The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนเฝ้าระวังดินถล่มนาหลวงเสน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนเฝ้าระวังดินถล่มนาหลวงเสน

แผนเฝ้าระวังดินถล่มนาหลวงเสน

3-15
หมู 6 บานสาํ โรง มจี ํานวนครวั เรอื นท้งั ส้ิน 257 โดยมกี ารต้ังบานเรือนอยูบนทีร่ าบลุมคลอง
ทาเลา (คลองประดู) มีตนกําเนิดมาจากเขาเหมนและเขาพระที่อยูทางทิศตะวนั ออกเฉียงเหนือของตาํ บล
นาหลวงเสน มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตกเฉียงใตของตําบลนาหลวงเสน
ผานหมู 8 บานไสเหนือ หมู 7 บานประดู หมู 9 บานหนาเขา ไหลตอไปยังหมู 3 บานทาเลา หมู 6 บาน
สําโรง และพื้นที่บางสวนของหมู 2 กอนไหลออกนอกพื้นที่ตําบลนาหลวงเสน เขาสูเขตเทศบาลตําบล
ทุงสง ชุมชนบางสวนมีการต้ังบานเรือนใกลเขาหินปูน สงผลใหบานเรือนท่ีตั้งใกลคลองคลองทาเลา เปน
พ้ืนที่เส่ียงภัยไดรับผลกระทบจากนํ้าทวมฉับพลัน และบานเรือนท่ีต้ังใกลเขาหินปูน เปนพ้ืนท่ีเสี่ยงภัยไดรับ
ผลกระทบจากหนิ รวง (รปู ที่ 3.4-6)
หมู 7 บานประดู มีจํานวนครัวเรือนทงั้ ส้นิ 229 ครัวเรือน โดยมีการต้ังบานเรือนอยูต ิดที่
ราบลุมหวยเสาะ มีตนกําเนิดอยูในพื้นที่หมู 7 บานประดู มีทิศทางการไหลจากทิศเหนอื ไปทิศใต ไหลผาน
พื้นที่หมู 7 บานประดู กอนไหลไปรวมกับหวยอุนใจในพื้นท่ีหมู 8 บานไสเหนือ ชุมชนบางสวนต้ังอยูบนท่ี
ราบลุม คลองทาเลา (คลองประดู) มีตนกําเนิดมาจากเขาเหมนและเขาพระท่ีอยูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
ของตําบลนาหลวงเสน มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตกเฉียงใตของตําบล
นาหลวงเสน ผา นหมู 8 บา นไสเหนือ หมู 7 บา นประดู หมู 9 บา นหนา เขา บางสว นมีการตดั ไหลเขาเพื่อต้ัง
บานเรือน สงผลใหบานเรือนท่ีตั้งใกลหวยเสาะ และคลองทาเลา เปนพื้นท่ีเส่ียงภัยไดรับผลกระทบจาก
นํ้าปาไหลหลาก และบานเรือนท่ีตัดไหลเขาเพ่ือตั้งบานเรือน เปนพ้ืนท่ีเส่ียงภัยไดรับผลกระทบจากดินไหล
(รปู ท่ี 3.4-7)
หมู 8 บา นไสเหนือ มจี ํานวนครวั เรือนทง้ั ส้ิน 261 ครวั เรือน โดยมกี ารต้ังบานเรือนอยูติด
ที่ราบลุมคลองทาโลน มีตนกําเนิดอยูบริเวณเทือกเขาท่ีอยูทางทิศตะวันออกของพื้นที่หมู 8 บานไสเหนือ
ในพื้นที่ตําบลถํ้าใหญ มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตกเฉียงใต ไหลผานพื้นที่
บางสว นของหมู 3 บา นทา เลา ชมุ ชนบางสว นต้ังอยบู นท่ีราบลมุ หวยชองตรบิ มีตน กําเนดิ อยูในพน้ื ที่ตําบล
ถํ้าใหญ มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตกเฉียงใต ไหลผานพื้นที่หมู 8 บาน
ไสเหนือ ไหลตอ ไปยงั หมู 2 บานใต กอ นไหลไปรวมคลองทาโลน บางสวนมีการตั้งบา นเรือนใกลเขา สงผล
ใหบ านเรือนท่ีตง้ั ใกลคลองทาโลน และหวยชองตรบิ เปน พ้นื ที่เส่ยี งภัยไดร ับผลกระทบจากน้ําทว มฉับพลัน
และบา นเรอื นทต่ี ั้งใกลเขา เปนพ้นื ท่ีเสยี่ งภยั ไดรบั ผลกระทบจากดินถลม (รูปท่ี 3.4-8)
หมู 9 บา นหนา เขา มีจาํ นวนครัวเรอื นทัง้ สน้ิ 172 ครัวเรอื น โดยมกี ารตัง้ บานเรือนอยูบน
ที่ราบลมุ คลองทา เลา (คลองประดู) มีตนกาํ เนิดมาจากเขาเหมน และเขาพระที่อยูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
ของตําบลนาหลวงเสน มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตกเฉียงใตของตาํ บล
นาหลวงเสน ผานหมู 8 บานไสเหนือ หมู 7 บานประดู หมู 9 บานหนาเขา ไหลตอไปยังหมู 3 บานทาเลา
สงผลใหบานเรอื นท่ตี ง้ั ใกลคลองทาเลา เปน พืน้ ทเ่ี ส่ียงภัยไดร ับผลกระทบจากนํ้าปา ไหลหลาก (รปู ที่ 3.4-9)

3-16

(ก)

สะพานคลองลําหดั

(ข)

สะพานคลองลาํ คอย (ค)
สะพานคลองวงั หบี

(ง)
รูปท่ี 3.4-1 พน้ื ทเ่ี สี่ยงภัย หมู 1 บานสระแกว (ก) ตัง้ บานเรอื นอยบู นกองดนิ ถลม เกา เสีย่ งดนิ ถลม

(ข) ต้ังบา นเรอื นใกลสะพานคลองลําหดั เส่ียงนา้ํ ทว มฉบั พลนั (ค) ตัง้ บา นเรอื นใกลส ะพาน
คลองลาํ คอย เสี่ยงนํ้าทวมฉบั พลนั (ง) ตัง้ บา นเรอื นใกลส ะพานคลองวงั หีบ เสี่ยงนํ้าทวม
ฉับพลนั

3-17
ตดั ไหลเ ขา

(ก)

คลองทา โหลน

(ข)
รูปท่ี 3.4-2 พน้ื ทีเ่ ส่ยี งภยั หมู 2 บานใต (ก) ตดั ไหลเ ขาเพื่อต้ังบานเรือน เสี่ยงดนิ ไหล (ข) ต้ังบา นเรอื นใกล

คลองทาโหลน เส่ียงนาํ้ ทวมฉับพลนั

ตัดไหลเขา

(ก)

บา นเรอื น คลองทา เลา

(ข)
รูปที่ 3.4-3 พน้ื ทเ่ี สยี่ งภยั หมู 3 บานทาเลา (ก) ตัดไหลเขาสรางบานเรือน เสย่ี งดนิ ไหล (ข) ตั้งบา นเรอื น

ใกลคลองทา เลา เส่ยี งนา้ํ ทวมฉบั พลนั

3-18 คลองวังหัด
บานเรือน
(ก)
บานเรอื น

คลองงา (ข)

คลองวังหีบ

(ค)
รปู ท่ี 3.4-4 พ้ืนท่เี สย่ี งภยั หมู 4 บา นลําหัด (ก) ตง้ั บา นเรอื นใกลคลองวังหัด เส่ียงน้าํ ทว มฉบั พลัน

(ข) ตั้งบา นเรือนใกลค ลองงา เสีย่ งนาํ้ ทว มฉับพลนั (ค) ตง้ั บา นเรอื นใกลค ลองวังหีบ เสี่ยงนํ้า
ทว มฉบั พลัน

ตดั ไหลเขา (ก)
รูปที่ 3.4-5 พื้นที่เสี่ยงภัย หมู 5 บา นคอกชาง (ก) ตัดไหลเ ขาต้งั บา นเรือน เสีย่ งดนิ ไหล

3-19

สะพานคลองลําหดั

(ข)

สะพานคลองวังหบี

(ค)
รปู ท่ี 3.4-5 (ตอ) (ข) ต้งั บานเรือนใกลสะพานคลองลําหดั เสย่ี งนา้ํ ทวมฉับพลัน (ค) ต้งั บานเรือนใกลสะพาน

คลองวังหีบ เสยี่ งน้าํ ทวมฉบั พลัน

เสย่ี งหินรวง

(ก)

คลองทา เลา

(ข)

รปู ท่ี 3.4-6 พ้นื ทีเ่ สี่ยงภยั หมู 6 บา นสําโรง (ก) นางถนอม ศรสี มหมาย ตงั้ บา นเรอื นใกลเ ขาหินปนู เสย่ี งหนิ รว ง
(ข) โรงเรียนชุมชนวดั สําโรง ตั้งอยตู ิดคลองทา เลา เสยี่ งน้าํ ปาไหลหลาก

3-20
ตดั ไหลเขา

(ก)

หว ยเสาะ

(ข)

บานเรือน คลองทา เลา

(ค)
รปู ท่ี 3.4-7 พื้นทีเ่ สี่ยงภยั หมู 7 บานประดู (ก) ตัดไหลเขาเพ่อื ต้งั บา นเรอื น เสี่ยงดินไหล (ข) ตั้งบา นเรือน

ใกลหว ยเสาะ เสยี่ งน้าํ ปาไหลหลาก (ค) ตั้งบานเรือนใกลค ลองทาเลา เสี่ยงนํ้าปาไหลหลาก

แนวเขา

(ก)

สะพานคลองทา โลน

(ข)
รปู ที่ 3.4-8 พื้นที่เส่ยี งภัย หมู 8 บา นไสเหนอื (ก) ต้ังบา นเรอื นใกลเขา เสยี่ งดนิ ถลม (ข) ต้งั บานเรอื นใกล

สะพานคลองทา โลน เสี่ยงน้ําทว มฉบั พลนั

3-21

หวยชอ งตริบ (ค)
รูปที่ 3.4-8 (ตอ ) (ค) ต้ังบา นเรอื นใกลห ว ยชองตรบิ เสยี่ งนํ้าทว มฉับพลัน (ก)

บานเรือน คลองทาเลา

คลองทาเลา

(ข)
รูปท่ี 3.4-9 พืน้ ทเี่ ส่ียงภัย หมู 9 บา นหนาเขา (ก) และ (ข) ตง้ั บา นเรือนใกลคลองทาเลา เส่ียงน้ําปา ไหลหลาก

3.4.1 แผนทเ่ี สย่ี งภัยดินถลม ระดับชุมชน

แผนท่ีแสดงพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดดินถลม (Landslide Hazard Map) จะกําหนดพ้ืนที่เกิด
ดินถลมบนภูเขาสูง โดยไมไดคํานึงถึงผลกระทบตอชุมชน แผนท่ีชนิดน้ีใชสําหรับการวางแผนบริหาร
จัดการภัยดินถลมในภาพรวม แตเพื่อใหการกําหนดแผนลดผลกระทบจากธรณีพิบัติภัยดินถลมมี
ประสิทธิภาพมากข้ึน จึงจําเปนตองจัดทําแผนท่ีเส่ียงภัยดินถลม (Landslide Risk Map) ท่ีแสดงหมูบาน
ประชาชนท่ีมีโอกาสไดรับผลกระทบจากดินถลมโดยตรง แผนที่เส่ียงภัยดินถลมระดับชุมชน มาตราสวน
1:10,000 มีองคประกอบหลักอยู 2 สวน คือ สวนที่หนึ่งแสดงรายละเอียดรองรอยดินถลมที่เกิดข้ึน
ขอบเขตตําบลพรอมสถานที่สําคัญ ขอบเขตพื้นที่เสี่ยงภัยดินถลมนํ้าปาไหลหลาก และน้ําทวมฉับพลัน
ตําแหนงหมูบานท่ีไดรับผลกระทบ ตําแหนงบานเสี่ยงภัย และสถานท่ีปลอดภัยสําหรับจัดต้ังศูนยอพยพ
ชัว่ คราว สว นทสี่ องแสดงตําแหนง บา นท่รี วมเปน อาสาสมัครเครือขา ยเฝา ระวังแจง เตือนภยั ดนิ ถลม

3-22

ตําแหนงจุดวัดปริมาณน้ําฝน และตําแหนงจุดเฝาระวังนํ้าปาไหลหลากและดินถลมบริเวณตนนํ้า
อาสาสมัครเครือขายเฝาระวังแจงเตือนภัยดินถลม หรือเครือขายกรมทรัพยากรธรณี คือ ผูนําชุมชนและ
ประชาชนที่อาสาเขามาทํางานดานการเฝาระวังและแจงเตือนภัยดินถลมและนํ้าปาไหลหลาก โดยการ
ตรวจวัดปริมาณน้ําฝน และสังเกตส่ิงบอกเหตุลวงหนากอนเกิดเหตุ รวมทั้งรวมจัดทําแผนเฝาระวังแจง
เตือนภัยของหมูบานตนเอง และประสานงานกับศนู ยปฏบิ ัติการธรณีพิบตั ิภยั ของกรมทรัพยากรธรณี และ
หนว ยงานท่เี กีย่ วขอ งใหทราบถงึ สถานการณ เพ่อื การประกาศเฝา ระวงั ภยั ตอไป

แผนที่เส่ียงภัยดินถลมระดับชุมชน จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหองคกรปกครอง
สวนทองถิ่นนําไปใชในการกําหนดแผนรับมือกับเหตุการณดินถลม นํ้าปาไหลหลาก และนํ้าทวมฉับพลัน
ในระดับตําบลและหมูบาน โดยในพื้นที่ตําบลนาหลวงเสน อําเภอทุงสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ใน
ปง บประมาณ 2557 กรมทรพั ยากรธรณไี ดดาํ เนนิ การจดั ทําแผนทีเ่ สย่ี งภยั ดินถลมระดับชมุ ชน มาตราสว น
1:10,000 ดังแสดงในรูปท่ี 3.4.1-1 ถึง รูปที่ 3.4.1-3 (โดยมีรายช่ือเครือขายเฝาระวังแจงเตือนภัยดินถลม
แสดงในภาคผนวก ก และแผนท่ีมาตราสวน 1:10,000 แสดงในภาคผนวก ข)

3.4.2 เครอื ขา ยเฝาระวังแจงเตอื นภยั ดนิ ถลม

จากการสํารวจพื้นท่ีเสี่ยงภัยดินถลม และการประสานงานกับผูใหญบานหรือผูนําใน
ชุมชน เพ่ือคัดเลือกตัวแทนเขารวมอบรมเปนเครือขายเฝาระวังแจงเตือนธรณีพิบัติภัย โดยกลุมบุคคล
เปาหมายประกอบดวย กาํ นนั ผูใหญบ า น ผูชว ยผใู หญบาน สมาชกิ อบต. สมาชกิ สภาเทศบาลตําบล และ
ประชาชนทอี่ ยูอาศยั ในพ้ืนทีเ่ สี่ยงภัยดินถลม ดาํ เนนิ การขอรายช่ือ ที่อยู และหมายเลขโทรศัพท พรอมกับ
ทาํ แผนที่กําหนดตาํ แหนงพิกดั บา นของผทู ี่จะเขา รว มอบรมเปน เครือขายทุกหลังคาเรือน จาํ นวน 63 คนใน
9 หมูบา น โดยมีรายละเอียด ดงั น้ี

หมู 1 บานสระแกว มจี าํ นวน 7 คน นายจาํ นง คงกลุ (ผูใ หญบา น) เปน ผูต รวจวดั ปรมิ าณ
น้าํ ฝน (พกิ ดั 575086 E/ 909376 N)

หมู 2 บา นใตเรียน มีจาํ นวน 7 คน โดยนายเชาวรัตน สมทรง (ผใู หญบา น) เปน ผูตรวจวดั
ปรมิ าณนํา้ ฝน (พิกดั 579682 E/ 906167 N)

หมู 3 บานทาเลา มีจํานวน 7 คน โดยนายชัยยศ จีบโยง (ผูใหญบาน) เปนผูตรวจวัด
ปริมาณนํา้ ฝน (พิกัด 576183 E/ 905915 N)

หมู 4 บา นลาํ หัด มจี าํ นวน 7 คน โดยนายประสิทธ์ิ ตรเี พชร (ผูใหญบ าน) เปน ผูตรวจวัด
ปรมิ าณน้าํ ฝน (พิกดั 574210 E/ 907304 N)

หมู 5 บานคอกชาง มีจํานวน 7 คน โดยนายประยูร รัตนพันธ (ผูใหญบาน) เปนผู
ตรวจวัดปรมิ าณน้าํ ฝน (พิกดั 575068 E/ 908380 N)

หมู 6 บานสําโรง มีจํานวน 7 คน โดยนายพิชิต เจริญสุขสมบูรณ (ผูใหญบาน) เปนผู
ตรวจวัดปริมาณน้าํ ฝน (พิกัด 575775 E/ 905903 N)

หมู 7 บานประดู มีจํานวน 7 คน โดยนายสุธีย มณีฉาย (ผูใหญบาน) เปนผูตรวจวัด
ปริมาณน้าํ ฝน (พิกดั 582415 E/ 901229 N)

หมู 8 บานไสเหนอื มจี ํานวน 7 คน โดยนายณัฐกณฑ สงั ขชุม (ผูใหญบ า น) เปนผูตรวจวดั
ปริมาณนํา้ ฝน (พิกดั 578741 E/ 907932 N)

หมู 9 บานหนาเขา มีจํานวน 7 คน โดยนายธีรยุทธ เกิดบัวทอง (ผูใหญบาน) เปนผู
ตรวจวดั ปรมิ าณนา้ํ ฝน (พิกัด 576779 E/ 908637 N)

3-23
แผนที่เสีย่ งภยั ดินถลมระดบั ชมุ ชน
ตาํ บลนาหลวงเสน อาํ เภอทุงสง จงั หวดั นครศรธี รรมราช

รูปที่ 3.4.1-1 แผนทเ่ี สี่ยงภยั ดนิ ถลมระดบั ชมุ ชน ตําบลนาหลวงเสน อําเภอทุงสง จังหวดั นครศรธี รรมราช

3-24
แผนทเี่ สยี่ งภยั ดินถลมระดับชุมชน
ตําบลนาหลวงเสน อาํ เภอทุง สง จังหวัดนครศรธี รรมราช

รปู ที่ 3.4.1-2 แผนทีเ่ สย่ี งภยั ดนิ ถลม ระดับชมุ ชน ตาํ บลนาหลวงเสน อาํ เภอทุงสง จงั หวัดนครศรีธรรมราช (สวนท่ี 1)

3-25
แผนทเ่ี สย่ี งภยั ดินถลมระดบั ชมุ ชน
ตําบลนาหลวงเสน อําเภอทุง สง จังหวัดนครศรธี รรมราช

รปู ที่ 3.4.1-3 แผนทีเ่ สย่ี งภยั ดนิ ถลม ระดับชุมชน ตาํ บลนาหลวงเสน อาํ เภอทงุ สง จังหวัดนครศรีธรรมราช (สวนท่ี 2)

3-26

3.4.3 จุดเฝา ระวงั และพ้นื ทปี่ ลอดภยั

จากการสํารวจพื้นท่ีเส่ียงภัยดินถลมตําบลนาหลวงเสน ไดกําหนดจุดเฝาระวังตนน้ําเพื่อ
ใชสังเกตการณการเปล่ียนแปลงของระดับน้ํา สีของนํ้า เมื่อเกิดฝนตกหนักและตกติดตอกันเปนเวลานาน
หลายวนั เพอ่ื แจง เตอื นภยั ดนิ ถลม นํา้ ปา ไหลหลาก และไดส ํารวจหาพ้นื ทปี่ ลอดภัยสาํ หรับอพยพชั่วคราว

ไดกาํ หนดจดุ เฝา ระวงั ตนนํ้าไว 5 แหง ประกอบดวย จุดเฝาระวงั ตนนํ้าคลองทาโลน บา น
นายสิทธิพล โชโต หมู 2 บา นใต พกิ ัด 579152 E/ 906374 N จุดเฝา ระวงั ตนน้าํ คลองวังหีบ บานนายสม
เกียรติ์ เมืองไทย หมู 5 บานคอกชาง พิกัด 574883 E/ 910244 N จุดเฝาระวังตนน้ําคลองลําหัด บาน
นางพรเพ็ญ ศรปี ระจนั ต หมู 5 บานคอกชา ง พกิ ัด 575340 E/ 909473 N จดุ เฝาระวังตนน้ําคลองทาเลา
(คลองประด)ู บา นนายรังษี ชนะชน หมู 7 บา นประดู พกิ ัด 577942 E/ 910065 N และจดุ เฝา ระวังตนน้ํา
คลองทา โลน (คลองทาโหลน) บา นนายพรภิรมย พกิ ุลงาม หมู 8 บานไสเหนือ พิกดั 579539 E/ 908941
N แสดงดงั รปู ท่ี 3.4.3-1

กอนเกิดเหตุการณน้ําปาไหลหลากหรือดินถลม เม่ือมีการแจงเตือนปริมาณน้ําฝน
มากกวา 150 มิลลิเมตร/24 ช่ัวโมง บานเรือนเส่ียงภัย ดินถลม นํ้าปาไหลหลาก ดินไหล หรือน้ําทวม
ฉับพลัน ควรอพยพไปยังสถานท่ีปลอดภัยซึ่งมีความสูงมากกวาตล่ิงลําน้ํา ประมาณ 5 เมตร จากการ
สาํ รวจไดก าํ หนดพ้ืนท่ปี ลอดภัยสําหรบั อพยพชว่ั คราว ของแตล ะหมบู าน ดงั น้ี

หมู 1 บานสระแกว บริเวณบานนายจํานง คงกุล พิกัด 575086 E/ 909376 N (รูปที่ 3.4.3-
2 (ก))

หมู 2 บานใต บริเวณโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบานใต พิกัด 578400 E/
905437 N (รูปที่ 3.4.3-2 (ข))

หมู 3 บานทาเลา บริเวณศาลาหมูบาน หมู 3 บานทาเลา พิกัด 576646 E/ 906085 N
(รูปท่ี 3.4.3-3 (ก))

หมู 4 บานลาํ หดั บรเิ วณโรงเรยี นทุง คอกชา ง พกิ ัด 575204 E/ 907670 N (รูปที่ 3.4.3-
3 (ข))

หมู 5 บานคอกชาง บริเวณโรงเรียนทุงคอกชาง พิกดั 575204 E/ 907670 N (รูปท่ี 3.4.3-4
(ก))

หมู 6 บานสําโรง บริเวณที่ทําการ อบต.นาหลวงเสน พิกัด 574910 E/ 905375 N (รูป
ที่ 3.4.3-4 (ข))

หมู 7 บา นประดู บรเิ วณโรงเรียนวัดศิลาราราย พิกดั 577916 E/ 907347 N (รปู ท่ี 3.4.3-5
(ก))

หมู 8 บานไสเหนือ บริเวณที่ทําการผูใหญบาน หมู 8 บานไสเหนือ พิกัด 578741 E/
907932 N (รปู ที่ 3.4.3-5 (ข))

หมู 9 บานหนาเขา บริเวณบานนายธีรยุทธ เกิดบัวทอง พิกัด 576779 E/ 908637 N
(รปู ท่ี 3.4.3-6)

3-27

(ก) (ข)

(ค) (ง)

(จ)
รูปที่ 3.4.3-1 (ก) จุดเฝา ระวงั ตนนาํ้ คลองทา โลน บา นนายสิทธพิ ล โชโต หมู 2 บานใต

พิกดั 579152 E/ 906374 N
(ข) จุดเฝา ระวังตนนา้ํ คลองวังหีบ บานนายสมเกียรติ์ เมอื งไทย หมู 5 บา นคอกชา ง
พกิ ัด 574883 E/ 910244 N
(ค) จุดเฝา ระวังตน น้ําคลองลําหัด บานนางพรเพ็ญ ศรีประจนั ต หมู 5 บา นคอกชาง
พิกดั 575340 E/ 909473 N
(ง) จดุ เฝาระวงั ตนนํา้ คลองทา เลา (คลองประดู) บา นนายรงั ษี ชนะชน หมู 7 บา นประดู
พกิ ดั 577942 E/ 910065 N
(จ) จดุ เฝาระวงั ตนนาํ้ คลองทา โลน (คลองทา โหลน) บา นนายพรภริ มย พกิ ุลงาม หมู 8
บานไสเหนอื พิกดั 579539 E/ 908941 N

3-28

(ก) (ข)
รูปที่ 3.4.3-2 พ้ืนที่ปลอดภัยสําหรับอพยพช่ัวคราว (ก) หมู 1 บานสระแกว บริเวณบานนายจํานง คงกุล

พิกัด 575086 E/ 909376 N (ข) หมู 2 บานใต บริเวณโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ
ตําบลบานใต พกิ ดั 578400 E/ 905437 N

(ก) (ข)
รูปที่ 3.4.3-3 พ้ืนท่ีปลอดภัยสําหรับอพยพช่ัวคราว (ก) หมู 3 บานทาเลา บริเวณศาลาหมูบาน หมู 3

บา นทาเลา พิกัด 576646 E/ 906085 N (ข) หมู 4 บานลําหดั บรเิ วณโรงเรียนทุงคอกชาง
หมู 5 พกิ ดั 575204 E/ 907670 N

(ก) (ข)
รูปที่ 3.4.3-4 พื้นที่ปลอดภัยสําหรับอพยพช่ัวคราว (ก) หมู 5 บานคอกชาง บริเวณโรงเรียนทุงคอกชาง

พกิ ดั 575204 E/ 907670 N (ข) หมู 6 บา นสําโรง บรเิ วณที่ทาํ การ อบต.นาหลวงเสน
พิกัด 574910 E/ 905375 N

3-29

(ก) (ข)
รปู ท่ี 3.4.3-5 พน้ื ที่ปลอดภัยสาํ หรับอพยพชัว่ คราว (ก) หมู 7 บา นประดู บรเิ วณโรงเรียนวัดศิลาราราย

พกิ ัด 577916 E/ 907347 N (ข) หมู 8 บา นไสเหนือ บรเิ วณที่ทาํ การผูใหญบ าน หมู 8
บา นไสเหนอื พกิ ัด 578741 E/ 907932 N

รปู ที่ 3.4.3-6 พ้ืนท่ีปลอดภัยสาํ หรับอพยพช่ัวคราว หมู 9 บานหนา เขา
บรเิ วณบา นนายธีรยุทธ เกดิ บวั ทอง พกิ ัด 576779 E/ 908637 N

บทที่ 4
สรุปและขอ เสนอแนะ

บทที่ 4
สรปุ และขอ เสนอแนะ

4.1 สรปุ

ตําบลนาหลวงเสน อําเภอทุงสง จังหวัดนครศรีธรรมราช สภาพพื้นท่ีโดยทั่วไปสวนใหญ
เปนท่ีราบเชิงเขา ทางตอนเหนือของตําบลเปนเทือกเขาสูงสลับซับซอนตลอดแนว ไดแก เขาเหมน เขาธง
เขาพระเขาโยง ฯลฯเปนแหลงนํ้าที่สาํ คัญของลุมนํ้าตาป และลุมนํ้าปากพนัง ลักษณะรูปรางของตําบล
นาหลวงเสนมีรูปรางคลายรูปวงรี มีการวางตัวในแนวตะวันตกเฉียงใต – ตะวันออกเฉียงเหนือ มีทางน้ํา
สายสาํ คัญ ไดแ ก คลองวังหีบ คลองวังหิน คลองทาเลา (คลองประดู) คลองลําหดั คลองทา โลน และคลอง
ทาโจน (ทาโหลน) ลักษณะธรณีวิทยาท่ัวไปของตําบลนาหลวงเสน ประกอบดวย หินไบโอไทตแกรนิต
หินมัสโคไวต ไบโอไทตแกรนิต (TRgr1) หินทราย และหินควอรตไซต (ϵ) หินดินดานและหินทรายแปง
แทรกสลับดวยหินปูนเปนเลนส (Olt) ตะกอนเศษหินเชิงเขาและตะกอนผุพังอยูกับท่ี (Qc) และตะกอนนํ้าพา
(Qa) ซึ่งจากการสํารวจพื้นที่เสี่ยงภัยดินถลม น้ําปาไหลหลาก และน้ําทวมฉับพลัน ในพื้นท่ีตําบลนา
หลวงเสน ทั้งหมด 9 หมูบาน พบวา มีพื้นที่เสี่ยงภัยไดรับผลกระทบจากดินถลม และน้ําทวมฉับพลัน 2
หมบู าน ไดแ ก หมู 1 บานสระแกว และหมู 8 บา นไสเหนอื มพี น้ื ที่เสยี่ งภัยไดรบั ผลกระทบจากดินไหลและ
นาํ้ ปาไหลหลาก 1 หมูบาน ไดแก หมู 7 บานประดู มีพื้นที่เสี่ยงภัยไดรับผลกระทบจากดินไหล และ
นํา้ ทวมฉบั พลัน 3 หมบู าน ไดแก หมู 2 บานใต หมู 3 บานทาเลา และหมู 5 บานคอกชาง มีพนื้ ท่ีเสย่ี งภัย
ไดรับผลกระทบจากหินรวง และนํ้าทวมฉับพลัน 1 หมูบาน ไดแก หมู 6 บานสําโรง และมีพื้นท่ีเส่ียงภัย
ไดรบั ผลกระทบจากน้ําทว มฉบั พลัน 2 หมูบา น ไดแก หมู 4 บา นลําหดั และหมู 9 บานหนา เขา

จากการสํารวจพื้นท่ีเสี่ยงภัยดินถลม และการประสานงานกับผูใหญบานหรือผูนําในชุมชน
เพื่อคัดเลือกตัวแทนเขารวมอบรมเปนเครือขายเฝาระวังแจงเตือนธรณีพิบัติภัย โดยกลุมบุคคลเปาหมาย
ประกอบดวย กํานัน ผูใหญบาน ผูชวยผูใหญบาน สมาชิก อบต. สมาชิกสภาเทศบาลตําบล และประชาชนท่ี
อยูอาศัยในพื้นที่เส่ียงภัยดินถลม ดําเนินการขอรายชื่อ ที่อยู และหมายเลขโทรศัพท พรอมกับทําแผนท่ี
กาํ หนดตําแหนง พิกดั บานของผูท่ีจะเขารวมอบรมเปนเครือขายทุกหลังคาเรอื น จาํ นวน 64 คน ใน 9 หมูบาน
มเี ครือขายวัดปริมาณนาํ้ ฝน 9 คน โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี

หมู 1 บานสระแกว มีจํานวน 7 คน โดยนายจํานง คงกุล (ผูใหญบาน) เปนผูตรวจวัด
ปริมาณน้าํ ฝน

หมู 2 บานใตเรียน มีจํานวน 7 คน โดยนายเชาวรัตน สมทรง (ผูใหญบาน) เปนผูตรวจวัด
ปริมาณนาํ้ ฝน และนายสิทธิพล โชโต เปนผูเ ฝาระวังตน นํา้

หมู 3 บานทาเลา มีจํานวน 7 คน โดยนายชัยยศ จีบโยง (ผูใหญบาน) เปนผูตรวจวัด
ปริมาณน้าํ ฝน

หมู 4 บานลําหัด มีจํานวน 7 คนโดยนายประสิทธิ์ ตรีเพชร (ผูใหญบาน) เปนผูตรวจวัด
ปริมาณนา้ํ ฝน

หมู 5 บานคอกชาง มีจํานวน 7 คน โดยนายประยูร รัตนพันธ (ผูใหญบาน) เปนผูตรวจวัด
ปรมิ าณนํ้าฝน และนายสมเกียรติ์ เมืองไทย และนางพรเพ็ญ ศรีประจนั ต เปนผูเฝาระวงั ตนน้ํา

4-2

หมู 6 บานสําโรง มีจํานวน 7 คน โดยนายพิชิตเจริญ สุขสมบูรณ (ผูใหญบาน) เปนผู
ตรวจวัดปริมาณน้าํ ฝน

หมู 7 บานประดู มีจาํ นวน 7 คน โดยนายสธุ ีย มณีฉาย (ผูใหญบาน) เปนผูตรวจวดั ปริมาณ
นํ้าฝน และนายรังษี ชนะชน เปนผูเ ฝาระวังตนน้าํ

หมู 8 บานไสเหนือ มีจํานวน 8 คน โดยนายณัฐกณฑ สังขชุม (ผูใหญบาน) เปนผูตรวจวัด
ปรมิ าณนาํ้ ฝน และนายพรภิรมย พิกลุ งาม เปน ผเู ฝา ระวังตน น้ํา

หมู 9 บา นหนาเขา มีจํานวน 7 คน โดยนายธีรยทุ ธ เกิดบวั ทอง (ผูใหญบาน) เปน ผตู รวจวัด
ปรมิ าณนํ้าฝน

การลดผลกระทบจากธรณีพิบัติภัย ตองมีการศึกษาเปนระบบอยางรอบคอบกอนการ
ดําเนินการใดๆ ในพ้ืนท่ีเสี่ยงภัย ส่ิงสําคัญตองมีความรูความเขาใจในกระบวนการและปจจัยการเกิดดินถลม
ทั้งนี้ชุมชนควรมีความสามัคคีกัน ในการจะดําเนินการใดๆ หรือไมดําเนินการใดๆ ที่จะสงผลกระทบตอ
ชุมชนและตองมีเหตุผลประกอบในการช้ีแจงตอประชาคม โดยใหเกิดประโยชนสูงสุดตอสวนรวมเปน
ลําดบั แรก การเกิดธรณีพิบตั ิภัยจะมีผลกระทบตอชุมชนโดยตรงมใิ ชก ระทบตอบุคคลผูกระทําการใดๆ อัน
เปนตัวเรงใหเ กิดธรณีพบิ ัตภิ ัยเทาน้นั

4.2 ขอเสนอแนะสําหรบั การเตรยี มความพรอมเพือ่ รับมือธรณพี ิบตั ิภยั ดินถลม
4.2.1 องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลนาหลวงเสน อาํ เภอทงุ สง จังหวดั นครศรธี รรมราช

1. จัดสรรงบประมาณในการอบรมใหความรคู วามเขาใจเก่ียวกับดินถลมแกประชาชนใน
พื้นท่เี ส่ียงภัย โดยกรมทรัพยากรธรณี ใหก ารสนับสนุนวทิ ยากรอยางตอ เน่อื ง

2. อนุรักษและพัฒนาพื้นท่ีปลอดภัยที่กําหนดไวเปนศูนยอพยพช่ัวคราว ใหสามารถ
รองรับประชาชนทีอ่ พยพหลบภัยไดเปนเวลาอยา งนอย 3 วัน

3. กําหนดแผนการเฝาระวังปองกันภัยและลดผลกระทบจากดินถลมรวมกับภาค
ประชาชน โดยใชแผนทพี่ ื้นที่เสีย่ งภยั ดินถลมระดบั ชุมชน มาตราสวน 1: 10,000 เปน เคร่ืองมือหลักในการ
วางแผน

- แผนการสํารวจพื้นที่ตนน้ํา ลําหวยท่ีอาจมีโอกาสเกิดดินถลม เชน พ้ืนที่เปนภูเขา
หัวโลน บริเวณท่ีมีชั้นดินหนาวางตัวอยูตามลาดเขาที่มีความลาดเอียงสูงหรือเปนหนาผาดิน หรอื บรเิ วณท่ี
ช้ันหินรองรับเปนหินแกรนิต หรือหินดินดาน พื้นที่ตัดถนนผานไหลเขาโดยเฉพาะบริเวณที่มีช้ันดินหนา
และบริเวณถนนผานลําหวยโดยเฉพาะที่ใชทอกลม รวมทั้งพื้นที่ที่มีรองรอยดินถลมที่มีดินคางคาอยู
หรือมีช้ันดินหนา (ขอขอ มูล คําแนะนาํ หรอื ความชว ยเหลือจากกรมทรพั ยากรธรณี)

- แผนการแจงเตือนน้ําปาไหลหลาก น้ําทวมฉับพลัน และดินถลม ตามคําแนะนําหรอื ขอ
ความรวมมือจากกรมทรัพยากรธรณี

• ผูนําชุมชนรวบรวมอาสาสมัครทํางานเปนเครือขายเฝาระวังแจงเตือนธรณี
พิบัตภิ ยั

• สาํ รวจหาท่ีต้ังที่เหมาะสมบริเวณตนนํา้ เพ่ือใชเปนจุดสังเกตการณซึ่งอาจมี
มากกวา 1 จุด

• การจัดเวรยาม อาสาสมัครเฝาระวัง ณ จุดสังเกตการณ พรอมทั้งติดตาม
ขาวสารการพยากรณอ ากาศจากกรมอุตนุ ยิ มวิทยา ชวงท่ีมีพายฝุ นหรือฝนตกหนักตดิ ตอ กนั

4-3
• การจัดระบบการแจงขาวสาร เชน โทรศัพท วิทยุส่ือสาร ท้ังในชุมชนและ
พ้นื ท่ใี กลเคียง
- แผนอพยพประชาชนเมื่อเกิดน้ําปาไหลหลากหรือดินถลม โดยขอคําแนะนําหรือ
วางแผนรว มกับเจาหนา ทีฝ่ า ยปกครอง หรอื กรมปอ งกันและบรรเทาสาธารณภัย
- แผนการชวยเหลือผูประสบภัย โดยวางแผนรวมกับเจาหนาที่ฝายปกครอง หรือฝาย
ปอ งกันและบรรเทาสาธารณภยั
- แผนการฟนฟูพ้ืนที่ภายหลังประสบภัย โดยการวางแผนรว มกับเจาหนาที่ฝายปกครอง
หรอื หนวยงานปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย
- แผนการบูรณาการท่ีกําหนดข้ึนจะมีประสิทธิภาพสูงสุด ตอเมื่อมีการซักซอมแผน โดย
มีหนว ยงานที่เกี่ยวของและประชาชนเขารวมดาํ เนนิ การซักซอมเปนประจํา
4. การกอ สรา งโครงสรา งพ้นื ฐานในชมุ ชน
- การสรางฝายในพ้ืนท่ีเสี่ยงภัยดินถลมควรศึกษาผลกระทบใหรอบดาน โดยเฉพาะทาง
ระบายน้าํ ลน เปนพืน้ ทเ่ี สยี่ งไมควรใหมีบา นเรือนอยูอ าศยั ถาวร (รปู ท่ี 4.2.1-1 ถงึ รปู ท่ี4.2.1-2)
- การสรางสะพานขามลํานํ้าใหญ ไมควรใหมีเสามากเกินไป และตองสูงเพียงพอที่จะไม
เปนสงิ่ กดี ขวางทางนํ้า (รูปที่ 4.2.1-3) ในกรณีทล่ี ําน้ําไมกวางเกนิ ไป ควรสรางถนนแบบลดระดับ (ถนนน้าํ ลน)
(รูปที่ 4.2.1-4)
- ปรับปรุงระบบนิเวศนของลํานํ้าโดยการปลูกตนไมน้ําเพ่ือลดความรุนแรง ของ
กระแสน้ํา เชน ตนไครน้ํา ตนกุมน้ํา บริเวณลําน้ําไมควรทําลายตนไม ซึ่งระบบนิเวศนของลําน้ําที่ดีควรมี
ตนไม 3 ระดับ คือ ในน้ําควรมีตนไมนํ้าลดความรุนแรงของกระแสน้ํา ริมตล่ิงควรมีตนไมที่ชอบน้ําเพื่อ
ปอ งกนั การกดั เซาะตลง่ิ บนตลิง่ ควรมตี นไมท ม่ี รี ากแกวลึก และมรี ากทีส่ ามารถยดึ ชัน้ ดนิ ไดด ี

รปู ท่ี 4.2.1-1 ฝายนา้ํ ลนกดี ขวางทางนา้ํ ทําใหกัดเซาะตลง่ิ และบา นเรือนเสียหาย

4-4
รูปท่ี 4.2.1-2 ฝายคลองทา ทนที่สรา งกีดขวางทางนาํ้ ทาํ ใหย กระดบั น้ําทวมเปนบรเิ วณกวาง
รูปท่ี 4.2.1-3 สะพานขา มลาํ นา้ํ ซงึ่ มเี สาสะพานจํานวนมาก กลายเปน เขือ่ นขนาดยอมกดี ขวาง

การไหลของเศษซากไมแ ละตะกอนดิน เมอื่ ไมสามารถตานทานไหวจึงพังทลาย

4-5

รปู ที่ 4.2.1-4 ถนนแบบลดระดบั (ถนนนาํ้ ลน ) ซ่ึงเหมาะสมกบั พื้นทท่ี างนา้ํ ขนาดเล็ก

4.2.2 สําหรบั ภาคประชาชน

1. เฝาสงั เกตสง่ิ บอกเหตุกอนเกิดดนิ ถลม
- ฝนตกหนักถงึ หนักมากตลอดท้งั วนั
- ระดบั นาํ้ ในลําหว ยสงู ข้ึนอยา งรวดเร็วสขี องน้ําเปลย่ี นเปนสีดินของภูเขา
- มีเสียงดังอู อ้ืออึงมากผิดปกติบนภูเขาและในลําหวย เน่ืองจากเกิดการถลมบนภูเขา
และไดพดั พาเอาหนา ดิน หนิ และตนไมมากบั นํ้า
2. รว มเปนเครอื ขายเฝา ระวงั แจง เตือนภัยดินถลม ของชมุ ชน
3. กรณีมีบานเรือนอยูบริเวณเชิงเขา ควรปลูกตนไมยืนตนที่มีรากแกวลึก และมีรากยึด
ชั้นดินไดดี เชน ตนมะขาม หรือตนคอแลน (ลิ้นจ่ีปา) เพราะเมื่อเกิดเหตุดินถลมตนไมเหลาน้ี ยังคงสภาพ
สามารถใชเปนที่หลบภยั ชัว่ คราวในยามฉุกเฉินได
4. การปลูกยางพารา ไมควรใชตนกลายางชําถุง (กลาตาเขยี ว) บนลาดเชิงเขา เพราะทํา
ใหมีโอกาสเกิดดินถลมไดมากข้ึน เนื่องจากไมมีรากแกวชวยยึดชั้นดิน ควรปลูกดวยเมล็ดแลวจึงติดตาดวย
พันธุยาง และระหวางแถวควรปลูกตนไมชนดิ อ่ืนเพือ่ ชวยในการยดึ ชั้นดิน เชน มะขาม สะตอ เหรียง ตนเนียง
และไมถ่ินชนิดอื่นๆ หรือไมควรทําใหสวนยางพาราโลงเตียน และไมควรปลูกในบริเวณรองนํ้า หรือชิดริม
ตลง่ิ จะทําใหตนยางพาราโคน ลมงา ย บริเวณริมตลิ่งควรเปน ไมดง้ั เดิม หรอื ปลกู ไมท่ีมีรากแกวยดึ ช้ันดินไดดี
เชน มะขาม คอแลน (ลิน้ จป่ี า)
5. ควรลดการดูดทราย ไมควรขุดลอกลําน้ําลึกเกินไป ถาเปนไปไดไมควรขุดลอกรองนํ้า
จะทาํ ใหร ะบบนิเวศปา ริมลาํ น้ําหายไป สงผลทําใหต ล่ิงพงั และเกิดน้ําทว มฉบั พลันไดงา ย
นอกจากนี้ไมควรทาํ ลายตนไมริมนํ้าท่ีสามารถทนน้ําทวมได เชน ตนโศก (บริเวณหวย
ที่เปนกอนหนิ ) ตนสาย ตน สรา น ตนไครน้าํ ตน มะเดอื่ ตน หวา และไมถ่ินอืน่ ๆ

ภาคผนวก

ภาคผนวก
รายชอื่ เครือขา ยเฝาระวังแจงเตอื นภัยดินถลม

ตาํ บลนาหลวงเสน อําเภอทงุ สง
จังหวดั นครศรีธรรมราช

รายชอ่ื เครอื ขา ยเฝา ระวงั แจงเตือนภัยดินถลม ตําบลนาหลวงเสน อาํ เภอทงุ สง จังหวัดนครศรีธรรมราช

หมู 1 บา นสระแกว ตําบลนาหลวงเสน อําเภอทงุ สง จังหวัดนครศรีธรรมราช

ลําดับที่ ชอ่ื -สกลุ ตาํ แหนง บานเลขท่ี โทรศัพท โทรศพั ท หนาท่ี E N
1 นาย - 084-8420468 วัดปรมิ าณนํา้ ฝน 575086 909376
2 นาย จาํ นง คงกลุ กํานนั 284 - 089-2897554 573697 908918
3 นาง - 081-0825651 574538 907499
4 นาง นอบ สวัสดพิ นั ธ กรรมการหมูบาน 140 - 084-7452453 575046 908184
5 นาย - 089-0057416 575095 909339
6 นาย จีระวรรณ กองเกียรต์ิพงษ ผูชว ยผใู หญบาน 21 - 087-8896966 575087 908797
7 นาย - 575596 912508
พรทพิ ย สลบั ศรี ผชู ว ยผใู หญบา น 182 -
สมาชกิ สภาองคก ารบริหารสว นตาํ บล 122 E N
จํานง ทองทพิ ย สมาชิกสภาองคการบรหิ ารสวนตําบล 234 579682 906167
578855 905600
ราเชน รัตนพันธ อาสาสมคั ร 244 578040 905264
579682 906167
ณภดล สมทรง 579152 906374
578249 905353
หมู 2 บานใต ตาํ บลนาหลวงเสน อาํ เภอทงุ สง จังหวัดนครศรธี รรมราช 578933 905773

ลําดับท่ี ชอื่ -สกลุ ตําแหนง บา นเลขท่ี โทรศพั ท โทรศพั ท หนา ท่ี E N
1 นาย เชาวรัตน สมทรง ผใู หญบ า น 80 - 087-8879455 วัดปริมาณนํ้าฝน 576183 905915
ผชู วยผใู หญบา น 58 - 086-2762450 เฝา ระวงั ตน น้าํ 576460 907221
2 นาย วิราศ แตม เพชร ผชู ว ยผูใหญบ า น 115 - 091-2041517 578266 907216
ผูชว ยผูใ หญบาน 70/1 - 061-0346980 576443 905171
3 นาย มนตชยั เก้อื ศกั ดิ์ 30 - 016-3571724 576518 907162
สอบต. 220 - 080-8873199 577811 906544
4 นาย นพิ นธ ชูแกว สอบต. 152 - 085-7956114 577594 906618
กรรมการ
5 นาย สิทธิพร โชโต E N
574210 907304
6 นาย วิรชั ชวยบํารงุ 574094 907162
572115 911332
7 นาย สําราญ จันทรเสน 573169 907054
574195 907202
หมู 3 บานทาเลา ตาํ บลนาหลวงเสน อาํ เภอทุงสง จงั หวัดนครศรธี รรมราช 574172 907342
574242 907022
ลําดบั ท่ี ชื่อ-สกลุ ตาํ แหนง บา นเลขที่ โทรศพั ท โทรศพั ท หนาที่
1 นาย ชัยยศ จบี โยง ผใู หญบ าน 40 - 081-2748445 วัดปริมาณนํา้ ฝน E N
ผูชว ยผใู หญบาน 111 - 083-1806822 575068 908380
2 นาย นพิ นธ ทองแท ผชู ว ยผใู หญบ า น 107 - 093-7598497 577014 909325
ผูช วยผูใหญบาน 22/2 - 096-2935698 575340 909473
3 นาย สมคดิ ปานออ น 76 - 089-9705454 574883 910244
สอบต. 154 - 081-0886042 575253 909234
4 นาย ประสทิ ธิ์ ไทยนวิ ฒั นว ิไล แพทยประจาํ ตาํ บล 75/1 - 082-2778303 575556 907735
575218 907577
5 นาย สนธยา ชูประพนั ธ กรรมการ

6 นาย วชิ ัย มณฉี าย

7 นาย สน่ัน มณฉี าย

หมู 4 บานลาํ หดั ตาํ บลนาหลวงเสน อําเภอทุงสง จังหวัดนครศรีธรรมราช

ลาํ ดบั ท่ี ชอ่ื -สกลุ ตําแหนง บา นเลขที่ โทรศัพท โทรศพั ท หนา ที่
วดั ปริมาณน้ําฝน
1 นาย ประสิทธิ์ ตรเี พชร ผูใ หญบ าน 43 - 084-8503846
- 084-5247341
2 นาย วินยั พรหมนนตรี ผชู ว ยผูใหญบ าน 40 - 087-8873546
- 093-6236276
3 นาย จาํ นง ปราบไกลศรี ผูช ว ยผูใ หญบาน 116 - 098-7132748
- 075-755163
4 นาง จิรมาพร ดีทองออ น ผูชว ยผูใหญบา น 14 - 082-8247753
สมาชกิ สภาองคก ารบริหารสวนตําบล 37
5 นาย สมพร ศริ ิรกั ษ
กรรมการหมบู าน 105
6 นาย นกุ ลู มะกงแกว
กรรมการหมบู า น 33
7 นาย ณรงค เกตุรตั น

หมู 5 บานคอกชาง ตําบลนาหลวงเสน อาํ เภอทงุ สง จงั หวัดนครศรีธรรมราช

ลาํ ดับที่ ช่อื -สกุล ตาํ แหนง บา นเลขที่ โทรศพั ท โทรศัพท หนา ท่ี
1 นาย ประยรู รัตนพนั ธ ผูใ หญบ าน 111 - 086-2696327 วัดปริมาณนาํ้ ฝน
- 086-1336169
2 นาย พงษเ ทพ มีแกว ผูชวยผูใหญบ า น 328 - 061-2400064 เฝา ระวงั ตนนา้ํ
- 085-6415670 เฝาระวงั ตนนํา้
3 นาง พรเพ็ญ ศรปี ระจันต กรรมการหมบู า น 112/1 - 083-3883568
- 089-5941224
4 นาย สมเกยี รติ์ เมืองไทย ผูชวยผใู หญบ า น 297 - 087-2677676

5 นาง สมพร บญุ สง กรรมการหมบู า น 45
สมาชกิ สภาองคการบริหารสวนตาํ บล 20/2
6 นาย สนอง สขุ อนนั ต สมาชิกสภาองคการบรหิ ารสว นตําบล 241

7 นาย สุรสิทธิ์ จัตสบาย

รายช่ือเครอื ขา ยเฝาระวังแจง เตือนภยั ดนิ ถลม ตําบลนาหลวงเสน อําเภอทงุ สง จังหวดั นครศรีธรรมราช

หมู 6 บานสาํ โรง ตาํ บลนาหลวงเสน อําเภอทุงสง จังหวดั นครศรธี รรมราช

ลําดบั ท่ี ช่อื -สกุล ตาํ แหนง บา นเลขที่ โทรศัพท โทรศพั ท หนาที่ E N
ผูใหญบ า น 28 - 086-2780119 วัดปริมาณนาํ้ ฝน 575775 905903
1 นาย พชิ ติ เจริญสขุ สมบรู ณ 575473 905913
ผูชวยผูใหญบาน 74/2 - 087-2791335 575322 906585
2 นาย นรนิ ทร ผาสกุ ผชู วยผูใหญบาน 66/1 - 081-0838131 574850 905817
ผชู วยผูใหญบ าน 157 - 083-5514893 575520 906406
3 นาย สมบัติ สวสั ดพิ ันธ 57 - 086-2797741 575313 906521
สอบต. 58 - 088-3861237 575220 905006
4 นาง สายพณิ มณีฉาย สอบต. 23/1 - 089-2950002
กรรมการ E N
5 นาย ไพโรจน ทองแท 582415 901229
577942 910066
6 นาย เปลย สวสั ดพิ ันธ 578307 908206
577958 908195
7 นาย บุญปลูก สวัสดพิ ันธ 582415 901229
579308 908609
หมู 7 บานประดู ตําบลนาหลวงเสน อาํ เภอทุง สง จังหวัดนครศรธี รรมราช 579593 908955

ลาํ ดับท่ี ชื่อ-สกุล มณฉี าย ตาํ แหนง บา นเลขที่ โทรศพั ท โทรศัพท หนาท่ี E N
1 นาย นายสุธยี  ผใู หญบา น 39 - 089-5933008 วัดปริมาณน้าํ ฝน 578741 907932
2 นาย รังสี ขนะชน ผชู ว ยผูใหญบา น 114 - 093-7279547 เฝาระวงั ตนนา้ํ 579729 907892
ผูชวยผูใหญบ าน 113 - 081-0139214 579427 908367
3 นาย ชวลติ จิตรสบาย ผชู ว ยผูใหญบา น 25 - 087-2775794 579707 907748
39 - 089-5882083 579234 906793
4 นาย กล่นั หวังประโยชน สอบต. 67 - 080-8817547 579693 907115
สอบต. 176 - 082-8038860 579230 9083227
5 นาย บญุ ศกั ดิ์ มณฉี าย กรรมการ 579539 908941

6 นาย ประคอง ชนดู หอม E N
576779 908637
7 นาย สมภพ ทพิ ยแ กว 576624 908753
576246 908049
หมู 8 บานไสเหนือ ตาํ บลนาหลวงเสน อําเภอทงุ สง จงั หวัดนครศรธี รรมราช 576740 908688
576143 908074
ลาํ ดับท่ี ชื่อ-สกุล ตําแหนง บานเลขท่ี โทรศัพท โทรศพั ท หนา ที่ 576139 908135
ผูใหญบา น 140 - 083-3931191 วดั ปริมาณนา้ํ ฝน 576301 907973
1 นาย ณฐั กณฑ สงั ขช มุ เฝา ระวงั ตน น้ํา
ผูชว ยผใู หญบา น 139 - 081-8054367
2 นาย จริ พงษ ไชยทอง ผูชว ยผใู หญบาน 210 - 087-8887441
ผูช ว ยผูใหญบ าน 174 - 087-2763969
3 นาย บรรเจิด แกวมณี 104/1 - 081-0850602
สอบต. 113/1 - 086-2761734
4 นาย พิสทิ ธ์ิ สวสั ดิพันธ สอบต. 144/2 - 086-0473633
กรรมการ 117 -
5 นาย ญานี พกิ ลุ งาม อาสาสมคั ร -

6 นาย เริอ้ ย หอยแกว

7 นาย ไมตรี พิกลุ งาม

8 นาย พรภิรมย พิกุลงาม

หมู 9 บา นหนา เขา ตําบลนาหลวงเสน อําเภอทงุ สง จงั หวัดนครศรีธรรมราช

ลาํ ดบั ที่ ชื่อ-สกลุ ตําแหนง บา นเลขที่ โทรศพั ท โทรศพั ท หนาท่ี
1 นาย ธรี ยุทธ เกดิ บวั ทอง - 093-2685221 วัดปรมิ าณนาํ้ ฝน
2 นาย ชยั ยศ เกื้อภักดิ์ ผใู หญบ า น 164 - 093-7949246
ผูชวยผูใหญบา น 160/2 - 087-2658627
- 085-6901851
3 นาง โสภา สกณุ า ผชู วยผใู หญบา น 137/1 - 080-6924840
สมาชกิ สภาองคการบรหิ ารสวนตาํ บล 164/2 - 087-8822714
4 นาย คาํ นึง สุชาตพิ งษ สมาชิกสภาองคก ารบริหารสวนตําบล 295 - 081-0794447
5 นาย จํานง
6 นาย จาํ เรียง ศรปี ระจนั ต กรรมการหมบู าน 287

7 นาย ประยรู เพชรศรีหมน่ื กรรมการหมูบ า น 138

ผวิ ผอง

ภาคผนวก ข
แผนที่เสยี่ งภยั ดินถลมระดบั ชุมชน 1:10,000



ภาคผนวก ค
แผนบรู ณาการดานการเฝา ระวงั แจงเตือนภัย

ดนิ ถลม

ภาคผนวก ค แผนบูรณาการดานการเฝาระวังแจงเตอื นภยั ดนิ ถลม

1. หนว ยงานท่ีเกย่ี วของกับการดาํ เนินการดา นการเฝาระวังและแจงเตือนภัยดินถลม

การเฝาระวังและแจงเตอื นภัยในพ้ืนทเ่ี สี่ยงภัยควรดําเนินการแบบบูรณาการ เนือ่ งจากใน
ปจจุบันมีหลายหนวยงานที่ดําเนินการดานการเฝาระวังและแจงเตือนภัยดินถลม ไดแก กรมทรัพยากรธรณี
กรมทรัพยากรนาํ้ กรมอุตนุ ิยมวทิ ยา ศนู ยเตอื นภัยพบิ ัติแหงชาติ กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย โดย
จดุ เดน หรือบทบาทหนา ท่ีของแตล ะหนวยงานสามารถสรุปไดด ังน้ี

1.1 กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ ม

มีบทบาทหนาท่ีในสวนที่เกี่ยวของกับงานดานดินถลม คือ การเสนอความเห็นเพ่ือการ
กําหนดพื้นท่ีการจัดทํานโยบายและแผนการสงวน การอนุรักษ การฟนฟู และการบริหารจัดการดาน
ธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี และปฏิบัติการอ่ืนใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกรม
หรอื ตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรมี อบหมาย

ท้ังน้ีในชวงท่ีผานมา กรมทรัพยากรธรณีไดดําเนินการจัดทําขอมูลพื้นท่ีเสี่ยงภัยดินถลม
ซ่ึงประกอบดวย ขอมูลแผนท่ีพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดดินถลม และขอมูลหมูบานเส่ียงภัยดินถลมทั่วประเทศ
พรอมดําเนินการจัดตั้งศูนยปฏิบัติการธรณีพิบัติภัย เพ่ือติดตามสถานการณธรณีพิบัติภัย ติดตอประสาน
กับเครอื ขายของกรมทรัพยากรธรณี และหนวยงานท่ีเกี่ยวของ การประกาศเฝาระวังแจงเหตธุ รณีพิบัติภัย
ผานส่ือตางๆ รวมท้ังจัดหนวยเคล่ือนที่เร็ว สําหรับการออกตรวจสอบพื้นที่ท่ีประสบธรณีพิบัติภัย เพ่ือ
ประเมินสถานการณความเสี่ยงท่ีอาจเกิดดินถลมซํ้า และเพ่ือเสนอแนะแนวทางในการลดผลกระทบจาก
เหตุการณดนิ ถลม

1.2 กรมทรัพยากรน้าํ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม

มบี ทบาทหนา ที่ในการจดั ทาํ นโยบาย แผนและมาตรการท่ีเกยี่ วของกับทรัพยากรนํา้ การ
บริหารจัดการพัฒนาอนุรักษฟนฟู รวมท้ังควบคุมดูแลกํากับประสานติดตามประเมินผล และแกไขปญหา
เก่ียวกับทรัพยากรน้ํา พัฒนาวิชาการ กําหนดมาตรฐาน และถายทอดเทคโนโลยีดานทรัพยากรน้ํา ท้ัง
ระดับภาพรวมและระดับลุมนํ้า ท้ังนี้ในหมูบานตนน้ําบางหมูบาน กรมทรัพยากรน้ําไดทําการติดตั้งระบบ
ตรวจวดั นํ้าฝนและเตอื นภัยแบบอตั โนมัติ รวมทง้ั ไดจัดต้งั เครือขา ยผรู ูในชมุ ชนดังกลาว

1.3 กรมอตุ นุ ิยมวทิ ยา กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอื่ สาร

มีบทบาทหนาท่ีในการเฝาระวังแจงเตือนภัย โดยดําเนินการดานการตรวจวัดสภาพอากาศ
และใหขอมูลดานอุตุนิยมวิทยา ซึ่งมีความสําคัญตอการเฝาระวังแจงเตือนภัยดินถลม เชน ขอมูลสภาพ
อากาศ ขอมูลปริมาณนํ้าฝน การประกาศเตือนภัยนํ้าทวมและน้ําปาไหลหลาก ขอมูลเรดารตรวจอากาศ
และเสนทางเดินพายุ โดยขอมูลดังกลาวกรมอุตุนิยมวิทยาไดนําออกเผยแพรผานเว็บไซตของกรม ทําให
สามารถเขาถึงขอมูลไดอยางงายและทันเวลา นอกจากน้ีมีการนําเสนอขาวอุตุนิยมวิทยาในตอนทายของ
รายการขาวทางสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน ทั้งขาวภาคเชา เที่ยง และเย็น ทําใหขาวอุตุนิยมวิทยาเปน
ขา วทเ่ี ขา ถงึ ประชาชนทกุ ระดับ

1.4 ศนู ยเ ตือนภยั พบิ ตั แิ หงชาติ กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอื่ สาร

มีบทบาทหนาท่ีในการเปนหนวยงานกลางในการเตือนภัยทุกชนิด ใหถึงประชาชนอยาง
ทั่วถึงทันเวลาและมีมาตรฐานในระยะแรกศูนยเตือนภัยพิบัติแหงชาติ จึงมุงเนนการเตือนภัยสึนามิและ
แผนดินไหวและในอนาคตจะขยายงานไปยังภัยอ่ืนๆ

1.5 กรมปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย

กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย มีบทบาทหนาท่ีเกี่ยวกับการจัดทําแผนแมบท วาง
มาตรการสงเสริมสนับสนุนการปองกันบรรเทา และพื้นฟูสาธารณภัย โดยการกําหนดนโยบายดานความ
ปลอดภัย สรางระบบปองกันเตือนภยั ฟนฟูหลงั เกิดภัย และการติดตามประเมินผล เพื่อใหหลักประกัน ใน
ดานความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน นอกจากน้ียังมีหนวยงานในตางจังหวัดในทุกจังหวดั ซึ่งทํา
หนา ท่ีเปนหนวยงานในการจัดการพิบัติภยั ทุกประเภทในระดับจังหวดั

สําหรับงานดานท่ีเก่ียวของกับพิบัติภัยดินถลม คือ การใหความชวยเหลือในขณะเกิดภัย
โดยผานทางอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ซ่ึงมีอยูในทุกหมูบาน ตอมา อปพร. บางสวน
ไดรบั การฝกในการใหความชวยเหลือ ในโครงการหนึ่งตําบลหนง่ึ ทีมกูช ีพกูภ ัย จึงมีความสามารถในการให
ความชวยเหลือแกผปู ระสบภัยในพื้นท่ีของตัวเอง นอกจากน้ีกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ยังไดจัด
ฝกอบรมมิสเตอรเตือนภัยโดยในแตละหมูบานจะมีมิสเตอรเตือนภัยอยูสองคน ท่ีจะทําหนาท่ีในการเตือนภัย
แกหมูบานและในบางหมูบาน กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัยไดเขาไปดําเนินการฝกซอมแผนการ
อพยพหลบภัย

2. แผนบรู ณาการดา นการเฝาระวงั แจงเตือนภัยดนิ ถลม

การบรู ณาการระหวาง 5 หนวยงาน จะสนบั สนนุ ใหงานดานการเฝาระวังภยั มปี ระสิทธิภาพ
มากยิ่งขึ้น โดยสามารถแบงเปนการเฝาระวังในชวงกอนเกิดเหต/ุ ชวงเฝาระวัง ชว งแจง เตือนภัย และชวงแจง
ขอความชวยเหลือ ดังรูปท่ี 1 โดยมรี ายละเอียดดังนี้

2.1 ชว งกอนเกิดเหตุ

หนว ยงานทมี่ ีหนา ที่เกีย่ วของ : กรมอตุ นุ ยิ มวิทยา
(1) เมื่อมีฝนตกหนักในพื้นท่ีเสี่ยงภัยดินถลม หนวยงานดานเฝาระวังตรวจสอบสภาพ
อากาศ แจง ขา ว และประกาศใหป ระชาชนทราบสถานการณ
(2) ประกาศเตอื นฝนตกหนกั และอาจมนี าํ้ ทวมฉบั พลันในพืน้ ที่ภาพรวมระดับจังหวัด โดย
กรมอตุ ุนยิ มวิทยา และศนู ยเ ตอื นภัยพบิ ตั ิแหง ชาติ
(3) แจงขาวปริมาณน้ําฝนและระดับนาํ้ ในพื้นท่ีที่มีการติดตั้งระบบเตือนภยั อัตโนมัติ โดย
กรมทรพั ยากรนา้ํ
(4) ประกาศเฝาระวังแจงเตือนภัยดินถลมและน้ําปาไหลหลาก ในระดับอําเภอให
เครือขา ยเฝาระวงั แจง เตือนภยั ดินถลม ทาํ การเฝา ระวังและปฏบิ ัติตามแผนที่ไดว างไว โดยกรมทรัพยากรธรณี

รปู ที่ 2.1-1 ผงั บูรณาการดานการเฝาระวังแจง เตอื นภยั ดนิ ถลม

2.2 ชว งเฝาระวัง

หนว ยงานที่มหี นา ที่เกี่ยวของ : กรมทรพั ยากรธรณี (เครอื ขา ยเฝา ระวงั ) กรมปอ งกนั และ
บรรเทาสาธารณภยั (มสิ เตอรเ ตอื นภยั ) กรมทรัพยากรนํา้ (เครือขา ยผรู ู)
(1) เฝาระวงั ตรวจวัดปรมิ าณน้าํ ฝน
(2) เฝาระวังระดับน้ําทาในทางน้ํา บริเวณตนน้ํากอนถึงหมูบาน เมื่อพบสิ่งบอกเหตุดินถลม
น้ําปาไหลหลาก จะประสานไปยังผูนําชุมชนซ่ึงไดรับมอบอํานาจใหทําการประกาศเตือนภัยผานทางเสียง
ตามสายของหมูบาน เปดไซเรนเตือนภัย หรือตามสัญญาณท่ีไดตกลงกันไว รวมทั้งประสานแจงขอมูลให
กรมทรพั ยากรธรณที ราบ

2.3 ชวงแจงเตอื นภัย

หนวยงานท่ีมีหนาที่เก่ียวของ : ศูนยเตือนภัยพิบัติแหงชาติ กรมทรัพยากรธรณี กรม
ปอ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ผูนําชมุ ชนในพน้ื ท่ี

วงแจงเตือนภัย ผูนําชุมชน ซ่ึงไดรับมอบอํานาจ ใหทําการประกาศเตือนภัยดินถลมและ
นา้ํ ปา ไหลหลาก ตอ งดําเนนิ การ

(1) ทําการประกาศแจงเตอื นภยั ใหประชาชนในพน้ื ท่เี ส่ียงภยั อพยพไปยงั พืน้ ทีป่ ลอดภยั
(2) ทาํ การแจงเตือนไปยังหมบู า นทอี่ ยปู ลายนา้ํ ลงไป
(3) รายงานสถานการณใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินในพ้ืนที่ อําเภอ จังหวัด และ
สาํ นกั งานปอ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ทราบ และขอความชว ยเหลือ

2.4 ชวงแจงขอความชว ยเหลอื

หนวยงานที่มีหนาท่ีเกี่ยวของ : องคกรปกครองสวนทองถิ่น, อําเภอ, จังหวัด ตาม
พระราชบัญญัติปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ไดมอบอํานาจใหแกนายกองคการบริหารสวนตําบลและ
นายกเทศมนตรี เปน ผูอํานวยการศูนยปอ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ในระดบั พื้นท่ี โดยมีอํานาจหนาที่ใน
การประสานขอความชวยเหลือจากหนวยงานท่ีเกี่ยวของ รวมทั้งดําเนินการบูรณะพื้นท่ีประสบภัยใน
เบ้ืองตน ในชวงเวลาดงั กลา ว

ชว งแจง ขอความชว ยเหลือ เมอื่ นายกองคก รปกครองสวนทองถนิ่ ในพ้นื ทีป่ ระสบภัยไดรับ
แจง เหตธุ รณีพิบตั ิภัยดนิ ถลมและนาํ้ ปาไหลหลากแลว จะมกี ารดําเนินการ ดังนี้

(1) รายงานสถานการณพิบัติภัยไปยังอําเภอ จังหวัด และสํานักงานปองกันและบรรเทา
สาธารณภัย

(2) ใหความชวยเหลือผูประสบภัย โดยระดมบุคลากร เคร่ืองมือและอุปกรณ ทั้งของ
องคกรปกครองสวนทองถ่ินเอง และของหนวยงานในพื้นท่ีเขาใหความชวยเหลือ หากพิบัติภัยดังกลาวมี
ขนาดใหญเกินกวาขีดความสามารถขององคกรปกครองสวนทองถ่ินเอง ใหประสานขอความชวยเหลือไป
ยังอําเภอและจังหวัด ตามลาํ ดบั ชนั้ ตอไป

ท้ังน้ี องคการบริหารสวนตําบล อําเภอ หรือจังหวัด สามารถประสานงานมายังกรม
ทรัพยากรธรณี ซง่ึ มีความเชีย่ วชาญดา นการประเมินสภาพพ้ืนที่ประสบพิบตั ภิ ัย สามารถสนับสนนุ หรือทํา
หนาทเ่ี ปน ทป่ี รึกษาของผูอาํ นวยการศูนยฯ ในการประเมินพ้ืนที่ประสบภัย เพื่อเปนขอ มลู ในการจัดการให
ความชวยเหลือ และยังสามารถสนับสนุนการประสานงานในการใหความชวยเหลือ โดยใหเครือขายเฝา
ระวงั แจง เตือนภัยดนิ ถลมของกรมทรัพยากรธรณี แจงขอรับความชว ยเหลือมายังศูนยปฏบิ ตั ิการธรณีพิบัติภัย
ของกรมทรัพยากรธรณี และศูนยปฏิบัติการธรณีพิบัติภัยจะเปนผูดําเนินการประสานงานกับหนวยงานที่
เกีย่ วของในพืน้ ท่ี เขาไปใหการชวยเหลือตอ ไป


Click to View FlipBook Version