The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนเฝ้าระวังดินถล่มนาหลวงเสน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนเฝ้าระวังดินถล่มนาหลวงเสน

แผนเฝ้าระวังดินถล่มนาหลวงเสน

คํานํา

เหตุการณธรณีพิบัติภัยดินถลมและนํ้าปาไหลหลาก แตละครั้งมีผลกระทบตอการสูญเสีย
ชีวิตและทรัพยสินของประชาชน ในพื้นที่เสี่ยงภัยเปนจํานวนมาก กรมทรัพยากรธรณีเปนหนวยงานหลัก
หนวยงานหน่ึงท่ีมีภารกิจรับผิดชอบดานการเฝาระวังการเกิดธรณีพิบัติภัย และไดดําเนินการจัดทําแผนที่
เสย่ี งที่มโี อกาสเกิดดินถลมมาตราสว น 1: 250,000 พบวามพี ืน้ ที่เสย่ี งภยั ดินถลมครอบคลุม 54 จงั หวดั จึง
มีแนวคิดในการจัดจางทําขอมูลแผนท่ีเส่ียงภัยดินถลมระดับชุมชนในรูปแบบฐานขอมูลระบบสารสนเทศ
สําหรับการตดิ ตามสถานการณและสนับสนุนการเฝาระวังแจง เตือนพิบัติภยั ตางๆ เพือ่ เปน เครื่องมือในการ
วางแผนและบริหารสถานการณท ้งั ในสว นกอ นเกดิ เหตุ ชว งเกิดเหตุ และการชว ยเหลือบรรเทาหลงั เกดิ เหตุ

กรมทรัพยากรธรณีไดดําเนินการจัดจางทําขอมูลแผนที่เส่ียงภัยดินถลมระดับชุมชน
ตั้งแตปงบประมาณ 2555-2556 จํานวน 350 ตําบล และในปงบประมาณ 2557 จัดจางเพ่ิมอีก 120 ตําบล
ผลการประเมินจากภาคสนาม ตําบลนาหลวงเสน อําเภอทุงสง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีพ้ืนท่ีเส่ียงภัยท่ี
จะไดรบั ผลกระทบจากดนิ ถลม น้ําปาไหลหลาก และน้าํ ทวมฉับพลัน ท้ังหมด 9 หมบู าน พบวา มีพืน้ ท่ีเสี่ยง
ภัยไดรับผลกระทบจากดินถลม และนํา้ ทวมฉับพลัน 2 หมูบา น มีพนื้ ท่เี สย่ี งภยั ไดร ับผลกระทบจากดินไหลและ
นํ้าปาไหลหลาก 1 หมูบาน มีพื้นท่ีเส่ียงภัยไดรับผลกระทบจากดินไหล และน้ําทวมฉับพลัน 3 หมูบาน มีพ้ืนที่
เสยี่ งภยั ไดรับผลกระทบจากหินรว ง และนา้ํ ทว มฉับพลัน 1 หมูบ าน และมพี น้ื ที่เสี่ยงภยั ไดร ับผลกระทบจากนํ้า
ทว มฉบั พลนั 2 หมบู า น

จากผลการดําเนินงานโครงการจัดจางทําขอมูลแผนท่ีเสี่ยงภัยดินถลมระดับชุมชน จึงได
จัดทําหนังสือเลมนี้ขึ้น เพื่อใหมีขอมูลแผนท่ีพื้นที่เสี่ยงภัยดินถลมระดับชุมชน เพื่อใหเจาหนาที่ของกรม
ทรัพยากรธรณีและหนวยงานท่ีเกี่ยวของ สามารถใชประโยชนขอมูลเครือขายเฝาระวังแจงเตือนภัยดิน
ถลมในการเพ่ิมประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และหวงั วา จะเปนการ
เผยแพรขอมูลของกรมทรัพยากรธรณี ใหประชาชนในพื้นท่ีเสี่ยงภัยดินถลม หนวยงานที่เก่ียวของ องคกร
ปกครองสวนทองถ่นิ และองคกรภาคประชาชน นําไปใชใหเปนประโยชนเ ม่ือเกิดเหตุการณด นิ ถลมได

2558

สารบญั

หนา

คาํ นาํ ก
สารบัญ ค
สารบญั รปู ช
สารบัญตาราง

บทท่ี 1 บทนาํ 1-1
1.1 ความเปนมา
1.2 วัตถปุ ระสงค 1-1
1.3 การดําเนินงานของโครงการที่ผา นมา 1-2
1.4 ขัน้ ตอนการจดั ทําแผนทีเ่ สย่ี งภัยดนิ ถลมระดับชุมชน 1-2
1.4.1 งานดานการรวบรวมรายงานศกึ ษาวจิ ยั ดา นดนิ ถลม 1-2
1.4.2 งานดา นการจดั เตรยี มช้นั ขอมูลแผนทีฐ่ าน 1-2
1.4.3 การวิเคราะหหาขอบเขตรองรอยดินถลม และขอบเขตพ้ืนที่เสย่ี งภัยดนิ ถลม 1-3
1.4.4 การสาํ รวจขอ มลู ภาคสนาม 1-3
1.5 พนื้ ทสี่ ํารวจ 1-5

บทท่ี 2 ธรณวี ิทยาและธรณพี บิ ตั ิภยั ดนิ ถลม 2-1
2.1 ธรณวี ิทยาทว่ั ไปของจังหวดั นครศรีธรรมราช 2-6
2.2 ธรณพี บิ ตั ภิ ยั ดนิ ถลม 2-6
2.2.1 พน้ื ทท่ี ่ีมโี อกาสเกดิ ดนิ ถลม 2-8
2.2.2 ปจจัยการเกดิ ดนิ ถลม 2-9
2.2.3 กระบวนการเกดิ ดนิ ถลม 2-11
2.2.4 คาํ จํากัดความพนื้ ที่เสี่ยงภยั ดินถลม 2-15
2.5.5 ประวตั ิการเกิดดินถลม

บทท่ี 3 พ้ืนท่เี ส่ียงภยั ดินถลมระดับชุมชน ตําบลนาหลวงเสน 3-1
3.1 ขอ มูลทั่วไป 3-1
3.1.1 ที่ตัง้ และภูมิศาสตร 3-1
3.1.2 การใชป ระโยชนท ี่ดิน 3-2
3.1.3 ลักษณะภูมิประเทศและลักษณะทางนํา้ 3-3
3.1.4 ลกั ษณะภูมิอากาศ 3-4
3.2 ลกั ษณะธรณีวทิ ยาตําบลนาหลวงเสน 3-4
3.2.1 ลําดับชน้ั หิน และธรณีวทิ ยาโครงสราง 3-9
3.2.2 หลกั ฐานการเกิดดินถลมโบราณ 3-13
3.3 สถานการณธรณีพิบัตภิ ยั ดนิ ถลมตาํ บลนาหลวงเสน



สารบัญ (ตอ )

หนา

3.4 พน้ื ทเ่ี ส่ยี งภยั ดินถลม 3-13
3.4.1 แผนทเ่ี ส่ียงภยั ดินถลมระดับชมุ ชน 3-21
3.4.2 เครือขายเฝาระวงั แจงเตือนภัยดินถลม 3-22
3.4.3 จุดเฝาระวังและพนื้ ทปี่ ลอดภยั 3-26

บทที่ 4 สรปุ และขอเสนอแนะ
4.1 สรุป 4-1
4.2 ขอเสนอแนะสาํ หรบั การเตรียมความพรอมเพื่อรบั มือธรณีพิบตั ภิ ัยดนิ ถลม 4-2
4.2.1 องคการบรหิ ารสวนตาํ บลนาหลวงเสน อาํ เภอทงุ สง จังหวัดนครศรีธรรมราช4-2
4.2.2 สาํ หรับภาคประชาชน 4-5

ภาคผนวก
ภาคผนวก ก รายช่ือเครอื ขายเฝา ระวังแจงเตอื นภัยดนิ ถลม ตาํ บลนาหลวงเสน อําเภอทุง สง

จังหวดั นครศรีธรรมราช
ภาคผนวก ข แผนท่เี สย่ี งภยั ดนิ ถลม ระดบั ชมุ ชน 1:10,000
ภาคผนวก ค แผนบูรณาการดา นการเฝา ระวังแจงเตือนภยั ดินถลม



สารบญั รูป

รปู ท่ี หนา

1.5-1 พนื้ ทส่ี ํารวจและจัดทําขอมูลพน้ื ทเ่ี สยี่ งภยั ดนิ ถลม ระดับชุมชนในป 2557 1-6
2.1-1 จงั หวดั นครศรธี รรมราช
2.1-2 แผนที่ธรณวี ิทยาจงั หวดั นครศรธี รรมราช 2-2
2.2.1-1 คําอธิบายแผนท่ีธรณวี ทิ ยา จังหวดั นครศรธี รรมราช 2-3
2.2.2-1 แผนท่ีแสดงพ้ืนท่ที ีม่ โี อกาสเกิดดินถลมจังหวัดนครศรธี รรมราช 2-7
2.2.3-1 ปจ จัยการเกิดดนิ ถลม 2-8
กระบวนการเกดิ ดนิ ถลม ตามการเพ่ิมขึน้ ของปริมาณนํ้าฝน ในรอบ 24 ช่ัวโมง
2.2.4-1 ปรมิ าณน้าํ ฝน 178 มิลลิเมตร ทาํ ใหเกิดดนิ ไหลในพืน้ ทอี่ ําเภอทุงสง
2.2.4-2 จังหวัดนครศรีธรรมราช 2-10
2.2.4-3 พ้ืนทเี่ ส่ียงภยั ดินถลมโดยตรง โดยอาคารบา นเรือนอยรู ิมรอ งหว ย และรองเขาไหล
2.2.4-4 ผา นกลางหมบู า น หมู 5 บา นขุนสานอก ตาํ บลโปง สา อาํ เภอปาย จงั หวดั แมฮอ งสอน 2-12
2.2.4-5 พื้นที่เสย่ี งภยั น้าํ ปา ไหลหลาก หมู 5 บา นแมฮี้ ตําบลแมฮี้ อําเภอปาย
2.2.4-6 จังหวดั แมฮองสอน 2-13
พน้ื ทเ่ี สี่ยงภัยนํ้าทวมฉับพลนั หมู 3 บา นปาขาม ตําบลเวยี งใต อาํ เภอปาย
2.2.5-1 จงั หวดั แมฮองสอน 2-13
2.2.5-2 พื้นที่เสย่ี งภยั ดินถลม และนา้ํ ปาไหลหลาก หมู 4 บา นเมืองนอย ตําบลเวียงเหนือ
2.2.5-3 อาํ เภอปาย จงั หวดั แมฮ องสอน 2-14
3.2.1-1 พนื้ ทีเ่ ส่ียงภยั นํา้ ปา ไหลหลาก และนํ้าทวมฉับพลนั หมู 2 บา นทรายขาว ตําบลแมฮี้
3.2.1-2 อําเภอปาย จงั หวดั แมฮองสอน 2-14
3.2.1-3 พ้ืนทีเ่ ส่ียงภัยดนิ ไหล ก) สรางบา นขวางรอ งเขา หมู 4 บา นสาล่ี ตาํ บลนา้ํ มวบ
3.2.1-4 อําเภอเวยี งสา จงั หวัดนา น ข) ตัดไหลเขาสรา งบาน หมู 4 บา นถ้าํ ฉลอง ตาํ บลถา้ํ ฉลอง
อาํ เภอทองแสนขัน จงั หวดั อุตรดิตถ 2-15
การเกดิ ดินถลม ในจงั หวัดนครศรีธรรมราช พฤศจิกายน 2531
(ภายโดยวรวุฒิ ตนั ติวนชิ ) 2-16
รอ งรอยดนิ ถลม ในพืน้ ทจี่ ังหวัดนครศรีธรรมราช, มีนาคม 2554 2-16
ความเสียหายของบานเรือนจากดนิ ถลมในอําเภอสิชล จงั หวัดนครศรธี รรมราช 2-17
ลกั ษณะของหนิ ทราย (ϵ) สีเทาอมขาว ถงึ น้ําตาลแดง ในพื้นท่ีหมู 1 บา นสระแกว
พิกดั 575042 E/ 0908656 N 3-5
ลกั ษณะของหินไบโอไทตแกรนิต (Trgr1) สเี ทา ถึงน้าํ ตาลอมเทาเนื้อดอก
ในพนื้ ที่หมู 1 บานสระแกว พิกัด 575534 E/ 0911983 N 3-5
ลกั ษณะของตะกอนนํ้าพา (Qa) ประกอบดว ย ตะกอนกรวด ทราย และดินเหนยี ว
ในพืน้ ที่หมู 2 บา นใต พิกดั 578947 E/ 0905546 N 3-5
ลักษณะของหนิ ทรายแทรกสลบั หนิ ทรายแปง (Olt) สีน้ําตาลอมเหลือง ถึงนํา้ ตาลอมสม
ในพ้ืนทหี่ มู 3 บา นทาเลา พกิ ัด 577511 E/ 0906616 N 3-6



สารบัญรูป (ตอ)

รูปที่ หนา

3.2.1-5 ลักษณะของหินปนู (Olt) สีเทาอมเขียว ชั้นปานกลาง ในพื้นทห่ี มู 3 บานทา เลา 3-6
พิกัด 575539 E/ 0912508 N 3-6
3-7
3.2.1-6 ลักษณะของตะกอนผพุ ังอยูกับท่ี (Qc) ประกอบดวย ตะกอนกรวด ทราย ทรายแปง 3-7
และดินเหนียว ในพื้นทีห่ มู 4 บานลําหัด พกิ ัด 593025 E/ 0909156 N 3-7
3-8
3.2.1-7 ลักษณะของหนิ ปนู (Olt) สเี ทาถงึ เทาขาว ชัน้ ปานกลาง ในพน้ื ทห่ี มู 5 บา นถํา้ ใหญ 3-8
พิกัด 576058 E/ 0907774 N 3-8
3-9
3.2.1-8 ลกั ษณะของหินปนู (Olt) สเี ทาถงึ เทาดํา ช้ันหนา ในพ้ืนท่หี มู 6 บา นสาํ โรง
พิกดั 574923 E/ 0905241 N 3-10
3-10
3.2.1-9 ลักษณะของหินทรายแปง สีนาํ้ ตาลแดง (Olt) ในพ้ืนท่ีหมู 6 บา นสาํ โรง 3-10
พิกดั 574705 E/ 0905315 N 3-11

3.2.1-10 ลักษณะของหนิ แกรนติ (Trgr1) เนอื้ ดอก สเี ทาขาว ในพืน้ ทีห่ มู 7 บา นประดู 3-11
พกิ ัด 578011 E/ 0910078 N 3-11

3.2.1-11 ลักษณะของตะกอนผพุ ังอยกู ับที่ (Qc) ประกอบดวย เศษหินทราย กรวด ทราย
ทรายแปง และดนิ เหนยี ว ในพน้ื ทหี่ มู 7 บานประดู พิกัด 578519 E/ 0908676 N

3.2.1-12 ลักษณะของหนิ แกรนติ (TRgr1) เนอ้ื ดอก ในพน้ื ทห่ี มู 8 บานไสเหนือ
พกิ ัด 579550 E/ 0908869 N

3.2.1-13 ลกั ษณะของหนิ แกรนิต (TRgr1) สเี ทา เน้ือสมาํ่ เสมอ ถงึ เน้ือดอก ในพื้นท่ีหมู 9
บานหนา เขา พิกัด 577165 E/ 0909344 N

3.2.2-1 ลกั ษณะกองดนิ ถลมโบราณ ประกอบดว ย กอนหินแกรนติ ขนาดประมาณ
0.45 x 1.0 เมตร กรวด ทราย ทรายแปง และดินเหนยี ว ในพ้นื ท่ีหมู 1 บา นสระแกว
พกิ ดั 575528 E/ 0911893 N

3.2.2-2 ลกั ษณะตะกอนในคลองทาโหลน ประกอบดวย ตะกอนกรวด ทราย ทรายแปง
และดนิ เหนยี ว ในพื้นที่หมู 2 บานใต พกิ ัด 578947 E/ 0905546 N

3.2.2-3 ลกั ษณะตะกอนในคลองทา เลา ประกอบดว ย ตะกอนกรวด ทราย ทรายแปง
และดนิ เหนียว ในพื้นทหี่ มู 3 บา นทา เลา พิกดั 577145 E/ 0905935 N

3.2.2-4 ลกั ษณะตะกอนในคลองงา ประกอบดวย ตะกอนกรวด ทราย ทรายแปง
และดนิ เหนยี วในพน้ื ทหี่ มู 4 บานลาํ หดั พกิ ัด 573212 E/ 0907200 N

3.2.2-5 ลกั ษณะกองดินถลมโบราณ ประกอบดว ย กอ นหินแกรนิต ขนาดประมาณ
1.0 x 2.0 เมตร กรวด ทราย ทรายแปง และดินเหนยี ว ในพน้ื ทหี่ มู 5 บานคอกชาง
พิกัด 577323 E/ 0909514 N

3.2.2-6 ลักษณะตะกอนในคลองทา เลา ประกอบดวย ตะกอนกรวด ทราย ทรายแปง
และดินเหนียว ในพ้ืนที่หมู 6 บา นสําโรง พกิ ดั 575287 E/ 0904820 N



สารบญั รปู (ตอ)

รูปท่ี หนา

3.2.2-7 ลกั ษณะกองดนิ ถลมโบราณ ประกอบดวย กอ นหินแกรนิต ขนาดประมาณ
3.2.2-8 1.0 x 2.0 เมตร กรวด ทราย ทรายแปง และดนิ เหนยี ว ในพ้ืนทีห่ มู 7 บานประดู
3.2.2-9 พกิ ัด 577477 E/ 0909466 N 3-12
3.4-1 ลักษณะกองดินถลม โบราณ ประกอบดว ย กอนหินแกรนิต ขนาดประมาณ
0.50 x 1.0 เมตร กรวด ทราย ทรายแปง และดนิ เหนยี ว ในพ้นื ที่ หมู 8 บานไสเหนือ
3.4-2 พกิ ัด 580440 E/ 0908264 N 3-12
3.4-3 ลกั ษณะตะกอนในคลองทา เลา ประกอบดว ย ตะกอนกรวด ทรายทรายแปง
3.4-4 และดนิ เหนยี วในพนื้ ทห่ี มู 9 บา นหนา เขา พิกดั 577165 E/ 0909344 N 3-12
3.4-5 พนื้ ที่เสย่ี งภยั หมู 1 บา นสระแกว (ก) ตัง้ บานเรอื นอยบู นกองดนิ ถลม เกา เสีย่ งดินถลม
3.4-6 (ข) ตง้ั บา นเรือนใกลสะพานคลองลาํ หดั เสีย่ งนา้ํ ทว มฉบั พลัน (ค) ตงั้ บา นเรือนใกล
3.4-7 สะพานคลองลาํ คอย เสีย่ งนํา้ ทวมฉบั พลัน (ง) ตัง้ บา นเรือนใกลสะพานคลองวงั หีบ
3.4-8 เส่ยี งนํา้ ทวมฉับพลัน 3-16
3.4-9 พื้นท่เี ส่ยี งภัย หมู 2 บานใต (ก) ตดั ไหลเขาเพื่อตงั้ บานเรอื น เสยี่ งดนิ ไหล
(ข) ตั้งบา นเรือนใกลคลองทาโหลน เสี่ยงนา้ํ ทวมฉับพลัน 3-17
พน้ื ทเี่ ส่ยี งภยั หมู 3 บานทา เลา (ก) ตัดไหลเ ขาสรางบา นเรือน เสีย่ งดนิ ไหล
(ข) ตง้ั บานเรือนใกลค ลองทาเลา เสยี่ งนํา้ ทว มฉับพลัน 3-17
พื้นทเ่ี สี่ยงภยั หมู 4 บา นลาํ หดั (ก) ตั้งบา นเรือนใกลคลองวงั หดั เส่ยี งนา้ํ ทว มฉบั พลนั
(ข) ตั้งบา นเรือนใกลคลองงา เส่ยี งนาํ้ ทวมฉับพลัน (ค) ต้งั บา นเรอื นใกลคลองวังหีบ
เสย่ี งน้าํ ทวมฉับพลัน 3-18
พน้ื ท่ีเสย่ี งภัย หมู 5 บา นคอกชา ง (ก) ตัดไหลเขาตั้งบานเรือน เสย่ี งดนิ ไหล
(ข) ตั้งบา นเรือนใกลสะพานคลองลาํ หัด เสีย่ งน้าํ ทว มฉับพลัน (ค) ตง้ั บา นเรือนใกล
สะพานคลองวงั หบี เสี่ยงน้าํ ทวมฉับพลนั 3-18
พื้นทเี่ สย่ี งภัย หมู 6 บา นสาํ โรง (ก) นางถนอม ศรสี มหมาย ตัง้ บานเรือนใกลเขาหนิ ปูน
เสีย่ งหินรว ง (ข) โรงเรยี นชุมชนวัดสําโรง ตั้งอยตู ิดคลองทาเลา เสย่ี งน้ําปา ไหลหลาก 3-19
พื้นทเี่ สย่ี งภัย หมู 7 บา นประดู (ก) ตัดไหลเขาเพอ่ื ต้ังบานเรือน เสี่ยงดินไหล
(ข) ต้ังบา นเรือนใกลห ว ยเสาะ เสยี่ งนํา้ ปา ไหลหลาก (ค) ตัง้ บา นเรอื นใกลค ลองทาเลา
เส่ยี งนาํ้ ปาไหลหลาก 3-20
พ้นื ที่เสยี่ งภยั หมู 8 บานไสเหนือ (ก) ตง้ั บานเรือนใกลเ ขา เสย่ี งดินถลม
(ข) ตง้ั บา นเรือนใกลส ะพานคลองทาโลน เสยี่ งนํา้ ทวมฉบั พลัน
(ค) ตัง้ บานเรือนใกลห วยชองตริบ เส่ยี งนาํ้ ทวมฉับพลนั 3-20
พนื้ ท่เี สี่ยงภยั หมู 9 บา นหนาเขา (ก) และ (ข) ตง้ั บานเรือนใกลค ลองทา เลา
เส่ียงนาํ้ ปาไหลหลาก 3-21



สารบัญรูป (ตอ )

รูปท่ี หนา

3.4.1-1 แผนทีเ่ สีย่ งภัยดนิ ถลมระดับชมุ ชน ตําบลนาหลวงเสน อาํ เภอทงุ สง 3-23
3.4.1-2 จังหวดั นครศรีธรรมราช
3.4.1-3 แผนทเี่ สยี่ งภัยดินถลมระดบั ชุมชน ตําบลนาหลวงเสน อาํ เภอทงุ สง
3.4.3-1 จังหวัดนครศรธี รรมราช (สว นท่ี 1) 3-24
แผนที่เสี่ยงภยั ดนิ ถลมระดับชมุ ชน ตาํ บลนาหลวงเสน อําเภอทงุ สง
3.4.3-2 จังหวัดนครศรีธรรมราช (สวนที่ 2) 3-25
3.4.3-3 (ก) จดุ เฝา ระวงั ตนน้าํ คลองทาโลน บา นนายสิทธพิ ล โชโต หมู 2 บานใต
3.4.3-4 พิกัด 579152 E/ 906374 N
3.4.3-5 (ข) จุดเฝาระวังตน น้ําคลองวังหบี บานนายสมเกียรติ์ เมืองไทย หมู 5 บานคอกชา ง
3.4.3-6 พกิ ัด 574883 E/ 910244 N
4.2.1-1 (ค) จดุ เฝา ระวังตน นา้ํ คลองลําหดั บา นนางพรเพ็ญ ศรปี ระจันต หมู 5 บานคอกชา ง
4.2.1-2 พิกดั 575340 E/ 909473 N
(ง) จดุ เฝาระวงั ตนน้าํ คลองทา เลา (คลองประดู) บานนายรังษี ชนะชน หมู 7
บานประดู พิกัด 577942 E/ 910065 N
(จ) จุดเฝาระวงั ตน น้าํ คลองทาโลน (คลองทา โหลน) บา นนายพรภริ มย พิกลุ งาม
หมู 8 บานไสเหนอื พกิ ดั 579539 E/ 908941 N 3-27
พ้ืนที่ปลอดภยั สําหรับอพยพช่ัวคราว (ก) หมู 1 บานสระแกว บริเวณบานนายจาํ นง คงกลุ
พกิ ดั 575086 E/ 909376 N (ข) หมู 2 บานใต บริเวณโรงพยาบาลสง เสริมสุขภาพ
ตําบลบานใต พิกดั 578400 E/ 905437 N 3-28
พ้นื ทป่ี ลอดภยั สําหรบั อพยพชั่วคราว (ก) หมู 3 บานทาเลา บริเวณศาลาหมูบาน หมู 3
บานทาเลา พิกัด 576646 E/ 906085 N (ข) หมู 4 บา นลําหดั บริเวณโรงเรยี นทุงคอกชาง
หมู 5 พกิ ัด 575204 E/ 907670 N 3-28
พ้ืนที่ปลอดภยั สําหรบั อพยพชั่วคราว (ก) หมู 5 บานคอกชาง บริเวณโรงเรียนทุง คอกชา ง
พกิ ดั 575204 E/ 907670 N (ข) หมู 6 บา นสําโรง บรเิ วณท่ที าํ การ อบต.นาหลวงเสน
พกิ ดั 574910 E/ 905375 N 3-28
พ้ืนทปี่ ลอดภยั สาํ หรับอพยพช่ัวคราว (ก) หมู 7 บานประดู บริเวณโรงเรียนวดั ศลิ าราราย
พกิ ดั 577916 E/ 907347 N (ข) หมู 8 บานไสเหนือ บริเวณท่ที าํ การผใู หญบ าน หมู 8
บานไสเหนอื พกิ ัด 578741 E/ 907932 N 3-29
พ้ืนทปี่ ลอดภยั สําหรบั อพยพช่ัวคราว หมู 9 บา นหนา เขาบริเวณบานนายธีรยุทธ
เกิดบัวทอง พกิ ัด 576779 E/ 908637 N 3-29
ฝายนา้ํ ลนกีดขวางทางนํ้า ทําใหก ัดเซาะตลิ่งและบา นเรอื นเสียหาย 4-3
ฝายคลองทาทนท่ีสรา งกีดขวางทางนํา้ ทําใหยกระดบั น้าํ ทว มเปน บรเิ วณกวาง 4-4

ช หนา
4-4
สารบญั รปู (ตอ ) 4-5

รูปที่
4.2.1-3 สะพานขา มลํานาํ้ ซึ่งมเี สาสะพานจํานวนมาก กลายเปนเขื่อนขนาดยอ มกดี ขวาง

การไหลของเศษซากไมและตะกอนดิน เมื่อไมส ามารถตานทานไหวจึงพังทลาย
4.2.1-4 ถนนแบบลดระดับ (ถนนนา้ํ ลน) ซึ่งเหมาะสมกับพ้นื ทางนํา้ ขนาดเล็ก

สารบญั ตาราง หนา
1-5
ตารางท่ี
1.5-1 พน้ื ที่สาํ รวจและจัดทาํ ขอมลู พ้ืนทเ่ี สีย่ งภัยดินถลมระดับชมุ ชนในป 2557

จังหวัดนครศรีธรรมราช

บทที่ 1
บทนาํ

บทท่ี 1
บทนํา

1.1 ความเปน็ มา

การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกส่งผลให้อัตราการเกิดพิบัติภัยเกี่ยวกับดินโคลน
ถล่มนํา้ ป่าไหลหลาก และน้าํ ท่วมฉับพลัน มีจํานวนมากขึ้นอย่างต่อเนื่องและทวีความรุนแรงข้ึน ซึ่งหาก
เกิดข้ึนจะสรา้ งความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนจํานวนมาก จําเป็นอยา่ งยิ่งต้องจัดเตรียม
ข้อมูลท่มี ี ความถูกตอ้ งและเปน็ ปัจจบุ นั ท่อี ยู่ในรปู แบบทีส่ นับสนุนการประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยที ่ีทันสมยั เพื่อ
การเฝ้าระวงั การเกดิ เหตุการณ์และใชส้ าํ หรับการบริหารจดั การ

กรมทรัพยากรธรณีเป็นหน่วยงานหลักหน่วยงานหนึ่งที่มีภารกิจรับผิดชอบด้านการ
เฝ้าระวังการเกิดธรณีพิบัติภัย จึงมีแนวคิดในการจัดจ้างทําข้อมูลแผนที่เสี่ยงภัยดินถล่มระดับชุมชนใน
รูปแบบฐานข้อมลู ระบบสารสนเทศ สําหรบั การติดตามสถานการณ์และสนับสนนุ การเฝา้ ระวงั แจ้งเตือนภัย
พิบัติต่างๆ เพ่ือเป็นเครื่องมือในการวางแผนและบริหารสถานการณ์ท้ังในส่วนก่อนเกิดเหตุ ช่วงเกิดเหตุ และ
การช่วยเหลือบรรเทาหลังเกิดเหตุ

ในปี พ.ศ. 2555 กรมทรัพยากรธรณีได้จัดทําข้อมูลแผนที่เสี่ยงภัยดินถล่มระดับชุมชน
จํานวน 190 ตําบล ในพ้ืนท่ี 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดชุมพร จังหวัดน่าน
จังหวดั แพร่ และจังหวัดอุตรดิตถ์

ในปี พ.ศ. 2556 กรมทรัพยากรธรณีได้จัดทําข้อมูลแผนที่เสี่ยงภัยดินถล่มระดับชุมชน
จํานวน 180 ตําบล ในพื้นท่ี 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดชุมพร จังหวัดน่าน
จังหวัดแพร่ จงั หวดั อุตรดิตถ์ จงั หวัดสโุ ขทยั และจังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี

และในปี พ.ศ. 2557 กรมทรัพยากรธรณีได้จัดทําข้อมูลแผนที่เสี่ยงภัยดินถล่มระดับ
ชุมชน จํานวน 120 ตําบล ในพื้นที่ 12 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดชุมพร
จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดนครศรธี รรมราช จังหวัดน่าน จังหวดั พัทลงุ จังหวัดสุโขทัย จังหวัดตาก จังหวัด
ตรงั และจังหวัดอุตรดติ ถ์

1.2 วตั ถปุ ระสงค์

1. เพื่อให้มีข้อมูลแผนที่พื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่มระดับชุมชน ครอบคลุมพื้นที่เสี่ยงภัย
ระดับสูงในพืน้ ท่ีไมน่ ้อยกวา่ 120 ตําบล ในการดําเนนิ การบริหารจดั การพบิ ตั ภิ ัย

2. เพ่ือให้เจ้าหน้าท่ีของกรมทรัพยากรธรณีและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง สามารถใช้ประโยชน์
ข้อมูลเครือข่ายเฝ้าระวังแจ้งเตือนภัยดินถล่มในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสง่ิ แวดลอ้ ม

3. เพ่ือเป็นการเผยแพร่ข้อมูลของกรมทรัพยากรธรณี สําหรับประกอบการแจ้งเตือน
ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่มให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กร
ภาคประชาชน ในการชว่ ยเหลอื ประชาชนเมื่อเกดิ ดินถล่ม

1-2

1.3 การดําเนินงานของโครงการท่ีผ่านมา

กรมทรัพยากรธรณี ยังไม่เคยสํารวจและจัดทําข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่มระดับชุมชน
ในจังหวัดนครศรีธรรมราช

1.4 ขนั้ ตอนการจดั ทําแผนท่เี สย่ี งภัยดินถลม่ ระดับชมุ ชน

ในการศึกษาและจัดทําโครงการแผนท่ีเส่ียงภัยดินถล่มระดับชุมชน จะมีขั้นตอนในการ
ดาํ เนินงาน 4 ข้นั ตอน ดังนี้

1.4.1 งานด้านการรวบรวมรายงานศกึ ษาวิจยั ดา้ นดนิ ถลม่

ดําเนินการรวบรวมและทบทวนข้อมูลรายงานการศึกษาวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับพ้ืนท่ีเสี่ยงภัย
ดินถล่มระดับชุมชน และรวบรวมรายงานการศึกษาวิจัยดังกล่าวท้ังในประเทศและต่างประเทศ พร้อม
ดําเนินการเปรียบเทียบจุดเด่นและจุดด้อยของผลงานการใช้ข้อมูลแบบจําลองระดับความสูงเชิงเลข หรือ
วธิ ีการใกลเ้ คียง ท่ีใช้สมการทางคณติ ศาสตร์ มาสร้างแผนที่ขอ้ มลู พ้นื ท่ีเสี่ยงภัยดินถล่มระดับชมุ ชน มาตรา
สว่ น 1:4,000

1.4.2 งานด้านการจดั เตรียมชน้ั ข้อมูลแผนท่ีฐาน

ทําการรวบรวมข้อมูลแผนที่ฐานจากหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือใช้ประกอบในการ
จดั ทําแผนที่เสย่ี งภัยดนิ ถลม่ ระดับชุมชน โดยมีชั้นขอ้ มูลหลกั ๆ 7 ชั้นขอ้ มูลประกอบด้วย

1. ลักษณะธรณีวิทยาท่ัวไป โครงสร้างทางธรณีวิทยา โดยใช้ข้อมูลจากกรมทรัพยากรธรณี
แผนท่ธี รณีวิทยา 1:50,000 รายจงั หวดั

2. ขอบเขตการปกครอง ตาํ บล อาํ เภอและจังหวัด ตาํ แหนง่ หมู่บ้าน
3. ถนนและทางรถไฟ ข้อมูลท่ีทันสมัยท่ีได้จากแผนที่ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข มาตรา
สว่ น 1:4,000 กรมพัฒนาทีด่ ิน
4. แม่นํ้า ลําคลองและแหล่งนํ้า ข้อมูลท่ีทันสมัย ได้จากแผนที่ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข
มาตราส่วน 1:4,000 กรมพัฒนาท่ดี ิน
5. สถานที่สําคัญ ประกอบด้วย วัด โรงเรียน โรงพยาบาล สถานีตํารวจ ที่ได้จากแผนที่
ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข มาตราส่วน 1:4,000 กรมพัฒนาท่ีดิน พร้อมกําหนดค่าตําแหน่งด้วย GPS จาก
การสํารวจ
6. ข้อมูลเส้นช้ันความสูง ท่ีมีความแตกต่างระหว่างเส้นช้ันเท่ากับ 5 เมตร ในแผนท่ี
มาตราส่วน 1:4000 ในพื้นที่เสย่ี งภยั ทีก่ ําหนด
7. ข้อมูลแบบจําลองระดับเชิงเลข มาตราส่วน 1:4,000 ครอบคลุมพ้ืนท่ี ซึ่งกรม
ทรัพยากรธรณีจัดหา เพ่ือนําไปดําเนินการจัดทําเส้นชั้นความสูง และเป็นข้อมูลในการจัดทําขอบเขตพื้นท่ี
เสยี่ งภยั ดนิ ถล่ม

1-3

1.4.3 การวิเคราะหห์ าขอบเขตร่องรอยดินถลม่ และขอบเขตพื้นที่เสย่ี งภยั ดินถล่ม

ดําเนินการจัดหาภาพดาวเทียมและภาพถ่ายทางอากาศเพื่อทําการวิเคราะห์ และแปล
ความหมายจากข้อมูลดาวเทียม ซึ่งจะนําไปจัดทําขอบเขตร่องรอยดินถล่ม และวิเคราะห์ข้อมูลตาม
แบบจาํ ลองทางคณติ ศาสตรเ์ พอื่ หาขอบเขตพนื้ ที่เสยี่ งภยั ดินถล่ม โดยดาํ เนนิ การดงั น้ี

1. วเิ คราะหห์ าขอบเขตรอ่ งรอยดินถลม่
การศึกษาร่องรอยดินถล่มในอดีต ดําเนินการโดยอาศัยการแปลความหมายภาพถ่ายทาง
อากาศและภาพดาวเทียม ซึ่งสามารถแบ่งเป็นได้เป็น 4 ข้ันตอน 1) กําหนดพื้นท่ีศึกษาเพื่อให้ทราบพ้ืนท่ี
และขอบเขตการทํางานท่ีแน่นอน 2) จัดเตรียมข้อมูลพ้ืนฐานที่จําเป็นในการศึกษา ได้แก่ ภาพถ่ายทาง
อากาศ ภาพดาวเทียม แผนท่ีภูมิประเทศ และแผนที่ธรณีวิทยา เป็นต้น ซ่ึงข้อมูลเหล่านี้ล้วนมีส่วนสําคัญ
ในการแปลความหมายหาร่องรอยดินถล่ม ให้ได้ข้อมูลที่มีความถูกต้องและได้ข้อมูลท่ีมีความทันสมัยมาก
ท่ีสุด 3) ทําการแปลความหมายภาพถ่ายทางอากาศและภาพดาวเทียมในมาตราส่วน 1:10,000 โดย
วิธีการแปลตีความข้อมูลภาพดาวเทียมด้วยสายตา (Visual Interpretation) จากการสร้างตารางกริด
ขนาด 1 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ศึกษา เพ่ือให้ได้รายละเอียดที่เหมาะสมกับการนําไปประมวลผล
และนําไปใช้งานในภาคสนามต่อไป โดยในขั้นตอนการแปลความหมายฯ ยังได้อาศัยการประมวลผลจาก
ข้อมูลแผนที่ภูมิประเทศและแผนท่ีธรณีวิทยาประกอบกันด้วย เพ่ือให้ได้ร่องรอยดินถล่มท่ีถูกต้องและ
สอดคล้องกับความเป็นจริงมากที่สุด 4) ข้อมูลที่ได้จากการแปลความหมายจะถูกจัดทําให้อยู่ในรูปแบบ
ข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือ GIS เพื่อให้สามารถนําข้อมูลไปใช้ในการวิเคราะห์ตามสมการ
คณติ ศาสตร์ หรือจัดทาํ แผนที่ร่องรอยดนิ ถลม่ ในอดีตได้ทนั ที
2. จดั ทําขอบเขตพ้ืนที่พ้ืนทเี่ สย่ี งภัยดนิ ถลม่
ดําเนินการโดยใช้แบบจําลองทางคณิตศาสตร์ เพ่ือวิเคราะห์ศักยภาพการไหลของนํ้าบน
พื้นผิวความสูงตํ่าของสภาพภูมิประเทศ จากค่าระดับความสูงเชิงเลข (Digital Elevation Model : DEM)
และลักษณะลําน้ําที่พาดผ่านภูมิประเทศที่เสี่ยงต่อการเกิดดินถล่มเป็นหลักเท่านั้นโดยใช้แบบจําลอง
ArcHydroTools_2_0 พั ฒ น า โ ด ย Esri Water Resources Team, Dean Djokic, Zichuan Ye,
Christine Dartiguenave (2011) และแบบจําลองการหาค่าประมาณการใกล้เคียงกับการกําหนดค่า
ความสูงการไหล่บ่าของนํ้า โดยใช้แบบจําลอง Flood Hazard พัฒนาจาก ModeBuilder ของโปรแกรม
ArcGis โดยในการจัดทําข้อมูลพ้ืนท่ีเส่ียงภัยดินถล่ม กําหนดให้มีความเสี่ยงที่ระดับน้ํา 5 เมตร จากลําน้ํา
แล้วไหลบ่าไปตามลําน้ําทั้ง 2 ฝั่ง ซ่ึงพ้ืนท่ีต้นนํ้าอาจได้รับผลกระทบจากดินถล่ม พื้นที่กลางนํ้าอาจได้รับ
ผลกระทบจากน้าํ ป่าไหลหลาก และพ้ืนทีท่ ้ายนํ้าอาจได้รับผลกระทบจากนาํ้ ท่วมฉับพลัน

1.4.4 การสํารวจข้อมลู ภาคสนาม

การสํารวจข้อมูลภาคสนามเพื่อตรวจสอบปรับแก้ข้อมูลขอบเขตพื้นที่ที่อาจได้รับ
ผลกระทบจากดินถล่ม นํ้าป่าไหลหลาก และน้ําท่วมฉับพลัน ให้มีความใกล้เคียงกับสภาพภูมิประเทศใน
พ้ืนท่ีจริง โดยการสํารวจเก็บข้อมูลพร้อมรูปถ่ายประกอบ และบันทึกเป็นดิจิทัลไฟล์จากจีพีเอส ซ่ึงเป็น
ข้อมูลเส้นทาง การสํารวจ และตําแหน่งพิกัดถ่ายรูป หรือตําแหน่งอื่นๆ ที่ทําการบันทึก รายละเอียด
องค์ประกอบต่างๆ ประกอบด้วย สภาพธรณีวิทยา หลักฐานการเกิดดินถล่มโบราณที่เคยเกิดมาก่อน
หรือคราบระดับนํ้าป่าไหลหลาก จุดที่เคยเกิดดินไหล/ดินถล่ม ตําแหน่งที่ตั้งหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน ตําแหน่ง
สถานท่ีสําคัญในพื้นท่ี เช่น ท่ีทําการองค์การบริหารส่วนตําบล ท่ีทําการสํานักงานเทศบาล สถานีตํารวจ

1-4

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล โรงเรียน วัด ตําแหน่งส่ิงกีดขวางทางน้ําต่างๆ เช่น ท่อ ฝาย สะพาน
อา่ งเก็บนา้ํ ตาํ แหน่งบ้านเครอื ข่าย ตําแหน่งเฝ้าระวังต้นนํ้า และตําแหน่งพื้นที่ปลอดภัย โดยมีขั้นตอนและ
วิธกี ารสาํ รวจ ดงั นี้

การเตรยี มข้อมูลพืน้ ฐานกอ่ นการเก็บข้อมูลภาคสนาม
1. จัดเตรียมแผนท่ีข้อมูลพื้นที่เส่ียงภัยดินถล่มระดับชุมชน ประกอบด้วย ร่องรอยดินถล่ม
ลักษณะทางธรณีวิทยา ขอบเขตการปกครอง อบต. อําเภอ และจังหวัด ถนนและทางรถไฟ แม่น้ํา ลําคลอง
และแหล่งน้ํา สถานที่สําคัญ (วัด โรงเรียน สถานีอนามัย สถานีตํารวจ) และขอบเขตพ้ืนท่ีเส่ียงภัยดินถล่ม
เพือ่ วางแผนเส้นทางการศกึ ษาสาํ รวจ
2. ข้อมูลพื้นฐานของ อบต. หรือ เทศบาล เช่น ข้อมูลท่ัวไปของตําบล ชื่อและจํานวน
หมบู่ ้าน
3. ขอ้ มลู ดา้ นธรณวี ิทยาของพน้ื ท่ี ไดแ้ ก่ หมวดหนิ ชนดิ หนิ
4. ข้อมูลประวัติ สถานการณ์ ที่เคยเกิดเหตุการณ์ดินถล่ม นํ้าป่าไหลหลาก และนํ้าท่วม
ฉับพลนั พร้อมท้ังปที ่ีเกดิ เหตกุ ารณด์ งั กลา่ ว
การเตรียมอปุ กรณภ์ าคสนาม
1. สมุดบันทึกข้อมูลในสนาม ฆ้อนธรณี เข็มทิศ ปากกา ดินสอ แว่นขยายขนาด 10 เท่า
หรือมากกว่า ขวดกรดที่บรรจุกรดไฮดรอคลอรกิ เจือจาง 10 เปอร์เซ็นต์ และไมโ้ ปรแทรกเตอร์
2. กลอ้ งถา่ ยรูป พร้อมการ์ดความจาํ
3. จีพเี อสพรอ้ มแบตเตอรี่ เพ่อื ใชใ้ นการกาํ หนดตาํ แหน่ง และบันทึกเสน้ ทางการสาํ รวจ
4. พาหนะสําหรบั การสาํ รวจ เชน่ รถยนต์ระบบขับเคลอ่ื น 4 ลอ้ รถจักรยานยนต์
การตดิ ต่อประสานงานและการจดั ทาํ ขอ้ มลู เครอื ขา่ ย
ตดิ ต่อประสานงานผู้ใหญ่บา้ น เพอ่ื ขอรายชอ่ื ผนู้ ําและขอความรว่ มมือจากผูใ้ หญ่บ้านหรือ
บุคคลที่ผู้ใหญ่บ้านประสานงาน เพ่ือนําสํารวจหมู่บ้าน ประกอบด้วย ตําแหน่งเฝ้าระวังบริเวณต้นนํ้า
ตาํ แหน่งสถานท่ีปลอดภัย ตําแหนง่ สิง่ กีดขวางทางน้ํา ตําแหน่งสถานท่ีสาํ คัญ บ้านเครือข่าย บ้านเครือข่าย
วัดปริมาณนํ้าฝน คราบนํ้าป่าไหลหลากท่ีเคยเกิดมาแล้ว (ถ้ามี) และสํารวจลักษณะธรณีวิทยา พร้อม
ถ่ายรปู
การศกึ ษาและสํารวจพน้ื ที่เสยี งภยั ดนิ ถล่มในภาคสนาม
เก็บข้อมูล หลักฐานเกี่ยวกับการเกิดดินถล่มที่เคยเกิดมาแล้ว หรือดินถล่มโบราณ เช่น
ร่องรอยระดับนํ้าทว่ มสงู สดุ พร้อมขอ้ มลู เพ่ือการประเมนิ ความเสยี่ งพ้ืนที่เสย่ี งภัยดนิ ถลม่ ของแต่ละหมบู่ า้ น
โดยการเกบ็ ข้อมูลเพื่อศึกษา ลักษณะธรณีวิทยา ลักษณะภูมิประเทศ และสภาพสิ่งแวดลอ้ ม พรอ้ มรูปถ่าย
เพ่ือประกอบการเขียนรายงาน เชน่ ประเมนิ การผุพงั (Weathering) การแปรสภาพ (Alteration) ของหิน
หลักฐานการเกิดดินถล่มโบราณหรือเคยเกิดมาก่อน ชื่อห้วยต่างๆ ท่ีใช้เรียกในหมู่บ้าน สภาพภูมิประเทศ
ท่ีต้ังบ้านเรือน ส่ิงก่อสร้างกีดขวางทางนํ้า สภาพการใช้ประโยชน์ท่ีดิน พร้อมถ่ายรูป เพ่ือประกอบการ
จัดทาํ รายงาน

1-5

1.5 พ้ืนทีส่ าํ รวจ

กรมทรัพยากรธรณี ได้ดําเนินการจัดทําข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่มระดับชุมชนใน
จังหวัดนครศรีธรรมราช ในปีงบประมาณ 2557 มีพ้ืนท่ีศึกษา 14 อําเภอ 33 ตําบล ประกอบด้วย อําเภอ
เมอื งนครศรีธรรมราช อําเภอพรหมคีรี อําเภอลานสกา อําเภอฉวาง อําเภอพปิ ูน อาํ เภอชะอวด อําเภอท่าศาลา
อําเภอทุ่งสง อาํ เภอนาบอน อาํ เภอรอ่ นพิบูลย์ อําเภอสิชล อําเภอขนอม อําเภอนบพิตํา และอําเภอช้างกลาง
ดงั แสดงในตารางท่ี 1.5-1 และรูปที่ 1.5-1

ตารางที่ 1.5-1 พื้นทีส่ ํารวจและจดั ทาํ ขอ้ มลู พื้นท่เี ส่ียงภยั ดนิ ถล่มระดบั ชมุ ชนในปี 2557
จังหวดั นครศรธี รรมราช

อาํ เภอ ตาํ บลที่สาํ รวจและจดั ทําขอ้ มลู พื้นที่เสยี่ งภยั ดินถลม่ ระดับชุมชน
เมืองนครศรธี รรมราช 1) ทา่ งว้ิ
พรหมครี ี 1) พรหมโลก 2) บา้ นเกาะ 3) ทอนหงส์
ลานสกา 1) เขาแกว้ 2) ลานสกา 3) ทา่ ดี 4) กาํ โลน
ฉวาง 1) ละอาย 2) ห้วยปรกิ
พิปูน 1) พิปูน 2) กะทูน 3) เขาพระ 4) ยางคอ้ ม
ชะอวด 1) วงั อา่ ง 2) เขาพระทอง
ทา่ ศาลา 1) ตลง่ิ ชัน
ทุง่ สง 1) นาหลวงเสน 2) ถํา้ ใหญ่
นาบอน 1) นาบอน
รอ่ นพิบลู ย์ 1) ร่อนพิบลู ย์ 2) หินตก
สิชล 1) ฉลอง 2) เปลี่ยน 3) เทพราช 4) เขานอ้ ย
ขนอม 1) ขนอม 2) ควนทอง
นบพิตาํ 1) นบพติ ํา 2) กรงุ ชิง 3) นาเหรง
ช้างกลาง 1) ชา้ งกลาง 2) สวนขนั

1-6

รูปที่ 1.5-1 พืน้ ท่สี าํ รวจและจดั ทาํ ขอ้ มูลพน้ื ท่เี สย่ี งภยั ดนิ ถลม่ ระดบั ชมุ ชนในปี 2557 จังหวดั นครศรธี รรมราช

บทท่ี 2
ธรณีวิทยาและธรณพี บิ ัตภิ ัยดนิ ถลม

บทท่ี 2
ธรณีวทิ ยาและธรณีพิบัตภิ ัยดินถลม

2.1 ธรณีวิทยาทว่ั ไปของจังหวดั นครศรีธรรมราช

ลักษณะธรณีวิทยาของจังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบดวยหินตะกอน หินแปร และ
ตะกอนรว น สามารถจาํ แนกยอยเปนหินตะกอนและหนิ แปร 13 หนวย และตะกอนรว น 9 หนว ย ซึ่งขอ มูล
ธรณีวิทยาท่ัวไปที่กลาวในรายงานฉบับนี้ ไดอาศัยขอมูลพ้ืนฐานจากแผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราสวน
1:1,000,000 ของสํานักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี ซึ่งจัดพิมพในป พ.ศ. 2542 และ Buam and
others (1970)

ลาํ ดับชนั้ หิน

หินที่พบในจังหวัดนครศรีธรรมราช สามารถอธิบายเรียงลําดับจากหินอายุแกไปยังหินท่ี
มีอายุออนกวา ตามลาํ ดบั ไดด ังน้ี (รูปท่ี 2.1-1 ถึงรูปท่ี 2.1-2)

หนิ ยคุ พรีแคมเบรยี น
หินยุคพรีแคมเบรียนเปนหินแปรทั้งหมด ประกอบดวย หินไนส และหินชีสต สีเทาถึงสี
เทาแกมนาํ้ ตาล พบกระจายตวั ทางดานใตอาํ เภอขนอม
หินยุคแคมเบรียน
กลุมหินตะรุเตา เปนชื่อที่ใชเรียกหินยุคแคมเบรียน ประกอบดวย หินทราย และ
หินควอรตไซต สีขาว และสีเทาออน เม็ดละเอียด แสดงลักษณะเปนช้ันหนาถึงบาง มีการวางช้ันเฉียง
ระดับแสดงแถบชั้นบาง พบกระจายตวั บรเิ วณกง่ิ อาํ เภอนบพิตาํ อําเภอนาบอน รอนพบิ ูลย และพระพรหม
หนิ ยคุ ออรโ ดวเิ ชยี น
กลุมหินทุงสง ใชเรียกหินปูนยุคออรโดวิเชียน ประกอบดวย หินปูนสีเทา ผลึกละเอียด
ถึงหยาบ แสดงลักษณะเปนช้ันบางถึงไมแสดงช้ัน มีเน้ือดินช้ันบางๆ แทรก พบซากดึกดําบรรพจําพวก
แกสโตรพอดและแบรคิโอพอด พบกระจายตัวบริเวณดานเหนือและใตของจังหวัด ที่พบในพ้ืนท่ี
จาํ แนกออกไดเ ปน 2 หมวดหินยอ ย เรียงจากอายุแกไปออ น ดังน้ี
- หมวดหินแลตอง ประกอบดวย หินดินดาน และหินทรายแปง แทรกสลับดวยหินปูน
เปน เลนส หินดนิ ดานและหนิ ทรายแปงมีสเี ทาแกมเขยี ว สนี ํ้าตาล แสดงลกั ษณะเปนชัน้ บาง หินปนู มีสีเทา
พบซากดึกดําบรรพจ าํ พวกหอยกาบคู
- หมวดหินรังนก ประกอบดวย หินปูนเนื้อปนดิน สีเทาดํา แสดงลักษณะเปนช้ันบางถึง
ชัน้ หนามาก พบซากดกึ ดาํ บรรพจ ําพวกแซฟาโลพอด

2-2
รปู ท่ี 2.1-1 แผนท่ธี รณวี ิทยาจังหวดั นครศรธี รรมราช

2-3

คําอธิบาย
EXPLANATION

หินตะกอนและหนิ แปร
Sedimentary and Metamorphic rocks

ตะกอนธารน้าํ พา กรวด ทราย ทรายแป้ง และดินเหนียวสะสมตวั ตามร่องน้าํ คนั ดินแม่น้าํ และแอง่ น้าํ ท่วมถึง
ตะกอนทะเลสาบ ทรายแปง และดนิ เหนียวสีเทาจางถึงขาว มจี ดุ ประเล็กๆ สีเหลอื ง แขง็ แนน หลวม
ตะกอนชายฝั่งทะเลโดยอิทธิพลของน้าํ ข้ึนน้าํ ลง ดินเหนียว ทรายแป้ง และทรายละเอียดของที่ล่มุ ราบน้าํ ข้ึนถึง
ที่ลุม่ ช้ืนแฉะ ที่ลุ่มน้าํ ขงั ป่ าชายเลน และชะวากทะเล
ตะกอนชายฝั่งทะเล โดยอิทธิพลคล่ืน ทราย และทรายปนกรวดของหาดสนั ดอน สันทรายและเนินทราย
ตะกอนเศษหินเชิงเขาและตะกอนผพุ งั อยกู่ บั ท่ี กรวด ทราย ทรายแป้ง ศิลาแลงและเศษหิน
ตะกอนตะพกั ลาํ น้าํ กรวด ทราย ทรายแป้ง ดินเหนียวและศิลาแลง
หินทรายแป้ง หินทรายอาร์โคส แสดงการวางร่องช้นั เฉียงระดบั หินกรวดมนสีน้าํ ตาล
หินทรายอาร์โคส หินโคลน หินทรายแป้งสีน้าํ ตาลแดง การวางช้นั เฉียงกบั แนวระดบั หินกรวดมนและ
หินทรายในตอนบนของการลาํ ดบั ช้นั หิน มีซากหอยสองฝาของน้าํ จืดและน้าํ กร่อยบริเวณตอนล่างของ
การเรียงลาํ ดบั ช้นั หิน
หินโคลน หินปูนเน้ือดิน แทรกสลบั ดว้ ยหินดินดานบา้ ง และหินทรายแป้ง มีซากดึกดาํ บรรพพ์ วกน้าํ กร่อยมาก
หินปูน หินปนู หินโดโลไมต์ หินโดโลไมตแ์ ทรกสลบั ดว้ ยหินเชิร์ตเป็นกอ้ น และเป็นช้นั บาง มีซากโคโนดอน
และเริดโอลาเรียมาก
หินกรวดมนฐานสีแดง เน้ือปูนผสม หินดินดานสีเทา แทรกสลบั ดว้ ยหินทรายแป้งและหินทราย
หินปนู หินปูนเน้ือโดโลไมต์ มีหินเชิร์ตแทรกเป็นกอ้ นและเป็นช้นั หินโดโลไมตม์ ีซากฟซู ูลินิด
หอยแบริคโอพอด ปะการัง และไบรโอซวั
หินทราย หินปนู เน้ือดิน หินดินดาน และหินเชิร์ต
หินโคลนปนกรวด หินดินดาน หินทรายแป้ง หินเชิร์ต หินทรายเน้ือภูเขาไฟ หินทรายเน้ือซิลิกาสีเทา เทาเขียว และ
น้าํ ตาล มีซากหอยแบริคพอด ไบรโอซวั ปะการังและไครนอยด์
หินแกร์ยแวก หินทรายแป้ง หินโคลน หินดินดาน และหินโคลนปนกรวดสีเทาถึงดาํ มีซากแกรปโทไลต์
เทนทาคิวไลต์ หอยแบริคโอพอด และไทรโลไบต์ หินปนู บางแห่งเป็นหินชนวน
หินดินดานสีดาํ หินเชิร์ต และหินทรายแป้ง สีเทาเขม้ เน้ือปนู ผสม หินปนู แสดงช้นั บางและเป็นกอ้ น บางแห่งมีซาก
แกรบโทไลต์ เทนทาคิวไลต์ หอยงวงชา้ ง หอยแบริคโอพอด
หินปูนเน้ือดินและหินปนู สีเทาและสีชมพู หินปนู เน้ือโดโลไมตแ์ ละหินออ่ น แทรกสลบั ดว้ ยหินดินดาน
เน้ือปนู ผสม หินดินดานปนทราย มีซากหอยงวงชา้ ง หอยแบริคโอพอด และไทรโลไบต์
หินควอตไซต์ หินออร์โทควอตไซต์ หินทราย และหินดินดานเน้ือปนู
หินออร์โทไนส์และหินพาราไนส์ แสดงแนวช้นั และลกั ษณะรูปตา หินแอมิฟโบไลตช์ ีสตื ควอตซ์ไมกาชีสต์
ควอตซ์ไคยาไนตไ์ มกาชีสต์ ควอรตไซต์ หินอ่อน หินแคลกซ์ ิลิเกต หินมิกมาไทต์ และเพคมาไทต์

หนิ อคั นี
Igneous rocks

หินไบโอไทตแ์ กรนิต ทวั มารีนแกรนิต แกรโนไดโอไรต์ ไบโอไทตม์ สั โคไวตแ์ กรนิต มสั โคไวต์ ทวั มารีน แกรนิต
ไบโอไทตท์ วั มารีนแกรนิต

รปู ที่ 2.1-2 คําอธบิ ายแผนทีธ่ รณีวิทยา จงั หวดั นครศรีธรรมราช

2-4

หินยุคไซลเู รียน – ดีโวเนียน
หินยุคไซลูเรียน – ดีโวเนียน หมวดหินปาเสม็ด ประกอบดวย หินดินดาน และหินดินดาน
กึ่งหินชนวน สีเทาเขมถึงสีดําพบซากดึกดําบรรพจําพวกแกสโตพอด พบกระจายตัวบริเวณอําเภอทุงสง
และจฬุ าภรณเปนสวนใหญ และพบทดี่ านเหนืออาํ เภอฉวาง และดานใตอ าํ เภอนาบอน
หนิ ยคุ ไซลูเรียน - ดีโวเนยี น – คารบ อนเิ ฟอรสั
หินยุคไซลูเรียน - ดีโวเนียน – คารบอนิเฟอรัส หมวดหินเขาดิน ประกอบดวย หินดินดาน
หนิ ดนิ ดานกงึ่ หินชนวน และหินชนวน แทรกสลับดว ยหนิ ทรายเนื้อละเอยี ดและหนิ ทรายอารโคส หินดินดาน
มีสีน้ําตาลถึงน้ําตาลแกมแดง และสีเทา หินดินดานก่ึงหินชนวนและหินชนวนมีสีเทาดําถึงสีดํา แสดง
ลักษณะเปนชั้นบาง หินทรายเนื้อละเอียดและหินทรายอารโคสมีสีเทา เนื้อปานกลาง แสดงลักษณะเปน
ช้นั หนา สวนใหญพ บกระจายตัวทางดานตะวนั ตกของจงั หวัด
หินยคุ คารบอนเิ ฟอรัส
หินยุคคารบอนิเฟอรัส หมวดหินยะหา ประกอบดวย หินดินดาน หินทรายเน้ือควอตซ
และหินทรายเนื้ออารโคส หินดินดานมีสีน้ําตาลแกมแดง สีเทา แสดงลักษณะเปนชั้นบางถึงปานกลาง
หินทราย เน้ือควอตซ และหินทรายเน้ืออารโคสมีสีเทาถึงขาว เนื้อปานกลาง แสดงลักษณะเปนชั้นหนา
พบกระจายตัวทางดา นตะวันตกเฉยี งเหนือของอําเภอสชิ ล
หินยุคคารบอนเิ ฟอรสั – เพอรเ มยี น
กลุมหินแกงกระจาน เปนชื่อที่ใชเรียกหินยุคคารบอนิเฟอรัส-เพอรเมียน พบกระจายตัว
บริเวณอําเภอจุฬาภรณ ขนอม สิชล และถ้ําพรรณรา พื้นท่ีจังหวัดนครศรีธรรมราช พบหมวดหินยอยของ
กลุมหนิ แกง กระจานเพยี งหมวดหนิ เดียว คือ หมวดหนิ เขาเจา ประกอบดว ย หินทรายเน้ืออารโ คส สีขาวถึง
สเี ทาจาง การคดั ขนาดดี เน้อื ปานกลาง แสดงลกั ษณะเปนชน้ั บาง
หินยุคเพอรเ มียน
กลุมหินราชบุรี เปนชื่อที่ใชเรียกหินยุคเพอรเมียน ประกอบดวย หินปูน หินปูนเนื้อ
โดโลไมต และหินโดโลไมต แทรกสลับดวยหินทรายและหินดินดาน หินปูน หินปูนเนื้อโดโลไมต และ
หินโดโลไมต มีสีเทาถึงสีเทาเขม ไมแสดงลักษณะเปนชั้น มีหินเชิรตแทรกเปนกระเปาะ พบซากดึกดําบรรพ
จําพวกฟวซูลินิด ปะการังแบรคิโอพอด แอมโมนอยด และไครนอยด พบกระจายตัวเปนเขาโดด
บริเวณอําเภอ ขนอม ถ้ําพรรณรา สิชล บางขัน รอนพิบลู ย และก่ิงอาํ เภอนบพิตํา
หินยุคไทรแอสซกิ
หินยุคไทรแอสซิก หมวดหินไสบอน ประกอบดวย หินทราย หินทรายแปง หินปูน
และหินกรวดมน หินทรายมีสีนํ้าตาลอมแดงเขมถึงสีนํ้าตาลแกมแดง เน้ือปานกลางถึงเน้ือหยาบ แสดง
ลักษณะเปนช้นั หนาถึงหนามาก มกี ารวางชัน้ เฉียงระดบั หินทรายแปงมีสีนาํ้ ตาลแกมเหลือง แสดงลักษณะ
เปนช้นั บาง มีคารบอนเปนช้ันบางปน หินปนู มสี เี ทาออน มลี ักษณะเปนเลนส แสดงลกั ษณะเปนช้ันหนา 3-
5 เมตร จนถึงหนามาก พบซากดึกดําบรรพจําพวกหอยสองฝาและฟอแรมมินิเฟอร พบกระจายตัวเปน
แนวภูเขาแคบๆ ทางดานตะวนั ตกเฉียงใตข องจงั หวัด วางตวั ในทิศทางเกอื บเหนอื -ใต

2-5

หนิ ยุคจูแรสซกิ
กลุมหินตรัง เปนช่ือที่ใชเรียกหินตะกอนที่เกิดบนภาคพื้นทวีปในชวงตอนตนยุคจูแรสซิก
ถึงยุคครีเทเชียสตอนปลาย หมวดหินยอยท่ีอยูในยุคน้ี คือ หมวดหินคลองมีน ประกอบดวย ตอนลางเปน
หินปูนเนื้อดิน แทรกสลับกับหินดินดาน หินปูนเนื้อดินมีสีเทาออน ตอนบนเปนหินทรายเน้ือปูนถึงหิน
โคลนเน้ือปูนสลับชั้น พบซากดกึ ดําบรรพจ ําพวกแกสโตรพอด และปะการัง พบกระจายตัวทางดานใตของ
อาํ เภอบางขนั
หินยคุ จูแรสซกิ – ครีเทเชยี ส
หินยุคจูแรสซิก – ครีเทเชียส ประกอบดวย หินทรายอารโคสและหินทราย แทรกสลับดวย
หินทรายแปง หนิ โคลน หนิ ทรายเนื้อควอตซ และหินกรวดมน หนิ ทรายอารโคสมีสีเทาถึงสีนํ้าตาลแกมแดง
หินทรายมีเนื้อละเอียดถึงปานกลางคอนขางเหลี่ยมถึงคอนขางกลม การคัดขนาดดี เชื่อมประสานดวย
สารประกอบ ซิลิกาและเหล็ก แสดงลักษณะเปนช้ันบางถึงชั้นหนา มีการวางชั้นเฉียงระดับ สวนใหญพบ
กระจายตวั ทางดานตะวนั ตกเฉียงใตข องจงั หวดั
หนิ ยุคครีเทเชียส
หินยุคครีเทเชียส สวนใหญพ บกระจายตัวทางดา นตะวนั ตกเฉยี งใตของจังหวดั อยรู วมกับ
หมวดหนิ ยอยอื่นของกลุมหินตรงั พบหมวดหินยอยของกลุมหินตรัง ที่มีอายคุ รเี ทเชียสจาํ นวน 2 หมวดหิน
คือ หมวดหินสามจอม ประกอบไปดวย หินกรวดมน หินทราย และหินโคลน หินทราย มเี นื้อหยาบ แสดง
ลกั ษณะเปน ชั้นหนา มีการวางชั้นเฉียงระดับ หินโคลนมสี ีน้ําตาลแกมแดง พบซากพืช และหมวดหินพุนพิน
ประกอบไปดวย หินทรายอารโคส และหินทรายเนื้อไมกา แทรกสลับดวยหินทรายแปงและหินโคลน
หินทรายอารโคสมสี ีแดง หินทรายเนอ้ื ไมกามีเนื้อละเอียดถงึ ปานกลางเมด็ คอนขางกลมถงึ กลม การคดั ขนาดดี
การเชื่อมประสานไมดีดวยสารประกอบของเหล็ก แสดงลักษณะเปนช้ันปานกลางถึงช้นั หนา มีการวางชั้น
เฉยี งระดับ หินทรายแปง มีสแี ดง แสดงลักษณะเปนช้ันบางถึงปานกลาง
หนิ ยคุ เทอรเ ชียรี
หนิ ยุคเทอรเชยี รี หมวดหินสินปนู ประกอบดวย หินโคลน หินทรายแปง หินทราย หินมารล
และหินปูนเนื้อดิน มีลักษณะกึ่งแข็งตัวเปนหิน พบซากดึกดําบรรพมาก อีกทั้งพบลิกไนตและยิปซัม พบ
กระจายตวั ทางดา นใตของอําเภอทุงใหญ
ตะกอนยคุ ควอเทอรน ารี
ตะกอนควอเทอรน ารี หมายถึง กรวด ทราย ดิน และดินเหนียว ท่ียงั ไมแขง็ ตัวกลายเปนหิน
อายุประมาณ 1.8 ลานปกอนจนถึงปจจุบัน ตะกอนควอเทอรนารีพบตามภูมิประเทศท่ีเปนท่ีลาดเชิงเขา
บริเวณทางตะวันออกของพ้ืนที่ ท่ีลาดลอนคลื่นบริเวณตอนกลางของพื้นที่และแนวชายฝงทางดาน
ตะวันตกของจังหวัด สามารถจําแนกตะกอนรวนในพื้นที่โดยอาศัยชนิดของตะกอนและสภาวะแวดลอม
ของการตกตะกอนออกเปน 9 หนวยตะกอนยอย คือ ตะกอนน้ําพา ตะกอนตะพัก ตะกอนเศษหินเชิงเขา
และตะกอนผุพังอยูกับท่ี ตะกอนที่ราบลุมแมนํ้า ตะกอนลากูน ตะกอนเนิน ตะกอนรูปพัด ตะกอนที่ราบ
ลมุ นํา้ ขนึ้ ถงึ พรุ ปาชายเลน และชวากทะเล ตะกอนสนั ทรายเกา และตะกอนชายหาด

2-6

หินอัคนี

หินอัคนีท่ีพบในจังหวัดนครศรีธรรมราช สามารถจําแนกโดยอาศัยชนิดหินและชวงอายุ
ของการเกดิ ไดเ ปน 2 หนวยหิน ดังน้ี

- หินอัคนีแทรกซอนชนิดหินแกรนิต ยุคไทรแอสซิก พบกระจายตัวเปนเทือกเขา
สลับซับซอนบริเวณตอนกลางของจังหวัด หินแกรนิตที่พบจําแนกไดเปน 2 กลุมยอย คือ กลุมที่ 1
ประกอบดว ย หินไบโอไทตแกรนติ และหินมัสโคไวต-ไบโอไทตแกรนิต หินไบโอไทตแกรนติ มเี นื้อสมาํ่ เสมอ
เน้ือดอก เม็ดปานกลางถึงหยาบ หินมัสโคไวต-ไบโอไทตแกรนิตมีเนื้อสมาํ่ เสมอ เม็ดละเอียดถึงปานกลาง
บางบริเวณมีการแปรสภาพ และกลุมที่ 2 ประกอบดวย หินทัวรมารีนแกรนิต และหินทัวรมาลีนมัสโคไวต
แกรนิต หินทัวรมารีนแกรนิตมีเน้ือละเอียด หินทัวรมาลีน-มัสโคไวตแกรนิต มีเนื้อสมาํ่ เสมอถึงคอนขาง
เน้ือดอก เมด็ ปานกลางถงึ หยาบ

- หินภเู ขาไฟยคุ ครเี ทเชียส ประกอบดวย หินไรโอไลต และหินเถา ภเู ขาไฟเน้ือไรโอไลต
สีเทาถึงสเี ทาเขม เน้ือดอก พบกระจายตวั บริเวณก่ิงอําเภอนบพิตํา และอาํ เภอถาํ้ พรรณรา

ธรณวี ทิ ยาโครงสรา ง

พบโครงสรางรอยคดโคงมากมายในหินยุคแคมเบรียน หินยุคไซลูเรียน-ดีโวเนียน และ
หินยุคคารบอนิเฟอรัส-เพอรเมียน และพบรอยเล่ือนระหวางหินยุคคารบอนิเฟอรัส-เพอรเมียนกับหิน
ยุคเพอรเมียน หินยุคจูแรสซกิ -ครเี ทเชยี สกับหนิ ยุคครเี ทเชียส หินยุคไซลูเรียน-ดีโวเนยี นกบั ตะกอนรวนยุค
ควอเทอรนารี มีรอยเลื่อนและรอยแตกมากมายใน 2 แนว คือ แนวตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต
และตะวันตกเฉียงเหนอื -ตะวนั ออกเฉยี งใต

2.2 ธรณีพบิ ตั ภิ ยั ดินถลม
2.2.1 พนื้ ทท่ี ่มี ีโอกาสเกิดดนิ ถลม

กรมทรัพยากรธรณี ไดวิเคราะหปจจัยท่ีเก่ียวของกับการเกิดดินถลม ซ่ึงไดแก ลักษณะ
ทางธรณีวิทยา ความลาดชัน และพืชพรรณท่ีปกคลุม เพื่อจัดทําแผนที่แสดงพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดดินถลม
(Landslide Hazard Map) โดยสามารถแบงพื้นทีท่ ี่มีโอกาสเกิดดินถลม ออกเปน 3 อันดับ (รปู ท่ี 2.2.1-1)
ไดแ ก

1. พ้ืนที่สีแดงหรือพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดดินถลมอันดับ 1 ดินมีโอกาสถลมเมื่อมีปริมาณฝน
มากกวา 100 มลิ ลเิ มตร/วนั หนาดนิ หนา ขาดรากไมย ดึ เหน่ียวและความลาดเอียงของพ้นื ท่ีมากกวา 30 องศา

2. พื้นที่สีเหลืองหรือพื้นที่ท่ีมีโอกาสเกิดดินถลมอันดับ 2 ดินมีโอกาสถลมเมื่อมีปริมาณฝน
มากกวา 200 มิลลเิ มตร/วนั หนา ดินหนา ขาดรากไมย ดึ เหนี่ยวและความลาดเอียงของพ้ืนทม่ี ากกวา 30 องศา

3. พื้นท่ีสเี ขียวหรือพื้นท่ีท่ีมโี อกาสเกิดดินถลมอันดับ 3 ดินมีโอกาสถลมเมื่อมีปริมาณฝน
มากกวา 300 มลิ ลิเมตร/วนั หนาดนิ หนา ขาดรากไมยดึ เหน่ียวและความลาดเอียงของพ้นื ท่มี ากกวา 30 องศา

ผลจากการจัดทํา แผนที่แสดงพื้นที่ท่ีมีโอกาสเกิดดินถลม และไดประเมินพื้นที่ที่มีความ
เสี่ยงตอการเกิดดินถลมเบื้องตน จัดทําบัญชีรายชื่อหมูบานเสี่ยงภัยดินถลมระดับจังหวัด พบวาจังหวัด
นครศรีธรรมราช มีพ้ืน ท่ีเส่ียงภัยดินถลมอยูใน 15 อําเภอ 39 ตาํ บล 180 หมูบาน

2-7
รูปที่ 2.2.1-1 แผนทีแ่ สดงพนื้ ท่ีทมี่ โี อกาสเกิดดินถลมจังหวดั นครศรธี รรมราช

2-8

2.2.2 ปจจยั การเกิดดนิ ถลม

การเกิดดินถลมในประเทศไทยเกิดจาก 4 ปจจัยหลัก ไดแก สภาพธรณีวิทยา สภาพ
ภูมิประเทศ ปริมาณน้าํ ฝน และสภาพส่งิ แวดลอ ม ดงั แสดงไวใ นรปู ที่ 2.2.2-1

สภาพธรณีวทิ ยา สภาพภูมิประเทศ

ปริมาณนํา้ ฝน สภาพส่งิ แวดลอม
รปู ที่ 2.2.2-1 ปจจยั การเกดิ ดนิ ถลม

สภาพธรณวี ทิ ยา

ลักษณะทางธรณีวิทยาท่ีมีผลตอการเกิดดินถลมนั้นข้ึนกับชนิดของหิน การเปลี่ยนแปลง
ทางเคมีในเนื้อหนิ ลักษณะกายภาพของชนั้ หนิ และโครงสรา งทางธรณีวทิ ยา

ชนิดของหิน หินตางชนิดกันจะมีอตั ราการผุพังตางกัน ใหดินตางชนิดกัน และความหนา
แตกตางกัน เชน หินแกรนิต มีอัตราการผุพังสูง เมื่อผุพังแลวจะใหชั้นดินทรายรวนหรือดินทรายปน
ดินเหนียวและใหชั้นดินหนา หินภูเขาไฟ มีอัตราการผุพังสูงใกลเคียงกับหินแกรนิต เมื่อผุพังใหชั้นดินรวน
ปนดินเหนียวหรือดินเหนียวและใหช้ันดินหนา หินดินดาน-หินโคลน เมื่อผุพังจะใหชั้นดินเหนียวหรือ
ดนิ เหนียวปนทรายและใหช ั้นดนิ ท่มี ีความหนานอ ยกวาหนิ แกรนติ เปนตน

โครงสรางทางธรณีวิทยา มีผลตอการผุพังของหิน โดยหินท่ีมีรอยแตกมาก และอยูใน
เขตรอยเลื่อน โดยเฉพาะรอยเล่ือนมีพลงั จะมอี ัตราการผุพังสงู เนอ่ื งจากมีชองวางใหน ํ้าและอากาศผานเขา
ไปทําปฏิกิริยาทางเคมีไดงาย ช้ันหินจึงผุพังไดเร็วกวาบริเวณอ่ืน รวมท้ังชั้นหินท่ีถูกกระทําจนเกิดการ
วางตัวในแนวด่ิงจะสงผลใหเกิดการผุพังไดเร็วขึ้น ช้ันหินท่ีถูกแทรกดันดวยหินอัคนี หรือบริเวณที่มีพุนํ้า
รอนและแหลงแรจากสายนํ้าแรรอน ทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงทางเคมีในเน้ือหินจะทําใหช้ันหินมีอัตรา
การผพุ งั สงู ย่ิงข้ึน

2-9

สภาพภูมิประเทศ

ลักษณะการวางตัวของโครงสรางช้ันหินและจากการผุพังที่แตกตางกันของช้ันหิน ทําให
แตละพื้นที่มีสภาพภูมิประเทศแตกตางกัน สภาพภูมิประเทศท่ีทําใหเกิดดินถลมไดงาย ไดแก พ้ืนท่ีท่ีมี
ความลาดชันสูง หรือมีทางนํ้าคดเค้ียวจํานวนมาก นอกจากนี้ยังพบวา ลักษณะภูมิประเทศท่ีเปนรองเขา
ดานหนารบั น้ําฝน และบริเวณท่ีเปน หุบเขากวา งใหญส ลับซบั ซอนแตมลี าํ น้ําหลกั เพยี งสายเดียวจะมีโอกาส
เกิดดนิ ถลมไดงา ยกวา บรเิ วณอื่นๆ

ปริมาณน้าํ ฝน

ดินถลมจะเกิดขึ้นเม่ือฝนตกหนักหรือตกติดตอกันเปนเวลานาน และนํ้าฝนไหลซึมลงไปใน
ชั้นดินจนกระท่ังช้ันดินอ่ิมตัวดวยนํ้า ความดันของน้ําในดินเพิ่มข้ึนซ่ึงเปนการเพิ่มความดันในชองวางของ
เม็ดดิน โดยน้าํ จะเขา ไปแทนที่ชอ งวางระหวางเมด็ ดิน ทําใหแรงยึดเหน่ียวระหวางเม็ดดินลดนอยลง สงผล
ใหช้ันดินมีกําลังรับแรงเฉือนลดลง ถาหากปริมาณน้ําในมวลดินเพ่ิมขึ้นจนระดับน้ําในชั้นดินสูงข้ึนมาท่ี
ระดับผิวดินจะเกิดการไหลบนผิวดินและกัดเซาะหนา ดนิ ลาดดินจะเร่ิมมกี ารเคลอ่ื นตวั และเกิดการถลมใน
ท่ีสุด เชน เม่ือป พ.ศ. 2551 เกดิ ดนิ ไหลทต่ี าํ บลตะกกุ เหนือ อําเภอวิภาวดี จังหวัดสรุ าษฎรธานี วัดปริมาณ
นํ้าฝนได 189 มิลลิเมตร/วัน (24 ชั่วโมง) ป พ.ศ. 2552 เกิดดินไหลและนํ้าปาไหลหลากท่ีตําบลแมพูล
อาํ เภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ วัดปริมาณน้ําฝนได 150 มิลลิเมตร/วัน (24 ชั่วโมง) และดินไหลที่บาน
สุขสําราญ ตําบลกําพวน อําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง วัดปริมาณฝนได 210 มิลลิเมตร/วัน (24
ช่ัวโมง)

สภาพสิง่ แวดลอ ม

พื้นที่เกิดดินถลมจะอยูในพ้ืนท่ีภูเขาสูงชัน พบวาสวนใหญมีการเปล่ียนแปลงการใช
ประโยชนท่ีดิน ไดแก การทําการเกษตรในพื้นท่ีสูงหรือบริเวณเชิงเขา การตัดถนนผานไหลเขาสูงชัน การ
ตัดไหลเขาสรางบานเรือนท่ีอยูอาศัย หรือการปลูกสรางสิ่งกอสรางกีดขวางทางนํ้า เชน การสรางฝาย
การสรางทอ เหล่ียม ทอ กลม และการสรางสะพานที่มีเสาจํานวนมากหรือสน้ั เกนิ ไปกีดขวางทางนํ้าบนพืน้ ที่
สงู หรือการขุดลอกรอ งน้ําบนพนื้ ทสี่ งู โดยทาํ ลายตนไมในรองน้ําและริมตล่ิง ซึ่งมีระบบรากในการยึดเหนี่ยว
ช้ันดินไดดี ทนทานตอการกดั เซาะของกระแสนํา้ เปน ตน

2.2.3 กระบวนการเกดิ ดนิ ถลม

กระบวนการเกิดดินถลม มีนํ้าเปนตัวแปรสําคัญที่ทําใหเกิดดินถลม โดยฤดูฝนของแตละ
จังหวัดในประเทศไทยมีฝนตกชุกไมเทากันและชวงเวลาท่ีตางกัน เมื่อเกิดฝนตกปริมาณนา้ํ ฝนจะคอยๆ
ซึมซับลงไปในชั้นดินจนถึงชวงที่มีฝนตกชุกมากจนกระท่ังช้ันดินอุมน้ําไมไหวจึงเกิดการเคล่ือนตัว โดยแต
ละพื้นทจ่ี ะรับปริมาณนํ้าฝนไดไมเทา กนั ข้ึนอยูกับสภาพธรณวี ทิ ยา สภาพภูมปิ ระเทศ และสิง่ แวดลอ มหรือ
สภาพปาไมและการใชพ้ืนท่ีของบริเวณน้ัน จากการสํารวจพื้นที่ในประเทศไทยพบวากระบวนการเกิด
ดินถลมตามการเพิ่มข้ึนของปริมาณนํ้าฝนมี 4 ขั้นตอน (จําแนกตามการเคล่ือนที่และชนิดของวัตถุท่ี
พังทลาย) คือ ดินคืบตัว (soil creep) ดินแยก (tension crack) ดินไหล (debris slide) และดินถลม
(debris flow) แสดงดงั รปู ท่ี 2.2.3-1

2-10

รูปที่ 2.2.3-1 กระบวนการเกดิ ดนิ ถลม ตามการเพ่มิ ขนึ้ ของปริมาณน้าํ ฝน ในรอบ 24 ชว่ั โมง ปริมาณ
น้าํ ฝน 178 มลิ ลเิ มตร ทําใหเกดิ ดนิ ไหลในพ้ืนทอ่ี าํ เภอทงุ สง จงั หวดั นครศรีธรรมราช

ดินคืบตวั

ปริมาณนํ้าฝนนอยกวา 60 มิลลิเมตรในรอบ 24 ชั่วโมง ซึมซับลงไปในช้ันดินจนกระท่ัง
อิ่มตัวดวยนํ้า (saturated) แตไมมากเกินไปจนกระท่ังเกิดการไหลบนผิวดิน (over saturated) ช้ันดินจะ
เกิดการคืบตัวลงไปตามแรงโนมถวง ในบริเวณที่มีตนไมเนื้อออนซ่ึงมีรากหยั่งลึกไมมากนัก ตนไมจะเกิดการ
เคลื่อนตัวตามชั้นดินทําใหสังเกตเห็นไดวาตนไมเอน และถาชั้นดินหยุดการคืบตวั ในปตอมาตนไมจ ะเตบิ โต
ต้ังลาํ ตนใหตรงในแนวด่ิงใหมอ ีกคร้ัง จึงพบเห็นลาํ ตนเอนมีการโคง งอต้ังตรงขึ้นใหม ถาในบริเวณที่มีตนไม
เนื้อแข็งขนาดใหญมีรากหยั่งลึกลงไปจนถึงหินดาน การคืบตัวของช้ันดินจะทําใหรากตนไมขาดบางสวน
ทําใหดูดนํ้าและอาหารไมเพียงพอ จึงปรากฏวามีการเฉาและทิ้งใบหรือมีการตายทีละก่ิง ถาชั้นดินมี
การคืบตวั ตอ เนือ่ งทกุ ป จะปรากฏวา มีตน ไมใ หญยืนตนตาย

ดนิ แยก

ปริมาณนํ้าฝนที่ซึมลงไปในชั้นดินจนกระท่ังอิ่มตัวดวยนํ้า และเกิดการไหลบนผิวดินเปน
เวลาไมนานนกั โดยมีปริมาณนา้ํ ฝนระหวา ง 100 - 150 มิลลิเมตร ในรอบ 24 ชั่วโมง หรือมีฝนตกตอเนือ่ ง
รวมกันประมาณ 300 มิลลเิ มตร น้าํ ฝนท่ีซมึ ซบั ในชัน้ ดินจะไหลลงไปในระนาบรอยเฉอื นและชะลา งเม็ดดิน
ที่เปนดินเหนียวออกไปตามแนวระนาบรอยเฉือน ทําใหคาแรงยึดเหน่ียวระหวางเม็ดดินบริเวณระนาบ
รอยเฉือนลดลง ชนั้ ดินจะเริม่ เคลอ่ื นตวั ไปตามระนาบรอยเฉอื น ถา ฝนหยดุ ตกจะปรากฏเปน รอยดินแยก

2-11

ดินไหล

เปนเหตกุ ารณตอเนื่องจากดนิ แยกถา ฝนตกตอ เน่อื งโดยไมหยุดตก ปริมาณนา้ํ ฝนทซี่ ึมซับ
ลงไปในช้ันดินจนกระท่ังอิ่มตัวดวยนํ้า และเกิดการไหลบนผิวดิน เปนเวลานาน โดยมีปริมาณนํ้าฝน
ประมาณ 180 มิลลิเมตรข้ึนไป ในรอบ 24 ชั่วโมง และมีฝนตกตอเนื่องรวมกันมากกวา 300 มิลลิเมตร
ชั้นดินจะอุมน้ําไมไหวเนือ่ งจากน้ําฝนที่ซึมซับในช้นั ดินจะไหลลงไปในระนาบรอยเฉือนและชะลางเม็ดดินที่
เปนดินเหนียวออกไปตามแนวระนาบรอยเฉือน โดยเฉพาะบริเวณไหลเขาท่ีมีการเปลี่ยนแปลงระดับ
ความชัน ทําใหคาแรงยึดเหนี่ยวระหวางเม็ดดินบริเวณระนาบรอยเฉือนลดลง ชั้นดินจะเริ่มเคล่ือนตัวไป
ตามระนาบรอยเฉือน ถาฝนยังคงตกตอเนื่องเปนเวลานานจะทําใหเกิดดินไหลลงไปตามแรงโนมถว งของโลก

ดนิ ถลม

เปนเหตุการณตอเนื่องจากดินไหล ปริมาณน้ําฝนท่ีซึมซับลงไปในช้ันดินจนกระทั่งอิ่มตัว
ดวยน้ําและเกิดการไหลบนผิวดินเปนเวลานานมาก โดยมีปริมาณน้ําฝนมากกวา 180 มิลลิเมตร ในรอบ
24 ช่ัวโมง จนกระท่ังเกิดดินไหลลงมาแลว แตฝนยังคงตกตอเนื่องตอไปอีกเปนเวลานาน จึงทําใหบริเวณ
อืน่ ๆ ที่มีสภาพสิ่งแวดลอมท่ีดีกวามีนํ้าฝนไหลลงไปในระนาบรอยเฉือนและชะลางเม็ดดินที่เปนดินเหนียว
ออกไปตามแนวระนาบรอยเฉือนเปนเวลานานเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะบริเวณไหลเขาที่มีการเปลี่ยนแปลง
ระดับ ความชัน ทําใหคาแรงยึดเหน่ียวระหวางเม็ดดินบริเวณระนาบรอยเฉือนลดลงเร่ือยๆ จนทําใหเกิด
ดินไหลจํานวนหลายแหงจนถึงหลายพันแหง และครอบคลุมพื้นท่ีเปนบริเวณกวางใหญในลุมน้ําเดียวกัน
บรเิ วณที่มรี ะบบรากของตนไมที่มีรากแกวจะยึดเหนี่ยวชั้นดินไดดีกวา จึงเกิดดินถลมชากวาบริเวณที่ไมมี
ตนไมห รือมตี นไมทม่ี ีระบบรากทีย่ ึดเหนี่ยวชั้นดินไดไมดี เชน ตน ไมไมมีรากแกว หรือตนไมเน้ือออนทมี่ รี าก
หย่ังลึกไมถึงหินดาน รวมทั้งบริเวณที่มีการตัดไหลเขาเพื่อดําเนินการกอสรางตางๆ โดยไมมีการปองกันแกไข
ทําใหช้ันดินมีความชนั เพิ่มมากข้นึ และไมสมดุล เมื่อรบั นํ้าฝนจนอิ่มตัวดว ยน้ําจึงรับนํ้าหนักไมไหว เกิดการ
เคลือ่ นตวั และเกิดดินไหลตามมากอ นบรเิ วณอน่ื ๆ

2.2.4 คําจาํ กดั ความพ้ืนท่เี ส่ยี งภัยดินถลม

ดินถลม (Debris flow) คือ การเคล่ือนท่ีของชั้นดิน กอนหิน และซากตนไม รวมถึง
ซากสิ่งปรักหักพังอื่นๆ ลงมาตามความลาดชันดวยแรงโนมถวงของโลก และมีนํ้าเปนตัวแปรที่สําคัญ
ในการเคลือ่ นท่แี ละพดั พาไปตามทางน้าํ สงผลกระทบรนุ แรง และสรางความเสียหายเปนวงกวา ง

น้ําปาไหลหลาก คือ น้ําไหลหลากลนรองนํ้าท่ีมีความลาดชันสูงอยางฉับพลันทันใด พัดพา
นําตะกอนเศษหิน และตนไมไหลบาลงมาตามความลาดชันในชวงระยะเวลาสั้นๆ มักเกิดในเวลาฝนตก
หนักหรืออาจเกดิ จากการพงั ของเขื่อน ฝายนา้ํ ลน

นาํ้ ทวมฉับพลัน คือ นา้ํ ทว มท่เี กิดขน้ึ อยางรวดเร็วมากในบริเวณท่ีลุมต่าํ ในแมนํา้ ลําธาร
หรือรองน้ําท่ีเกิดจากฝนตกหนักมากติดตอกันหรือจากพายุฝนท่ีเกิดซํ้าท่ีเดิมหลายครั้ง อาจเกิดจากท่ีส่ิง
ปลูกสรางโดยมนษุ ย เชน เขอื่ นหรือฝายพงั ทลาย

ดินไหล (Debris slide) คือ การเคลื่อนที่ของมวลดินและหิน ที่สูญเสียความเสถียร
และเคลื่อนออกจากพ้ืนที่เดิมโดยการไหลลงตามความลาดชัน และกองอยูบริเวณเชิงเขา โดยไมถูก
กระแสนํ้าพัดพาไปตามทางนํ้า ซึ่งการเคล่ือนที่ดังกลาวอาจแบงไดเปนสองรูปแบบ คือ ดินไหลแบบหมุน
(Rotation slides) และดินไหลแบบเล่ือนไถล (Translation slide) นอกจากนี้ยังพบวามีดินไหลแบบรอง
ธารกัดเซาะ (Gully Erosion) ท่ีเกิดตามรองนํา้ แคบ และลึก ซงึ่ ไมไดจัดไวใ นกระบวนการเกดิ ดินถลม

2-12
พื้นที่เสี่ยงภัยดินถลม คือ พื้นที่ซึ่งอาคารบานเรือนไดรับผลกระทบจากกระบวนการ
เกิดดินถลม และการกัดเซาะตามแนวรองนํ้า โดยกําหนดใหพ้ืนที่ไดรับผลกระทบจากดินถลมครอบคลุม
พื้นท่ีตามแนวลํานํ้า และมีความสูงจากลําน้ํานอยกวา 5 เมตร หลังจากเกิดดินถลม และ/หรือดินไหล จะ
ทําใหมีพื้นท่ีไดรับผลกระทบมากหรือนอยขึ้นกับปริมาณนาํ้ ฝนและความสูงของจุดเกิดเหตุ โดยการเกิด
ดินถลมจะมีพ้ืนที่ไดรับผลกระทบเปนวงกวางจากการพัดพาช้ันดิน กอนหินและเศษซากตนไมไปตาม
กระแสนํ้าต้ังแตตนน้ําไปจนถึงทายน้ํา ซ่ึงพ้ืนที่ตนนํ้าจะไดรับผลกระทบเรียกวา ดินถลม พ้ืนที่กลางนํ้าจะ
ไดร บั ผลกระทบเรียกวา นํา้ ปาไหลหลาก และพื้นท่ีทายน้าํ จะไดร ับผลกระทบเรียกวา นาํ้ ทวมฉับพลัน สว น
การเกดิ ดินไหลเปนสวนหน่ึงของกระบวนการเกิดดนิ ถลม จะมีพน้ื ท่ีไดรับผลกระทบแคบๆ ไกลจากจุดเกิด
ดินไหลไมเกนิ 10 เทา ของความสูง
- พื้นท่ีเสี่ยงภัยดินถลมโดยตรง คือ ผลกระทบของอาคารบานเรือนท่ีสรางขวางรองเขา
รองหว ย ท่ีมีแพรกสาขา 1 แพรกขึ้นไป หรือลําน้ําในพ้ืนท่ีภูเขา และอาคารบานเรือนมรี ะยะหางจากภูเขา
โดยรอบนอยกวา 10 เทาของความสูงภูเขา (Relief) ซึ่งจะพบหลักฐานกองดินถลมท่ีมีขนาดของตะกอน
ตั้งแต หินขนาดใหญ (Boulder) ไปจนถึงดินเหนียว (Clay) ผสมปะปนกันไป ไมเรียงชั้น (กองดินถลมจะ
เปนการสะสมตัวคร้ังสุดทายจึงมีอายุท่ีออนท่ีสุด เน่ืองจากเมื่อเกิดดินถลมแลว เศษตะกอนจะไหลปดทับ
ชั้นหนา ดิน หรอื ช้ันหนิ ) (รูปที่ 2.2.4-1)

รปู ท่ี 2.2.4-1 พน้ื ทีเ่ สีย่ งภยั ดินถลมโดยตรง โดยอาคารบานเรือนอยูรมิ รอ งหวย และรองเขาไหล
ผา นกลางหมูบา น หมู 5 บา นขุนสานอก ตาํ บลโปง สา อําเภอปาย
จงั หวดั แมฮอ งสอน

- พื้นที่เส่ยี งภัยนํ้าปาไหลหลาก คือ ผลกระทบของอาคารบานเรือนที่สรางขวางรองเขา
รอ งหวย และลํานํ้าในพื้นที่ภูเขา โดยอาคารบานเรือนมีระยะหางจากภูเขาโดยรอบ นอยกวา 10 เทาของ
ความสูงภูเขา (Relief) ซง่ึ จะพบหลักฐาน ตะกอนตามแนวลําน้ําท่ีมีขนาดต้ังแต กอนกรวดใหญ (Pebble)
ไปจนถงึ ทรายละเอยี ด และมกี ารเรยี งชน้ั ตามขนาดของตะกอน (รปู ที่ 2.2.4-2)

2-13

หวยแมฮ้ี

รูปที่ 2.2.4-2 พนื้ ท่ีเส่ียงภยั นาํ้ ปาไหลหลาก หมู 5 บานแมฮ้ี ตาํ บลแมฮ ้ี อําเภอปาย
จังหวัดแมฮองสอน

- พ้ืนที่เส่ียงภัยน้ําทวมฉับพลัน คือ ผลกระทบของอาคารบานเรือนที่อยูบนพื้นท่ีราบลุม
และที่ราบริมลําน้ํา โดยอาคารบานเรือนมีระยะหางจากภูเขาโดยรอบ มากกวา 10 เทาของความสูงภูเขา
(Relief) ซึ่งจะพบหลักฐาน ตะกอนตามแนวลําน้ําที่มีขนาดตั้งแต กรวด (Gravel) ทราย (Sand) ไป
จนถึงดินเหนียว (Clay) (รูปท่ี 2.2.4-3)

แมน ้ําปาย
รปู ที่ 2.2.4-3 พืน้ ทเี่ สย่ี งภยั นํ้าทวมฉับพลนั หมู 3 บา นปาขาม ตาํ บลเวยี งใต อําเภอปาย

จงั หวัดแมฮองสอน
- พื้นท่ีเส่ียงภัยดินถลมและนํ้าปาไหลหลาก คือ ผลกระทบของอาคารบานเรือนท่ีสราง
อยูริมลํานํ้าในพื้นที่ภูเขา หรือหุบเขา ซึ่งไมสามารถแยกดินถลมและนํ้าปาไหลหลากออกจากกันได แต
อาคารบานเรือนมีระยะหางจากภูเขา โดยรอบนอยกวา 10 เทาของความสูงภูเขา (Relief) พบหลักฐาน
การเกิดดินถลมและน้าํ ปาไหลหลากผสมรวมกัน (รูปที่ 2.2.4-4)

2-14

รปู ท่ี 2.2.4-4 พืน้ ท่ีเสยี่ งภัยดินถลม และนํา้ ปาไหลหลาก หมู 4 บานเมืองนอ ย ตําบลเวียงเหนือ
อาํ เภอปาย จงั หวดั แมฮองสอน

- พื้นท่ีเสี่ยงภัยน้ําปาไหลหลากและนํ้าทวมฉับพลัน คือ ผลกระทบของอาคารบานเรือน
ที่สรางบริเวณท่ีราบเชิงเขา ขวางรองเขา รองหวย และริมลําน้ําในพ้ืนท่ีเชิงเขา หรือพื้นท่ีภูเขา โดยอาคาร
บานเรือนดังกลาวอยูลําน้ําเดียวกัน และอยูในหมูบานเดียวกัน ซึ่งอาคารบานเรือนที่มีระยะหางจากภูเขา
โดยรอบ นอยกวา 10 เทาของความสูงภูเขา (Relief) เปนพื้นที่เสี่ยงภัยน้ําปาไหลหลาก และอาคารบานเรือนท่ี
มีระยะหางจากภูเขาโดยรอบ มากกวา 10 เทาของความสูงภูเขา (Relief) จะเปนพ้ืนที่เสี่ยงภัยนํ้าทวมฉับพลัน
(รูปที่ 2.2.4-5)

นํ้าปาไหลหลาก นา้ํ ทวมฉับพลัน

รปู ที่ 2.2.4-5 พ้นื ท่เี สยี่ งภยั นาํ้ ปาไหลหลาก และนํ้าทว มฉับพลัน หมู 2 บานทรายขาว
ตาํ บลแมฮ ้ี อําเภอปาย จังหวดั แมฮ องสอน

- พื้นท่ีเส่ียงภัยดินไหล คือ ผลกระทบจากมวลดินไหลทับอาคารบานเรือน จากการตัดไหล
เขาสรางอาคารบานเรือน หรือ สรางอาคารบานเรือนขวางรองเขา และรองหวย ขนาดเล็กท่ีไมมีแพรกสาขา
(รูปที่ 2.2.4-6)

2-15

กข
รูปที่ 2.2.4-6 พน้ื ท่เี สี่ยงภยั ดินไหล ก) สรา งบา นขวางรองเขา หมู 4 บา นสาล่ี ตาํ บลนา้ํ มวบ อาํ เภอเวยี งสา

จงั หวัดนาน ข) ตัดไหลเ ขาสรางบา น หมู 4 บา นถา้ํ ฉลอง ตาํ บลถํา้ ฉลอง อําเภอทองแสนขนั
จงั หวดั อุตรดติ ถ
2.2.5 ประวตั ิการเกิดดินถลม

ตั้งแตป พ.ศ. 2505–2554 จังหวัดนครศรีธรรมราช มีพายุหมุนเขตรอนพัดผานจํานวน
หลายครั้ง และเคยมีรองความกดอากาศตํา่ หรือรองฝนพาดผานนานหลายวัน จํานวนหลายคร้ัง แตที่มี
ฝนตกหนักและทําใหเกิดความเสียหายรุนแรงคือ พายุไตฝุนแฮเรียตพัดถลมแหลมตะลุมพุก ในเดือน
ตุลาคม 2505 ทําใหตนไมโคนลมจํานวนมาก เกิดดินถลมรุนแรงเปนบางแหงทางตอนใตดานทิศตะวันตก
ของเทือกเขาหลวง และเกิดรองฝนพาดผานภาคใตชวงจังหวัดนครศรีธรรมราชนานหลายวัน จํานวน 2
ครั้ง ในเดือนมกราคม ป พ.ศ. 2518 ทําใหเกิดดินถลมรุนแรงเปนบางแหงทางตอนใตของเทือกเขาหลวง
และถลม เล็กนอยอีกหลายแหง และเกดิ อกี คร้ัง

ในเดือนพฤศจิกายน ป พ.ศ. 2531 ทําใหเกิดดินถลมรุนแรงทางดานทิศตะวันตกของ
เทือกเขาหลวง รวมท้ังทําใหเกิดนํ้าปาไหลหลากและดินถลมทุกรองหวยของพื้นท่ีโดยรอบเทือกเขาหลวง
(รูปที่ 2.2.5-1) ทําใหประชาชนไดร บั ความสูญเสยี ทัง้ ชวี ติ และทรัพยสินเปนจาํ นวนมาก

ระหวางวันที่ 23–31 มีนาคม 2554 ไดเกิดเหตุการณดินถลม นํ้าปาไหลหลาก (รูปท่ี
2.2.5-2) และอุทกภัยขนาดใหญ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช มียอดผูเสียชีวิตรวม 28 ราย พ้ืนที่ประสบ
ภัย รวม 23 อําเภอ 165 ตําบล 1,551 หมูบาน ประชาชนไดรับผลกระทบและความเดือดรอนประมาณ
312,500 ครัวเรือน 909,800 คน ทรัพยสินของประชาชนที่ไดรับผลกระทบและความเสียหาย เชน
บานเรือนเสียหายท้ังหลัง 299 หลัง บานเรือนเสียหายบางสวน 9,000 หลัง มูลคาความเสียหายโดยรวม
ทั้งจังหวัดเบื้องตน ประมาณ 3,200 ลานบาท ผลกระทบและความเสียหายทั้งหมด อยูระหวางสํารวจ
เพ่ิมเติม (ที่มา: ศูนยอํานวยการเฉพาะกิจปองกันและแกไขปญหาอุทกภัย วาตภัย ดินถลม จังหวัด
นครศรีธรรมราช ขอมูลวันท่ี 21 เมษายน 2554)

2-16
รปู ท่ี 2.2.5-1 การเกิดดินถลมในจงั หวดั นครศรีธรรมราช พฤศจกิ ายน 2531 (ภาพโดยวรวุฒิ ตนั ติวนชิ )

รูปท่ี 2.2.5-2 รองรอยดินถลม ในพ้นื ทจ่ี งั หวัดนครศรธี รรมราช, มนี าคม 2554

2-17
สถานการณอําเภอสิชลไดเกิดฝนตกหนักติดตอกันต้ังแตวันท่ี 23 มีนาคม ถึงวันที่ 5
เมษายน 2554 ปริมาณนํา้ ฝนสูงสุดวัดได 264.2 มิลลิเมตร เม่ือวันท่ี 25 มีนาคม 2554 ทําใหเกิดนํ้าปา
ไหลหลากทวมพ้ืนที่ราบลุมเปนวงกวางเต็มพื้นท่ี ท้ังหมด 9 ตําบล 110 หมูบาน ราษฎรประสบภัย 20,000
ครวั เรือน 60,000 คน เสนทางคมนาคมท้ังถนนสายหลักและสายรองถูกนํา้ ทวมสูงไมสามารถสัญจรไป-มา
ได โดยเฉพาะวันที่ 26-30 มีนาคม 2554 สถานการณรุนแรงสูงสุด ตองอพยพราษฎรออกมาอยูในพื้นที่
ปลอดภัยหลายจุด
พื้นท่ีที่สถานการณรุนแรงและถูกตัดขาด เนื่องจากกระแสน้ําไหลแรง ถนนถูกตัดขาด
เกิดดินถลมทับบานเรือนราษฎร และพ้ืนท่ีทําการเกษตร ประกอบดวย ตําบลเทพราช หมู 10 บานเผียนบน
และหมู 15 บานสามเทพ ตําบลฉลอง หมู 10 บานวังสาน ตําบลสี่ขีด หมู 1 บานนํ้ารอน และหมู 11
บานเขาพับผา ตําบลเขานอย หมู 3 บานสํานักเนียน และหมู 7 บานยอดน้ํา ซ่ึงพ้ืนที่ประสบภัยดังกลาว
ตองใชเฮลิคอปเตอรล ําเลียงเสบียงอาหาร และอพยพคนออกจากพื้นท่ีท้ังหมด ความเสียหาย มีผูเสียชีวิต
จากถูกนํ้าพัดพา 5 ราย ดานทรัพยสิน บานเรือนเสียหายท้ังหลัง 124 หลัง บานเรือนเสียหายบางสวน
3,000 หลัง พ้ืนท่ีการเกษตรประมาณ 176,088 ไร ปศุสัตว ประมาณ 150,000 ตัว ส่ิงสาธารณประโยชน
ถนน 440 สาย สะพาน 21 แหง คอสะพาน 70 แหง ฝาย 24 แหง ทอระบายน้ํา 180 แหง มูลคา
ความเสียหายเบื้องตนประมาณ 320 ลานบาท (ที่มา: ที่วาการอําเภอสิชล) ความเสียหายของ
บานเรือนจากดนิ ถลม ในอําเภอสิชล จังหวดั นครศรธี รรมราช แสดงดังรูปที่ 2.2.5-3

รูปที่ 2.2.5-3 ความเสียหายของบานเรอื นจากดินถลม ในอาํ เภอสชิ ล จังหวดั นครศรีธรรมราช

บทท่ี 3
พืน้ ทเี่ สย่ี งภยั ดินถลมระดบั ชุมชน

ตาํ บลนาหลวงเสน

บทที่ 3
พื้นที่เสีย่ งภัยดินถลมระดับชุมชน ตําบลนาหลวงเสน

3.1 ขอ มูลทั่วไป
3.1.1 ทต่ี ง้ั และภมู ศิ าสตร

ตําบลนาหลวงเสน เปนตําบลในเขตการปกครองของอําเภอทุงสง ตั้งอยูทางทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือของที่วาการอําเภอทุงสง เปนระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร มีขนาดเน้ือท่ีท้ังหมด
ประมาณ 86.37 ตารางกโิ ลเมตร หรือประมาณ 53,980 ไร โดยมอี าณาเขตติดตอ ดงั นี้

ทศิ เหนอื ตดิ ตอกบั อําเภอชา งกลาง และอาํ เภอลานสกา จังหวัดนครศรธี รรมราช
ทิศใต ตดิ ตอ กับ เทศบาลเมอื งทงุ สง และเทศบาลเมอื งชะมาย

จังหวัดนครศรธี รรมราช
ทิศตะวันออก ติดตอ กบั เทศบาลตําบลถํ้าใหญ และเทศบาลเมอื งทงุ สง

จงั หวัดนครศรธี รรมราช
ทิศตะวันตก ติดตอกับเทศบาลตําบลชะมาย ตําบลหนองหงส และอําเภอนาบอน

จังหวดั นครศรธี รรมราช
ตําบลนาหลวงเสน มีฐานะเปนองคการบริหารสวนตําบลนาหลวงเสน แบงการปกครอง
เปน 9 หมูบ า น ประกอบดว ย หมู 1 บา นสระแกว หมู 2 บา นใต หมู 3 บา นทาเลา หมู 4 บา นลาํ หัด หมู 5
บานคอกชาง หมู 6 บานสําโรง หมู 7 บานประดู หมู 8 บานไสเหนือ และหมู 9 บานหนาเขา มีประชากร
ทั้งส้ิน 9,596 คน แยกเปนชาย 4,756 คน หญิง 4,840 คน จํานวนครัวเรือนท้ังสิ้น 2,785 ครัวเรือน
(ขอมลู จากองคก ารบรหิ ารสว นตําบลนาหลวงเสน ณ เดือนกมุ ภาพันธ 2557)

3.1.2 การใชประโยชนท ่ีดิน

การใชท ่ดี นิ ในเขตองคการบรหิ ารสว นตาํ บลนาหลวงเสน สามารถจําแนกประเภทได ดงั นี้
บรเิ วณพื้นทเ่ี กษตรกรรม เปนการใชประโยชนท ่ีดนิ หลักของตําบล ซ่ึงเหมาะกบั การเพาะปลูกอยใู นบริเวณ
ท่ีราบลุม โดยเฉพาะพื้นที่ท่ีอยูติดกับชุมชน นิยมปลูกพืชไร พืชสวน หมู 5 มีพื้นที่เกษตรกรรมมากที่สุด
ประกอบดว ยพืน้ ทีป่ ลกู ขา ว ยางพารา พืชไร ผัก พืน้ ท่เี ลยี้ งสตั ว และพืน้ ท่ที าํ ประมง

บริเวณที่อยูอาศัย ปจจุบันบริเวณที่อยูอาศัยในเขตตําบลนาหลวงเสน แหลงชุมชนพัก
อาศัยเปน กลุมใหญใ นหมู 1 บา นสระแกว

บริเวณพานิชยกรรม โดยทั่วไปการใชที่ดินเพ่ือการคา มีลักษณะเปนรานคาปลีก ซ่ึงมี
จํานวนรานคาปลีกประมาณ 82 รานปะปนอยูกับที่อยูอาศัย และสวนใหญประชาชนนิยมเดินทางไปใช
บรกิ ารของตลาดสด เทศบาลเมืองทงุ

สถาบนั ศาสนา วดั เปนศนู ยร วมจติ ใจของชุมชน ซ่ึงตง้ั อยูหมู 1, 2, 3 และหมู 6 นอกจาก
ใชประกอบกิจกรรมทางศาสนาแลว ยังใชเปนสถานที่จัดกิจกรรมประเพณีทางศาสนา งานประจําป และ
เปน สถานท่ีพกั ผอนหยอ นใจของชมุ ชนดว ย

สถาบันการศึกษา ในตําบลนาหลวงเสนมีสถานที่ศึกษาระดับประถมศึกษากระจายอยู
ทัว่ ไป ใหบริการดา นการศกึ ษาไดอยางทั่วถึง ทงั้ นี้ท่ตี ั้งของโรงเรียนโดยสวนใหญจ ะอยใู กลบ ริเวณวัด

3-2

มีแหลงน้ําธรรมชาติสําคัญไหลผาน 5 สายคือ คลองวังหีบ คลองวังหิน คลองทาเลา
(คลองประดู) คลองลําหัด และคลองทาโจน นอกจากนี้ยังมีลําน้ํา และลําหวยธรรมชาติอื่นๆเชน คลองลํา
ประหวยลําดอย หวยควนถาน เปนตน และพื้นที่สาธารณะประโยชนท่ีประชาชนสามารถใชประโยชน
รวมกันได เชน ถนน แหลงนํ้า นํ้าตกหนานปลิว นํ้าตกหนานตากผา นํ้าตกหนานเตย โบราณสถานพระ
บรรทมวัดสําโรง

3.1.3 ลกั ษณะภมู ิประเทศและลกั ษณะทางนํา้

ลักษณะภูมิประเทศของตําบลนาหลวงเสน พ้ืนที่สวนใหญเปนที่ราบเชิงเขา ทางตอน
เหนือของตําบลเปน เทือกเขาสูงสลบั ซบั ซอนตลอดแนว ไดแก เขาเหมน เขาธง เขาพระเขาโยง ฯลฯเปน แหลง
น้ําท่ีสําคัญของลุมนํ้าตาป และลุมนํ้าปากพนัง ลักษณะรูปรางของตําบลนาหลวงเสนมีรูปรางคลายรูปวงรี มี
การวางตัวในแนวตะวันตกเฉียงใต – ตะวันออกเฉียงเหนือ มีแหลงนํ้าท่ีสําคัญ คือคลองวังหีบ คลองวังหนิ
คลองทา เลา (คลองประด)ู คลองลําหดั และคลองทาโจน(คลองทา โหลน) ซ่ึงสวนใหญมที ิศทางการไหลจาก
ทิศตะวันออกเฉยี งเหนือไปทิศตะวนั ตกเฉยี งใตของตําบลนาหลวงเสน

ลักษณะทางน้ําของตําบลนาหลวงเสน มีรูปแบบทางนํ้ากิ่งไม ซึ่งมีลักษณะคลาย
กิ่งกานสาขาของตนไมท่ีผลัดใบ ทางน้ําท่ีสําคัญไดแก คลองวังหีบ คลองวังหิน คลองทาเลา (คลองประดู)
คลองลําหัด คลองทาโลน และคลองทาโจน (ทาโหลน) ซึ่งมีตนกําเนิดจากพื้นที่เทือกเขาเหมน เขาวังหีบ
และเขาพระ ท่ีอยูทางทิศเหนือและทิศตะวันออกเฉียงเหนือของตําบลนาหลวงเสน นอกจากนี้ยังมีลําหวย
หรือลําน้ําธรรมชาติสาํ คัญอื่นๆที่ไหลผานพื้นท่ีตําบลนาหลวงเสน ไดแก เชน คลองลําประ (หวยควนถาน)
หวยลําดอย หว ยชองตรบิ เปน ตน

คลองวังหีบ มีตนกําเนิดมาจากเทือกเขาวังหีบ และเขาพระท่ีอยูทางทิศเหนือ และทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือของตําบลนาหลวงเสน มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตก
เฉยี งใตข องตําบลนาหลวงเสน ไหลไปรวมกับคลองวังหิน ผานหมู 1 บานสระแกว ไหลตอ ไปรวมกบั หวยลําดอย
ผานหมู 5 บานคอกชาง ผานหมู 4 บานลําหัด กอนไหลออกนอกพื้นท่ีตําบลนาหลวงเสน เขาสูเขตตําบล
หนองหงส

คลองวังหิน มีตนกําเนิดมาจากเทือกเขาเหมน และเขาวังหีบที่อยูทางทิศเหนือ และทิศ
ตะวันตกเฉียงเหนือของตําบลนาหลวงเสน มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตก
เฉียงใตของตําบลนาหลวงเสน ไหลไปรวมกับคลองวังหีบ ผานหมู1 บา นสระแกว ไหลตอไปรวมกับหว ยลําดอย
ผานหมู5 บานคอกชาง ผานหมู4 บานลําหัด กอนไหลออกนอกพ้ืนที่ตําบลนาหลวงเสน เขาสูเขตตําบล
หนองหงส

คลองทาเลา (คลองประดู) มีตนกําเนิดมาจากเขาเหมนและเขาพระที่อยูทางทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือของตําบลนาหลวงเสน มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตก
เฉยี งใต ของตาํ บลนาหลวงเสน ผา นหมู 8 บานไสเหนอื หมู 7 บา นประดู หมู 9 บา นหนาเขา ไหลตอไปยัง
หมู 3 บา นทาเลา หมู 6 บา นสาํ โรง และพ้ืนท่บี างสว นของหมู 2 กอ นไหลออกนอกพ้ืนท่ีตาํ บลนาหลวงเสน
เขาสเู ขตเทศบาลตาํ บลทงุ สง

3-3

คลองลําหัด มตี นกําเนดิ อยูบ ริเวณเทือกเขาท่ีอยูทางตอนเหนือของพื้นท่ีหมู 5 บานคอก
ชาง มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตกเฉียงใต ของตําบลนาหลวงเสน ผานหมู
5 บานคอกชาง พื้นที่บางสวนของหมู 1 บานสระแกว ตอไปยังหมู 4 บานลําหัด กอนไหลออกนอกพ้ืนท่ี
ตําบลนาหลวงเสน เขาสูเขตตําบลหนองหงส

คลองทาโจน (คลองทาโหลน) มีตนกําเนิดอยูบริเวณเทือกเขาที่อยูทางทิศตะวนั ออกของ
พ้ืนท่ีหมู 8 บานไสเหนือ มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตกเฉียงใต ของตําบล
นาหลวงเสน บริเวณรอยตอระหวางตําบลนาหลวงเสนกับตําบลถ้ําใหญ ไหลผานหมู 8 บานไสเหนือ พื้นที่
บางสวนของหมู 3 บานทาเลา และหมู 2 บา นใต ไหลไปรวมกับคลองนาํ้ ตกโยง และคลองไชยศรี กอนไหล
ตอ ไปยังหมู 7 บา นไสใหญเหนอื กอนไหลออกนอกพนื้ ท่ีตาํ บลนาหลวงเสน เขา สเู ขตเทศบาลตําบลทุงสง

คลองทาโลน มีตนกําเนิดอยูบริเวณเทือกเขาท่ีอยูทางทิศตะวันออกของพื้นท่ีหมู 8 บาน
ไสเหนือ ในพ้ืนที่ตําบลถ้ําใหญ มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ไปทิศตะวันตกเฉียงใต ไหล
ผา นพืน้ ทบี่ างสวนของหมู 3 บา นทา เลา และหมู 2 บา นใต กอนไหลเขาสตู าํ บลชะมาย อาํ เภอทุงสง

คลองลําประ (หวยควนถา น) มีตนกําเนิดมาจากเทือกเขาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ
ตําบลนาหลวงเสน บริเวณเขตพื้นท่ีหมู 1 บานสระแกว มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไป
ทิศตะวันตกเฉยี งใต ของตําบลนาหลวงเสน ผานหมู 1 บา นสระแกว ไหลไปรวมกับคลองจัง กอ นไหลลงไป
รวมกับคลองหีบแลวไหลตอไปยังหมู 4 บานลําหัด กอนไหลออกนอกพื้นท่ีตําบลนาหลวงเสน เขาสูเขต
ตาํ บลหนองหงส

คลองงา มีตนกําเนิดอยูในพื้นที่หมู 5 บานคอกชาง มีทิศทางการไหลจากทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตกเฉียงใต ไหลผานพ้ืนที่หมู 5 บานคอกชาง ไหลลงบอเก็บน้ํา กอนไหล
ผา นพ้นื ท่หี มู 4 บา นลาํ หัด กอนไหลไปรวมคลองวงั หีบตอไป

หวยชองตริบ มีตนกําเนิดอยูในพื้นที่ตําบลถ้ําใหญ มีทิศทางการไหลจากทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตกเฉียงใต ไหลผานพื้นที่หมู 8 บานไสเหนือ ไหลตอไปยังหมู 2 บานใต
กอนไหลไปรวมคลองทาโลน

หวยลําดอย มีตนกําเนิดอยูบริเวณเทือกเขาทางตอนเหนือของตําบลนาหลวงเสนมีทิศ
ทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตกเฉียงใตของตําบลนาหลวงเสน ผานหมู 1 บาน
สระแกว หมู 5 บานคอกชาง กอนไหลไปรวมกับคลองวังหีบ ไหลตอไปยังหมู 4 บานลําหัด กอนไหลออก
นอกพื้นทตี่ าํ บลนาหลวงเสน เขาสเู ขตตําบลหนองหงส

หว ยเสาะ มีตนกาํ เนดิ อยูในพนื้ ท่หี มู 7 บา นประดู มที ศิ ทางการไหลจากทิศเหนือไปทิศใต
ไหลผา นพน้ื ทหี่ มู 7 บา นประดู กอ นไหลไปรวมกบั หวยอนุ ใจในพืน้ ท่ีหมู 8 บา นไสเหนอื

3.1.4 ลกั ษณะภมู ิอากาศ

ต้งั ใกลเสน ศูนยสูตรมีภูเขาและเปน คาบสมุทรทงั้ 2 ดา น คือดา นตะวนั ออกเปนทะเลจนี
ใต มหาสมทุ รแปซิฟก ดา นตะวันตกเปนทะเลอนั ดามันมหาสมทุ รอนิ เดียทาํ ใหไ ดร บั อิทธพิ ลลมมรสุมจาก
มหาสมุทรอนิ เดีย และพายุหมุนเขตรอ น จากทะเลจีนใตส ลับกัน สามารถสรปุ ฤดูกาลไดเปน 2 ฤดู คอื

ฤดูรอน เริม่ ตั้งแตก ลางเดือนกุมภาพนั ธถ งึ เดือนเมษายน ซ่งึ เปนชว งเปลีย่ นฤดมู รสมุ
หลังจากสิ้นสุดฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือแลวอากาศจะเริ่มรอนและมีอากาศรอนจัดในเดือนเมษายน
ไมรอ นมากนักเนื่องจากอยูใ กลทะเล กระแสลมและไอน้ําจากทะเลทาํ ใหอากาศคลายความรอนลงไปมากมี

3-4

อุณหภมู ิเฉลี่ย 27.46 องศาเซลเซยี ส อุณหภูมิสูงสดุ 38.9 องศาเซลเซียส และอุณหภมู ิตํ่าสดุ 17.5 องศา
เซลเซียส

ฤดูฝน มี 2 ชว งตั้งแตเดอื นพฤษภาคม – ตุลาคม เปน ชวงที่ไดร ับอทิ ธพิ ลลมมรสมุ
ตะวนั ตกเฉยี งใต และตงั้ แตเ ดือนพฤศจิกายน – มกราคม เปน ชวงท่ไี ดรบั อิทธิพลลมมรสุม
ตะวันออกเฉยี งเหนือชว งน้ีฝนตกหนาแนน เดือนทม่ี ีฝนตกมากทีส่ ุด คือเดอื นพฤศจิกายน ปรมิ าณ 640.4
มิลลิเมตร มีฝนตกทั้งหมด 150.1 วัน ปริมาณฝนรวมทงั้ ป 2610.1 มิลลเิ มตร

(ทีม่ า : สถิติภูมอิ ากาศในคาบ 30 ป (พ.ศ.2528-2557) สถานตี รวจวัดอากาศนครศรธี รรมราช
กรมอตุ ุนยิ มวทิ ยา,2557)

3.2 ลักษณะธรณวี ทิ ยาตาํ บลนาหลวงเสน
3.2.1 ลาํ ดบั ช้ันหิน และธรณีวทิ ยาโครงสรา ง

ลกั ษณะธรณีวทิ ยาตาํ บลนาหลวงเสน ประกอบดวย หินไบโอไทต หนิ มสั โคไวต ไบโอไทต
แกรนิต (TRgr1) หินทราย และหินควอรตไซต (ϵ) หินดินดานและหินทรายแปงแทรกสลบั ดวยหินปูนเปน
เลนส (Olt) ตะกอนเศษหินเชงิ เขาและตะกอนผพุ ังอยูกบั ที่ (Qc) และตะกอนนํา้ พา (Qa)

พื้นท่ีสวนใหญ ทางฝงทิศเหนือและทิศตะวันออกเฉียงเหนือของตําบลนาหลวงเสน เปน
หินอัคนี ยุคไทรแอสซิก (TRgr1) จําพวกหินไบโอไทต แกรนิต เน้ือสม่ําเสมอถึงเนื้อดอก เม็ดปานกลางถึง
หยาบ หินมัสโคไวต ไบโอไทตแกรนิต เน้ือสม่ําเสมอ เม็ดละเอียดถึงปานกลาง แทรกซอนหินตะกอนยุค
แคมเบรียนในกลุมหินตะรุเตา (ϵ) จําพวกหินทราย และหินควอรตไซต สีขาว สีเทาออน เม็ดละเอียด ชั้น
หนาถึงชั้นบางแสดงช้ันเฉียงระดับ และแถบช้ันบาง พบเปนเทือกเขาวางตัวในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-
ตะวันออกเฉียงใต บริเวณตอนกลางของตําบลนาหลวงเสน วางตัวรองรับหินตะกอนยุคออรโดวิเชียน ใน
หมวดหินแลตอง (Olt) จําพวกหินดินดาน หินทรายแปง สีเทาแกมเขียว สีนํ้าตาล ช้ันบาง แทรกสลับดวย
หินปูนเปนเลนส สีเทา พบเปนแนวเขา และเขาลูกโดด กระจายตัวอยูท่ัวไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต และ
ตะวันตกเฉียงใตของตําบลนาหลวงเสน ถูกปด ทบั ดว ยหนว ยตะกอนเศษหนิ เชงิ เขาและตะกอนผุพังอยูกับท่ี
(Qc) เศษหินประกอบดวย หินควอรตไซต หินทราย หินทรายแปง หินแกรนิต ทราย ทรายแปง ดินลูกรัง
และศิลาแลง กระจายตัวอยูท่ัวไปตามท่ีลาดเชิงเขา และหนวยตะกอนน้ําพา (Qa) จําพวก กรวด ทราย
ทรายแปง และดินเหนียว กระจายตัวอยูทั่วไปตามลําน้ําสายตางๆ (ที่มา แผนที่ธรณีวิทยาจังหวัด
นครศรีธรรมราช กรมทรัพยากรธรณ,ี 2551)

พบหินไบโอไทต แกรนิต โผลในพื้นที่ หมู 1 บานสระแกว หมู 7 บานประดู หมู 8
บานไสเหนือ หมู 9 บานหนาเขา หินทราย โผลในพื้นท่ีหมู 1 บานสระแกว หมู 3 บานทาเลา หินทรายแปง
โผลในพ้นื ท่ีหมู 6 บานสําโรง หมู 7 บา นประดู หินปนู โผลใ นพนื้ ทีห่ มู 3 บานทาเลา หมู 5 บานคอกชาง
หมู 6 บา นสําโรง หินโคลน โผลใ นพนื้ ท่ีหมู 4 บานลําหดั ตะกอนเศษหินเชงิ เขาและตะกอนผพุ ังอยูกบั ที่ โผล
ในพื้นที่หมู 1 บานสระแกว หนวยตะกอนน้ําพา โผลในพื้นที่หมู 2 บานใต แสดงดังรูปที่ 3.2.1-1 ถึง
รูปท่ี 3.2.1-13

3-5
รูปท่ี 3.2.1-1 ลักษณะของหินทราย (ϵ) สีเทาอมขาว ถงึ นาํ้ ตาลแดง ในพ้นื ท่หี มู 1 บานสระแกว

พกิ ดั 575042 E/ 0908656 N
รูปที่ 3.2.1-2 ลักษณะของหนิ ไบโอไทตแ กรนติ (Trgr1) สเี ทา ถงึ นาํ้ ตาลอมเทา เนอ้ื ดอก ในพื้นท่หี มู 1

บา นสระแกว พิกดั 575534 E/ 0911983 N
รูปที่ 3.2.1-3 ลักษณะของตะกอนนาํ้ พา (Qa) ประกอบดวย ตะกอนกรวด ทราย และดนิ เหนียว ในพ้นื ท่ี

หมู 2 บานใต พิกดั 578947 E/ 0905546 N

3-6
รูปที่ 3.2.1-4 ลกั ษณะของหินทรายแทรกสลับหินทรายแปง (Olt) สีนํ้าตาลอมเหลอื ง ถงึ น้ําตาลอมสม

ในพ้นื ทหี่ มู 3 บา นทา เลา พกิ ดั 577511 E/ 0906616 N
รูปที่ 3.2.1-5 ลกั ษณะของหินปูน (Olt) สีเทาอมเขียว ชัน้ ปานกลาง ในพนื้ ทห่ี มู 3 บา นทา เลา

พิกดั 575539 E/ 0912508 N
รูปท่ี 3.2.1-6 ลักษณะของตะกอนผุพงั อยกู บั ที่ (Qc) ประกอบดว ย ตะกอนกรวด ทราย ทรายแปง

และดนิ เหนยี ว ในพน้ื ทีห่ มู 4 บานลาํ หัด พกิ ัด 593025 E/ 0909156 N

3-7
รปู ที่ 3.2.1-7 ลกั ษณะของหนิ ปูน (Olt) สีเทาถึงเทาขาว ชั้นปานกลาง ในพื้นที่หมู 5 บา นถ้ําใหญ

พิกดั 576058 E/ 0907774 N
รูปที่ 3.2.1-8 ลกั ษณะของหินปนู (Olt) สีเทาถงึ เทาดาํ ชั้นหนา ในพื้นที่หมู 6 บา นสําโรง

พกิ ัด 574923 E/ 0905241 N
รูปที่ 3.2.1-9 ลักษณะของหินทรายแปง สนี ้ําตาลแดง (Olt) ในพืน้ ท่ีหมู 6 บานสาํ โรง

พกิ ัด 574705 E/ 0905315 N

3-8
รูปที่ 3.2.1-10 ลักษณะของหินแกรนติ (Trgr1) เนอ้ื ดอก สีเทาขาว ในพ้ืนทห่ี มู 7 บานประดู

พกิ ัด 578011 E/ 0910078 N
รปู ที่ 3.2.1-11 ลักษณะของตะกอนผุพังอยูกับท่ี (Qc) ประกอบดวย เศษหินทราย กรวด ทราย ทรายแปง

และดนิ เหนียว ในพื้นทีห่ มู 7 บา นประดู พิกัด 578519 E/ 0908676 N
รปู ที่ 3.2.1-12 ลกั ษณะของหินแกรนิต (TRgr1) เนื้อดอก ในพื้นท่ีหมู 8 บา นไสเหนอื

พิกัด 579550 E/ 0908869 N

3-9

รูปที่ 3.2.1-13 ลกั ษณะของหนิ แกรนิต (TRgr1) สเี ทา เน้ือสมาํ่ เสมอ ถงึ เนือ้ ดอก ในพน้ื ทีห่ มู 9 บานหนา เขา
พิกัด 577165 E/ 0909344 N

3.2.2 หลักฐานการเกิดดนิ ถลม โบราณ

การสํารวจหาหลักฐานการเกิดดินถลมโบราณเปนการสํารวจดานธรณีวิทยาส่ิงแวดลอม
เก็บขอมูลหลักฐานรอยดินไหลดินถลมลานหินพังแนวตะพักลําน้ําและลักษณะทางน้ําการสํารวจหา
หลักฐานการเกิดดินถลมอาจสังเกตไดจากสะพานที่สรางขึ้นดวยงบประมาณจากโครงการอุทกภัยหรือ
ลักษณะการสรางบานเรือนเปน กลุมเชนการสรางเปนแบบการเคหะหรือแบบนิคมพ่ึงตนเองซึ่งสามารถบง
บอกถงึ การเกิดดินถลมหรือนํ้าปา ไหลหลากไดเชนกัน ซึ่งหลักฐานการเกิดดนิ ถลม นํา้ ปา ไหลหลาก ของแต
ละหมบู า นในพ้นื ท่ตี าํ บลนาหลวงเสน ดังน้ี

หมู 1 บานสระแกว พบกองดินถลมโบราณ ประกอบดวย กอนหินแกรนิต ขนาด
ประมาณ 0.45 x 1.0 เมตร กรวด ทราย ทรายแปง และดนิ เหนียว (รูปท่ี 3.2.2-1)

หมู 2 บานใต ไมพ บกองดินถลมโบราณ เน่ืองจากอยหู างไกลจากเขาสูง พบเพยี งตะกอน
ในคลองทา โหลน ประกอบดว ย ตะกอนกรวด ทราย ทรายแปง และดนิ เหนยี ว (รูปท่ี 3.2.2-2)

หมู 3 บานทาเลา ไมพบกองดินถลมโบราณ เนื่องจากอยูหางไกลจากเขาสูง พบเพียง
ตะกอนในคลองทา เลา ประกอบดวย ตะกอนกรวด ทราย ทรายแปง และดินเหนียว (รูปท่ี 3.2.2-3)

หมู 4 บานลําหัด ไมพบกองดินถลมโบราณ เนื่องจากอยูหางไกลจากเขาสูง พบเพียง
ตะกอนในคลองงา ประกอบดว ย ตะกอนกรวด ทราย ทรายแปง และดนิ เหนยี ว (รูปท่ี 3.2.2-4)

หมู 5 บานคอกชาง พบกองดินถลมโบราณ ประกอบดวย กอนหินแกรนิต ขนาด
ประมาณ 1.0 x 2.0 เมตร กรวด ทราย ทรายแปง และดนิ เหนยี ว (รูปท่ี 3.2.2-5)

หมู 6 บานสําโรง ไมพบกองดินถลมโบราณ เน่ืองจากอยูหางไกลจากเขาสูง พบเพียง
ตะกอนในคลองทา เลา ประกอบดวย ตะกอนกรวด ทราย ทรายแปง และดนิ เหนียว (รปู ที่ 3.2.2-6)

หมู 7 บานประดู พบกองดินถลมโบราณ ประกอบดวย กอนหินแกรนิต ขนาดประมาณ
1.0 x 2.0 เมตร กรวด ทราย ทรายแปง และดนิ เหนยี ว (รปู ท่ี 3.2.2-7)

หมู 8 บานไสเหนอื พบกองดินถลม โบราณ ประกอบดว ย กอนหนิ แกรนติ ขนาดประมาณ
0.50 x 1.0 เมตร กรวด ทราย ทรายแปง และดนิ เหนยี ว (รปู ที่ 3.2.2-8)

หมู 9 บานหนาเขา ไมพบกองดินถลมโบราณ เนื่องจากอยูหางไกลจากเขาสูง พบเพียง
ตะกอนในคลองทาเลา ประกอบดว ย ตะกอนกรวด ทรายทรายแปง และดนิ เหนียว (รปู ท่ี 3.2.2-9)

3-10
รูปที่ 3.2.2-1 ลกั ษณะกองดนิ ถลม โบราณ ประกอบดวย กอนหินแกรนิต ขนาดประมาณ 0.45 x 1.0 เมตร

กรวด ทราย ทรายแปง และดนิ เหนียว ในพื้นท่หี มู 1 บานสระแกว พกิ ดั 575528 E/
0911893 N
รูปท่ี 3.2.2-2 ลกั ษณะตะกอนในคลองทา โหลน ประกอบดว ย ตะกอนกรวด ทราย ทรายแปง และดนิ เหนียว
ในพ้ืนทห่ี มู 2 บานใต พกิ ัด 578947 E/ 0905546 N
รูปท่ี 3.2.2-3 ลักษณะตะกอนในคลองทาเลา ประกอบดวย ตะกอนกรวด ทราย ทรายแปง และดินเหนียว
ในพื้นที่หมู 3 บา นทาเลา พิกัด 577145 E/ 0905935 N

3-11
รูปท่ี 3.2.2-4 ลักษณะตะกอนในคลองงา ประกอบดว ย ตะกอนกรวด ทราย ทรายแปง และดินเหนียว

ในพน้ื ทีห่ มู 4 บานลําหดั พิกดั 573212 E/ 0907200 N
รูปที่ 3.2.2-5 ลักษณะกองดินถลมโบราณ ประกอบดวย กอนหินแกรนิต ขนาดประมาณ 1.0 x 2.0 เมตร

กรวด ทราย ทรายแปง และดินเหนียว ในพ้ืนที่หมู 5 บานคอกชาง พิกัด 577323 E/
0909514 N
รูปท่ี 3.2.2-6 ลกั ษณะตะกอนในคลองทา เลา ประกอบดวย ตะกอนกรวด ทราย ทรายแปง และดินเหนยี ว
ในพื้นทหี่ มู 6 บา นสําโรง พกิ ัด 575287 E/ 0904820 N

3-12
รูปท่ี 3.2.2-7 ลกั ษณะกองดินถลม โบราณ ประกอบดว ย กอ นหินแกรนิต ขนาดประมาณ 1.0 x 2.0 เมตร

กรวด ทราย ทรายแปง และดนิ เหนียว ในพ้ืนทหี่ มู 7 บานประดู พิกัด 577477 E/ 0909466 N
รปู ท่ี 3.2.2-8 ลกั ษณะกองดินถลม โบราณ ประกอบดว ย กอ นหนิ แกรนิต ขนาดประมาณ 0.50 x 1.0 เมตร

กรวด ทราย ทรายแปง และดินเหนียว ในพื้นที่ หมู 8 บา นไสเหนอื พกิ ัด 580440 E/
0908264 N
รูปท่ี 3.2.2-9 ลกั ษณะตะกอนในคลองทาเลา ประกอบดวย ตะกอนกรวด ทรายทรายแปง และดนิ เหนยี ว
ในพน้ื ที่หมู 9 บานหนา เขา พกิ ดั 577165 E/ 0909344 N

3-13

3.3 สถานการณธรณพี ิบัติภยั ดนิ ถลมตาํ บลนาหลวงเสน

ในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2554 รายงานสถานการณน้ําทวม ลาสุดเขื่อนวังอายวาวแตก
นํ้าทะลกั เขาทวมตัวเมอื งทงุ สง ระดับน้ําสูง 50 ซ.ม. ถนนสายเศรษฐกจิ จม ชาวบา นหนีอลหมา น
ขณะนี้น้ําปาจากเทือกเขาบรรทัดไดไหลทะลักเขาทวมในเขตเทศบาลเมืองทุงสง จ.นครศรีธรรมราช
ประกอบกับเข่ือนวังอายวาว ต.นาหลวงเสน แตกเปนเหตุใหนํ้าเขาทวมตัวเมืองอยางรวดเร็วจนชาวบาน
ตางพากันขนยายสิ่งของหนีน้ํากันอยางชุลมุน ถนนทุกสายในเขตเทศบาลเมืองทุงสงจมบาดาล หลังจากท่ี
ฝนตกลงมาติดตอกัน 3-4 วัน ถนนสายชนปรีดา ซ่ึงเปนถนนสายเศรษฐกิจนํ้าทวมสูงระดับ 50 ซ.ม. รถ
เล็กไมส ามารถวงิ่ ผานไปมาได

3.4 พน้ื ทเี่ สยี่ งภัยดินถลม

จากการสํารวจพ้ืนที่เส่ียงภัยดินถลม นํ้าปาไหลหลาก และน้ําทวมฉับพลัน ภายใตกรอบ
สภาพธรณีวิทยา สภาพภูมิประเทศ และส่ิงแวดลอม ในพื้นที่ตําบลนาหลวงเสน ทั้งหมด 9 หมูบาน
ประกอบดวย หมู 1 บานสระแกว หมู 2 บานใต หมู 3 บานทาเลา หมู 4 บานลําหัด หมู 5 บานคอกชาง
หมู 6 บานสาํ โรง หมู 7 บานประดู หมู 8 บา นไสเหนอื และหมู 9 บานหนา เขา พบวา มีพื้นทเี่ สย่ี งภัยไดร ับ
ผลกระทบจากดินถลม และนํ้าทวมฉับพลัน 2 หมูบาน ไดแก หมู 1 บานสระแกว และหมู 8 บานไสเหนือ มี
พ้ืนท่ีเส่ียงภัยไดรับผลกระทบจากดินไหล และน้ําปาไหลหลาก 1 หมูบาน ไดแก หมู 7 บานประดู มีพื้นที่
เสย่ี งภัยไดรบั ผลกระทบจากดินไหล และนํ้าทว มฉบั พลัน 3 หมูบาน ไดแ ก หมู 2 บานใต หมู 3 บานทาเลา
และหมู 5 บานคอกชาง มีพ้ืนที่เส่ียงภัยไดรับผลกระทบจากหินรวง และน้ําทวมฉับพลัน 1 หมูบาน ไดแก
หมู 6 บานสําโรง และมีพ้ืนที่เส่ียงภัยไดรับผลกระทบจากน้ําทวมฉับพลัน 2 หมูบาน ไดแก หมู 4 บานลํา
หัด และหมู 9 บานหนาเขา เน่ืองจากธรณีวิทยาของตําบลนาหลวงเสน เปนหินแกรนิต หินโคลน
หินดินดาน หินทราย และหินปูน มีการแตกหักปานกลาง เมื่อผุจะใหตะกอน ทราย ทรายแปง ทรายปน
ดินเหนียว และดนิ เหนียวเปนชั้นหนา มีบา นเรือนตงั้ อยบู ริเวณลาดเขาและทร่ี าบ บางสวนมกี ารตัดไหลเขา
สรางท่อี ยูอาศยั เปนปจจัยเรง ใหเกิดดนิ ไหล และมลี าํ น้ําไหลผา น ดังรายละเอยี ดตอไปนี้

หมู 1 บานสระแกว มีจาํ นวนครัวเรือนทั้งสิ้น 415 ครัวเรือน โดยมีการต้ังบานเรือนอยู
บนท่ีราบลุมคลองวังหีบ มีตนกําเนิดมาจากเทือกเขาวังหีบ และเขาพระท่ีอยูทางทิศเหนือ และทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือของตําบลนาหลวงเสน มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตก
เฉียงใตของตําบลนาหลวงเสน ไหลไปรวมกับคลองวังหิน ผานหมู 1 บานสระแกว ไหลตอไปรวมกับ
หวยลําดอย ชุมชนบางสวนต้ังอยูบนท่ีราบลุมหวยลําคอย มีตนกําเนิดอยูบริเวณเทือกเขาทางตอนเหนือ
ของตําบลนาหลวงเสนมีทิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ไปทิศตะวันตกเฉียงใต ของตําบลนา
หลวงเสนผานหมู 1 บานสระแกว ไหลตอไปหมู 5 บานคอกชาง บางสวนตั้งอยูบนท่ีราบลมุ คลองลําหัด มี
ตนกําเนิดอยูบริเวณเทือกเขาที่อยูทางตอนเหนือของพ้ืนท่ีหมู 5 บานคอกชาง มีทิศทางการไหลจากทิศ
ตะวันออกเฉยี งเหนือไปทิศตะวันตกเฉียงใต ของตําบลนาหลวงเสน ผานหมู 5 บานคอกชา ง พนื้ ท่ีบางสวน
ของหมู 1 บานสระแกว ตอไปยังหมู 4 บานลําหัด และบางสวนมีการตั้งบานเรือนบนกองดินถลมเกา สงผล
ใหบานเรือนที่ตั้งใกลคลองวังหีบ หวยลําดอย และคลองลําหัด เปนพื้นที่เสี่ยงภัยไดรับผลกระทบจาก
นํ้าทวมฉับพลัน และบานเรือนที่ตั้งบนกองดินถลมเกา เปนพื้นที่เสี่ยงภัยไดรับผลกระทบจากดินถลม
(รูปท่ี 3.4-1)

3-14
หมู 2 บานใต มีจํานวนครัวเรือนทั้งส้ิน 305 ครัวเรือน โดยมีการตั้งบานเรือนอยูบนที่
ราบลุมติดคลองทา โหลน มีตนกาํ เนิดอยูบรเิ วณเทือกเขาทอ่ี ยูทางทิศตะวนั ออกของพ้ืนทห่ี ม8ู บา นไสเหนือ
มที ิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉยี งเหนือไปทิศตะวันตกเฉียงใตของตําบลนาหลวงเสน บรเิ วณรอยตอ
ระหวางตําบลนาหลวงเสนกับตําบลถํ้าใหญ ไหลผานหมู 8 บานไสเหนือ พื้นท่ีบางสวนของหมู 3 บานทา
เลา และหมู 2 บานใต ไหลไปรวมกับคลองนํ้าตกโยง และคลองไชยศรี บางสวนมีการตัดไหลเขาเพื่อตั้ง
บานเรือน สงผลใหบานเรอื นที่ต้ังใกลค ลองทาโหลน เปนพ้ืนท่ีเส่ียงภัยไดรับผลกระทบจากนํา้ ทวมฉับพลัน
และบา นเรือนทต่ี ัดไหลเ ขาเพื่อตัง้ บานเรือน เปน พืน้ ที่เส่ยี งภัยไดรบั ผลกระทบจากดินไหล (รูปที่ 3.4-2)
หมู 3 บา นทาเลา มจี าํ นวนครวั เรือนทง้ั สน้ิ 421 ครวั เรือน โดยมกี ารตงั้ บานเรอื นอยูบนท่ี
ราบลุมคลองทาเลา (คลองประดู) มีตนกําเนิดมาจากเขาเหมนและเขาพระท่ีอยูทางทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือของตําบลนาหลวงเสน มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตก
เฉียงใตของตําบลนาหลวงเสน ผานหมู 8 บานไสเหนือ หมู 7 บานประดู หมู 9 บานหนาเขา ไหลตอไปยัง
หมู 3 บานทาเลา หมู 6 บานสําโรง บางสวนมีการตัดไหลเขาเพื่อตั้งบานเรือน สงผลใหบานเรือนท่ีตั้งใกล
คลองทาเลา เปนพ้ืนท่ีเส่ียงภัยไดรับผลกระทบจากน้ําทวมฉับพลัน และบานเรือนที่ตัดไหลเขาเพ่ือตั้ง
บา นเรือน เปน พื้นท่เี สี่ยงภัยไดรับผลกระทบจากดนิ ไหล (รปู ที่ 3.4-3)
หมู 4 บา นลําหดั มจี ํานวนครวั เรือนท้ังสิน้ 245 ครัวเรอื น โดยมีการตงั้ บา นเรือนอยูบนท่ี
ราบลุมคลองลําหัด มีตนกําเนิดอยูบริเวณเทือกเขาท่ีอยูทางตอนเหนือของพ้ืนท่ีหมู 5 บานคอกชาง มีทิศ
ทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตกเฉียงใต ของตําบลนาหลวงเสน ผานหมู 5 บาน
คอกชาง พนื้ ท่บี างสว นของหมู 1 บานสระแกว ตอ ไปยังหมู 4 บา นลําหดั กอ นไหลออกนอกพื้นท่ีตาํ บลนา
หลวงเสน เขาสเู ขตตําบลหนองหงส ชมุ ชนบางสว นตง้ั อยบู นทร่ี าบลมุ คลองงา มีตนกาํ เนดิ อยูในพ้ืนทหี่ มู 5
บานคอกชาง มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตกเฉียงใต ไหลผานพ้ืนท่ีหมู 5
บานคอกชา ง ไหลลงบอ เกบ็ นํา้ กอ นไหลผา นพื้นทหี่ มู 4 บา นลําหดั กอนไหลไปรวมคลองวงั หีบตอไป และ
บางสวนต้ังอยูบนที่ราบลุมคลองวังหีบ มีตนกําเนิดมาจากเทือกเขาวังหีบ และเขาพระท่ีอยูทางทิศเหนือ
และทิศตะวันออกเฉียงเหนือของตําบลนาหลวงเสน มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ไปทิศ
ตะวนั ตก เฉียงใตของตําบลนาหลวงเสน ไหลไปรวมกับคลองวงั หนิ ผานหมู 1 บา นสระแกว ไหลตอ ไปรวม
กับหว ยลําดอย ผานหมู 5 บา นคอกชาง ผา นหมู 4 บา นลาํ หดั กอนไหลออกนอกพนื้ ที่ตําบลนาหลวงเสน เขา
สูเขตตําบลหนองหงส สงผลใหบานเรือนท่ีต้ังใกลคลองวังหัด คลองงา และคลองวังหีบ เปนพ้ืนที่เส่ียงภัย
ไดร ับผลกระทบจากน้ําทว มฉบั พลนั (รปู ที่ 3.4-4)
หมู 5 บานคอกชาง มีจํานวนครัวเรือนท้ังส้ิน 480 ครัวเรือน โดยมีการต้ังบานเรือนอยู
บนทรี่ าบลมุ คลองลาํ หัด มตี น กําเนิดอยูบ ริเวณเทอื กเขาท่ีอยทู างตอนเหนือของพ้นื ทหี่ มู 5 บานคอกชาง มี
ทศิ ทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉยี งเหนือไปทิศตะวันตกเฉียงใต ของตําบลนาหลวงเสน ผา นหมู 5 บา น
คอกชา ง พ้ืนทีบ่ างสวนของหมู 1 บานสระแกว ตอไปยังหมู 4 บานลําหดั ชุมชนบางสวนมกี ารตง้ั บานเรือน
บนท่ีราบลุมคลองวังหีบ มีตนกําเนิดมาจากเทือกเขาวังหีบ และเขาพระท่ีอยูทางทิศเหนือ และทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือของตําบลนาหลวงเสน มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตก
เฉียงใตของตําบลนาหลวงเสน ไหลไปรวมกับคลองวังหิน ผานหมู 1 บานสระแกว ไหลตอไปรวมกับ
หวยลําดอย ผานหมู 5 บานคอกชาง ไหลตอไปยังหมู 4 บานลําหัด บางสวนมีการตัดไหลเขาเพื่อต้ัง
บา นเรอื น สง ผลใหบ านเรือนทีต่ ั้งใกลคลองคลองลําหัด และคลองวังหีบ เปนพนื้ ที่เสีย่ งภัยไดรับผลกระทบ
จากน้ําทวมฉับพลัน และบานเรือนท่ีตัดไหลเขาเพื่อตั้งบานเรือน เปนพื้นท่ีเส่ียงภัยไดรับผลกระทบจาก
ดินถลม (รูปที่ 3.4-5)


Click to View FlipBook Version