภาพ
และอนุกรรมการฝา่ ยวชิ าการ ทัง้ นไ้ี ด้จดั ทาคาสัง่ แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการฝา่ ยต่างๆ สถาบนั ในเครือตง้ั
ตรงจิตร ร่วมพิจารณา ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ และกลยุทธ์ของสถาบันในเครือฯ เพื่อขอความ
เห็นชอบต่อคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา พร้อมประกาศใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการจัด
การศึกษา ในปีการศึกษา ๒๕๖๐ ซ่ึงกรอบแนวคิดท่ีสาคัญในการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษา
ของสถาบันในเครือฯ ได้ตรวจสอบความสอดคล้องกบั นโยบายระดบั ต่างๆ อาทิ แผนยุทธศาสตร์ชาติ
ระยะ ๒๐ ปี แผนยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๖๑ แผนยุทธศาสตร์การส่งเสริม
การศึกษาเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๖๐ (ฉบับสรปุ ) มาตรฐานการศกึ ษาชาติ ๓ มาตรฐาน มาตรฐาน
การอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๙ หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเก่ียวกับการประกันคุณภาพภายในการ
อาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๙ และนโยบายสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จดุ เนน้ ๖ ยทุ ธศาสตร์
ของกระทรวงศึกษาธิการ และการขับเคลื่อนสถานศึกษาไปสู่การศึกษา ๔.๐ ตามนโยบายไทยแลนด์
๔.๐ ของรัฐบาล มาเป็นหลักในการกาหนดยทุ ธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ที่ได้จากการประชมุ โดย
นาข้อเสนอแนะต่างๆ ที่ได้รับจากความคิดเห็นของอนุกรรมการทุกฝ่าย นามาจัดทาแผนปฏิบตั ิการ
ประจาปี ซึ่งสามารถบูรณาการความคิด และหลักสาคัญนาไปสู่การบริหารจัดการสถานศึกษาให้มี
ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลต่อไปโดยอนุกรรมการฝ่ายนโยบาย และแผนเป็นผู้รับผิดชอบในการ
นาเสนอเพอ่ื ขออนุมตั ิดาเนนิ การจดั ทาแผนพฒั นาการศกึ ษาของสถานศกึ ษาตอ่ ไป
ข้อมลู ทั่วไปของสถานศึกษา หน้า ๗
ปรชั ญาสถานศกึ ษา (SCHOOL PHILOSOPHY)
ปรัชญาของสถานศึกษา คือแนวคิดหลักการ ความเช่ือของสถานศึกษาท่ีกาหนดข้ึนเพื่อได้
ผลผลติ ของสถานศึกษา คือนักศึกษามีคุณลักษณะและมีศักยภาพตามที่สถานศึกษาต้องการตรงตาม
วัตถุประสงค์ของหลักสูตรแต่ละระดับ และแต่ละประเภทโดยต้องสนองตอบสภาวะของเศรษฐกิจ
และสังคมด้วย สถานศึกษาได้มุ่งผลิตนักศึกษา ให้มีลักษณะนิสัยรักงาน มีความรู้ ความชานาญใน
วิชาชีพท่ีสอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ โดยมุ่งผลิตกาลังคนท่ีมีทักษะทางวิชาชีพ ในระดับ
กงึ่ ฝีมอื และระดบั ฝีมือ และระดับผู้ชานาญเฉพาะอย่าง มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และสามารถดารงชีวิต
อยใู่ นสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสุข
คติพจนท์ ่ีสนองปรัชญา ดงั กล่าว คือ
“คิดค้นความจรงิ เรยี นรูย้ ่งิ ในวชิ า
เสริมคณุ ค่าทางทกั ษะ ไม่เลยละใฝค่ ณุ ธรรม
นาเวลาไปใช้ให้เกดิ ประโยชน”์
คาอธบิ ายปรชั ญาสถานศกึ ษา
คดิ ค้นความจรงิ
๑. ผู้สาเรจ็ การศกึ ษาระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) ของวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจติ ร
พณิชยการ-วิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรบริหารธุรกิจ มคี วามคิดวิเคราะห์อยา่ งเป็นเหตุ เป็นผล บน
ฐานของความเปน็ จริงทีป่ รากฏ
๒. ผู้สาเร็จการศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรพณิชยการ-วิทยาลัยเทคโนโลยี
ตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ ต้องเป็นคนท่ีเที่ยงตรงบนพ้ืนฐานของทฤษฏีและการปฏิบัติอย่างถูกต้อง
เหมาะสม
เรียนรยู้ งิ่ ในวิชา
๑. ผู้สาเร็จการศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ-วิทยาลัยเทคโนโลยี
ต้ังตรงจิตรบริหารธุรกิจ ต้องเป็นบุคคลที่เป่ียมด้วยศักยภาพทางวิชาชีพ มีความรู้ความชานาญใน
วชิ าชีพแขนงประเภท พณิชยกรรม
๒. ผู้สาเร็จการศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรพณิชยการ-วิทยาลัยเทคโนโลยี
ตง้ั ตรงจติ รบรหิ ารธุรกจิ ต้องเชย่ี วชาญในเชงิ ทฤษฏี ควบคูก่ ับการปฏบิ ตั ิบคุ คลท่ีมคี ณุ คา่ ต่อสาขางาน
อาชีพ
๓. ผู้สาเร็จการศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรพณิชยการ-วิทยาลัยเทคโนโลยี
ตัง้ ตรงจติ รบริหารธรุ กิจ ต้องมีทักษะความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคลและมีความสามารถส่ือสารกับกลุ่ม
บคุ คลอยา่ งหลากหลายด้วยภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
ข้อมลู ทั่วไปของสถานศกึ ษา หน้า ๘
เสรมิ คุณค่าทางทกั ษะ
๑. ผู้สาเร็จการศึกษาจากวทิ ยาลัยเทคโนโลยีต้งั ตรงจติ รพณชิ ยการ-วทิ ยาลัยเทคโนโลยีตง้ั ตรง
จิตรบรหิ ารธุรกจิ ตอ้ งเปน็ ผู้หม่นั ฝึกฝนทกั ษะในวิชาชพี ของตนเองอย่างต่อเนื่อง
๒. ผสู้ าเร็จการศกึ ษาจากวทิ ยาลัยเทคโนโลยตี งั้ ตรงจติ รพณชิ ยการ-วิทยาลัยเทคโนโลยีตง้ั ตรง
จิตรบรหิ ารธุรกิจ ตอ้ งเป็นผู้ที่สามารถนาทักษะท่ีเกิดจากการฝึกฝนวิชาชีพไปใช้ในการศึกษาต่อหรือ
การประกอบอาชพี
ไม่ละเลยใฝ่คณุ ธรรม
๑. ผสู้ าเรจ็ การศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยตี ง้ั ตรงจติ รพณิชยการ-วทิ ยาลยั เทคโนโลยตี ้ังตรง
จิตรบริหารธุรกจิ ตอ้ งมคี วามรับผดิ ชอบการพฒั นาการเรยี นรขู้ องตนเองและทางวิชาชพี อยา่ งต่อเนอื่ ง
๒. ผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาของวทิ ยาลัยเทคโนโลยตี งั้ ตรงจติ รพณิชยการ-วทิ ยาลัยเทคโนโลยีตง้ั ตรง
จิตรบริหารธุรกิจ ต้องมีความซ่ือสัตย์ต่อตนเองและสังคม ดารงตนอยู่ในพื้นฐานของหลักธรรมทาง
สังคมทง้ั ทางแนวความคิดและปฏิบตั ิตน
๓. ผสู้ าเรจ็ การศึกษาของวทิ ยาลยั เทคโนโลยีตั้งตรงจติ รพณิชยการ-วทิ ยาลยั เทคโนโลยีตั้งตรง
จติ รบรหิ ารธุรกจิ ต้องมคี ุณลกั ษณะของการเปน็ ผ้นู าทางความประพฤติและวินัยในตนเองเปน็ บุคคลที่
พึงประสงค์ของสถานประกอบการและสังคม
นาเวลาไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์
๑. ผู้สาเร็จการศึกษาของวทิ ยาลยั เทคโนโลยตี ้งั ตรงจิตรพณชิ ยการ-วทิ ยาลยั เทคโนโลยีตงั้ ตรง
จติ รบริหารธุรกจิ ต้องเป็นผู้ขยนั หมน่ั เพยี ร รจู้ ักบริหารเวลาให้เหมาะสม
๒. ผู้สาเร็จการศกึ ษาของวทิ ยาลัยเทคโนโลยตี ั้งตรงจติ รพณิชยการ-วทิ ยาลยั เทคโนโลยีตง้ั ตรง
จิตรบรหิ ารธรุ กิจ ตอ้ งเปน็ ผทู้ ี่ตรงต่อเวลา เป็นทเ่ี ชอ่ื ถือแก่บคุ คลท่วั ไป
๓. ผสู้ าเร็จการศึกษาจากวทิ ยาลัยเทคโนโลยีตง้ั ตรงจติ รพณิชยการ-วิทยาลยั เทคโนโลยีต้งั ตรง
จิตรบริหารธุรกิจ ต้องเป็นผู้ท่ีนาเวลาไปใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า ไม่ปล่อยให้ล่วงเลยไปโดยเปล่า
ประโยชน์
คุณลักษณะของผู้สาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ-วิทยาลัย
เทคโนโลยตี ั้งตรงจิตรบริหารธุรกจิ เปน็ ผู้ทม่ี คี วามรูค้ วามสามารถในวิชาการและวชิ าชพี พฒั นาตนเอง
ให้ก้าวหน้าด้วยทักษะทางปัญญา ความคิด วิจารณญาณอย่างเป็นระบบ ปรับตนได้ทันต่อการ
เปล่ยี นแปลงในสังคมเศรษฐกิจแต่ละยุคสมยั และมีวินัยความรบั ผิดชอบต่อตนเอง และสังคมได้เป็น
อย่างดี
ข้อมูลท่วั ไปของสถานศกึ ษา หน้า ๙
วิสัยทัศน(์ VISION)
เป็นสถาบันอาชีวศึกษาเอกชนชั้นนาของประเทศ ผลิตผู้เรียนให้มีคุณธรรม มีความรู้ทาง
เทคโนโลยี ทักษะวิชาชีพด้านบริหารธรุ กจิ สสู่ ากล
พันธกิจ (MISSION)
๑. จดั การศึกษาอาชวี ศกึ ษาดา้ นบริหารธุรกจิ ก้าวส่อู าเซียน
๒. สง่ เสริมงานวิจยั นวัตกรรม ส่งิ ประดษิ ฐ์ เพื่อถา่ ยทอดและพฒั นาสังคม และชมุ ชน
๓. ให้บริการทางวิชาการ วิชาชีพ แก่สังคมและชุมชนเพื่อการสร้างอาชีพและการพัฒนา
อาชพี โดยยึดหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๔. ทานบุ ารงุ และสบื สานศลิ ปวัฒนธรรมและส่ิงแวดลอ้ ม
อตั ลักษณ(์ IDENTITY)
“ความรู้ ซอ่ื สตั ย์ พอเพยี ง”
คาอธบิ ายอัตลกั ษณ์
ความรู้ หมายถงึ ผู้สาเรจ็ การศกึ ษาต้องเป็นบุคคลทเ่ี ป่ียมด้วยศักยภาพทางวชิ าชพี มคี วามรู้
ความชานาญ ในทางด้านทฤษฎีและทักษะทางวิชาชีพ มีทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและมี
ความสามารถส่อื สารกบั กลมุ่ บุคคลไดห้ ลากหลาย อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
ซ่ือสัตย์ หมายถึง ผู้สาเร็จการศึกษาต้องเป็นบุคคลที่มีความซื่อตรง มั่นคงอยู่ในศีลธรรม
มีความซอ่ื สัตยต์ ่อหน้าท่กี ารงาน ต่อตนเองและผอู้ น่ื ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง มคี วามสุจริตทาง กาย วาจา ใจ
พอเพียง หมายถึง ผู้สาเร็จการศึกษาต้องดาเนินชีวิตโดยยึดหลัก ความพอเพียง ซื่อตรง
ไมล่ ะโมภ ร้จู ักยบั ยัง้ ชัง่ ใจ และตอ้ งไม่เอาเปรยี บหรือเบยี ดเบยี นทง้ั ตวั เองและผ้อู ืน่
เอกลกั ษณ(์ UNIQUENESS)
“แตง่ กายดี มีวนิ ยั ”
คาอธบิ ายเอกลักษณ์
แต่งกายดี หมายถึง สังคมยอมรบั วา่ ผเู้ รยี นแต่งกายสุภาพเรียบร้อย ถูกตอ้ งตามระเบียบของ
สถานศึกษา สอดคล้องกับขนบธรรมเนยี มและวฒั นธรรมอันดงี ามของไทย
มีวินัย หมายถึง สถาบันส่งเสริมให้ผู้เรียนปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของสถานศึกษา
และขนบธรรมเนยี มอันดงี ามของไทยเป็นประจาตลอดเวลาดว้ ยความเตม็ ใจ
คุณลักษณะของผู้สาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรพณิชยการ -วิทยาลัย
เทคโนโลยตี ั้งตรงจติ รบริหารธุรกจิ เปน็ ผูท้ มี่ ีความรคู้ วามสามารถในวชิ าการและวชิ าชีพ พัฒนาตนเอง
ให้ก้าวหน้าด้วยทักษะทางปัญญา ความคิด วิจารณญาณอย่างเป็นระบบ ปรับตนได้ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลงในสังคมเศรษฐกิจแต่ละยุคสมยั และมีวินยั ความรบั ผิดชอบต่อตนเอง และสังคมไดเ้ ป็น
อย่างดี ทั้งนี้ สถานศกึ ษาได้ตระหนกั ใหค้ ณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ผบู้ ริหาร ครู และบุคลากร
ชุมชน องคก์ รภายนอก มสี ว่ นร่วมในการกาหนดอัตลกั ษณ์และวสิ ัยทัศน์ของสถานศกึ ษาด้วย
ปณธิ าน(DETERMINATION)
สงิ่ ท่ผี กู้ อ่ ต้งั และผูบ้ รหิ ารต้องการในการจดั การศึกษาในสถาบันน้ี และผเู้ ก่ียวขอ้ งยดึ ถอื ตลอด
มา คือ
“เป็นผู้นาการศึกษาดา้ นบรหิ ารธรุ กจิ สปู่ ระชาคมอาเซยี น”
เปา้ หมายสงู สดุ (ULTIMATE GOAL)
ข้อมูลท่วั ไปของสถานศกึ ษา หนา้ ๑๐
เปา้ หมายสูงสดุ ทบ่ี คุ ลากรทกุ ฝา่ ยต้องทมุ่ เทเพื่อใหบ้ รรลุ คือ
“มุ่งสรา้ งนักศกึ ษาสูน่ ักธุรกจิ มืออาชพี ”
สัญสักษณ์
มลี กั ษณะเป็นรูปวงกลม มรี ายละเอยี ดดงั นี้
- วงกลมดา้ นนอกมสี ่วนบนเขียนเปน็ ภาษาไทยว่าวทิ ยาลัยเทคโนโลยตี งั้ ตรงจติ รพณิชยการ -
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีตงั้ ตรงจิตรบรหิ ารธรุ กจิ
- วงกลมดา้ นนอกส่วนล่างเขยี นเป็นภาษาไทยวา่ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
- วงกลมตัวในเป็นรปู เรือสาเภา หมายถึง การคา้ หรือการดาเนนิ ธุรกจิ
สปี ระจาสถาบนั
สีประจาวิทยาลัยเทคโนโลยตี งั้ ตรงจิตรพณชิ ยการ-วทิ ยาลยั เทคโนโลยีตงั้ ตรงจิตรบรหิ ารธรุ กจิ
คือ ฟา้ - ขาว
ฟา้ หมายถงึ ความเขม้ แขง็ ความอดทน ความเสยี สละ
ขาว หมายถึง ผู้มีคุณธรรม จรยิ ธรรม จิตใจบรสิ ทุ ธิ์
ขอ้ มลู ทัว่ ไปของสถานศึกษา หนา้ ๑๑
ระบบโครงสร้างการบรหิ ารงาน (Administrative Chart)
การบริหารงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็นปัจจัยเหตุท่ีสาคัญที่สุดท่ีจะพัฒ นา
สถานศึกษา และพัฒนาผู้เรียน ให้มีสัมฤทธ์ิผลทางการเรียนที่ดีมีคุณภาพ เป็นที่ต้องการของสถาน
ประกอบการ สังคมวิชาชีพ สังคมชุมชน เป็นคนดี คนเก่ง มีความสุข และเป็นสมาชิกท่ีดีมีคุณภาพ
ของสังคมจะเป็นการเพ่ิมคุณค่าของสังคม สถานศึกษา จึงได้จัดทาโครงสร้างขององค์กร
(Organization Chart) และโครงสร้างการบริหารงาน (Administrative Chart) ไวด้ ังนี้
ขอ้ มูลท่ัวไปของสถานศกึ ษา หนา้ ๑๒
แผนภมู ิการบรหิ ารงานวิทยาลยั เทคโนโลยตี ั้งตรงจติ รพณิ
คณะกรรมการท่ปี รึกษา ผ้รู บั ใบอนุญาต
ผูจ้ ัดการ
ผู้อานวยการ
ฝา่ ยวิชาการ ฝ่ายกิจการนักศึกษา ฝ่ายบรกิ ารสถา
๑. สาขาวิชาการบญั ชี ๑. งานปกครอง
๒. สาขาวชิ าการเลขานุการ
๓. สาขาวชิ าการตลาด ๒. งานกิจกรรมเสริมหลักสูตร
๔. สาขาการท่องเท่ยี ว ๓. งานแนะแนวประชาสมั พันธ์
๕. สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ
๖. สาขาวชิ าปฏบิ ตั สิ านักงาน และความสมั พนั ธ์ชมุ ชน
๗. หมวดวิชาทกั ษะชีวติ
๘. หมวดวิชาภาษาตา่ งประเทศ
๙. งานห้องสมุด
๑๐. งานฝกึ งานนกั ศกึ ษา
๑๑.งานวิจัยและพัฒนา
๑๒. งานสารสนเทศ
ขอ้ มูลทั่วไปของสถานศึกษา
ณชยการ-วทิ ยาลยั เทคโนโลยีตั้งตรงจติ รบรหิ ารธรุ กิจ
คณะกรรมการบรหิ ารสถานศึกษา
สานกั อานวยการ
๑.งานนโยบายและแผน
๒.งานงบประมาณและการเงนิ
๓.งานบรหิ ารบคุ คล
๔.งานความรว่ มมอื กับองคก์ รภายนอก
านศึกษา สานักงานทะเบยี นและวัดผล
๑.งานอาคารสถานท่ี ๑.งานทะเบียน
๒. งานพสั ดุครุภณั ฑ์ ๒. งานธุรการ
๓. งานสวัสดกิ ารนักศึกษาและ ๓. งานวัดและประเมนิ ผล
ห้องพยาบาล
สานกั งานประกันคุณภาพการศึกษา
หนา้ ๑๓
แผนยุทธศาสตร์โรงเรยี นวิถีพทุ ธสู่ความย่ังยนื
วิทยาลยั เทคโนโลยตี ั้งตรงจิตรพณิชยการ
ปี พ.ศ. ๒๕๖๒-๒๕๖๕
วิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรพณิชยการ ได้จัดทาแผนพัฒนาวิทยาลัย ปี พ.ศ. ๒๕๖๑-
๒๕๖๕ และในแผนพัฒนาวิทยาลัย ได้กาหนดยุทธศาสตร์ที่ ๕ ไว้ว่า “การส่งเสริมวินัย คุณธรรม
จริยธรรม และกิจกรรมนักศึกษา” ซึ่งสอดรับกับพันธกิจท่ี ๔ ของวิทยาลัย คือ “ทานุบารุงและสืบ
สานศิลปวฒั นธรรม และส่ิงแวดลอ้ ม” ดงั น้ันวิทยาลยั จึงดาเนินการจัดทางาน/โครงการ/กิจกรรมตา่ งๆ
ตอบรบั กับพนั ธกิจ และยทุ ธศาสตร์ มาโดยตลอด ซึ่งในสว่ นของการพฒั นาสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม
อยู่ในยุทธศาสตร์ที่ ๕ นี้แล้ว ดังน้ันในด้านปัจจัยพื้นฐาน ด้านท่ี ๑ ตัวช้ีวัดที่ ๑.๗ วิทยาลัยจึงนา
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๕ ของแผนพฒั นาวิทยาลยั มานาเสนอ ดังนี้
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๕ การสง่ เสริมวินยั คุณธรรม จริยธรรม และกิจกรรมนกั ศึกษา
พันธกจิ ท่ี ๔ กลยุทธ์ งาน/โครงการ/กจิ กรรม ตัวชีว้ ดั
ทานุ บารุง และสืบ ๑. จัดสถานศึกษาให้มีความ - โครงการขบั เคล่อื นสถานศึกษาคณุ ธรรมสู่ - ร้อยละของผู้เข้าร่วม
สานศิลปวัฒนธรรม พร้อมเป็น สังคมแห่งการ โรงเรียนวถิ ีพทุ ธช้ันนายอดเยีย่ มพระราชทาน กิจกรรม
และสง่ิ แวดล้อม เรียนรู้ท่ีมีคนดีตามแนววิถี - โครงการอบรมหนา้ เสาธง - ระดับความพงึ พอใจ
พทุ ธ - โครงการฟังธรรมในสวนธรรม
- โครงการฟงั ธรรมในวันธรรมสวนะ
- โครงการพฒั นาจิต
- โครงการทาบุญขึ้นปีใหม่
- โครงการแหเ่ ทียนจานาพรรษา
- โครงการสืบสานวฒั นธรรมไทยในวันสงกรานต์
- โครงการพัฒนาคณุ ธรรมจริยธรรม
- โครงการส่งเสริมวันสาคัญทางพระพทุ ธศาสนา
- กจิ กรรมตักบาตรในวนั พระ
- กิจกรรมวันมาฆบชู า
- กจิ กรรมวันวิสาขบูชา
- กจิ กรรมวันอาสาฬหบชู า
- กจิ กรรมวนั เขา้ พรรษา
- โครงการทอดกฐินสามคั คี
- โครงการวันแมแ่ ห่งชาติ
๒ . พั ฒ น า ผู้ บ ริ ห า ร ค รู - โครงการอบรมปฏบิ ัตธิ รรม - ร้อยละของผู้เข้าร่วม
บุคลากรทางการศึกษาให้มี - โครงการครูดีศรสี ถาบนั กจิ กรรม
ค ว า ม รู้ ค ว า ม เข้ า ใจ เป็ น - โครงการครูอาสาพัฒนา - ระดับความพึงพอใจ
ตั ว อ ย่ า ง ด้ า น คุ ณ ธ ร ร ม - โครงการงามอยา่ งตัง้ ตรงจิตร
จริยธรรมตามแนววิถีพุทธ - โครงการปนั นา้ ใจ
ต ร ะ ห นั ก ถึ ง แ ล ะ เห็ น - โครงการจัดการเขียนแผนการสอนด้านคุณธรรม
ค วาม ส าคั ญ ข อ งก ารจั ด จริยธรรมด้วยระบบการสอนแบบใฝ่รู้ใฝ่เรียน
การศกึ ษา (Active Learning) หรอื ใช้ Application
- โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทาสื่อ
Application เพื่ อ ช่ วยใน ก ารสอ น คุ ณ ธรรม
จริยธรรม
แผนยทุ ธศาสตรโ์ รงเรียนวิถพี ุทธ หน้า ๑๔
พนั ธกจิ ท่ี ๔ กลยทุ ธ์ งาน/โครงการ/กิจกรรม ตวั ชีว้ ัด
๓. พัฒนาศักยภาพผู้เรียน - ร้อยละของผู้เข้าร่วม
ตามแนววถิ ีพุทธ - โครงการประชาธิปไตยวัยอ่อน
กจิ กรรม
๔. สร้างเครือข่ายการมีส่วน - โครงงานของหายไดค้ นื - ระดบั ความพึงพอใจ
ร่วมจากทุกภาคส่วน ตาม - โครงงานคูห่ ู ค่หู วิ้
รปู แบบ "บวร" - โครงงานต้นกล้า การออม - ร้อยละของผู้เข้าร่วม
- โครงงานขยะสร้างรายได้ กิจกรรม
- โครงงานอาสาทาความดี
- ระดับความพงึ พอใจ
- โครงงานยมิ้ ไหว้ ทักทายกัน
- โครงงานตกั บาตร สวดมนต์ นง่ั สมาธิ
- โครงการต่อต้านยาเสพตดิ
- โครงการพฒั นาคุณธรรม ปวช.๑
- โครงการฝึกอบรมมารยาทการเข้าสงั คม
- โครงการรบั ขวญั วันแรกพบ
- โครงการไหวค้ รู
- โครงการวนั เดก็
- โครงงานพี่สอนนอ้ ง
- โครงการวนิ ัยในการออม
- กจิ กรรมพี่ชว่ ยน้อง/เพ่ือนช่วยเพื่อน
- กิจกรรมบูรณาการทุกรายวิชาเร่ืองคุณธรรม
จริยธรรม
- กจิ กรรมสานสมั พันธ์ ครกู บั นกั ศึกษา (โฮมรูม)
- โครงการทาความร่วมมือกับสถานศึกษ า
หนว่ ยงานต่างๆ
- โครงการสานสายใยสมั พนั ธ์
- กจิ กรรมเยี่ยมบ้านนักเรยี น นกั ศึกษา
แผนยทุ ธศาสตรโ์ รงเรยี นวิถพี ุทธ หนา้ ๑๕
แผนปฏบิ ัตกิ ารวิถพี ุทธประจา
วทิ ยาลัยเทคโนโลยตี
ยุทธศาสตรท์ ี่ ๕ การสง่ เสรมิ วนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม และกจิ กรรมนกั ศกึ ษา
พันธกจิ ที่ ๔ ทานุ บารุง และสืบสานศลิ ปวฒั นธรรม และสิง่ แวดลอ้ ม
กลยุทธ ๑. จดั สถานศกึ ษาใหม้ ีความพร้อมเปน็ สงั คมแห่งการเรียนรู้ท่ีมีคนดตี ามแนววิถีพุทธ
ตวั ช้ีวัด ๑. ร้อยละของผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรม
๒. ระดับความพงึ พอใจ
ลาดบั ท่ี งาน / โครงการ / กิจกรรม Plan / ปริมาณ เป้าหมาย เวลา งบประมาณ
Action คณุ ภาพ ภายใน ภายนอก พ.ค.
๔,๐๐๐.๐๐
๑. โ ค ร ง ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น P ดมี าก ตาม
๓,๐๐๐.๐๐
ส ถ าน ศึ ก ษ าคุ ณ ธร รม สู่ กาหนด ๓๐,๐๐๐.๐๐
โรงเรียนวิถีพุทธชั้นนายอด เวลา ๔๐,๐๐๐.๐๐
เยี่ยมพระราชทาน A
๒. งานอบรมหน้าเสาธง P ร้อยละ ความ ตลอดปี
๙๙ พงึ พอใจ
A
๓. โครงการพัฒนาจิต P รอ้ ยละ ความ ตาม
๑๐๐ พึงพอใจ กาหนด
เวลา
A
๔. โครงการฟังธรรมในสวน P รอ้ ยละ ความ ตาม
ธรรม และวนั ธรรมสวนะ ๘๐ พึงพอใจ กาหนด
เวลา
A
แผนปฏิบัติการวถิ ีพทุ ธประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ตงั้ ตรงจิตรพณิชยการ
ระยะเวลาดาเนินงาน สอดคลอ้ ง
๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ผู้รบั ผิดชอบ สอศ. มาตรฐาน
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. ๒๕๖๑ วทิ ยาลยั
ฝา่ ยบุคลากร ๒.๒ ๒.๔.๑
อ.เบญจมาศ
งานปกครอง ๑.๑ ๒.๓
ชมรมศาสนา ๓.๔ ๒.๓.๓
และ (๑)
วัฒนธรรม
งานกจิ กรรม ๓.๔ ๒.๓.๓
เสรมิ (๑)
หลักสูตร
หน้า ๑๖
แผนปฏิบัตกิ ารวถิ ีพุทธประจา
วทิ ยาลัยเทคโนโลยตี
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๕ การสง่ เสริม วินัย คณุ ธรรม จริยธรรม และกิจกรรมนกั ศกึ ษา
พันธกิจท่ี ๔ ทานุ บารงุ และสืบสานศิลปวัฒนธรรม และส่งิ แวดล้อม
กลยทุ ธ ๑. จดั สถานศึกษาให้มีความพรอ้ มเปน็ สังคมแหง่ การเรยี นรู้ที่มคี นดตี ามแนววิถพี ุทธ
ตวั ชีว้ ัด ๑. ร้อยละของผูเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรม
๒. ระดบั ความพึงพอใจ
ลาดับที่ งาน / โครงการ / กิจกรรม Plan / เปา้ หมาย งบประมาณ
๕. โครงการแห่เที ยนจาน า Action ปรมิ าณ คณุ ภาพ เวลา ภายใน ภายนอก พ.ค.
พรรษา ๓๐,๐๐๐.๐๐
P รอ้ ยละ ความ ตาม
๖. โครงการทาบญุ วันข้ึนปใี หม่ ๘๐ พึงพอใจ กาหนด ๘๐,๐๐๐.๐๐
เวลา
๗. โครงการสืบสานวัฒนธรรม ๘,๐๐๐.๐๐
ไทยในวันสงกรานต์ A
P ร้อยละ ความ ตาม
๘๐ พึงพอใจ กาหนด
เวลา
A
P ร้อยละ ความ ตาม
๘๐ พงึ พอใจ กาหนด
เวลา
A
แผนปฏบิ ตั ิการวิถพี ทุ ธประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ตัง้ ตรงจติ รพณชิ ยการ
ระยะเวลาดาเนินงาน สอดคล้อง
๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ผู้รับผิดชอบ สอศ. มาตรฐาน
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. ๒๕๖๑ วทิ ยาลัย
ชมรมศาสนา ๓.๔ ๒.๓.๓
และ (๑)
วฒั นธรรม
ชมรมศาสนา ๓.๔ ๒.๒.๓
และ (๑)
วัฒนธรรม
ชมรมศาสนา ๓.๔ ๒.๒.๓
และ (๑)
วฒั นธรรม
หนา้ ๑๗
แผนปฏิบตั ิการวถิ พี ุทธประจา
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีต
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๕ การส่งเสรมิ วนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม และกจิ กรรมนกั ศึกษา
พนั ธกจิ ท่ี ๔ ทานุ บารุง และสบื สานศิลปวัฒนธรรม และส่ิงแวดล้อม
กลยุทธ ๑. จดั สถานศกึ ษาใหม้ คี วามพร้อมเปน็ สงั คมแหง่ การเรียนรทู้ มี่ ีคนดตี ามแนววถิ พี ุทธ
ตัวชีว้ ัด ๑. ร้อยละของผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม
๒. ระดับความพงึ พอใจ
เป้าหมาย งบประมาณ
ภายใน ภายนอก พ.ค.
ลาดบั ที่ งาน / โครงการ / กิจกรรม Plan / ปริมาณ คณุ ภาพ เวลา
Action
๘. โครงการส่งเสริมวันสาคัญ P ร้อยละ ความ ตาม ๘๐,๐๐๐.๐๐
ทางศาสนา ๘๐ พงึ พอใจ กาหนด
- กจิ กรรมตักบาตรในวัน เวลา
พระ A
- กจิ กรรมวันมาฆบูชา
- กจิ กรรมวนั วสิ าขบชู า
- กิจกรรมวันอาสาฬหบชู า
- กจิ กรรมวนั เขา้ พรรษา
๙. โครงการทอดกฐนิ สามคั คี P ร้อยละ ความ ตาม ๑๐๐,๐๐๐.๐๐
๘๐ พงึ พอใจ กาหนด
เวลา
A
แผนปฏบิ ตั ิการวิถีพทุ ธประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ตง้ั ตรงจติ รพณิชยการ
ระยะเวลาดาเนนิ งาน สอดคลอ้ ง
๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ผ้รู ับผิดชอบ สอศ. มาตรฐาน
ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. ๒๕๖๑ วทิ ยาลัย
ชมรมศาสนา ๓.๔ ๒.๒.๓
และ (๑)
วัฒนธรรม
ชมรมศาสนา ๓.๔ ๒.๒.๕
และ (๑)
วฒั นธรรม
หน้า ๑๘
แผนปฏบิ ตั ิการวถิ พี ทุ ธประจา
วิทยาลยั เทคโนโลยตี
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๕ การสง่ เสรมิ วนิ ยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และกจิ กรรมนักศกึ ษา
พันธกิจที่ ๔ ทานุ บารุง และสบื สานศิลปวัฒนธรรม และสงิ่ แวดลอ้ ม
กลยทุ ธ ๑. จดั สถานศกึ ษาให้มีความพรอ้ มเป็นสังคมแห่งการเรยี นรูท้ ่มี คี นดีตามแนววิถีพทุ ธ
ตวั ชว้ี ัด ๑. รอ้ ยละของผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม
๒. ระดับความพึงพอใจ
ลาดับ งาน / โครงการ / กิจกรรม Plan / เปา้ หมาย เวลา งบประมาณ
ที่ Action ปรมิ าณ คณุ ภาพ ภายใน ภายนอก
พ.ค.
๑๐. โครงการวันแม่แหง่ ชาติ P ร้อยละ ความ ตาม ๘๐,๐๐๐.๐๐
๘๐ พงึ พอใจ กาหนด
เวลา
A
๑๑. โครงการพัฒนาคุณธรรม P รอ้ ยละ ความ ตาม
จริยธรรม ๘๐ พงึ พอใจ กาหนด
เวลา
A
แผนปฏบิ ัติการวิถีพุทธประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ตัง้ ตรงจติ รพณิชยการ
ระยะเวลาดาเนินงาน สอดคลอ้ ง
๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ผรู้ ับผดิ ชอบ สอศ. มาตรฐาน
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. ๒๕๖๑ วทิ ยาลัย
ชมรมลกู เสอื ๓.๔ ๒.๒.๓
เนตรนารี (๑)
วิสามัญ
๓.๔ ๒.๒.๓
(๑)
หนา้ ๑๙
แผนปฏบิ ตั กิ ารวถิ พี ทุ ธประจา
วิทยาลยั เทคโนโลยีต
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๕ การสง่ เสรมิ วนิ ัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และกจิ กรรมนักศกึ ษา
พนั ธกิจท่ี ๔ ทานุ บารุง และสืบสานศลิ ปวัฒนธรรม และสิง่ แวดลอ้ ม
กลยุทธ ๒. พัฒนาผูบ้ รหิ าร ครู บุคลากรทางการศกึ ษา ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจ เปน็ ตวั อย่างด้านคุณธรรม
ตวั ชี้วัด ๑. ร้อยละของผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม
๒. ระดบั ความพงึ พอใจ
ลาดบั งาน / โครงการ / กิจกรรม Plan / เปา้ หมาย เวลา งบประมาณ
ที่ Action ปริมาณ คณุ ภาพ ภายใน ภายนอก
พ.ค
๑. งานจัดทาแผนการจัดการ P ดมี าก ตาม ๖๘,๐๐๐.๐๐
A
เรียนรู้ กาหนด
- ใช้วิธีการสอน/เทคนิคการ เวลา
สอนทห่ี ลากหลายโดยเฉพาะ
Active Learning, PjBL,
STEM Education
- มีวิธีการประเมินตามสภาพ
จรงิ
แผนปฏิบัตกิ ารวิถพี ุทธประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ตง้ั ตรงจติ รพณิชยการ
ม จริยธรรม ตามแนววิถีพุทธ ตระหนักถึงและเห็นความสาคัญของการจัดการศกึ ษา
ระยะเวลาดาเนนิ งาน สอดคล้อง
๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ผูร้ บั ผดิ ชอบ สอศ. มาตรฐาน
ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. ๒๕๖๑ วิทยาลยั
ฝ่ายวิชาการ ๓.๑ ๒.๓.๓
ทกุ สาขาวชิ า (๑)
หนา้ ๒๐
แผนปฏบิ ตั กิ ารวิถีพทุ ธประจา
วิทยาลัยเทคโนโลยตี
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๕ การส่งเสรมิ วินยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และกิจกรรมนักศกึ ษา
พนั ธกิจที่ ๔ ทานุ บารุง และสบื สานศลิ ปวัฒนธรรม และส่งิ แวดลอ้ ม
กลยุทธ ๒. พฒั นาผู้บริหาร ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา ใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจ เปน็ ตวั อยา่ งด้านคณุ ธรรม
ตวั ชว้ี ัด ๑. รอ้ ยละของผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม
๒. ระดบั ความพงึ พอใจ
ลาดบั งาน / โครงการ / กจิ กรรม Plan / เปา้ หมาย เวลา งบประมาณ
ท่ี Action ปรมิ าณ คณุ ภาพ ภายใน ภายนอก
พ.ค
๒. โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร P ดีมาก ตาม ๓๒๐,๐๐๐.๐๐
A
การใช้ระบบดิจจิตอลและ กาหนด
Application เพ่ือการจดั การ เวลา
เรียนการสอน
แผนปฏบิ ัติการวิถีพทุ ธประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ตงั้ ตรงจติ รพณชิ ยการ
ม จรยิ ธรรม ตามแนววิถีพุทธ ตระหนกั ถึงและเห็นความสาคัญของการจัดการศกึ ษา
ระยะเวลาดาเนินงาน สอดคล้อง
๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ผูร้ บั ผดิ ชอบ สอศ. มาตรฐาน
ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. ๒๕๖๑ วิทยาลยั
ฝ่ายวิชาการ ๓.๒ ๒.๓.๘
ทกุ สาขาวชิ า (๓)
หนา้ ๒๑
แผนปฏิบตั กิ ารวิถีพุทธประจา
วิทยาลัยเทคโนโลยตี
ยุทธศาสตรท์ ี่ ๕ การสง่ เสริม วินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม และกจิ กรรมนักศึกษา
พันธกิจที่ ๔ ทานุ บารงุ และสืบสานศลิ ปวัฒนธรรม และสิ่งแวดลอ้ ม
กลยทุ ธ ๒. พัฒนาผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ เป็นตัวอยา่ งด้านคณุ ธรรม
ตัวชวี้ ดั ๑. ร้อยละของผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม
๒. ระดับความพึงพอใจ
ลาดับ งาน / โครงการ / กจิ กรรม Plan / เป้าหมาย เวลา งบประมาณ
ที่ Action ปรมิ าณ คุณภาพ ภายใน ภายนอก
พ.ค
๓. โครงการครูดีศรีสถาบนั P ดมี าก ตาม ๓๕,๐๐๐.๐๐
๔. โครงการครอู าสาพัฒนา A กาหนด
P เวลา
A
ดีมาก ตาม ๑,๐๐๐.๐๐
กาหนด
เวลา
แผนปฏิบตั กิ ารวถิ พี ุทธประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ตงั้ ตรงจติ รพณชิ ยการ
ม จริยธรรม ตามแนววถิ ีพุทธ ตระหนกั ถงึ และเห็นความสาคญั ของการจัดการศกึ ษา
ระยะเวลาดาเนนิ งาน สอดคลอ้ ง
๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ผู้รบั ผดิ ชอบ สอศ. มาตรฐาน
ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. ๒๕๖๑ วทิ ยาลยั
ฝ่ายบคุ ลากร ๒.๒ ๒.๔.๑
อ.กวิสรา ๒.๒ ๒.๔.๑
หนา้ ๒๒
แผนปฏิบตั ิการวถิ ีพุทธประจา
วทิ ยาลยั เทคโนโลยตี
ยุทธศาสตร์ท่ี ๕ การสง่ เสริม วินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม และกจิ กรรมนกั ศึกษา
พนั ธกจิ ท่ี ๔ ทานุ บารงุ และสืบสานศิลปวัฒนธรรม และส่ิงแวดลอ้ ม
กลยุทธ ๒. พัฒนาผ้บู ริหาร ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจ เปน็ ตวั อยา่ งดา้ นคณุ ธรรม
ตัวชี้วดั ๑. รอ้ ยละของผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรม
๒. ระดับความพงึ พอใจ
ลาดับ งาน / โครงการ / กิจกรรม Plan / เปา้ หมาย เวลา งบประมาณ
ท่ี Action ปรมิ าณ คุณภาพ ภายใน ภายนอก
พ.ค
๕. โครงการงามอย่างต้ังตรงจติ ร ดีมาก ตาม ๓๐,๕๐๐.๐๐
P กาหนด
เวลา
A
๖. โครงการปันน้าใจ ดีมาก ตาม ๑,๐๐๐.๐๐
P กาหนด
เวลา
A
๗. โครงการอบรมปฏิบัติธรรม P รอ้ ยละ ดมี าก ตาม ๒๗,๐๐๐.๐๐
ผู้ บ ริ ห า ร ค รู บุ ค ล า ก ร ๑๐ กาหนด
ทางการศกึ ษา A
แผนปฏิบัตกิ ารวิถพี ุทธประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ต้ังตรงจติ รพณิชยการ
ม จริยธรรม ตามแนววิถีพทุ ธ ตระหนักถงึ และเห็นความสาคัญของการจัดการศึกษา
ระยะเวลาดาเนนิ งาน สอดคลอ้ ง
๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ผู้รับผิดชอบ สอศ. มาตรฐาน
ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. ๒๕๖๑ วทิ ยาลัย
ฝา่ ยบุคคล ๒.๒ ๒.๔.๑
ฝา่ ยบุคคล ๒.๒ ๒.๔.๑
งานบรหิ าร ๓.๑ ๒.๓.๔
บคุ ลากร ๓.๑.๑
๓.๑.๒
หน้า ๒๓
แผนปฏบิ ตั ิการวิถพี ทุ ธประจา
วิทยาลัยเทคโนโลยีต
ยุทธศาสตรท์ ่ี ๕ การส่งเสริม วินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม และกิจกรรมนกั ศึกษา
พันธกจิ ท่ี ๔ ทานุ บารุง และสบื สานศลิ ปวัฒนธรรม และส่ิงแวดล้อม
กลยทุ ธ ๓. พัฒนาศกั ยภาพผเู้ รียนตามแนววิถพี ุทธ
ตวั ช้วี ัด ๑. รอ้ ยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
๒. ระดบั ความพึงพอใจ
ลาดับ งาน / โครงการ / กิจกรรม Plan / เปา้ หมาย เวลา งบประมาณ
ท่ี Action ปริมาณ คณุ ภาพ ภายใน ภายนอก
๖,๐๐๐.๐๐ พ.ค
๑. โครงการตักบาตร สวดมนต์ P ดีมาก ตาม ๑,๐๐๐.๐๐
นัง่ สมาธิ กาหนด
A เวลา ๑,๕๐๐.๐๐
๒. โครงการมยิ้ม ไหว้ ทักทาย P
กัน ดีมาก ตาม
A กาหนด
๓. โครงงานต้นกล้าการออม P เวลา
ดีมาก ตาม
กาหนด
เวลา
A
แผนปฏบิ ตั ิการวถิ ีพุทธประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ตง้ั ตรงจิตรพณชิ ยการ
ระยะเวลาดาเนนิ งาน สอดคล้อง
๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ผ้รู บั ผิดชอบ สอศ. มาตรฐาน
ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. ๒๕๖๑ วทิ ยาลยั
ฝ่ายบุคลากร ๒.๑ ๒.๔.๑
อ.สุพตั รา
ฝ่ายบคุ ลากร ๒.๒ ๒.๔.๑
อ.สุพตั รา
อ.เบญจมาศ
อ.วรรณี ๒.๒ ๒.๔.๑
เลศิ พิภพพร,
นักศึกษา
หน้า ๒๔
แผนปฏบิ ตั ิการวิถพี ุทธประจา
วิทยาลยั เทคโนโลยตี
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๕ การส่งเสรมิ วินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม และกิจกรรมนกั ศกึ ษา
พันธกจิ ที่ ๔ ทานุ บารงุ และสืบสานศลิ ปวัฒนธรรม และสง่ิ แวดล้อม
กลยุทธ ๓. พัฒนาศกั ยภาพผ้เู รยี นตามแนววิถพี ุทธ
ตัวชวี้ ดั ๑. รอ้ ยละของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม
๒. ระดับความพึงพอใจ
ลาดับ งาน / โครงการ / กิจกรรม Plan / เปา้ หมาย เวลา งบประมาณ
ที่ Action ปรมิ าณ คณุ ภาพ ภายใน ภายนอก
๒,๐๐๐.๐๐ พ.ค
๔. โครงงานขยะสร้างรายได้ P ดมี าก ตาม ๒,๐๐๐.๐๐
กาหนด
๕. โครงงานจิตอาสาทาความดี A เวลา ๑,๐๐๐.๐๐
P
ดมี าก ตาม
๖. โครงงานพสี่ อนนอ้ ง A กาหนด
P เวลา
ดมี าก ตาม
กาหนด
เวลา
A
แผนปฏบิ ัตกิ ารวิถพี ุทธประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ต้งั ตรงจิตรพณชิ ยการ
ระยะเวลาดาเนนิ งาน สอดคล้อง
๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ผ้รู บั ผิดชอบ สอศ. มาตรฐาน
ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. ๒๕๖๑ วิทยาลัย
อ.ณฐั ปภา ๒.๒ ๒.๔.๑
นนท,์
นักศกึ ษา
อ.พจนยี ,์ ๒.๒ ๒.๔.๑
นักศกึ ษา
อ.พีรว์ าทนิ , ๒.๒ ๒.๔.๑
นกั ศึกษา
หนา้ ๒๕
แผนปฏิบตั ิการวิถีพทุ ธประจา
วิทยาลยั เทคโนโลยตี
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๕ การสง่ เสริม วินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม และกจิ กรรมนกั ศกึ ษา
พนั ธกจิ ท่ี ๔ ทานุ บารงุ และสบื สานศิลปวัฒนธรรม และสิ่งแวดลอ้ ม
กลยุทธ ๓. พัฒนาศกั ยภาพผเู้ รยี นตามแนววิถพี ทุ ธ
ตวั ช้วี ัด ๑. ร้อยละของผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม
๒. ระดับความพึงพอใจ
ลาดบั งาน / โครงการ / กจิ กรรม Plan / เปา้ หมาย เวลา งบประมาณ
ท่ี Action ปริมาณ คณุ ภาพ ภายใน ภายนอก
พ.ค
๗. โครงงานคหู่ ู คหู่ ้วิ P ดีมาก ตาม ๑,๐๐๐.๐๐
กาหนด
๘. โครงงานของหายได้คืน A เวลา
P
ดีมาก ตาม ๑,๐๐๐.๐๐
๙. โครงการตรวจปัสสาวะหา A กาหนด
P เวลา
สารเสพติดในสปั ดาห์รณรงค์
ตอ่ ต้านสารเสพตดิ โลก A ร้อยละ ความ ตาม ๔๐,๐๐๐.๐๐
๑๐๐ พงึ พอใจ กาหนด
เวลา
แผนปฏบิ ัตกิ ารวิถพี ุทธประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ต้งั ตรงจติ รพณชิ ยการ
ระยะเวลาดาเนนิ งาน สอดคลอ้ ง
๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ผู้รบั ผิดชอบ สอศ. มาตรฐาน
ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. ๒๕๖๑ วทิ ยาลัย
อ.จรยิ าพร, ๒.๒ ๒.๔.๑
นกั ศึกษา
อ.สาวิตร,ี ๒.๒ ๒.๔.๑
นักศึกษา
งานปกครอง ๑.๑ ๒.๓
หนา้ ๒๖
แผนปฏบิ ัติการวถิ พี ทุ ธประจา
วิทยาลยั เทคโนโลยตี
ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การส่งเสริม วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม และกิจกรรมนักศกึ ษา
พนั ธกิจท่ี ๔ ทานุ บารุง และสบื สานศลิ ปวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ ๓. พัฒนาศกั ยภาพผูเ้ รยี นตามแนววถิ พี ทุ ธ
ตัวชี้วัด ๑. ร้อยละของผู้เข้าร่วมกจิ กรรม
๒. ระดับความพึงพอใจ
ลาดบั งาน / โครงการ / กจิ กรรม Plan / เปา้ หมาย เวลา งบประมาณ
ท่ี Action ปรมิ าณ คุณภาพ ภายใน ภายนอก
พ.ค
๑๐. กิจกรรมสานสัมพันธ์ ครูกับ P รอ้ ยละ ความ ตลอดปี ๒,๐๐๐.๐๐
นักศกึ ษา (โฮมรูม) ๙๘ พึงพอใจ
A
๑๑. กิจกรรมพ่ีช่วยน้อง/เพื่อน P ร้อยละ ความ ตลอดปี ๒,๐๐๐.๐๐ -
ชว่ ยเพ่อื น ๙๘ พึงพอใจ
A
๑๒. โครงการรบั ขวญั วันแรกพบ P ร้อยละ ความ ตาม ๒๘,๐๐๐.๐๐
๑๐๐ พึงพอใจ กาหนด
เวลา
A
๑๓. โครงการวันไหว้ครู P รอ้ ยละ ความ ตาม ๑๐๐,๐๐๐.๐๐
๑๐๐ พงึ พอใจ กาหนด
เวลา
A
แผนปฏบิ ตั กิ ารวถิ พี ทุ ธประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ต้ังตรงจติ รพณชิ ยการ
ระยะเวลาดาเนินงาน สอดคลอ้ ง
๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ผูร้ ับผดิ ชอบ สอศ. มาตรฐาน
ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. ๒๕๖๑ วิทยาลัย
งานปกครอง ๑.๑ ๒.๓
งานปกครอง ๑.๑ ๒.๓
ชมรม ๓.๔ ๒.๓.๓
นันทนาการ (๑)
งานกิจกรรม ๓.๔ ๒.๓.๓
เสรมิ หลกั สตู ร (๑)
หนา้ ๒๗
แผนปฏิบตั ิการวิถพี ุทธประจา
วิทยาลยั เทคโนโลยีต
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๕ การส่งเสริม วนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม และกจิ กรรมนกั ศึกษา
พันธกจิ ที่ ๔ ทานุ บารงุ และสืบสานศิลปวฒั นธรรม และสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ ๓. พฒั นาศกั ยภาพผู้เรยี นตามแนววถิ ีพทุ ธ
ตัวชว้ี ดั ๑. ร้อยละของผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม
๒. ระดบั ความพงึ พอใจ
ลาดบั งาน / โครงการ / กิจกรรม Plan / เปา้ หมาย เวลา งบประมาณ
ที่ Action ปรมิ าณ คณุ ภาพ ภายใน ภายนอก
พ.ค
๑๔. โครงการวันเด็ก P ร้อยละ ความ ตาม ๘,๐๐๐.๐๐
๘๐ พงึ พอใจ กาหนด
เวลา
A
๑๕. โครงการพัฒนาคุณธรรม P ร้อยละ ความ ตาม ๑๒๐,๐๐๐.๐๐
จรยิ ธรรม ปวช. ๑ ๘๐ พงึ พอใจ กาหนด
เวลา
A
๑๖. โครงการฝึกอบรมมารยาท P รอ้ ยละ ความ ตาม ๖,๐๐๐.๐๐
๘๐ พงึ พอใจ กาหนด
การเขา้ สังคม
เวลา
A
แผนปฏบิ ตั ิการวิถพี ุทธประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ต้งั ตรงจิตรพณชิ ยการ
ระยะเวลาดาเนินงาน สอดคล้อง
๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ผ้รู บั ผดิ ชอบ สอศ. มาตรฐาน
ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. ๒๕๖๑ วิทยาลัย
ชมรมอนรุ กั ษ์ ๓.๔ ๒.๒.๓
ธรรมชาตแิ ละ (๑)
สง่ิ แวดลอ้ ม
งานกจิ กรรม ๓.๔ ๒.๒.๓
เสริมหลักสูตร (๑)
ชมรมวิชาชีพ ๓.๔ ๑.๒.๑
กลมุ่ (๑)
เลขานุการ
หนา้ ๒๘
แผนปฏบิ ตั กิ ารวถิ ีพุทธประจา
วิทยาลยั เทคโนโลยตี
ยุทธศาสตรท์ ี่ ๕ การส่งเสริม วินัย คุณธรรม จริยธรรม และกจิ กรรมนักศึกษา
พนั ธกิจที่ ๔ ทานุ บารงุ และสบื สานศลิ ปวฒั นธรรม และสิง่ แวดล้อม
กลยุทธ ๓. พฒั นาศกั ยภาพผเู้ รียนตามแนววิถพี ุทธ
ตัวชว้ี ัด ๑. รอ้ ยละของผู้เข้าร่วมกจิ กรรม
๒. ระดบั ความพงึ พอใจ
ลาดับ งาน / โครงการ / กิจกรรม Plan / เปา้ หมาย เวลา งบประมาณ
ที่ Action ปริมาณ คณุ ภาพ ภายใน ภายนอก
๒,๐๐๐.๐๐ พ.ค
๑๗. โครงการประชาธิปไตยวัย P รอ้ ยละ ความ เสรจ็
อ่อน ๘๐ พึงพอใจ ตาม
เวลา
A
๑๘. โครงการวินัยในการออม P รอ้ ยละ ความ เสรจ็ -
๘๐ พงึ พอใจ ตาม
เวลา
A
แผนปฏบิ ัตกิ ารวิถพี ทุ ธประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ต้งั ตรงจติ รพณิชยการ
ระยะเวลาดาเนนิ งาน สอดคลอ้ ง
๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ผ้รู ับผดิ ชอบ สอศ. มาตรฐาน
ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. ๒๕๖๑ วิทยาลยั
ชมรมวิชาชพี ๓.๔ ๒.๒.๗
กลุม่ การตลาด (๑)
สานัก
อานวยการ
หน้า ๒๙
แผนปฏิบตั ิการวถิ พี ทุ ธประจา
วิทยาลยั เทคโนโลยีต
ยุทธศาสตร์ท่ี ๕ การสง่ เสรมิ วินยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และกจิ กรรมนกั ศึกษา
พันธกจิ ท่ี ๔ ทานุ บารงุ และสบื สานศิลปวฒั นธรรม และสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ ๓. พฒั นาศกั ยภาพผู้เรียนตามแนววิถพี ทุ ธ
ตัวช้ีวดั ๑. รอ้ ยละของผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม
๒. ระดับความพงึ พอใจ
ลาดบั งาน / โครงการ / กิจกรรม Plan / เป้าหมาย เวลา งบประมาณ
ที่ Action ปรมิ าณ คณุ ภาพ ภายใน ภายนอก
พ.ค
๑๙. งานจัดทาแผนการจัดการ P ดีมาก ตาม ๖๘,๐๐๐.๐๐
A
เรียนรู้ กาหนด
- ท่ีมีการบูรณการ คุณธรรม เวลา
จริยธรรม ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง เพื่อสง่ เสรมิ ผเู้ รยี นมี
กระบวนการคิด วิเคราะห์
แผนปฏิบตั กิ ารวิถีพุทธประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ต้งั ตรงจติ รพณิชยการ
ระยะเวลาดาเนนิ งาน สอดคล้อง
๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ผู้รบั ผิดชอบ สอศ. มาตรฐาน
ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. ๒๕๖๑ วิทยาลยั
ฝ่ายวิชาการ ๓.๑ ๒.๓.๓
ทกุ สาขาวิชา (๑)
หนา้ ๓๐