The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 108 อภิวัฒน์ คบ.สังคม, 2024-01-30 09:57:41

ส32104

แผนการจัดการเรียนรู้

กำหนดการสอน โครงสร้างการจัดการเรียนรู้ วิชา ประวัติศาสตร์4 (ประวัติศาสตร์สากล) รหัสวิชา ส 32104 ภ าค เรียน ที่ 2/2566 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 0.5 หน่วยกิต ครูผู้สอน นายอภิวัฒน์ ชูศรีทอง เวลา 20 ชั่วโมง /ภาคเรียน ลงชื่อ................................................. ลงชื่อ................................................. ( นายอภิวัฒน์ ชูศรีทอง ) ( นางวราภรณ์ หอมจันทร์) ผู้สอน คุณครูพี่เลี้ยง ลงชื่อ................................................. (นางวรลักษณ์ ตรงวัฒนาวุฒิ) หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ


คำอธิบายรายวิชา ส32104 ประวัติศาสตร์ 4 (ประวัติศาสตร์สากล) รายวิชาประวัติศาสตร์ 4 (ประวัติศาสตร์สากล) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต ศึกษาและวิเคราะห์ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลง ของมนุษยชาติ ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ คุณค่าและประโยชน์ของวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่มีต่อ การศึกษาประวัติศาสตร์สากล อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไทกรีส–ยูเฟรทีส ไนล์ หวางเหอ สินธุ และอารยธรรมกรีก โรมัน การติดต่อระหว่างโลกตะวันออกกับโลกตะวันตกที่มีผลต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของโลก เหตุการณ์สำคัญต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบัน การขยาย การล่าอาณานิคมของประเทศ ในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกาและเอเชีย และผลกระทบ ความร่วมมือและความขัดแย้งของมนุษยชาติใน โลก สถานการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21 โดยใช้กระบวนการโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่มเพื่อให้ผู้เรียนเกิดเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักในความสำคัญของการศึกษา ประวัติศาสตร์สากล เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย มี ความรับผิดชอบ มีความรู้ความสามารถตามตัวชี้วัดต่อไปนี้ ตัวชี้วัด ส 4.2 ม.4-6/2 ส 4.2 ม.4-6/3 ส 4.2 ม.4-6/4 รวมทั้งหมด 3 ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองเข้าสู่ โลกสมัยปัจจุบัน 2. วิเคราะห์ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย 3. วิเคราะห์สถานการณ์ของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21


กำหนดการสอน โครงสร้างการจัดการเรียนรู้ วิชา ประวัติศาสตร์4 (ประวัติศาสตร์สากล) รหัสวิชา ส32104 ภาคเรียนที่ 1/2566 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 จำนวน 0.5 หน่วยกิต ผู้สอน นายอภิวัฒน์ ชูศรีทอง เวลา 20 ชั่วโมง /ภาคเรียน ที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระ/กิจกรรมการ เรียนรู้ สื่อ/แหล่ง เรียนรู้ ภาระงาน/ ชิ้นงาน เครื่องมือ/ วิธีการ วัดและประเมิน เวลา (ชม.) คะแนน 1 พัฒ นาการของ ยุโรปสมัยใหม่ ส 4.2 ม.4-6/2 1. การขยายอิทธิพล ของชาติตะวันตก 2. ก า ร ฟื้ น ฟู ศิลปวิทยา 3. การปฏิรูปศาสนา 4. กำเนิดรัฐชาติ 5. ก ารป ฏิ วั ติ ท าง วิทยาศาสตร์และการ ปฏิวัติอุตสาหกรรม 6. ยุคภูมิธรรมและ แนวคิดประชาธิปไตย 7. ศิลปวัฒ นธรรม สมัยใหม่ -ใบความรู้ -หนังสือ เรียน -วีดีทัศน์ -การค้นคว้า ทางสื่อ อินเตอร์เน็ต -แบบทดสอบ -ผังมโนทัศน์ -นำเสนองาน -คำถามท้าย บท -การอภิปราย -ทำสื่อการ เรียนรู้ -ตรวจ แบบทดสอบ -ตรวจผังมโน ทัศน์ -ประเมินการ นำเสนองาน -ประเมินการ ทำงาน -ประเมินชิ้นงาน 7 20 2 ผลกระท บ ของ การขยายอิทธิพล ของประเทศใน ยุโรปอารยธรรม ตะวันออก ส 4.2 ม.4-6/3 1. ทวีปอเมริกา 2. ทวีปแอฟริกา 3. ทวีปเอเชีย -ใบงาน -ใบความรู้ -หนังสือ เรียน -วีดีทัศน์ -การค้นคว้า ทางสื่อ อินเตอร์เน็ต -แบบทดสอบ -ผังมโนทัศน์ -นำเสนองาน -บันทึกระดม สมอง -ตรวจ แบบทดสอบ -ตรวจผังมโน ทัศน์ -ประเมินการ นำเสนองาน -ประเมินการ ทำงาน 2 10


ที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระ/กิจกรรมการ เรียนรู้ สื่อ/แหล่ง เรียนรู้ ภาระงาน/ ชิ้นงาน เครื่องมือ/ วิธีการ วัดและประเมิน เวลา (ชม.) คะแนน สอบกลางภาค 1 20 3 ความขัดแย้งและ ก า ร ป ร ะ ส า น ประโยชน์ระหว่าง ประเทศ ส 4.2 ม.4-6/2 1. ความขัดแย้ง 2. ก า ร ป ร ะ ส า น ประโยชน์ -ใบงาน -ใบความรู้ -หนังสือ เรียน -การค้นคว้า ทางสื่อ อินเตอร์เนต -แบบทดสอบ -ผังมโนทัศน์ -นำเสนองาน -คำถามท้าย บท -การอภิปราย -ทำสื่อการ เรียนรู้ -ตรวจ แบบทดสอบ -ตรวจผังมโน ทัศน์ -ประเมินการ นำเสนองาน -ประเมินการ ทำงาน -ประเมินชิ้นงาน 6 10 4 เหตุการณ์สำคัญ ข อ ง โ ล ก ใ น คริสต์ศตวรรษที่ 21 ส 4.2 ม.4-6/4 1. เห ตุ ก า ร ณ์ 11 กันยายน 2001 2. การก่อการร้าย -ใบงาน -ใบความรู้ -หนังสือ เรียน -การค้นคว้า ทางสื่อ อินเตอร์เนต -แบบทดสอบ -ผังมโนทัศน์ -คำถามท้าย บท -ตรวจ แบบทดสอบ -ตรวจผังมโน ทัศน์ -ประเมินการ ทำงาน-ประเมิน 3 10 สอบปลายภาค 1 30 รวม 20 100


รายละเอียดการวัดและประเมินผล ประวัติศาสตร์สากล รหัสวิชา ส32104 ภาคเรียนที่ 2/2566 ข้อ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด/ ตัวบ่งชี้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง คะแนนระหว่างภาคเรียน (70 คะแนน) รวม สอบ ปลาย ภาค รวม ก่อน สอบ กลาง ภาค หลังภาค เดี่ยว กลุ่ม เดี่ยว กลุ่ม 20 10 20 15 5 70 30 100 1. วิเคราะห์อิทธิพลของอารยธรรมโบราณ และการติดต่อระหว่างโลกตะวันออกกับ โลกตะวันตกที่มีผลต่อพัฒนาการและ การเปลี่ยนแปลงของโลก 10 10 20 - - 70 30 100 2. วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ ที่ส่งผล ต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองเข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน 10 - - - 3. วิเคราะห์ผลกระทบของการขยายอิทธิพล ของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกาและเอเชีย - - 5 5 4. วิเคราะห์สถานการณ์ของโลกใน คริสต์ศตวรรษที่ 21 - - 10 - รวม 20 10 20 15 5 70 30 100


การให้คะแนนและการให้ผลการเรียนบกพร่อง การให้คะแนน การให้ผลการเรียนบกพร่อง ก่อน ปลาย ภาค หน่วยที่ ภาระงาน/ชิ้นงาน จำนวน ชั่วโมง คะแนน 0 ร มส 1 -แบบทดสอบ -ผังมโนทัศน์ -นำเสนองาน -คำถามท้ายบท -การอภิปราย -ทำสื่อการเรียนรู้ 7 20 ไม่ส่งงาน เวลาเรียน ไม่ถึง 80% 2 -แบบทดสอบ -ผังมโนทัศน์ -นำเสนองาน -บันทึกระดมสมอง 2 10 ไม่ส่งงาน สอบกลางภาค 1 20 ขาดสอบ 3 -ใบงาน -ใบความรู้ -หนังสือเรียน -การค้นคว้าทางสื่อ อินเตอร์เนต 6 10 ไม่ส่งงาน 4 -แบบทดสอบ -ผังมโนทัศน์ -คำถามท้ายบท 3 10 ไม่ส่งงาน รวมก่อนปลายภาค 19 70 คะแนนรวม ต่ำกว่า 50 คะแนน สอบปลายภาค 1 30 ขาดสอบ รวม 20 100 การให้ผลการเรียนบกพร่อง 0 กรณีนักเรียนมีคะแนนรวมตลอดภาคเรียนต่ำกว่า 50 คะแนน ร กรณีนักเรียนขาดสอบกลางภาค ขาดสอบปลายภาค ขาดส่งรายงาน หรือใบงาน มส กรณีนักเรียนมีเวลาเรียนไม่ถึง 80% คะแนนอัตราส่วน 70 : 30 คะแนนก่อนกลางภาค 25 คะแนน คะแนนสอบกลางภาค 15 คะแนน คะแนนหลังกลางภาค 30 คะแนน คะแนนสอบปลายภาค 30 คะแนน รวม 100 คะแนน


มาตรฐานการเร ี ยนร ู้ตัวช ี้วดัช ่ วงช้ัน และสาระการเร ี ยนร ู้แกนกลาง สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็ นระบบ ตัวชี้วัดช่วงชั้น สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. ตระหนักถึงความส าคัญของเวลาและยุคสมัย ทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลง ของมนุษยชาติ 1. เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏใน หลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยและ ประวัติศาสตร์สากล 2. ตัวอย่างเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ของ สังคมมนุษย์ที่มีปรากฏในหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ (เชื่อมโยงกับ มฐ. ส 4.3) 3. ความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์ 2. สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์โดยใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างเป็ นระบอบ 1. ข้นัตอนของวิธีการทางประวตัิศาสตร์โดย นา เสนอตวัอยา่งทีละข้นัตอนอยา่งชดัเจน 2. คุณค่าและประโยชน์ของวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ที่มีต่อการศึกษาทาง ประวัติศาสตร์ 3. ผลของการศึกษาหรือโครงงานทาง ประวัติศาสตร์


มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลง ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความส าคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดข้ึน ตัวชี้วัดช่วงชั้น สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. วิเคราะห์อิทธิพลของอารยธรรมโบราณ และ การติดต่อระหว่างโลกตะวันออกกับโลก ตะวันตกที่มีผลต่อพัฒนาการและการ เปลี่ยนแปลงของโลก 1. อารยธรรมของโลกยคุโบราณ ไดแ้ก่อารย- ธรรมลุ่มน้า ไทกรีส–ยูเฟรทีส ไนล์ หวางเหอ สินธุ และอารยธรรมกรีก โรมัน 2. การติดต่อระหว่างโลกตะวันออกกับโลก ตะวันตกและอิทธิพลทางวัฒนธรรมที่มีต่อกัน และกัน 3. เหตุการณ์ส าคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบัน เช่น ระบอบ ศักดินาสวามิภกัด์ิสงครามครูเสด การฟ้ืนฟู ศิลปวิทยาการ การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ การส ารวจทางทะเล การปฏิรูปศาสนา การ ปฏิวัติอุตสาหกรรม แนวคิดเสรีนิยม แนวคิด จักรวรรดินิยม แนวคิดชาตินิยม 4. การขยาย การล่าอาณานิคม และผลกระทบ 5. ความร่วมมือและความขัดแย้งของมนุษยชาติ ในโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 20 6. สถานการณ์ส าคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษ ที่ 21 เช่น – เหตุการณ์การระเบิดตึก World Trade Center (เวิลด์เทรด เซ็นเตอร์) 11 กันยายน ค.ศ. 2001 – การก่อการร้ายและการต่อตา้นการก่อการร้าย – การขาดแคลนทรัพยากร – ความขัดแย้งทางศาสนา 2. วิเคราะห์เหตุการณ์ส าคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และ การเมืองเข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน 3. วิเคราะห์ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของ ประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย 4. วิเคราะห์สถานการณ์ของโลกในคริสต์ศตวรรษ ที่ 21


มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็ นมาของชนชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธ ารงความเป็ นไทย ตัวชี้วัดช่วงชั้น สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. วิเคราะห์ประเด็นส าคัญของประวัติศาสตร์ ไทย • ประเด็นส าคัญของประวัติศาสตร์ไทย เช่น แนวคิดเกี่ยวกับความเป็ นมาของชาติไทย อาณาจักรโบราณในดินแดนไทย และอิทธิพล ที่มีต่อสังคมไทย ปัจจัยที่มีผลต่อการสถาปนา อาณาจักรไทยในช่วงเวลาต่าง ๆ สาเหตุ และผลของการปฏิรูปการปกครองบ้านเมือง การเลิกทาส เลิกไพร่ การเสด็จประพาสยุโรป และหัวเมืองสมัยรัชกาลที่ 5 แนวคิด ประชาธิปไตยต้งัแต่สมยัรัชกาลที่6จนถึงการ เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 สมัย รัชกาลที่ 7 บทบาทของสตรีไทย 2. วิเคราะห์ความส าคัญของสถาบัน พระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย • บทบาทของสถาบันพระมหากษัตริย์ในการ พัฒนาชาติไทยในด้านต่าง ๆ เช่น การป้องกัน และรักษาเอกราชของชาติ การสร้างสรรค์ วัฒนธรรมไทย 3. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์ภูมิ ปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีผลต่อ สังคมไทยในปัจจุบัน •อิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันตกและตะวันออก ที่มีต่อสังคมไทย 4.วิเคราะห์ผลงานของบุคคลสา คญัท้งัชาวไทย และต่างประเทศที่มีส่วนสร้างสรรค์วัฒนธรรม ไทยและประวัติศาสตร์ไทย 1. ผลงานของบุคคลส าคัญท้งัชาวไทยและ ต่างประเทศที่มีส่วนสร้างสรรค์วัฒนธรรมไทย และประวัติศาสตร์ไทย เช่น – พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย – พระบาทสมเด็จพระนงั่เกลา้เจา้อยหู่วั – พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว – สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยา วชิรญาณวโรรส – พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิราช สนิท – สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ดิศวรกุมาร กรมพระยาด ารงราชานุภาพ – สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ


กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ – หม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์กระต่าย อิศรางกูร) – สมเด็จเจ้าพระยามหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) – บาทหลวงปาลเลอกัวซ์ – พระยากัลยาณไมตรี (Dr.Franncis B. Sayre ดร.ฟรานซีส บี แซร์) –ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี – พระยารัษฎานุประดิษฐมหิศรภักดี (คอซิมบ้ีณ ระนอง) 2. ปัจจัยและบุคคลที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีผลต่อ สังคมไทยในปัจจุบัน เช่น – พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดุลยเดช – สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ – สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี – สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ 5. วางแผนก าหนดแนวทางและการมีส่วนร่วม การอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย 1. สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการสร้างสรรค์ภูมิ ปัญญาและวัฒนธรรมไทย 2. วิถีชีวิตของคนไทยในสมัยต่าง ๆ การสืบทอด และเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมไทย 3. แนวทางการอนุรักษ์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ไทยและการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ 4. วิธีการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ภูมิปัญญาและ วัฒนธรรมไทย


ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดช่วงชั้น สาระการเรียนรู้/หน่วยการเรียนรู้ มหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ยุคสมัยและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ 1. การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 2. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 อารยธรรมตะวันออก 1. อารยธรรมจีน 2. อารยธรรมอินเดีย 3. อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อารยธรรมตะวันตกสมัยโบราณ 1. อารยธรรมเมโสโปเตเมีย 2. อารยธรรมลุ่มน้ำไนล์ 3. ชนชาติเก่าแก่บางกลุ่มในเอเชียไมเนอร์และดินแดนใกล้เคียง 4. อารยธรรมกรีก 5. อารยธรรมโรมัน


ดช่วงชั้นกับสาระการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้ สาระที่ 4 มฐ. ส 4.1 มฐ. ส 4.2 มฐ. ส 4.3 ข้อมูลเพิ่มเติม 1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 5


มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดช่วงชั้น สาระการเรียนรู้/หน่วยการเรียนรู้ มหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พัฒนาการของยุโรปสมัยกลาง 1. อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง 2. การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของยุโรปสมัยกลาง 3. เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง 4. อารยธรรมสมัยกลาง หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่ 1. การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก 2. การฟื้นฟูศิลปวิทยา 3. การปฏิรูปศาสนา 4. กำเนิดรัฐชาติ 5. การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และการปฏิวัติอุตสาหกรรม 6. ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย 7. ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป 1. ทวีปอเมริกา 2. ทวีปแอฟริกา 3. ทวีปเอเชีย


สาระที่ 4 มฐ. ส 4.1 มฐ. ส 4.2 มฐ. ส 4.3 ข้อมูลเพิ่มเติม 1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 5


มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดช่วงชั้น สาระการเรียนรู้/หน่วยการเรียนรู้ มหน่วยการเรียนรู้ที่7 ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ 1. ความขัดแย้ง 2. การประสานประโยชน์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21 1. เหตุการณ์ 11 กันยายน 2001 2. การก่อการร้าย 3. ความขัดแย้งทางศาสนา


สาระที่ 4 มฐ. ส 4.1 มฐ. ส 4.2 มฐ. ส 4.3 ข้อมูลเพิ่มเติม 1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 5


1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สาระการเรียนรู้ที่ 4 ประวัติศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 เรื่อง ปฐมนิเทศและข้อตกลงในห้องเรียน เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ .............. เดือน ...................... พ.ศ. ........................ นายอภิวัฒน์ ชูศรีทอง ผู้สอน 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตัวชี้วัด ม. 4–6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และ การเมืองเข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน ม. 4–6/3 วิเคราะห์ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย ม. 4–6/4 วิเคราะห์สถานการณ์ของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเหตุผลที่นักเรียนต้องเรียนประวัติศาสตร์สากลได้ (K) 2. อธิบายเหตุผลที่นักเรียนต้องเรียนประวัติศาสตร์สากลได้ (P) 3. สนใจใฝ่เรียนรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการเรียนประวัติศาสตร์สากล (A) 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์/สมรรถนะผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5. อยู่อย่างพอเพียง 2. ซื่อสัตย์สุจริต 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 3. มีวินัย 7. รักความเป็นไทย 4. ใฝ่เรียนรู้ 8. มีจิตสาธารณะ


2 สมรรถนะผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 4. สาระสำคัญ เรียนรู้ เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่หลักสูตรกำหนดการ จัดการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์สากล ม. 4–6 เป็นไปตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา โดยได้กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ของรายวิชา พื้นฐาน ประวัติศาสตร์สากล ม. 4–6 เป็น 3 มาตรฐาน และยังได้กำหนดตัวชี้วัดช่วงชั้นที่สอดคล้องกับ มาตรฐานการ 5. สาระการเรียนรู้ 1. เทคนิคและวิธีการจัดการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ 2. แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ 3. ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดช่วงชั้นกับสาระในหน่วยการเรียนรู้ 4. คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์สากล ม. 4–6 5. โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์สากล ม. 4–6 6. โครงสร้างเวลาเรียน รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์สากล ม. 4–6 6. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ที่เหมาะสมเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนอยากเรียนรู้ เช่น จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเป็นกลุ่ม นำนักเรียนศึกษานอกห้องเรียน เช่น ห้องประชุม ห้องโสต-ทัศน ศึกษา สนามหญ้าใต้ร่มไม้ 2. ครูให้ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ พร้อมซักถามนักเรียน ในประเด็นต่าง ๆ เช่น 1) ทำไมเราจึงต้องเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2) วิชาประวัติศาสตร์มีความสำคัญและจำเป็นต่อเราหรือไม่ เพราะอะไร 3. ครูสรุปความรู้แล้วเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่จะเรียน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 4. ครูสนทนาเกี่ยวกับห้องเรียนกลับด้านและซักถามนักเรียนเพื่อทำความเข้าใจถึงแนวทางการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์สากล ม. 4–6 (โดยใช้ข้อมูลจากตอนที่ 1) รวมทั้งเกณฑ์ ตัดสินผลการเรียนรู้ ในประเด็นต่าง ๆ เช่น


3 1) รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์สากล ม. 4–6 มีเวลาเรียนเท่าไร 2) รายวิชานี้จะสอบและเก็บคะแนนอย่างไร เท่าไร 3) รายวิชานี้จะตัดสินผลการเรียนอย่างไร 5. ครูสนทนาและซักถามนักเรียนและร่วมกันทำข้อตกลงในการเรียน ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 6. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 7. ครูให้นักเรียนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเรื่องอะไรบ้างที่ยังไม่เข้าใจ หรือมีข้อสงสัย ถ้ามีครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ ขั้นที่ 5 สรุป 8. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ปฐมนิเทศและข้อตกลงในการเรียนรายวิชา ประวัติศาสตร์ สากล ม. 4–6 โดยให้นักเรียนบันทึกข้อสรุปลงในแบบบันทึกความรู้ หรือสรุปเป็นผังมโนทัศน์ลงในสมุด พร้อม ทั้งตกแต่งให้สวยงาม 9. ครูมอบหมายให้นักเรียนศึกษาเรื่อง การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก เป็นการบ้านเพื่อเตรียม จัดการเรียนรู้ในครั้งต่อไป 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์สากล ม. 4–6 บริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 2. คู่มือการสอน ประวัติศาสตร์สากล ม. 4–6 บริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 3. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint ประวัติศาสตร์สากล ม. 4–6 บริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด


4 8. กระบวนการวัดและประเมินผล รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์ 1. อธิบายเหตุผลที่นักเรียนต้องเรียน ประวัติศาสตร์สากลได้ (K, P) ตรวจผังมโน ทัศน์ ผังมโนทัศน์ ประเมินตาม สภาพจริง 2. สนใจใฝ่เรียนรู้และตระหนักถึง ความสำคัญของการเรียนประวัติศาสตร์ สากล (A) ประเมิน พฤติกรรม รายบุคคล แบบประเมินพฤติกรรม รายบุคคล ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 9. ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .....……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….... ลงชื่อ............................................ (นางวราภรณ์ หอมจันทร์) ครูพี่เลี้ยง 10. ความคิดเห็นของฝ่ายบริหารงานวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .....……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….... ลงชื่อ............................................ (นางวรลักษณ์ ตรงวัฒนาวุฒิ) หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ


1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สาระการเรียนรู้ที่ 4 ประวัติศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่ เวลาเรียน 7 ชั่วโมง เรื่อง การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ .............. เดือน ...................... พ.ศ. ........................ นายอภิวัฒน์ ชูศรีทอง ผู้สอน 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตัวชี้วัด ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และ การเมืองเข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความสำคัญของการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกได้ (K) 2. ร่วมกันวิเคราะห์ความสำคัญของการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก (P) 3. เห็นคุณค่าและความสำคัญของการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก (A) 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์/สมรรถนะผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นในการทำงาน สมรรถนะผู้เรียน - ด้านการคิด 4. สาระสำคัญ การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก ที่สำคัญได้แก่ การสำรวจเส้นทางเดินเรือ เพื่อค้นหาเส้นทาง เดินเรือสู่ดินแดนอื่น ๆ ในภูมิภาคต่าง ๆ โดยมีจุดมุ่งหมายในการเผยแผ่ศาสนา การค้าขาย และการถ่ายทอด อารยธรรม


2 5. สาระการเรียนรู้ การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก 6. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูแจ้งตัวชี้วัดช่วงชั้นและจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 2. ครูตั้งประเด็นคำถามว่า ถ้าจะเดินทางไปจังหวัดที่นักเรียนไม่รู้จัก นักเรียนจะทำอย่างไร และใน อดีตการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกสามารถทำได้อย่างไร นักเรียนตอบจากนั้นครูพูดคุยเกี่ยวกับคลิปวีดี ทัศน์ [ประวัติศาสตร์สากล] การสำรวจทางทะเล | SOC EDUCATE ที่มอบหมายให้ศึกษามาล่วงหน้า เพื่อ เชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมที่จะทำ ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 3. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 3 กลุ่ม เพื่อจัดทำชิ้นงานนำเสนอในรูปแบบของแผนที่ความคิด 1) สาเหตุที่ต้องมีการสำรวจเส้นทางเดินเรือคืออะไร 2) การค้นพบเส้นทางเดินเรือของดา กามา และมาเจลลันมีความสำคัญอย่างไร 3) การที่ฮอลันดาเดินทางมายังดินแดนตะวันออกมีจุดมุ่งหมายเพื่ออะไร ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 4. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก ในแบบฝึกทักษะ รายวิชา พื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4-6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด แล้วช่วยกันเฉลยคำตอบที่ ถูกต้อง ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 5. ครูให้นักเรียนสืบค้นว่าประเทศสมาชิกอาเซียนประเทศใดเคยอยู่ภายใต้อาณานิคมของชาติ ตะวันตกบ้าง แล้วส่งผลอย่างไรถึงปัจจุบัน ขั้นที่ 5 สรุป 6. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกโดยให้นักเรียนสรุปเป็น แผนที่ความคิด 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4–6 เล่ม 2 บริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 2. คลิปวีดีทัศน์ [ประวัติศาสตร์สากล] การสำรวจทางทะเล | SOC EDUCATE


3 8. กระบวนการวัดและประเมินผล รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์ 1. อธิบายความสำคัญของการขยายอิทธิพล ของชาติตะวันตกได้ (K) ประเมินผล งาน/กิจกรรม เป็นกลุ่ม แบบประเมินผลงาน/ กิจกรรมเป็นกลุ่ม ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 2. ร่วมกันวิเคราะห์ความสำคัญของการ ขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก (P) ประเมิน พฤติกรรมใน การทำงานเป็น กลุ่ม แบบประเมินพฤติกรรม ในการทำงานเป็นกลุ่ม ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 3. เห็นคุณค่าและความสำคัญของการขยาย อิทธิพลของชาติตะวันตก (A) ประเมิน พฤติกรรม รายบุคคล แบบประเมินพฤติกรรม รายบุคคล ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 9. ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .....……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….... ลงชื่อ............................................ (นางวราภรณ์ หอมจันทร์) ครูพี่เลี้ยง 10. ความคิดเห็นของฝ่ายบริหารงานวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .....……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….... ลงชื่อ............................................ (นางวรลักษณ์ ตรงวัฒนาวุฒิ) หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สาระการเรียนรู้ที่ 4 ประวัติศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่ เวลาเรียน 7 ชั่วโมง เรื่อง การฟื้นฟูศิลปวิทยา เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ .............. เดือน ...................... พ.ศ. ........................ นายอภิวัฒน์ ชูศรีทอง ผู้สอน 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตัวชี้วัด ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และ การเมืองเข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความสำคัญของการฟื้นฟูศิลปวิทยาได้ (K) 2. ร่วมกันวิเคราะห์ความสำคัญของการฟื้นฟูศิลปวิทยา (P) 3. เห็นคุณค่าและความสำคัญของการฟื้นฟูศิลปวิทยา (A) 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์/สมรรถนะผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นในการทำงาน สมรรถนะผู้เรียน - ด้านการคิด 4. สาระสำคัญ การฟื้นฟูศิลปวิทยา เป็นการเกิดใหม่ของการศึกษา การฟื้นฟูอุดมคติ ศิลปะ และวรรณกรรมของกรีก และโรมัน เริ่มต้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 และสิ้นสุดในกึ่งกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17


5. สาระการเรียนรู้ การฟื้นฟูศิลปวิทยา 6. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูแจ้งตัวชี้วัดช่วงชั้นและจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 2. ครูพูดคุยเกี่ยวกับคลิปวีดีทัศน์ [ประวัติศาสตร์สากล] ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) | SOC EDUCATE ที่มอบหมายให้ศึกษามาล่วงหน้า เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมที่จะทำ ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 3. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม เพื่อจัดทำชิ้นงานนำเสนอในรูปแบบของแผนที่ความคิด 1) สาเหตุที่ทำให้มีการฟื้นฟูศิลปวิทยาคืออะไร 2) ฟรันเซสโก เปทราก เกี่ยวข้องกับการฟื้นฟูศิลปวิทยาอย่างไร ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 4. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับการการฟื้นฟูศิลปวิทยา ในแบบฝึกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4-6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด แล้วช่วยกันเฉลยคำตอบที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 5. ครูแนะนำให้นักเรียนนำความรู้เรื่องอารยธรรมตะวันตกสมัยโบราณ เนื้อหาของภาคเรียนที่ 1 มา ขยายความรู้เกี่ยวกับการฟื้นฟูศิลปวิทยา ขั้นที่ 5 สรุป 6. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การฟื้นฟูศิลปวิทยาโดยให้นักเรียนสรุปเป็นแผนที่ความคิด 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4–6 เล่ม 2 บริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 2. คลิปวีดีทัศน์ [ประวัติศาสตร์สากล] ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) | SOC EDUCATE


8. กระบวนการวัดและประเมินผล รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์ 1. อธิบายความสำคัญของการฟื้นฟู ศิลปวิทยาได้ (K) ประเมินผล งาน/กิจกรรม เป็นกลุ่ม แบบประเมินผลงาน/ กิจกรรมเป็นกลุ่ม ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 2. ร่วมกันวิเคราะห์ความสำคัญของการ ฟื้นฟูศิลปวิทยา (P) ประเมิน พฤติกรรมใน การทำงานเป็น กลุ่ม แบบประเมินพฤติกรรม ในการทำงานเป็นกลุ่ม ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 3. เห็นคุณค่าและความสำคัญของการฟื้นฟู ศิลปวิทยา (A) ประเมิน พฤติกรรม รายบุคคล แบบประเมินพฤติกรรม รายบุคคล ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 9. ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .....……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….... ลงชื่อ............................................ (นางวราภรณ์ หอมจันทร์) ครูพี่เลี้ยง 10. ความคิดเห็นของฝ่ายบริหารงานวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .....……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….... ลงชื่อ............................................ (นางวรลักษณ์ ตรงวัฒนาวุฒิ) หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สาระการเรียนรู้ที่ 4 ประวัติศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่ เวลาเรียน 7 ชั่วโมง เรื่อง การปฏิรูปศาสนาและกำเนิดรัฐชาติ เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ .............. เดือน ...................... พ.ศ. ........................ นายอภิวัฒน์ ชูศรีทอง ผู้สอน 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตัวชี้วัด ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และ การเมืองเข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความสำคัญเกี่ยวกับการปฏิรูปศาสนาและกำเนิดรัฐชาติได้ (K) 2. สืบค้นและอภิปรายเกี่ยวกับการปฏิรูปศาสนาและกำเนิดรัฐชาติ(P) 3. มีความสนใจศึกษาเกี่ยวกับการปฏิรูปศาสนาและกำเนิดรัฐชาติ(A) 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์/สมรรถนะผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นในการทำงาน สมรรถนะผู้เรียน - ด้านการคิด 4. สาระสำคัญ การปฏิรูปศาสนาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15–16 คริสต์ศาสนาได้แตกแยกออกเป็นนิกายต่าง ๆ โดย แต่ละนิกายมีลักษณะเป็นศาสนาประจำชาติมากขึ้น ปัจจัยที่สำคัญได้แก่ สาเหตุของการปฏิรูปศาสนา การเริ่ม ปฏิรูปศาสนา การปฏิรูปของศาสนจักร ผลของการปฏิรูปศาสนา


รัฐชาติ คือการรวมกลุ่มคนตามสภาพทางภูมิศาสตร์และตามเชื้อชาติ ซึ่งปัจจัยที่ก่อให้เกิดรัฐชาติ ได้แก่ การขยายตัวทางเศรษฐกิจและการค้า ความเสื่อมของขุนนาง ความสำนึกในความเป็นชาติ และการ กำเนิดของระบอบสมบูรณ์ญาสิทธิราชย์ 5. สาระการเรียนรู้ 1. การปฏิรูปศาสนา 2. การกำเนิดรัฐชาติ 6. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูแจ้งตัวชี้วัดช่วงชั้นและจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 2. ครูตั้งประเด็นคำถามว่าพระเยซูคริสต์มีความสัมพันธ์กับศาสนาอย่างไร จากนั้นครูอธิบายสรุปเพื่อ เชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหาที่จะเรียน 3. ครูพูดคุยเกี่ยวกับคลิปวีดีทัศน์ [ประวัติศาสตร์สากล] การปฏิรูปศาสนา | SOC EDUCATE ที่ มอบหมายให้ศึกษามาล่วงหน้า เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมที่จะทำ ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 4. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–6 คน ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาจับสลากเลือกหัวข้อ ต่อไปนี้เพื่อจัดการเรียนรู้แบบอภิปรายกลุ่ม 1) การปฏิรูปศาสนา 2) กำเนิดรัฐชาติ 5. ครูให้ความรู้ความเข้าใจหรือคำแนะนำกลุ่มก่อนการอภิปราย โดยแจ้งวัตถุประสงค์ของการ อภิปรายกลุ่มย่อย แจ้งกฎ กติกา และเวลาในการอภิปราย 6. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกประธาน เลขานุการ ผู้จดบันทึก และผู้นำในการอภิปราย 7. แต่ละกลุ่มดำเนินการอภิปรายโดยส่งตัวแทนคนที่ 1 เป็นคนอภิปราย และคนที่ 2 เป็นคนถือ ภาพประกอบ ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 8. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับการปฏิรูปศาสนาและกำเนิดรัฐชาติ ในแบบฝึกทักษะ รายวิชา พื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4-6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด แล้วช่วยกันเฉลยคำตอบ ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 9. ครูให้นักเรียนนำความรู้เรื่อง ยุคมืด มาขยายความรู้เกี่ยวกับการปฏิรูปศาสนา ขั้นที่ 5 สรุป 10. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การปฏิรูปศาสนาและกำเนิดรัฐชาติโดยให้นักเรียนสรุป เป็นแผนที่ความคิด 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4–6 เล่ม 2 บริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด


2. คลิปวีดีทัศน์ [ประวัติศาสตร์สากล] การปฏิรูปศาสนา | SOC EDUCATE 8. กระบวนการวัดและประเมินผล รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์ 1. อธิบายความสำคัญเกี่ยวกับการปฏิรูป ศาสนาและกำเนิดรัฐชาติได้ (K) ประเมินผล งาน/กิจกรรม เป็นกลุ่ม แบบประเมินผลงาน/ กิจกรรมเป็นกลุ่ม ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 2. สืบค้นและอภิปรายเกี่ยวกับการปฏิรูป ศาสนาและกำเนิดรัฐชาติ(P) ประเมิน พฤติกรรมใน การทำงานเป็น กลุ่ม แบบประเมินพฤติกรรม ในการทำงานเป็นกลุ่ม ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 3. มีความสนใจศึกษาเกี่ยวกับการปฏิรูป ศาสนาและกำเนิดรัฐชาติ(A) ประเมิน พฤติกรรม รายบุคคล แบบประเมินพฤติกรรม รายบุคคล ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 9. ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .....……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ลงชื่อ............................................ (นางวราภรณ์ หอมจันทร์) ครูพี่เลี้ยง 10. ความคิดเห็นของฝ่ายบริหารงานวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .....……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ลงชื่อ............................................ (นางวรลักษณ์ ตรงวัฒนาวุฒิ) หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สาระการเรียนรู้ที่ 4 ประวัติศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่ เวลาเรียน 7 ชั่วโมง เรื่อง การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ .............. เดือน ...................... พ.ศ. ........................ นายอภิวัฒน์ ชูศรีทอง ผู้สอน 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตัวชี้วัด ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และ การเมืองเข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกับการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ได้ (K) 2. สืบค้นข้อมูลวิเคราะห์เกี่ยวกับการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ได้ (P) 3. มีความสนใจใฝ่รู้เกี่ยวกับการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ (A) 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์/สมรรถนะผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นในการทำงาน สมรรถนะผู้เรียน - ด้านการคิด 4. สาระสำคัญ การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์เป็นการนำวิทยาการต่าง ๆ ดั้งเดิม เช่น ดาราศาสตร์ กลศาสตร์ มาบรรจุ ในหลักการสอนของมหาวิทยาลัยตะวันตกเพื่อทำให้งานค้นคว้าด้านวิทยาศาสตร์เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป


5. สาระการเรียนรู้ การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ 6. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูแจ้งตัวชี้วัดช่วงชั้นและจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 2. ครูพูดคุยเกี่ยวกับคลิปวีดีทัศน์ สรุปปฏิวัติวิทยาศาสตร์ คลิปเดียวจบ | Point of View ที่มอบหมาย ให้ศึกษามาล่วงหน้า เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมที่จะทำ ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 3. ครูให้นักเรียนแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ศึกษาและสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ ดังนี้ กลุ่มที่ 1 การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ กลุ่มที่ 2 สภาพภูมิหลังของการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ กลุ่มที่ 3 นักวิทยาศาสตร์กับการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มดำเนินการดังนี้ 1) สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับหัวข้อที่กลุ่มตนเองเลือก 2) จัดทำสื่อให้ความรู้เพื่อแสดงผลงานของกลุ่มในหัวข้อที่กลุ่มตนเองเลือก 3) ตั้งคำถามเพื่อให้เพื่อน ๆ หรือบุคคลที่สนใจตอบแสดงความคิดเห็น โดยตั้งกล่องรับคำถาม 4. เก็บรวบรวมคำตอบและข้อคิดเห็นมาวิเคราะห์และอภิปรายและสรุปร่วมกัน 5. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทำงานและการนำเสนอ ผลงานของนักเรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทำงานเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 5. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมเกี่ยวกับการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ในแบบฝึกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4-6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด แล้วช่วยกันเฉลยคำตอบที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 6. ครูให้นักเรียนนำความรู้เรื่อง การปฏิรูปศาสนา มาขยายความรู้เกี่ยวกับการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ ขั้นที่ 5 สรุป 7. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ โดยให้นักเรียนสรุปเป็นแผนที่ ความคิด 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4–6 เล่ม 2 บริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 2. คลิปวีดีทัศน์ สรุปปฏิวัติวิทยาศาสตร์ คลิปเดียวจบ | Point of View


8. กระบวนการวัดและประเมินผล รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์ 1. อธิบายเกี่ยวกับการปฏิวัติทาง วิทยาศาสตร์ได้ (K) ประเมินผล งาน/กิจกรรม เป็นกลุ่ม แบบประเมินผลงาน/ กิจกรรมเป็นกลุ่ม ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 2. สืบค้นข้อมูลวิเคราะห์เกี่ยวกับการปฏิวัติ ทางวิทยาศาสตร์ได้ (P) ประเมิน พฤติกรรมใน การทำงานเป็น กลุ่ม แบบประเมินพฤติกรรม ในการทำงานเป็นกลุ่ม ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 3. มีความสนใจใฝ่รู้เกี่ยวกับการปฏิวัติทาง วิทยาศาสตร์ (A) ประเมิน พฤติกรรม รายบุคคล แบบประเมินพฤติกรรม รายบุคคล ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 9. ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .....……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….... ลงชื่อ............................................ (นางวราภรณ์ หอมจันทร์) ครูพี่เลี้ยง 10. ความคิดเห็นของฝ่ายบริหารงานวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .....……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….... ลงชื่อ............................................ (นางวรลักษณ์ ตรงวัฒนาวุฒิ) หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สาระการเรียนรู้ที่ 4 ประวัติศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่ เวลาเรียน 7 ชั่วโมง เรื่อง การปฏิวัติอุตสาหกรรม เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ .............. เดือน ...................... พ.ศ. ........................ นายอภิวัฒน์ ชูศรีทอง ผู้สอน 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตัวชี้วัด ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และ การเมืองเข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกับการปฏิวัติอุตสาหกรรมได้ (K) 2. สืบค้นข้อมูลวิเคราะห์เกี่ยวกับการปฏิวัติอุตสาหกรรมได้ (P) 3. มีความสนใจใฝ่รู้เกี่ยวกับการปฏิวัติอุตสาหกรรม (A) 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์/สมรรถนะผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นในการทำงาน สมรรถนะผู้เรียน - ด้านการคิด 4. สาระสำคัญ การปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นการปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตจากการใช้แรงงานคนมาเป็นเครื่องจักร ซึ่งเป็นการปฏิวัติที่ต่อเนื่องมาจากการปฏิวัติวิทยาศาสตร์


5. สาระการเรียนรู้ การปฏิวัติอุตสาหกรรม 6. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูแจ้งตัวชี้วัดช่วงชั้นและจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 2. ครูพูดคุยเกี่ยวกับคลิปวีดีทัศน์ ยุคอุตสาหกรรม เกิดมาได้ยังไง ? | Point of View x SCG ที่ มอบหมายให้ศึกษามาล่วงหน้า เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมที่จะทำ ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 3. ครูให้นักเรียนแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ศึกษาและสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิวัติอุตสาหกรรม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 การปฏิวัติอุตสาหกรรม กลุ่มที่ 2 อุตสาหกรรมทอผ้ากับความก้าวหน้าของการปฏิวัติอุตสาหกรรม กลุ่มที่ 3 ผลกระทบของการปฏิวัติอุตสาหกรรม 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มดำเนินการดังนี้ 1) สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับหัวข้อที่กลุ่มตนเองเลือก 2) จัดทำสื่อให้ความรู้เพื่อแสดงผลงานของกลุ่มในหัวข้อที่กลุ่มตนเองเลือก 3) ตั้งคำถามเพื่อให้เพื่อน ๆ หรือบุคคลที่สนใจตอบแสดงความคิดเห็น โดยตั้งกล่องรับคำถาม 4. เก็บรวบรวมคำตอบและข้อคิดเห็นมาวิเคราะห์และอภิปรายและสรุปร่วมกัน 5. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทำงานและการนำเสนอ ผลงานของนักเรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทำงานเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 5. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมเกี่ยวกับการปฏิวัติอุตสาหกรรม ในแบบฝึกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4-6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด แล้วช่วยกันเฉลยคำตอบที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 6. ครูให้นักเรียนนำความรู้เรื่อง การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ มาขยายความรู้เกี่ยวกับการปฏิวัติ อุตสาหกรรม ขั้นที่ 5 สรุป 7. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การปฏิวัติอุตสาหกรรม โดยให้นักเรียนสรุปเป็นแผนที่ ความคิด 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4–6 เล่ม 2 บริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 2. คลิปวีดีทัศน์ ยุคอุตสาหกรรม เกิดมาได้ยังไง ? | Point of View x SCG


8. กระบวนการวัดและประเมินผล รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์ 1. อธิบายเกี่ยวกับการปฏิวัติอุตสาหกรรมได้ (K) ประเมินผล งาน/กิจกรรม เป็นกลุ่ม แบบประเมินผลงาน/ กิจกรรมเป็นกลุ่ม ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 2. สืบค้นข้อมูลวิเคราะห์เกี่ยวกับการปฏิวัติ อุตสาหกรรมได้ (P) ประเมิน พฤติกรรมใน การทำงานเป็น กลุ่ม แบบประเมินผลงาน/ กิจกรรมเป็นกลุ่ม ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 3. มีความสนใจใฝ่รู้เกี่ยวกับการปฏิวัติ อุตสาหกรรม (A) ประเมิน พฤติกรรม รายบุคคล แบบประเมินพฤติกรรม รายบุคคล ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 9. ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .....……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….... ลงชื่อ............................................ (นางวราภรณ์ หอมจันทร์) ครูพี่เลี้ยง 10. ความคิดเห็นของฝ่ายบริหารงานวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .....……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….... ลงชื่อ............................................ (นางวรลักษณ์ ตรงวัฒนาวุฒิ) หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สาระการเรียนรู้ที่ 4 ประวัติศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่ เวลาเรียน 7 ชั่วโมง เรื่อง แนวคิดประชาธิปไตยและศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ .............. เดือน ...................... พ.ศ. ........................ นายอภิวัฒน์ ชูศรีทอง ผู้สอน 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตัวชี้วัด ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และ การเมืองเข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกับยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ได้ (K) 2. สืบค้นข้อมูลวิเคราะห์เกี่ยวกับยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ได้ (P) 3. มีความสนใจใฝ่รู้เกี่ยวกับยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ (A) 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์/สมรรถนะผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นในการทำงาน สมรรถนะผู้เรียน - ด้านการคิด 4. สาระสำคัญ ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย เป็นช่วงที่นักคิด นักปราชญ์ออกมามีบทบาทเป็นอย่างมาก โดย มีการวางแนวคิดประชาธิปไตย ซึ่งส่งผลให้มีการปฏิวัติทางการเมืองครั้งสำคัญ ได้แก่ การปฏิวัติการเมืองการ ปกครองของอังกฤษ การปฏิวัติเรียกร้องเอกราชของชาวอเมริกัน และการปฏิวัติฝรั่งเศส


ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่แสดงให้เห็นถึงความรุ่งเรืองทั้งในด้านสถาปัตยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม ดนตรี และวรรณกรรมในยุโรผปสมัยใหม่ สามารถแบ่งออกเป็น บารอก คลาสสิกใหม่ จินตนิยม และสัจนิยม 5. สาระการเรียนรู้ 1. ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย 2. ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ 6. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูแจ้งตัวชี้วัดช่วงชั้นและจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 2. ครูพูดคุยเกี่ยวกับคลิปวีดีทัศน์ ประวัติศาสตร์ สมัยภูมิธรรม หรือยุคเรืองปัญญา สรุป 3 นาที I Lekker History EP.27 ที่มอบหมายให้ศึกษามาล่วงหน้า เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมที่จะทำ ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 3. ครูให้นักเรียนแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ศึกษาและสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับแนวคิดประชาธิปไตยและ ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ ดังนี้ 1) นักปราชญ์การเมืองแนวประชาธิปไตย 2) การปฏิวัติทางการเมืองการปกครอง 3) ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มดำเนินการดังนี้ 1) สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับหัวข้อที่กลุ่มตนเองเลือก 2) จัดทำสื่อให้ความรู้เพื่อแสดงผลงานของกลุ่มในหัวข้อที่กลุ่มตนเองเลือก 3) ตั้งคำถามเพื่อให้เพื่อน ๆ หรือบุคคลที่สนใจตอบแสดงความคิดเห็น โดยตั้งกล่องรับคำถาม 4. เก็บรวบรวมคำตอบและข้อคิดเห็นมาวิเคราะห์และอภิปรายและสรุปร่วมกัน 5. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทำงานและการนำเสนอ ผลงานของนักเรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทำงานเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 5. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมเกี่ยวกับแนวคิดประชาธิปไตยและศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ ในแบบฝึก ทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4-6 แล้วช่วยกันเฉลยคำตอบที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 6. ครูให้นักเรียนนำความรู้เรื่อง การฟื้นฟูศิลปวิทยา มาขยายความรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ ขั้นที่ 5 สรุป 7. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง แนวคิดประชาธิปไตยและศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ โดยให้ นักเรียนสรุปเป็นแผนที่ความคิด 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4–6 เล่ม 2 บริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด


2. คลิปวีดีทัศน์ประวัติศาสตร์ สมัยภูมิธรรมหรือยุคเรืองปัญญา สรุป 3 นาที I Lekker History EP.27 8. กระบวนการวัดและประเมินผล รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์ 1. อธิบายเกี่ยวกับยุคภูมิธรรมและแนวคิด ประชาธิปไตย ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ได้ (K) ประเมินผล งาน/กิจกรรม เป็นกลุ่ม แบบประเมินผลงาน/ กิจกรรมเป็นกลุ่ม ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 2. สืบค้นข้อมูลวิเคราะห์เกี่ยวกับยุคภูมิ ธ ร ร ม แ ล ะ แ น ว ค ิ ด ป ร ะ ช า ธ ิ ป ไ ต ย ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ได้ (P) ประเมิน พฤติกรรมใน การทำงานเป็น กลุ่ม แบบประเมินผลงาน/ กิจกรรมเป็นกลุ่ม ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 3. มีความสนใจใฝ่รู้เกี่ยวกับยุคภูมิธรรมและ แนวคิดประชาธิปไตย ศิลปวัฒนธรรม สมัยใหม่ (A) ประเมิน พฤติกรรม รายบุคคล แบบประเมินพฤติกรรม รายบุคคล ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 9. ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .....……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ลงชื่อ............................................ (นางวราภรณ์ หอมจันทร์) ครูพี่เลี้ยง 10. ความคิดเห็นของฝ่ายบริหารงานวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .....……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ลงชื่อ............................................ (นางวรลักษณ์ ตรงวัฒนาวุฒิ) หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สาระการเรียนรู้ที่ 4 ประวัติศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป เวลาเรียน 2 ชั่วโมง เรื่อง ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปในทวีปอเมริกา เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ .............. เดือน ...................... พ.ศ. ........................ นายอภิวัฒน์ ชูศรีทอง ผู้สอน 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตัวชี้วัด ม.4-6/3 วิเคราะห์ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปในทวีปอเมริกาได้ (K) 2. วิเคราะห์และร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นถึงความสำคัญของการขยายอิทธิพลของประเทศ ในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา (P) 3. สนใจศึกษาเรื่องทวีปอเมริกา (A) 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์/สมรรถนะผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นในการทำงาน สมรรถนะผู้เรียน - ด้านการคิด


4. สาระสำคัญ อาณานิคมอเมริกา 13 แห่งประกาศอิสรภาพจากอังกฤษตั้งเป็นสหรัฐอเมริกา ประเทศใหม่นี้ได้รับ อิทธิพลจากประเทศในยุโรปในด้านต่าง ๆ คือ ด้านการเมืองการปกครอง มีการคานอำนาจกันระหว่างฝ่ายนิติ บัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ ตามแนวคิดของมองเตสกิเออนักเขียนและนักปราชญ์ทางรัฐศาสตร์ชาว ฝรั่งเศส ด้านเศรษฐกิจ สหรัฐอเมริกาปฏิวัติอุตสาหกรรมตามอย่างอังกฤษและประสบความสำเร็จทัดเทียมกับ อังกฤษ ด้านสังคม การปฏิวัติอุตสาหกรรมทำให้สังคมเมืองขยายตัว ชาวชนบทอพยพเข้าเมืองเพื่อหางานทำ ด้านวัฒนธรรม เนื่องจากประชากรอพยพมาจากยุโรปจึงรับขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของยุโรป มาใช้ ด้านศิลปกรรมรับอิทธิพลจากศิลปินในยุโรป โดยเฉพาะศิลปินฝรั่งเศส 5. สาระการเรียนรู้ ทวีปอเมริกา 1. การเมืองการปกครอง 2. เศรษฐกิจ 3. สังคม 4. ศิลปกรรม 6. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูแจ้งตัวชี้วัดช่วงชั้นและจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 2. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน 3. ครูให้นักเรียนดูแผนที่ทวีปอเมริกา และถามนักเรียนว่าทวีปอเมริกามีความเป็นมาอย่างไร นักเรียน ตอบพร้อมทั้งออกมาชี้แผนที่ประกอบ เพื่อน ๆ ช่วยกันแสดงความคิดเห็น จากนั้นครูอธิบายสรุปเพื่อเชื่อมโยง เข้าสู่เนื้อหาที่จะเรียน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 4. ครูอธิบายเกี่ยวกับทวีปอเมริกา 5. ครูเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับทวีปอเมริกาให้นักเรียนฟัง จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันตั้งประเด็นการศึกษา เกี่ยวกับทวีปอเมริกา โดยครูบันทึกประเด็นต่าง ๆ ลงบนกระดานดำ ตัวอย่างประเด็นการศึกษา 1) เหตุใดทวีปอเมริกาจึงอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ 2) หลังประกาศอิสรภาพแล้วอเมริกามีการปกครองแบบใด 3) หลังประกาศอิสรภาพทำให้เศรษฐกิจและสังคมของอเมริกาเป็นอย่างไร 4) ผลจากการที่อังกฤษเข้ามาในอเมริกาทำให้ศิลปกรรมเป็นอย่างไร 6. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–6 คน จากนั้นให้แต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับทวีปอเมริกาใน ประเด็นต่าง ๆ เช่น 1) การเมืองการปกครอง 2) เศรษฐกิจ 3) สังคม 4) ศิลปกรรม จากสื่อหรือแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต แล้วบันทึกข้อมูลลงในแบบบันทึก ความรู้


7. ครูให้นักเรียนตั้งคำถามพร้อมเฉลยคำตอบเกี่ยวกับทวีปอเมริกา แล้วให้นักเรียนสุ่มเลือกกลุ่มอื่น ตอบคำถาม จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติม ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นว่า เมื่ออเมริกา ประกาศอิสรภาพแล้วได้เข้ามามีอิทธิพลในอาเซียนอย่างไร จากนั้นช่วยกันสรุป บันทึกผล 8. ในขณะนักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทำงานและการนำเสนอผลงานของ นักเรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทำงานเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 9. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับทวีปอเมริกา ในแบบฝึกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด แล้วช่วยกันเฉลยคำตอบที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 10. ครูแนะนำให้นักเรียนนำความรู้เรื่องทวีปอเมริกาไปเผยแพร่ให้ผู้อื่น ขั้นที่ 5 สรุป 11. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ทวีปอเมริกา โดยให้นักเรียนสรุปเป็นแผนที่ความคิด 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2. แผนที่ทวีปอเมริกา 3. แบบบันทึกความรู้ 2. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4–6 เล่ม 2 บริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด


8. กระบวนการวัดและประเมินผล รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์ 1. อธิบายลักษณะสำคัญของทวีปอเมริกาได้ (K) ตรวจ แบบทดสอบ แบบทดสอบ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 2. วิเคราะห์และร่วมกันอภิปรายแสดงความ คิดเห็นถึงความสำคัญของการขยายอิทธิพล ของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา (P) ประเมิน พฤติกรรมใน การทำงานเป็น กลุ่ม แบบประเมินผลงาน/ กิจกรรมเป็นกลุ่ม ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 3. สนใจศึกษาเรื่องทวีปอเมริกา (A) ประเมิน พฤติกรรม รายบุคคล แบบประเมินพฤติกรรม รายบุคคล ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 9. ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .....……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….... ลงชื่อ............................................ (นางวราภรณ์ หอมจันทร์) ครูพี่เลี้ยง 10. ความคิดเห็นของฝ่ายบริหารงานวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .....……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….... ลงชื่อ............................................ (นางวรลักษณ์ ตรงวัฒนาวุฒิ) หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สาระการเรียนรู้ที่ 4 ประวัติศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป เวลาเรียน 2 ชั่วโมง เรื่อง ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปในทวีปแอฟริกาและทวีปเอเชีย เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ .............. เดือน ...................... พ.ศ. ........................ นายอภิวัฒน์ ชูศรีทอง ผู้สอน 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตัวชี้วัด ม.4-6/3 วิเคราะห์ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปในทวีปแอฟริกาและทวีปเอเชีย (K) 2. วิเคราะห์และร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นถึงความสำคัญของการขยายอิทธิพลของประเทศ ในยุโรปไปยังทวีปแอฟริกาและทวีปเอเชีย (P) 3. สนใจศึกษาเรื่องทวีปแอฟริกาและทวีปเอเชีย (A) 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์/สมรรถนะผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นในการทำงาน สมรรถนะผู้เรียน - ด้านการคิด


4. สาระสำคัญ ทวีปแอฟริกา ชาวยุโรปเข้ามาในทวีปแอฟริกาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 จากการสำรวจทางทะเล ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นระยะเวลาที่อุตสาหกรรมในยุโรปเจริญรุ่งเรืองและแผ่ขยายไปอย่างกว้างขวาง จำเป็นอย่างยิ่งที่ประเทศอุตสาหกรรมยังต้องการวัตถุดิบจำนวนมากซึ่งไม่อาจหาได้ในประเทศของตน จึงต้อง แสวงหาแหล่งทุน นอกจากนี้ชาวยุโรปได้นำเอาความเจริญเข้ามาสู่ทวีปแอฟริกาหลายด้าน ที่สำคัญได้แก่ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ศิลปกรรม เมื่อชาวยุโรปเข้ามาหาผลประโยชน์ในดินแดนเอเชียในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 เกิดความเปลี่ยนแปลง ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และศิลปกรรม 5. สาระการเรียนรู้ ทวีปแอฟริกาและทวีปเอเชีย 1. การเมืองการปกครอง 2. เศรษฐกิจ 3. สังคม 4. วัฒนธรรม 5. ศิลปกรรม 6. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูแจ้งตัวชี้วัดช่วงชั้นและจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 2. ครูให้นักเรียนดูแผนที่ทวีปแอฟริกา แล้วถามว่าอยู่บริเวณใด มีความสำคัญอย่างไร จากนั้นครู อธิบายสรุปเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหาที่จะเรียน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 3. ครูอธิบายเรื่องของทวีปแอฟริกา 4. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม แต่ละกลุ่มช่วยกันระดมสมองและวิเคราะห์ว่า เมื่อประเทศ ในยุโรปเข้ามามีอิทธิพลต่อทวีปแอฟริกา ทำให้การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ ศิลปกรรมเป็นอย่างไร พร้อมยกตัวอย่างประกอบ บันทึกผล และตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน 5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการนำเสนอผลงานของนักเรียนและให้ความรู้เพิ่มเติม 6. ในขณะนักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทำงานและการนำเสนอผลงานของ นักเรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทำงานเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 7. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมเกี่ยวกับทวีปเอเชีย และแบบทดสอบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ประจำหน่วยการเรียนรู้ แล้วช่วยกันเฉลยคำตอบที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 8. ครูให้นักเรียนทำสมุดภาพเรื่อง ทวีปแอฟริกา ไปเผยแพร่ความรู้ให้กับผู้อื่นได้ ขั้นที่ 5 สรุป 9. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ทวีปแอฟริกา โดยให้นักเรียนสรุปเป็นแผนที่ความคิด


10. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนและช่วยกันเฉลยคำตอบ 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2. แผนที่ทวีปเอเชีย 3. แผนที่ทวีปแอฟริกา 4. แบบบันทึกการระดมสมอง 5. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4–6 เล่ม 2 บริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ‘


8. กระบวนการวัดและประเมินผล รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์ 1. อธิบายผลกระทบของการขยายอิทธิพล ของประเทศยุโรปในทวีปแอฟริกาและทวีป เอเชีย (K) ตรวจ แบบทดสอบ แบบทดสอบ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 2. วิเคราะห์และร่วมกันอภิปรายแสดงความ คิดเห็นถึงความสำคัญของการขยายอิทธิพล ของประเทศในยุโรปไปยังทวีปแอฟริกาและ ทวีปเอเชีย (P) ประเมิน พฤติกรรมใน การทำงานเป็น กลุ่ม แบบประเมินผลงาน/ กิจกรรมเป็นกลุ่ม ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 3. สนใจศึกษาเรื่องทวีปแอฟริกาและทวีป เอเชีย (A) ประเมิน พฤติกรรม รายบุคคล แบบประเมินพฤติกรรม รายบุคคล ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 9. ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .....……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….... ลงชื่อ............................................ (นางวราภรณ์ หอมจันทร์) ครูพี่เลี้ยง 10. ความคิดเห็นของฝ่ายบริหารงานวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .....……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….... ลงชื่อ............................................ (นางวรลักษณ์ ตรงวัฒนาวุฒิ) หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สาระการเรียนรู้ที่ 4 ประวัติศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความขัดแย้งและการสานประโยชน์ระหว่างประเทศ เวลาเรียน 6 ชั่วโมง เรื่อง สงครามโลกครั้งที่ 1 เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ .............. เดือน ...................... พ.ศ. ........................ นายอภิวัฒน์ ชูศรีทอง ผู้สอน 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตัวชี้วัด ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และ การเมืองเข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายสาเหตุที่ทำให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้ (K) 2. วิเคราะห์วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้ (P) 3. สนใจศึกษาความสำคัญของสงครามโลกครั้งที่ 1 (A) 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์/สมรรถนะผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นในการทำงาน สมรรถนะผู้เรียน - ด้านการคิด 4. สาระสำคัญ ในช่วงศตวรรษที่ 20 ความขัดแย้งระหว่างประเทศครั้งสำคัญที่นำไปสู่สงครามที่มีผลกระทบต่อโลก อย่างกว้างขวาง ได้แก่ สงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นสงครามครั้งใหญ่ที่เกิดจากความขัดแย้งของประเทศในทวีป


ยุโรป และลุกลามไปยังประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกมากกว่า 30 ประเทศ สร้างความเสียหายให้แก่สังคมโลกอย่าง ร้ายแรง จึงมีผู้เรียกสงครามนี้อีกอย่างหนึ่งว่า มหาสงคราม 5. สาระการเรียนรู้ สงครามโลกครั้งที่ 1 6. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูแจ้งตัวชี้วัดช่วงชั้นและจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 2. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน 3. ครูให้นักเรียนดูข่าวเกี่ยวกับสงครามที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน แล้วให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ เหตุการณ์ดังกล่าวว่านักเรียนรู้สึกอย่างไร และนักเรียนคิดว่า สงครามที่เกิดขึ้นเกิดขึ้นเพราะเหตุใดเป็นสำคัญ ครูสรุปคำตอบของนักเรียนแล้วโยงเข้าสู่เนื้อหาที่จะเรียน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 4. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 3 กลุ่ม เพื่อศึกษาเรื่อง สงครามโลกครั้งที่ 1 5. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มปรึกษากันเกี่ยวกับประเด็นที่จะสืบค้นข้อมูลในเรื่องที่ได้รับผิดชอบแล้ว นำเสนอให้ครูพิจารณา 6. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลในหัวข้อที่ได้รับผิดชอบในประเด็นต่าง ๆ แล้วนำข้อมูลมา บันทึกลงในแบบบันทึกความรู้ 7. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า ความขัดแย้งในสงครามโลกครั้ง ที่ 1 มีผลต่ออาเซียนอย่างไรบ้าง หลังจากที่นักเรียนอภิปรายจบ ครูสรุป แล้วให้นักเรียนบันทึกความรู้ที่ได้ลงในแบบบันทึกความรู้ 8. ขณะนักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทำงานและการนำเสนอผลงานของ นักเรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทำงานเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 9. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่ 1 ในแบบฝึกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด แล้วช่วยกันเฉลยคำตอบที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 10. ครูให้นักเรียนนำความรู้เรื่อง สงครามโลกครั้งที่ 1 ไปเผยแพร่ให้ผู้ปกครองฟัง ขั้นที่ 5 สรุป 11. สรุปความรู้เกี่ยวกับความขัดแย้งเป็นแผนที่ความคิด แล้วให้นักเรียนบันทึกลงสมุด 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2. ข่าวที่เกี่ยวกับสงครามที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน


Click to View FlipBook Version