ก
ก คำนำ แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาเล ่มนี้ ได้รวบรวมหลักฐานที ่เกี ่ยวกับการสอน รายวิชาสังคม 2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และรายประวัติศาสตร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที ่เกิดจาการวิเคราะห์สภาพการจัดการเรียนการสอน เพื ่อวางแผนพัฒนา การเรียนการสอน ให้มีประสิทธิภาพ โดยทุกขั้นตอนได้รับคำปรึกษา และตรวจสอบดูแลอย่างใกล้ชิดจากผู้เชี่ยวชาญ ด้านต่างๆ เป็นอย่างดี แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษานี้ ประกอบด้วย ขั้นตอนการวิเคราะห์สภาพปัญหาการสอน การวางแผนการวัดผล และประเมินผลอย่างละเอียด ตัวอย่างเครื่องมือวัดผล และตัวอย่างชิ้นงาน ผู้เรียน ซึ่งทุกชิ้นได้ผ่านการตรวจสอบแล้วเช่นเดียวกัน ขอขอบพระคุณนางสาวอารีรัตน์ นุตะภิบาล ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า คณะกรรมการพัฒนางานวิชาการโรงเรียน ผู้เชี่ยวชาญทุกท ่าน ตลอดจนผู้ที่มีส่วนร ่วม ในการให้กำลังใจในการจัดทำทุกขั้นตอน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าสิ่งที่ดีงามเหล่านี้จะเป็นประโยชน์และ ผลดีต่อการพัฒนาผู้เรียน พัฒนาการเรียนการสอนและพัฒนาการศึกษาต่อไป ปิยะธิดา แสงสุรินทร์ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานศึกษา สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ข สารบัญ หน้า คำนำ ก สารบัญ ข ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1 ประวัติผู้จัดทำ 2 ประวัติการศึกษา 3 ประวัติสถานศึกษา 4 ส่วนที่ 2 ข้อมูลการพัฒนาตนเองทางด้านวิชาชีพครู 18 1. ด้านการเรียนการสอน 19 1) สภาพการจัดการเรียนการสอน 19 2) การวิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน 19 3) การวิเคราะห์ และประเมินทางเลือกในการแก้ไขปัญหา การเรียนการสอน 19 (1) การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล 20 (2) การวิเคราะห์หลักสูตร 21 ก. หลักการ 21 ข. จุดมุ่งหมาย 22 ค. โครงสร้าง 23 ง. เวลาเรียน 27 จ. แนวดำเนินการ 31 ฉ. การวัดประเมินผล 31 ช. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 31 4) หนังสือส่งตัวจากคณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 32 5) ตารางสอน 34 6) ตารางวิเคราะห์หลักสูตร 35 ก. โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน 35 7) ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ 39 8) ตัวอย่างเครื่องมือการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 61
ค สารบัญ (ต่อ) หน้า 9) ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 69 10) ตัวอย่างชิ้นงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ 74 11) บันทึกผลหลังสอน 12) แบบบันทึกนักเรียนเป็นรายบุคคล 13) แบบประเมินตนเองในการจัดการเรียนรู้ของครู 76 77 78 2. ด้านครูที่ปรึกษาและครูประจำวิชา 79 1) บันทึกการโฮมรูม (Home room) 79 2) บันทึกการเข้าแถวหน้าเสาธง 79 ส่วนที่ 3 การปฏิบัติงานพิเศษ 80 1. โครงการทางการศึกษาที่รับผิดชอบ 81 2. การวิจัยทางการศึกษา/การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 3. แผนการจัดการเรียนรู้ 84 86 ส่วนที่ 4 การปฏิบัติตน 88 1. ด้านการแต่งกาย 89 2. ด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น 3. ด้านความประพฤติและการมีส่วนร่วมกิจกรรมในโรงเรียน 4. ด้านการเรียนการสอน 89 89 90 ภาคผนวก 91 คำสั่งแต่งตั้ง 92 รูปภาพ 104
1 ▪ ประวัติผู้จัดทำ ▪ ประวัติการศึกษา ▪ ประวัติสถานศึกษา ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
2 ชื่อ – สกุล นางสาวปิยะธิดา แสงสุรินทร์ชื่อเล่น แป้ง หมู่โลหิต โอ (O) เกิดวันที่26 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2544 เป็นบุตรคนที่ 2 จากจำนวน 2 คน สัญชาติไทย เชื้อชาติไทย ศาสนา พุทธ บิดาชื่อ นายทองสุข แสงสุรินทร์ มารดาชื่อ นางรื่น แสงสุรินทร์ ที่อยู่ปัจจุบัน 70 หมู่ 7 ตำบลโคกกลาง อำเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี ปัจจุบันกำลังศึกษา สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี รหัสนักศึกษา 63040110115 เบอร์โทรศัพท์0963377671 คติประจำใจ ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน อาชีพที่อยากเป็นในอนาคต คุณครูและธุรกิจส่วนตัว อุปนิสัย เป็นคนชอบฟังมากกว ่าพูด ไม่ชอบอธิบายตนเองกับคนที ่ไม ่พร้อมรับฟังเรา มักเครียดกับ อนาคตจนลืมว่าปัจจุบันเราควรเป็นคนที่มีความสุขบ้าง เป็นผู้รับฟัง และที่ปรึกษาได้พอสมควร E-mail: [email protected] ประวัติผู้จัดทำ
4 ระดับการศึกษา สาขาวิชา สถานศึกษา ปีการศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 - โรงเรียนบ้านคำเต้าแก้วหินลาด 2551 - 2556 มัธยมศึกษาตอนต้น - โรงเรียนนางิ้ววิทยาสรรค์ 2557 – 2559 มัธยมศึกษาตอนปลาย วิทย์-คณิต โรงเรียนนางิ้ววิทยาสรรค์ 2560 – 2562 ปริญญาตรี สังคมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 2563 – ปัจจุบัน ประวัติการศึกษา 3
4 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ โรงเรียน เทศบาล 3 บ้านเหล่า สังกัด สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย กลุ่มการศึกษาท้องถิ่นที่ 9 เทศบาลนครอุดรธานี ที่ตั้ง เลขที่ 11 ถนนประชาอุทิศ ตำบลหมากแข้ง อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 โทรศัพท์0-4223-0137 - ประวัติโรงเรียน โรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า เดิมตั้งอยู่ที่ศาลาการเปรียญวัดบ้านเหล่า เป็นโรงเรียนสาขา ของโรงเรียนวัดบ้านเก่าน้อย เปิดทำการสอนตั้งแต่ชั้น ป.1 ถึงชั้น ป.4 พ.ศ. 2473 ต่อมา พ.ศ. 2477 นายอำเภอเมืองอุดรธานีได้จัดทำพิธีตั้งโรงเรียนขึ้นที่ศาลาการเปรียญวัดบ้านเหล่า ได้เปลี่ยนชื่อใหม่ว่า โรงเรียนประชาบาลตำบลบ้านเหล่า 1 (วัดบ้านเหล่า) พ.ศ. 2480 ทางราชการได้โอนโรงเรียนเป็น โรงเรียนเทศบาลและย้ายจากศาลาการเปรียญวัดบ้านเหล่ามาสร้างใหม่ในที่ปัจจุบัน ซึ่งมีพื้นที่ 12 ไร่ 3 งาน 91.45 ตารางวา พ.ศ. 2504 ได้โอนย้ายจากศาลาการเปรียญวัดบ้านเหล่ามาเรียนที ่อาคารหลังใหม ่เป็น เอกเทศ ณ ที่ดินของโรงเรียนในปัจจุบันนี้ เป็นอาคาร 2 ชั้น 8 ห้องเรียน พ.ศ. 2506 ขยายชั้นเรียนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 7 พ.ศ. 2520 ปลูกสร้างอาคารหลังที่ 4 แบบปูน 3 ชั้น 18 ห้องเรียน ด้วยเงินงบประมาณของ กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2520 เลิกใช้หลักสูตร ชั้น ป.7 มาใช้หลักสูตร 2521 จบหลักสูตร ชั้น ป.6 พ.ศ. 2526 ปลูกสร้างอาคารหลังที่ 5 แบบปูน 3 ชั้น 36 ห้องเรียน แทนอาคาร 3 พ.ศ. 2537 สร้างอาคารเรียนหลังที่ 4 ต่อจากอาคารเรียนเพิ่มอีก จำนวน 18 ห้อง ประวัติสถานศึกษา
5 พ.ศ. 2538 โรงเรียนเป็นโรงเรียนขยายโอกาส เปิดสอนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พ.ศ. 2538 สร้างอาคารอเนกประสงค์ ราคา 4,000,000 บาท ด้วยเงินอุดหนุนจา กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2550 สร้างอาคารเรียนระดับชั้นอนุบาล 1 หลัง 12 ห้องเรียน งบประมาณ 9,000,000 บาท และก่อสร้างอาคารเรียน 4 ชั้นใต้ถุนโล่งบางส่วน 36 ห้องเรียน และอาคารประกอบ (ห้อง AV ) งบประมาณ 31,000,000 บาท จากเทศบาสลนครอุดรธานี พ.ศ. 2551 ได้รับอนุมัติให้ขยายการจัดการเรียนการสอนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 พ.ศ. 2552 ระดับชั้นอนุบาล(ปฐมวัย) ได้แยกไปก่อตั้งเป็นโรงเรียนเทศบาล 10 อนุบาลหนูดี โดยโรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า จัดการเรียนการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที ่ 1 ถึงระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 พ.ศ. 2561 สร้างอาคารเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย(อาคาร 4) เป็นอาคาร 4 ชั้น 12 ห้องเรียน งบประมาณ 9,350,000 บาท สมัยบริหาร ดร.อิทธิพนธ์ ตรีวัฒนสุวรรณ นายกเทศมนตรี นครอุดรธานี ปัจจ ุบันโรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล ่า เป็นสถานศึกษาที ่เปิดสอนตั้งแต ่ระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที ่ 1 จนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที ่ 6 เป็นการบริหารการศึกษาระดับท้องถิ่น สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครอุดรธานี กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย วิสัยทัศน์ (Vision) สถานศึกษาดี มีคุณธรรม นำเทคโนโลยีสู่การเรียนรู้ มุ่งสู่ความเป็นสากล ชุมชนมีส่วน ร่วมจัดการศึกษา อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พัฒนาภูมิทัศน์และแหล่งเรียนรู้ ดำรงตนอยู่ตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง Virtue school, applying technology in class, focusing on international standard, participating in education management with the communities, preserving environment, developing landscape and learning resources, and living on the philosophy of sufficient economy. เป้าหมาย (Goal) นักเรียนโรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ ทั้งทางด้านกีฬา และวิชาการมีคุณธรรมจริยธรรม และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามมาตรฐาน Being a knowledgeable man. Sports and Academic abilities. Having virtue and ethics. Having the standard of academic achievement.
6 ปรัชญา (Philosophy) สุวิชาโน ภวังค์ โหติ : ผู้รู้ดี เป็นผู้เจริญ A wise man is a civilized one. คำขวัญ (Slogan) รู้วิชา รักษาหน้าที่ รู้รักสามัคคี มีคุณธรรม Being knowledgeable, Keeping on duties, Loving in Harmony, Having virtue. พันธกิจ (Mission) 1. ส่งเสริมบุคลากรในสถานศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. พัฒนาศักยภาพด้านเทคโนโลยีและใช้อย่างสร้างสรรค์ 3. การบริหารจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น 4. ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษา 5. พัฒนาภูมิทัศน์ แหล่งเรียนรู้และสร้างจิตสำนึกในการร่วมรักษาสภาพแวดล้อม 6. พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพในการจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาสู่สากล 1. Encourage personnel in school to have moral, ethics, and desirable features based on Sufficiency Economy Philosophy. 2. Develop technology abilities and use it creatively. 3. Education Administration by School Base-Management for Local devilment. 4. Promote and develop personnel in school. 5. Develop school landscape and learning resources and Raise awareness to Preserve the environment together. 6. Develop school efficiently for learning management of international education standard. สีประจำโรงเรียน (Color) “แสด” ต้นไม้และดอกไม้ประจำโรงเรียน “ต้นหางนกยูง” ชื่อสามัญ : Pride of Barbados, Peacock's Crest ชื่อวิทยาศาสตร์: Caesalpinia pulcherrima Sw.
7 ลักษณะ : ต้น เป็นไม้พุ่ม มีลำต้นขนาดเล็ก เรือนยอดโปร่ง กิ่งอ่อนสีเขียว กิ่งแก่สีน้ำตาล ใบ มีใบรวม ออกเป็นแผง ปลายใบมน โคนใบแหลม ดอกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ช่อดอกยาวมีสีแดง เหลือง ชมพู ส้ม ดอกมี 5 กลีบ ผล เป็นฝักแบน อักษรย่อ (Abbreviation) “ท.3” - ข้อมูลบุคลากรของสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ จำนวนบุคลากรภายในโรงเรียน ชื่อ–สกุล ระดับ เบอร์โทรศัพท์ ชื่อ–สกุล ระดับ เบอร์โทรศัพท์ นายวัชรวิชย์เนื่องมัจฉา คศ.3 061-7721486 นางจุฑาทิพย์สมเด็จ คศ.3 086-5105721 นางสาวลำดวน จอมไธสงค์ คศ.2 086-2417815 นางหยกแก้ว มาพร คศ.2 081-0550422 นางชวนพิศ คำภาลา คศ.3 064-7743955 นางสาวสุราณีย์ปาจารย์ คศ.2 095-6639927 นางสาวภัทรา ชนมาสุข คศ.3 086-2412882 นางภัทรานิษฐ์เลิศวานิชย์กุล คศ.1 085-7541212 นายเกรียง ไกรเพชร คศ.3 085-0111243 นางสาวพรรณธิภา วีระชัย ผู้ช่วย ครู 062-3849198 ระดับช่วงชั้นที่ 1 (ป.1 -ป.3)
8 ชื่อ–สกุล ระดับ เบอร์โทรศัพท์ ชื่อ–สกุล ระดับ เบอร์โทรศัพท์ นางวิชิตา เลี่ยวไพโรจน์ คศ.3 089-2760823 นางสาววรัญญา พันธ์สุวรรณ คศ.3 088-1008805 นางสาวมยุรี โคตรวงศ์ คศ.2 089-4893662 นางณิรดา เมืองนาง คศ.2 084-7901755 นางจุฑามาศ ศรีภูมิสุริยกานต์ คศ.3 081-8726154 นายสมพร กาญจน์แก้ว คศ.3 093-0688038 นางทิพย์วัลย์กัลยานาม คศ.3 081-7494833 นางสาวภัทราวดี สุทธิอาจ คศ.2 081-8721177 นายเรวัตร กันหา คศ.3 086-2303052 นายศุภษร ทาสีแสง ผู้ช่วยครู 098-6672279 นายเกรียงไกร จันทร์สูง คศ.3 080-1764276 นางสาวจิตรา พลยา ผู้ช่วยครู 080-7505990 นางสาวปัณฑิตา เกสรศุกร์ คศ.3 086-2287678 นางสาวศิรินทร แสนบัวคำ ผู้ช่วยครู 089-9419382 นายวรวุฒิ หลักชัย คศ.2 085-7559996 ชื่อ–สกุล ระดับ เบอร์โทรศัพท์ ชื่อ–สกุล ระดับ เบอร์โทรศัพท์ นางจีรภา พระระฆัง คศ.3 089-9433245 นางสาวศิริพร บัวลอย คศ.3 086-2202764 นางสาวปณตพร สุขแป คศ.3 091-8315591 นางสาวนุทนาถ เจนวิพากษ์ คศ.3 086-2250220 นางรัชดาภรณ์ ฟิเชอร์ คศ.3 098-3246974 นางสาวขนิษฐา ไชยสิทธิ์ คศ.2 083-3325640 นางกรณ์รวี จันทะคร คศ.3 061-6456991 นายพงฐ์ธร ทองแสน คศ.2 061-6947999 นางเสาวภา โคตรแสนลี คศ.3 093-5236942 นายสุดใจ มุกขะกัง คศ.1 086-7159877 นางพรอุมา รุดชาติ คศ.3 093-3257625 นางสาวสุกัญญา สัตนาโค คศ.1 093-2626142 นางมาลีวัลย์ กองหล้า คศ.3 063-0389530 นายภาณุวัฒน์ อุ่นจิต คศ.2 081-6012941 น.ส.วลัยพร ก้อนจันทร์หอม คศ.3 065-0913496 นางวราภรณ์ อุ่นเที่ยว คศ.1 089-5117867 นายสุบิน คำมุลนา คศ.3 088-5714576 นางสาวรุ่งรัตน์ สุริยเดช คศ.1 083-0029886 นายพีรพัฒน์ บุญหล้า คศ.3 089-0253774 นางณัฐธภา แพนพา คศ.2 084-3878997 นางสาวภัทรมน ชาเมืองศรี คศ.3 061-9956241 นางสาววนิษา พรมรินทร์ ผู้ช่วยครู 085-5914508 ระดับช่วงชั้นที่ 2 (ป.4 - ป.6) ระดับช่วงชั้นที่ 3 (ม.1 - ม.3)
9 ชื่อ–สกุล ระดับ เบอร์โทรศัพท์ ชื่อ–สกุล ระดับ เบอร์โทรศัพท์ นางอรวรรณ ชัยชนะทรัพย์ คศ.3 093-5439977 นายสุทโธ ผางค้อน้อย คศ.3 095-6696601 นางดรุณี พลลม คศ.3 091-0659338 นางสาวพรทิพย์ กองทา คศ.3 084-3346526 นางสาวศศิธร กองธรรม คศ.3 081-7098848 นายปิโยรส โลหพรหม คศ.2 089-6729413 นางวราภรณ์ พันธนะบุญ คศ.3 063-6352515 นายคมสันต์ โนนทิง คศ.1 093-5401118 นางสาวดวงแข มณีสุข คศ.3 085-7224039 นายพรหมพิทักษ์ ศรีชนะ คศ.2 098 584 5078 นายไพรัช เหลืองอิงคะสุต คศ.3 089-8420991 นายศรายุทธ นนสีราช ครูผู้ช่วย 093-5761791 นายจักรพันธ์ แสนอุบล คศ.3 089-9420047 นางสาวชวนชม ไชยสิทธิ์ คศ.3 086-2417815 จำนวนนักการภารโรง/พนักงาน ชื่อ–สกุล ตำแหน่ง ชื่อ–สกุล ตำแหน่ง นายอินทรศักดิ์ ณ หนองคาย ผู้ช่วย เจ้าหน้าที่การเงิน นายสุภาพ ลุยราช นักการภารโรง นางอุทุมพร กรมวังก้อน ผู้ช่วย เจ้าหน้าที่พัสดุ นายสมบัติ สารีโท นักการภารโรง นางจุฑารัธ วงศ์ใหญ่ ผู้ช่วย เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล นายอดุลจิตต์ ใจคำ นักการภารโรง นางสาวทิพย์วิมล เอราวัณ ผู้ช่วย เจ้าหน้าที่ธุรการ นางยุพา เพ็ชรรักษา แม่บ้าน นายวัชรพงศ์ มุมอภัย นักการภารโรง นางสาวกาญจนา หาสอดส่อง แม่บ้าน จำนวนนักเรียน ข้อมูลแสดงด้านจำนวนผู้เรียนโรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า พบว ่าจำนวนสมาชิก ทั้งหมดตั้งแต่ระดับประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษา มีจำนวนทั้งสิ้น 1,014 คน โดยสามารถอธิบาย เป็นตารางแจกแจงได้ ดังนี้ ที่ ระดับชั้น จำนวน 1 ประถมศึกษา 408 2 มัธยมศึกษาตอนต้น 385 3 มัธยมศึกษาตอนปลาย 221 รวม 1,014 ระดับช่วงชั้นที่ 4 (ม.4 - ม.6)
10 จำนวนนักศึกษาที่ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพในโรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า ทั้งหมด 28 คน เป็นชาย - คนและหญิง - คน ดังนี้ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ทั้งหมด 28 คน แบ่งตามสาขา ดังนี้ 1) สาขาวิชาสังคมศึกษา จำนวน 2 คน 2) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 3 คน 3) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา จำนวน 3 คน 4) สาขาวิชาดนตรีศึกษา จำนวน 3 คน 5) สาขาวิชาภาษาอังกฤษ จำนวน 2 คน 6) สาขาพระพุทธศาสนา จำนวน 2 คน 7) สาขานาฏศิลป์ศึกษา จำนวน 2 คน 8) สาขาการสอนภาษาจีน จำนวน 4 คน 9) สาขาคณิตศาสตร์ จำนวน 2 คน 10) สาขาทัศน์ศิลป์ จำนวน 1 คน 11) สาขาภาษาไทย จำนวน 2 คน 12) สาขาพละศึกษา จำนวน 2 คน - อาคารสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อาคารเรียน (Building) จำนวน 4 หลัง ประกอบด้วย อาคาร 1 อาคารอำนวยการ อาคาร 2 อาคารประถมศึกษา อาคาร 3 อาคารมัธยมศึกษาตอนต้น อาคาร 4 อาคารมัธยมศึกษาตอนปลาย อาคารอเนกประสงค์ จำนวน 1 หลัง - สภาพทั่วไปของสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1. การจัดระบบอาคาร โรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล ่าจะมีอาคารเรียนทั้งหมด 4 หลัง คือ อาคาร 1 อาคารอำนวยการ อาคาร 2 อาคารประถมศึกษา อาคาร 3 อาคารมัธยมศึกษาตอนต้น อาคาร 4 อาคารมัธยมศึกษาตอนปลาย และอาคารอเนกประสงค์จำนวน 1 หลัง รวมถึงสนามฟุตบอล และลานกิจกรรมต่างๆ
11 2. การจัดสภาพห้องเรียน ทางด้านแสง เสียง ความร้อน ภายในห้องเรียนมีพัดลมทุกห้อง ทำให้ห้องเรียนมีอากาศเย็นสบาย ถ่ายเท เหมาะสมแก่ การจัดการเรียนรู้ หากปิดประตูจะได้ยินเสียงจากภายนอกไม ่ดังมากจึงไม ่รบกวนกิจกรรมการเรียน การสอน ส่วนของโต๊ะ เก้าอี้จะจัดให้นักเรียนนั่งเป็นคู่ เป็นแถว 3-4 แถว ห้องเรียนไม่แออัดมีพื้นที่ทำ กิจกรรมพอสมควร 3. การจัดการคมนาคมในโรงเรียน การเดินทางของนักเรียนมาโรงเรียน จะใช้รถรับส่ง และจะมีรถยนต์ รถจักรยานยนต์ ของผู้ปกครองมาส่งผู้เรียนที่โรงเรียน ส่วนบุคลากรครูจะเดินทางมาโรงเรียนโดยใช้รถยนต์ส่วนตัว และรถจักรยานยนต์ 4. การจัดเพื่อส่งเสริมความน่าอยู่เกี่ยวความสะอาด เรียบร้อย และการตกแต่ง โรงเรียนจะมีการส่งเสริมวินัยให้ผู้เรียน โดยให้นักเรียนถอดรองเท้าและถือขึ้นบนอาคาร และปลูกฝังให้นักเรียนรักษาความสะอาดด้วยการทิ้งขยะลงถังขยะ และห้ามนักเรียนนำอาหารและ เครื่องดื่มไปรับประทานบนอาคาร และภายในห้องเรียนจะมีการจัดมุมต่างๆ ให้น่าเรียนรู้น่าสนใจ ห้องเรียนจะมีการตกแต่งด้วยป้ายนิเทศ ผลงานผู้เรียน และสื่อการเรียนการสอนต่างๆ ที่ช่วยส่งเสริม ให้ผู้เรียนเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา 6. การจัดการส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้เช่น การจัดป้ายนิเทศ การจัดมุมหนังสือ การ จัดมุมอุปกรณ์ และอื่นๆ ภายในห้องเรียน หน้าห้องเรียน และในอาคารจะมีการจัดแต่งป้ายนิเทศต่างๆ เกี่ยวกับ วิชาความรู้ หรือความรู้รอบตัวที ่ผู้เรียนควรจะได้ศึกษาเรียนรู้ซึ ่งจะมีการตกแต ่งอย ่างสวยงาม แต่ละห้องจะให้ครูประจำชั้น และนักเรียนรับผิดชอบห้องเรียนของตนในเรื่องการจัดการห้องเรียน
12 - ภาพสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ภาพที่ 1 อาคาร 1 อาคารอำนวยการ
13 ภาพที่ 2 อาคาร 2 อาคารประถมศึกษา ภาพที่ 3 อาคาร 3 อาคารมัธยมศึกษาตอนต้น ภาพที่ 3 อาคาร 3 อาคารมัธยมศึกษาต้อนต้น
14 ภาพที่ 5 อาคารอเนกประสงค์ ภาพที่ 4 อาคาร 4 อาคารมัธยมศึกษาตอนปลาย
15 - แผนผังที่ตั้งสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ภาพที่ 6 ลานกิจกรรมต่างๆ อาคาร 1 อาคารอำนวยการ อาคาร 3 อาคารมัธยมศึกษาตอนต้น อาคาร 2 อาคารประถมศึกษา อาคาร 4 อาคารมัธยมศึกษาตอนปลาย
16 - แผนภูมิแสดงโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียน นางสาวอารีรัตน์ นุตะภิบาล ผู้อ านวยการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และวิชาการ ฝ ายบริหารงานวิชาการ ฝ ายบริหารงานทั่วไป นายกฤษณ์ กลิ่นกลาง รองผู้อ านวยการ งานวิชาการ 1. งานธุรการทางวิชาการ 2. งานจัดกิจกรรมการเรียน การสอน 3. งานส่งเสริมวิชาการ 4. งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ 5. งานวัดและประเมินผล 6. งานระบบประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา 7. งานบริการแนะแนว 8. งานบริการห้องสมุด 9. งานทะเบียนนักเรียน 10. งานนิเทศภายใน สถานศึกษา 11. งานพัฒนาหลักสูตร 12. งานสื่อ นวัตกรรม และ แหล่งเรียนรู้ 13. งานวิจัยและพัฒนาการ เรียนการสอน งานกิจการนักเรียน 1. การเกณฑ์เด็กในวัยเรียน เข้าเรียน 2. งานส ามะโนนักเรียน 3. การบริการด้านสุขภาพ อนามัย 4. การบริการอาหาร กลางวัน 5. การจัดกิจกรรมสหกรณ์ โรงเรียน 6. การส่งเสริมวิถีชีวิตตาม ระบอบประชาธิปไตย 7. การจัดการข้อมูล สารสนเทศ 8. การจัดกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน 9. การดูแลวินัยและ พฤติกรรมนักเรียน 10. การจัดกิจกรรมส่งเสริม ความปลอดภัยใน 11. การจัดกิจกรรมป้องกันยา เสพติดในสถานศึกษา สถานศึกษา 12. งานระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน งานสัมพันธ์ชุมชน 1. การให้ชุมชนมีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา 2. การร่วมจัดกิจกรรมและ งานประเพณีของชุมชน 3. การประชาสัมพันธ์ สถานศึกษา 4. การให้บริการแก่ชุมชน 5. การสร้างเสริม ความสัมพันธ์กับชุมชนและ องค์กรต่าง ๆ ในท้องถิ่น คณะกรรมการสถานศึกษา นางจุฬารัตน์ ฤทธิพันธรักษ์ รองผู้อ านวยการ งานบุคลากร 1. การจัดท าแผนงาน โครงการเกี่ยวกับบุคลากร 2. การจัดอัตราก าลัง 3. การจัดบุคลากรให้ เหมาะสมกับงาน 4. การสร้างและบ ารุงขวัญ บุคลากร งานอาคารสถานที่ 1. การวางแผนด้านอาคาร สถานที่ 2. การรักษาความสะอาด และสุขาภิบาล 3. การจัดบรรยากาศและ สิ่งแวดล้อม 4. การใช้อาคารสถานที่ งานธุรการ การเงินและพัสดุ 1. งานธุรการทั่วไป 2. งานสารบรรณ 3. งานการเงินและบัญชี 4. งานพัสดุและครุภัณฑ์
17 พระครูโพธิธรรมโฆสิต กรรมการผู้แทนพระภิกษุสงฆ์ นายเกรียงศักดิ์ เวียงแก กรรมการผู้แทนองค์กรศาสนา ดร.รุ่งทิวา จันทน์วัฒนวงษ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ นางสาวมะลิวัลย์ ธรรมราช กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ นายบุญส่ง สงครามศรี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ นายนาวี กรมวังก้อน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ นายอัครเดช แพ่งศรีสาร กรรมการผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นางรื่นจิตร แพ่งศรีสาร กรรมการผู้แทนผู้ปกครอง นางปิยะพร ประเสริฐสังข์ กรรมการผู้แทนองค์กรชุมชน นายสุพจน์ วงศ์ใหญ่ กรรมการผู้แทนศิษย์เก่า นางสาวชวนชม ไชยสิทธิ์ กรรมการผู้แทนครู นางสาวอารีรัตน์ นุตะภิบาล ผู้อำนวยการสถานศึกษา/กรรมการและเลขานุการ
18 ▪ ด้านการเรียนการสอน ▪ ด้านครูที่ปรึกษา และครูประจำวิชา ส่วนที่ 2 ข้อมูลการพัฒนาตนเองด้านวิชาชีพครู
19 ข้อมูลการพัฒนาตนเองทางด้านวิชาชีพครู 1. ด้านการเรียนการสอน 1) สภาพการจัดการเรียนการสอน การเข้าฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565 นี้ เป็นไป ในรูปแบบ On Site ผู้เรียนได้มาเรียนในห้องเรียน ด้านการจัดการเรียนการสอนจึงเน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ สถานศึกษาส่งเสริมครูได้รับการพัฒนาในวิชาที่สอน มีการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ และ การนิเทศการจัดการเรียน การสอน รวมไปถึงครูมีการกำหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน โดยการศึกษาข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อนำมาวางแผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบการเรียนรู้ และจัดกิจกรรมที ่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ดูแล ช่วยเหลือผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ในระดับดีมาก 2) การวิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน ปัญหาปัจจุบันนั้นมีหลากหลาย ซึ ่งสามารถแบ ่งออกได้ 2 ส่วนสำคัญคือ ปัญหาของ ผู้เรียน และปัญหาเกี่ยวกับสื่อการเรียนการสอน ตัวผู้เรียนนั้นมีปัญหาที่สำคัญที่สุดคือ ขาดทักษะ ในการค้นคว้าหาข้อมูล และขาดทักษะในเรื ่องของการทำงานกลุ ่มหรือการทำงานร ่วมกัน เนื ่องจาก 2 ปีที ่ผ่านมาทางสถานศึกษาจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ Online ส่งผลให้ผู้เรียน ต ่างคนต ่างเรียน ต ่างคนต ่างทำงาน และเมื ่อกลับมาจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ On Site จึงมีปัญหาในการทำงานร ่วมกับผู้อื ่น และผู้เรียนส ่วนใหญ ่ขาดความกระตือรือร้นที ่จะเรียนรู้ ในบางเนื้อหา และไม ่สามารถเข้าใจในบทเรียนใหม่ๆได้เพราะว่าขาดความรู้ ส่วนปัญหาเกี่ยวกับ สื ่อนั้นพบว ่า ห้องเรียนแต ่ละห้องไม ่มีสื ่อที ่ทันสมัยพอต ่อการจัดกิจกรรมที ่ส ่งเสริมการเรียนรู้ ให้เกิดกับผู้เรียนได้อย่างเต็มที่ 3) การวิเคราะห์ และประเมินทางเลือกในการแก้ไขปัญหาการเรียนการสอน การวิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน สะท้อนให้เห็นถึงปัญหาต่างๆ มากขึ้น ทั้งในระดับเล็กจนระดับใหญ่ ตั้งแต่ผลกระทบที่เกิดต่อผู้เรียน ผู้ปกครอง จนถึงผู้สอน ที่จะต้องรับมือ หลายครั้งที่ปัญหาของระบบการศึกษาไทยไม่ถูกแก้ไข หรือแก้ไขได้ไม่ตรงจุด และหลายครั้งที่เป็นการแก้ไข ปัญหาที่ปลายเหตุ อย่างที่ทราบกันดีว่ารูปแบบ และระบบการจัดการศึกษาของประเทศไทย ในการกำหนด หลักสูตรการศึกษาค่อนข้างจะครอบคลุม และมีรายละเอียดที่หลากหลาย ซึ่งสามารถกล่าวได้ว่าเป็น ผลดีต่อผู้เรียนที่จะได้ศึกษา และเรียนรู้อย่างกว้างขวาง หากมองในทางทฤษฎีนับได้ว่าเป็นผลด้านบวก อย ่างมาก และเป็นโอกาสที ่ดีของผู้เรียน แต ่เมื ่อพิจารณาถึงสภาพจริงของสังคม สำหรับการจัด
20 การเรียนรู้ในประเทศไทยยังเป็นไปได้ยากในทางปฏิบัติที ่จะทำให้การเรียนรู้มีประสิทธิภาพ ได้มาตรฐานตามตัวชี้วัดที่ระบุในหลักสูตรการศึกษา เพราะถึงแม้ว่าสถานศึกษา หรือผู้สอนจะสามารถ จัดการเรียนการสอนได้ครบตามตัวชี้วัดที่ระบุไว้ แต่ทว่าเป็นไปอย่างเร่งด่วน รวบรัด เนื่องด้วยข้อจำกัด ด้านระยะเวลาที่ไม่สมดุลกับเนื้อหาที่ผู้เรียนควรจะได้เรียนรู้ จนบางครั้งผู้เรียนไม่สามารถที่จะเข้าใจ ถึงแก ่นแท้เนื้อหาของบทเรียนได้จริง ในมุมมองของผู้เรียน แม้จะเข้าเรียนได้ครบตามกำหนด แต่หากประเมินระดับความรู้ความสามารถของเด็กไทยยังคงพบว่าไม่ได้มีความสัมพันธ์กับสาระความรู้ ที่ได้รับอย่างสมดุลกัน เรามักจะได้ยินคำกล่าวหนึ่งอยู่เสมอที่ว่า “ความเข้าใจจะเป็นประโยชน์มากกว่า การท่องจำ แต่ไม่เข้าใจ” แต่ปฏิเสธไม่ได้ว่าเนื้อหาจำนวนมากที่ถูกบรรจุลงในหลักสูตร ทำให้ผู้เรียน จะต้องใช้ความสามารถในการจำมากกว ่าการทำความเข้าใจ ซึ ่งปัจจัยเหล่านี้จะส่งผลให้การพัฒนา การเรียนรู้ของผู้เรียนบิดเบี้ยวไปจากวัตถุประสงค์แท้จริงที่ผู้เรียนควรได้รับ เมื่อเป็นเช่นนั้นแล้วการจัดการจึงควรที่จะพิจารณาถึงหลักใหญ่ของการศึกษาก่อนสิ่งอื่นใด แต่สำหรับปัจจุบันที่ยังคงยึดหลักสูตรแกนกลางการเรียนรู้ พุทธศักราช 2551 และฉบับปรับปรุง 2560 การจัดการเรียนการสอนจึงต้องเป็นไปด้วยวิธีการที่หลากหลาย และสามารถพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ให้ได้มากที่สุด หากจะต้องพิจารณา และวิเคราะห์หาแนวทางในการแก้ไขปัญหา จะต้องเริ่มจากต้นเหตุจริง ของปัญหาที่เกิดขึ้น แล้วดำเนินการแก้ไขเป็นลำดับ แต่หากจะใช้วิธีการบรรเทา และสนับสนุนให้การจัด การเรียนรู้เหล่านี้มีประสิทธิภาพมากขึ้นเท่าที่จะทำได้ในปัจจุบัน ควรจะต้องส่งเสริมให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง กับกระบวนการจัดการเรียนรู้นั้นมีความเท ่าเทียมกัน โดยสำรวจความพร้อมในการเรียนรู้รูปแบบต ่างๆ เพื่อทราบสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น และหาทางแก้ไข ปรับปรุง ก่อนที่จะเริ่มพัฒนาผู้เรียนตามกระบวนการศึกษา ให้มีคุณภาพ และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของสาระวิชาต่างๆ ที่ถูกกำหนดขึ้น (1) การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล การพิจารณา และวิเคราะห์เกี่ยวกับผู้เรียนเป็นรายบุคคล เป็นสิ่งที่จะช่วยให้ผู้สอน ได้เข้าใจถึงความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละคน ทั้งความรู้ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจ รวมไปถึงทัศนคติ และการวางตัวในสังคมแต ่ละระดับอย ่างเหมาะสม จากการวิเคราะห์ ถึงสภาพปัญหาในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบต ่างๆ จะมีความแตกต ่างกันไปตามที ่กล่าว ทั้งนี้จะทำให้สามารถรับรู้ถึงพฤติกรรมของผู้เรียนแต่ละคนได้สำหรับการจัดการเรียนรู้การสอน ในแต่ละรูปแบบ เนื่องด้วยภาระความรับผิดชอบของผู้เรียนแต่ละคน ความเอาใจใส่ การติดตามงาน กระทั่งพฤติกรรมที่แสดงออกในขณะที่กำลังจัดการเรียนการสอน เหล่านี้ล้วนสะท้อนให้เห็นถึงความ เป็นไปได้ และอุปสรรคในการจัดการเรียนการสอนแต ่ละรูปแบบว ่ามีแนวโน้มอย ่างไร จะประสบ ความสำเร็จมากน้อยระดับไหน และผู้สอนจะต้องเตรียมพร้อมในการรับมือกับสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ได้อย่างไร
21 การจัดการเรียนการสอน แน่นอนว่าอาจจะมีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์เกิดขึ้นบ้าง ในชั้นเรียน เช่น อาการง่วงนอน การก่อกวนภายในชั้นเรียน การหยอกล้อกัน และพูดคุยเสียงดัง ไม่ว่าจะเป็นการจัดการเรียนรู้รูปแบบใดก็ตาม โดยสิ่งเหล่านี้ผู้สอนจะต้องทำความเข้าใจ เรียนรู้ และ จัดการกับสิ่งที่เกิดขึ้นให้เป็นไปโดยที่ไม่กระทบกับความรู้สึกของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ ายทั้งผู้เรียน ผู้สอน และผู้ปกครอง ดังนั้นทางเลือกที่มีแนวโน้มจะเป็นไปได้ ได้แก่ การพูดคุยทำความเข้าใจ ขอความ ร ่วมมือ สร้างข้อตกลงร ่วมกันระหว ่างชั้นเรียน หรือกระทั ่งการเสริมแรงทางบวกแก ่ผู้เรียน ซึ่งเชื่อว่าแนวทางเหล่านี้จะช่วยปรับลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ลงได้ในระดับหนึ่ง และจะได้รับ การพัฒนามากขึ้น (2) การวิเคราะห์หลักสูตร ก. หลักการ หลักการสำคัญของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ถูกกำหนดไว้ อยู่ด้วยกันหลายประการ ดังนี้ 1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมาย และมาตรฐาน การเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็ก และเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรม บนพื้นฐานของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล 2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษา อย่างเสมอภาค และมีคุณภาพ 3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการ จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพ และความต้องการของท้องถิ่น 4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยึดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลา และ การจัดการเรียนรู้ 5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 6. เป็นหลักสูตรการศึกษา สำหรับ การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ จะเห็นว่าหลักการสำคัญของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นสิ่งที่ แสดงให้เห็นเป้าประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นต่อระบบการศึกษาของไทย ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีในการกำหนด หลักการไว้เช่นนี้ เพราะจะช่วยให้สามารถดำเนินงานภายใต้กรอบอย่างเป็นระบบ แต่ทั้งนี้หากประเมิน จากสิ่งที่ระบุไว้กับสภาพความจริงยังเป็นไปได้อย่างไม่สัมพันธ์กันเท่าที่ควร อาทิ หลักการประการที่ 2 เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื ่อปวงชน ที ่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย ่างเสมอภาค และ มีคุณภาพ แต่ความเป็นจริงในสังคมไทยยังคงเห็นความเหลื่อมล้ำกันอยู ่มาก ทั้งการเข้าถึงการศึกษา ความพร้อมด้านวัสดุอุปกรณ์ หรือเครื่องมือที่ใช้ประกอบการเรียนรู้ ดังจะเห็นข้อมูลจากช่องทางต่าง ๆ
22 เกี ่ยวกับความเสมอภาค ความเท ่าเทียมกันในระบบการศึกษา เช ่น การสวมใส่เครื ่องแบบนักเรียน ที่เหมือนกัน เพียงเท่านี้เรายังต้องเห็นการเปิดรับบริจาคเพื่อนำเงินไปซื้อเครื่องแบบ และอุปกรณ์การเรียน ให้กับผู้เรียนอีกจำนวนมากที่ยังขาดแคลน ทั้งที่หลักสูตรกำหนดว่าผู้เรียนจะต้องมีความเท่าเทียมกัน ในทางการศึกษา และสิ่งที่กล่าวถึงก็รวมอยู่ภายในข้อกำหนดของระบบการศึกษาไทยจริง การปรับปรุง ดังนั้น ระบบการจัดการศึกษาของไทย จึงควรที่จะเข้าถึงความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในสถานศึกษา และแก้ไข อย่างตรงประเด็น เพื่อลด หรือไม่ก่อให้เกิดปัญหาเช่นเดิมขึ้นอีก ข. จุดมุ่งหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมาย เพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัย และปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต 3. มีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิต และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคม อย่างมีความสุข จุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานก็เป็นสิ่งหนึ่งที่สะท้อน ให้เห็นถึงความคาดหวังที่มีต่อผู้เรียนในระบบการศึกษาไทย หรือสิ่งที่ต้องการจะให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ภายในโลกที่ขับถูกขับเคลื่อนไปในทุกขณะ เป็นเรื่องที่ปฏิเสธไม่ได้ว่ายังคงมีช่องว่างที่เกิดขึ้นให้เห็น และต้องยอมรับในสิ่งที่เกิดขึ้นต่อระบบการศึกษาไทยในปัจจุบัน ซึ่งระบบการศึกษาไม่ใช่สิ่งที่สามารถ จะพัฒนา หรือขับเคลื่อนไปเพียงลำพังด้วยองค์กร หรือหน่วยงานเดียว แต่จะต้องมีปัจจัยสังคมด้านอื่น เข้ามาเกี่ยวข้อง ทั้งภาวะเศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง สิ่งแวดล้อม และสังคมรอบตัว เหล่านี้ล้วนมีผล ต่อการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนอย่างมากที่จะคาดการณ์แนวโน้มความสำเร็จในอนาคตได้เป็นอย่างดี ฉะนั้น การจะกำหนด หรือตั้งจุดมุ่งหมายที่อยากให้เกิดขึ้น จะต้องพิจารณา และปรับให้ปัจจัยอื่นเอื้อด้วย
23 ค. โครงสร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ทำไมต้องเรียนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ ว่ามนุษย์ดำรงชีวิตอย่างไร ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคล และการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด นอกจากนี้ยังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่าง ๆ ทำให้เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก เรียนรู้อะไรในสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว ่าด้วยการอยู ่ร ่วมกันในสังคม ที่มีความเชื่อมสัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเอง กับบริบทสภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยม ที่เหมาะสม โดยได้กำหนดสาระต่าง ๆ ไว้ ดังนี้ • ศาสนา ศีลธรรม และจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ การนำหลักธรรมคำสอนไปปฏิบัติในการพัฒนา ตนเอง และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เป็นผู้กระทำความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมทั้งบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและส่วนรวม • หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคม ปัจจุบันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะ และ ความสำคัญ การเป็นพลเมืองดี ความแตกต ่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค ่านิยม ความเชื่อ ปลูกฝังค่านิยมด้านประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ การดำเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก • เศรษฐศาสตร์การผลิต การแจกจ ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหาร จัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนำ หลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน • ประวัติศาสตร์เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์พัฒนาการ ของมนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์และเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบ ที่เกิดจากเหตุการณ์สำคัญในอดีต บุคคลสำคัญที ่มีอิทธิพลต ่อการเปลี ่ยนแปลงต ่าง ๆ ในอดีต ความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย แหล่งอารยธรรมที่สำคัญของโลก
24 • ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และ ภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมิภาคต ่างๆ ของโลก การใช้แผนที ่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กันของสิ่งต่าง ๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น การนำเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สาระ และมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติ ตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดีและธำรงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และ ธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ สังคมโลกอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษา ไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจ และสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิต และการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจ หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต ่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจำเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญ และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธำรงความเป็นไทย
25 สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ง ซึ่งมีผลต่อกัน และกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่ และเครื่องมือ ทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหาวิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่าง มีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสำนึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน คุณภาพผู้เรียน จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 • ได้เรียนรู้เรื ่องเกี ่ยวกับตนเอง และผู้ที ่อยู ่รอบข้าง ตลอดจนสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น ที่อยู่อาศัย และเชื่อมโยงประสบการณ์ไปสู่โลกกว้าง • ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีทักษะกระบวนการ และมีข้อมูลที ่จำเป็นต่อการพัฒนาให้เป็น ผู้มีคุณธรรม จริยธรรม ประพฤติปฏิบัติตามหลักคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ มีความเป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ การอยู่ร่วมกันและการทำงานกับผู้อื่น มีส่วนร่วมในกิจกรรมของห้องเรียน และ ได้ฝึกหัดในการตัดสินใจ • ได้ศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน และชุมชนในลักษณะการบูรณาการ ผู้เรียนได้เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับปัจจุบัน และอดีต มีความรู้พื้นฐานทางเศรษฐกิจได้ข้อคิดเกี่ยวกับ รายรับ-รายจ ่ายของครอบครัว เข้าใจถึงการเป็นผู้ผลิต ผู้บริโภค รู้จักการออมขั้นต้น และวิธีการ เศรษฐกิจพอเพียง • ได้รับการพัฒนาแนวคิดพื้นฐานเกี ่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที ่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิปัญญา เพื่อเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจในขั้นที่สูงต่อไป จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 • ได้เรียนรู้เรื่องของจังหวัด ภาค และประเทศของตนเอง ทั้งเชิงประวัติศาสตร์ ลักษณะทาง กายภาพ สังคม ประเพณี และวัฒนธรรม รวมทั้งการเมืองการปกครอง สภาพเศรษฐกิจ โดยเน้น ความเป็นประเทศไทย • ได้รับการพัฒนาความรู้และความเข้าใจ ในเรื ่องศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตน ตามหลักคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ รวมทั้งมีส่วนร่วมศาสนพิธี และพิธีกรรมทางศาสนามากยิ่งขึ้น • ได้ศึกษา และปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิหน้าที่ในฐานะพลเมืองดีของท้องถิ่น จังหวัด ภาค และประเทศ รวมทั้งได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ของท้องถิ่นตนเองมากยิ่งขึ้น
26 • ได้ศึกษาเปรียบเทียบเรื่องราวของจังหวัด และภาคต่าง ๆของประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ได้รับการพัฒนาแนวคิดทางสังคมศาสตร์ เกี ่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที ่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์เพื่อขยายประสบการณ์ไปสู่การทำความเข้าใจในภูมิภาค ซีกโลกตะวันออก และตะวันตกเกี่ยวกับศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การดำเนินชีวิต การจัดระเบียบทางสังคม และการเปลี ่ยนแปลงทางสังคม จากอดีตสู่ปัจจุบัน จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 • มีความรู้เกี่ยวกับความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศ ในภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก เพื่อพัฒนาแนวคิด เรื่องการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข • มีทักษะที่จำเป็นต ่อการเป็นนักคิดอย ่างมีวิจารณญาณได้รับการพัฒนาแนวคิด และขยาย ประสบการณ์ เปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก ได้แก่ เอเชีย ออสเตรเลีย โอเชียเนียแอฟริกา ยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ในด้านศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ค ่านิยม ความเชื ่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ และสังคมศาสตร์ • รู้และเข้าใจแนวคิด และวิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคต สามารถนำมาใช้เป็นประโยชน์ในการ ดำเนินชีวิต และวางแผนการดำเนินงานได้อย่างเหมาะสม จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 • มีความรู้เกี่ยวกับความเป็นไปของโลกอย่างกว้างขวาง และลึกซึ้งยิ่งขึ้น • เป็นพลเมืองที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ รวมทั้ง มีค่านิยมอันพึงประสงค์ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข รวมทั้ง มีศักยภาพเพื่อการศึกษาต่อในชั้นสูงตามความประสงค์ได้ • มีความรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย ความภูมิใจในความเป็นไทย ประวัติศาสตร์ของชาติไทย ยึดมั่น ในวิถีชีวิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข • มีนิสัยที่ดีในการบริโภค เลือก และตัดสินใจบริโภคได้อย่างเหมาะสม มีจิตสำนึก และ มีส่วน ร ่วมในการอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมไทย และสิ ่งแวดล้อม มีความรักท้องถิ ่น และ ประเทศชาติ มุ่งทำประโยชน์ และสร้างสิ่งที่ดีงามให้กับสังคม • มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของตนเอง ชี้นำตนเองได้ และสามารถแสวงหา ความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ในสังคมได้ตลอดชีวิต
27 ง. เวลาเรียน โครงสร้างเวลาเรียนโรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (กลุ่มการเรียน วิทย์-คณิต) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 รหัสวิชา รายวิชา/กิจกรรม หน่วยกิต ชั่วโมง/ภาค เรียน รายวิชาพื้นฐาน 8.0 320 ท 31102 ภาษาไทย 2 1.0 40 ค 31102 คณิตศาสตร์พื้นฐาน 2 1.0 40 ว 30102 วิทยาศาสตร์กายภาพ (เคมี) 1.5 60 ว 30106 วิทยาการคำนวณ 1 0.5 20 ส 31102 สังคมศึกษา 1 (พระพุทธศาสนา) 1.0 40 ส 31104 ประวัติศาสตร์2 (ประวัติศาสตร์ไทย 2) 0.5 20 พ 31102 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 0.5 20 ศ 31104 นาฏศิลป์ 2 0.5 20 ง 31102 การงานอาชีพ 2 0.5 20 อ 31102 ภาษาอังกฤษ 2 1.0 40 รายวิชาเพิ่มเติม 8.5 340 ค 31202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 2 1.5 60 ว 31202 ฟิสิกส์ 2 1.5 60 ว 31222 เคมี 2 1.5 60 ว 31242 ชีววิทยา 2 1.5 60 พ 30203 แบดมินตัน 0.5 20 อ 31202 ภาษาอังกฤษ ฟัง-พูด 2 0.5 20 ง 31202 สารสนเทศ 2 1.0 40 จ 30202 ภาษาจีน 2 0.5 20 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 60 * กิจกรรมแนะแนว 20 * กิจกรรมนักเรียน 20 - นักศึกษาวิชาทหาร (20) - ชุมนุม (20) * กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 20 รวมหน่วยกิต/เวลาเรียน 16.5 660 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 40 คุณธรรม จริยธรรม 40
28 โครงสร้างเวลาเรียนโรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (กลุ่มการเรียน ศิลป์-ทั่วไป) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 รหัสวิชา รายวิชา/กิจกรรม หน่วยกิต ชั่วโมง/ภาคเรียน รายวิชาพื้นฐาน 8.0 320 ท 31102 ภาษาไทย 2 1.0 40 ค 31102 คณิตศาสตร์พื้นฐาน 2 1.0 40 ว 30102 วิทยาศาสตร์กายภาพ (เคมี) 1.5 60 ว 30106 วิทยาการคำนวณ 1 0.5 20 ส 31102 สังคมศึกษา 1 (พระพุทธศาสนา) 1.0 40 ส 31104 ประวัติศาสตร์2 (ประวัติศาสตร์ไทย 2) 0.5 20 พ 31102 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 0.5 20 ศ 31104 นาฏศิลป์ 2 0.5 20 ง 31102 การงานอาชีพ 2 0.5 20 อ 31102 ภาษาอังกฤษ 2 1.0 40 รายวิชาเพิ่มเติม 8.0 320 ท 30209 การประพันธ์และฉันทลักษณ์ 1.0 40 ค 31202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 2 1.5 60 ส 30203 การเมืองการปกครองของไทย 1.0 40 พ 30203 แบดมินตัน 0.5 20 ง 31202 สารสนเทศ 2 1.0 40 อ 31202 ภาษาอังกฤษ ฟัง-พูด 2 0.5 20 ง 31204 ทักษะอาชีพ 2 1.0 40 จ 30202 ภาษาจีน 2 0.5 20 ง 30256 งานไฟฟ้า 2 1.0 40 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 60 * กิจกรรมแนะแนว 20 * กิจกรรมนักเรียน 20 - นักศึกษาวิชาทหาร (20) - ชุมนุม (20) * กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 20 รวมหน่วยกิต/เวลาเรียน 16.0 640 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 40 คุณธรรม จริยธรรม 40
29 โครงสร้างเวลาเรียนโรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (กลุ่มการเรียน วิทย์-คณิต) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 รหัสวิชา รายวิชา/กิจกรรม หน่วยกิต ชั่วโมง/ภาคเรียน รายวิชาพื้นฐาน 7.5 300 ท 32102 ภาษาไทย 4 1.0 40 ค 32102 คณิตศาสตร์พื้นฐาน 4 1.0 40 ว 30104 โลกและอวกาศ 1.5 60 ว 30108 วิทยาการคำนวณ 2 0.5 20 ส 32102 สังคมศึกษา 3 (ภูมิศาสตร์) 1.0 40 ส 32104 ประวัติศาสตร์4 0.5 20 พ 32102 สุขศึกษาและพลศึกษา 4 0.5 20 ศ 32102 ทัศนศิลป์2 0.5 20 อ 32102 ภาษาอังกฤษ 4 1.0 40 รายวิชาเพิ่มเติม 9 360 ค 32202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 4 1.5 60 ว 32204 ฟิสิกส์ 4 1.5 60 ว 32224 เคมี 4 1.5 60 ว 32244 ชีววิทยา 4 1.5 60 กิจกรรมเข้าจังหวะ 0.5 20 อ 32202 ภาษาอังกฤษ อ่าน-เขียน 2 0.5 20 ง 32202 สารสนเทศ 4 1.0 40 ง 32204 ทักษะอาชีพ 4 0.5 20 จ 30204 ภาษาจีน 4 0.5 20 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 60 * กิจกรรมแนะแนว 20 * กิจกรรมนักเรียน 20 - นักศึกษาวิชาทหาร (20) - ชุมนุม (20) * กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ 20 รวมหน่วยกิต/เวลาเรียน 16.5 660 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 40 คุณธรรม จริยธรรม 40
30 โครงสร้างเวลาเรียนโรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (กลุ่มการเรียน ศิลป์-ทั่วไป) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 รหัสวิชา รายวิชา/กิจกรรม หน่วยกิต ชั่วโมง/ภาคเรียน รายวิชาพื้นฐาน 7.5 300 ท 32102 ภาษาไทย 4 1.0 40 ค 32102 คณิตศาสตร์พื้นฐาน 4 1.0 40 ว 30104 โลกและอวกาศ 1.5 60 ว 30108 วิทยาการคำนวณ 2 0.5 20 ส 32102 สังคมศึกษา 3 (ภูมิศาสตร์) 1.0 40 ส 32104 ประวัติศาสตร์4 0.5 20 พ 32102 สุขศึกษาและพลศึกษา 4 0.5 20 ศ 32102 ทัศนศิลป์2 0.5 20 อ 32102 ภาษาอังกฤษ 4 1.0 40 รายวิชาเพิ่มเติม 8.5 340 ท 30204 หลักภาษาไทย 1.0 40 ค 32202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 4 1.5 60 ส 30204 ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว 1.0 40 พ 30205 กิจกรรมเข้าจังหวะ 0.5 20 ง 32202 สารสนเทศ 4 1.0 40 ศ 30202 ดนตรีสากล 2 1.0 40 อ 32202 ภาษาอังกฤษ อ่าน-เขียน 2 0.5 20 ง 32204 ทักษะอาชีพ 4 0.5 20 จ 30204 ภาษาจีน 4 0.5 20 ง 30258 งานไม้ 2 1.0 40 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 60 * กิจกรรมแนะแนว 20 * กิจกรรมนักเรียน 20 - นักศึกษาวิชาทหาร (20) - ชุมนุม (20) * กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 20 รวมหน่วยกิต/เวลาเรียน 16.0 640.0 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 40 คุณธรรม จริยธรรม 40
31 จ. แนวดำเนินการ แนวทางการจัดการศึกษาในรายวิชาสังคม 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ รายวิชาสังคม 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เป็นไปอย่างต่อเนื่องในรูปแบบ ON Site โดยมีการจัด การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ทางโรงเรียนมีการเตรียมความพร้อม เพื ่อรับมือ ต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่และรู้เท่าทันโลกปัจจุบัน ฉ. การวัดประเมินผล การวัด และประเมินผลการเรียนรู้ผู้สอนจะต้องปรับเปลี ่ยนไปต าม ความเหมาะสมกับการประเมินแต ่ละรูปแบบ ทั้งนี้เป็นไปเพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถ และ ศักยภาพของผู้เรียนในทุกด้าน ได้แก่ 1. การวัด และประเมินผลด้านพุทธิพิสัย หรือด้านความรู้ 2. การวัด และประเมินผลด้านทักษะพิสัย หรือด้านพฤติกรรม/ การปฏิบัติตน 3. การวัด และการประเมินผลด้านจิตพิสัย หรือด้านทัศนคติของผู้เรียน ดังนั้น การวัด และประเมินผลการเรียนรู้จึงต้องพิจารณาถึงความเหมาะสม และ ความเป็นไปได้ของผู้เรียนมากที่สุด ช. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังจะต้องเป็นไปตามเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ในแต่ละ รูปแบบ โดยให้อยู่ในระดับที่ได้มาตรฐาน ทั้งด้านพุทธพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัย ซึ่งอิงจากรูปแบบ การวัด และประเมินผล เพื ่อการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้ครอบคลุมทุกด้าน และเพื ่อให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดต่อผู้เรียนในแต่ละระดับ
32 4) หนังสือส่งตัวจากคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
33
5) ตารางสอน โรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า ภาคเรียนที่ วิชาที่สอน/ชั้น (รวมชั่วโมง) 1. ส31102 หน้าที่พลเมือง = 4/1(2),4/2(2),4/3(2) 2. ส31104 ประวัติศาสตร์ = 4/1(1),4/2(1),4/3(1) 3. อื่น ๆ ได้แก่ ชุมนุม คาบที่ กิจกรรมหน้าเสาธง (08.00-08.15) Home Room (08.15-08-25) คาบที่ 1 คาบที่ 2 พักเบรค (10.05-10.20) คาวัน/เวลา 08.25-09.15 09.15-10.05 10.20จันทร์ ส31102 สังคมศึกษา 4/2 ส3สังคมอังคาร พุธ ส31104 ประวัติ 4/2 ส3ประพฤหัสฯ ส31102 สังคมศึกษา 4/3 ศุกร์
34 2/2566 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รวม 6 3 1 าบที่ 3 คาบที่ 4 พักกลางวัน (12.00-12.50) คาบที่ 5 คาบที่ 6 คาบที่ 7 0-11.10 11.10-12.00 13.00-13.50 13.50-14.40 14.40-15.30 31102 ศึกษา4/3 ส31104 ประวัติ 4/3 ส31102 สังคมศึกษา 4/1 ชุมนุม 31104 ะวัติ 4/1 ส31102 สังคมศึกษา 4/2 ส31102 สังคมศึกษา 4/1
35 6) ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ก. โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 รหัสวิชา ส31102 รายวิชา สังคมศึกษา 2 จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต ลำดับ ที่ ชื่อหน่วยการเรียน มาตรฐานการ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 1 สังคมมนุษย์ ส 2.1 ม. 4-6/2 โครงสร้างทางสังคมเป็นเค้าโครง ความสัมพันธ์ของสังคมมนุษย์ มี องค์ประกอบที่สำคัญ ได้แก่ กลุ่ม สังคม ซึ่งเป็นกลุ่มที่สมาชิกนั้นมี ความรู้สึกร่วมกันและมีการกระทำ ระหว่างกัน และสถาบันทางสังคมที่ สำคัญ ได้แก่ สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันเศรษฐกิจ และสถาบัน การเมืองการปกครอง 6 8 2 วัฒนธรรมไทย ส 2.1 ม.4-6/5 วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์ สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อความเจริญงอก งามของหมู่คณะ มีการเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ รวมทั้งมีการ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง 5 6 3 พลเมืองดีของ ประเทศชาติและ สังคมโลก ส 2.1 ม.4-6/3 พลเมืองดีมีความสำคัญต่อสังคม และประเทศชาติเป็นอย่างมาก เพราะพลเมืองเป็นปัจจัยสำคัญที่ จะทำให้สังคมและประเทศชาติ เจริญก้าวหน้า ฉะนั้นถ้าพลเมือง ส่วนใหญ่ของสังคมเป็นพลเมืองดี ย่อมทำให้ประเทศชาติ เจริญก้าวหน้าต่อไป 4 6
36 ลำดับ ที่ ชื่อหน่วยการเรียน มาตรฐานการ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 4 สิทธิมนุษยชน ส 2.1 ม.4-6/4 มนุษย์เป็นสัตว์สังคม เนื่องจากโดย ธรรมชาติแล้วมนุษย์จำเป็นต้องมี ชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่น มีการติดต่อ ระหว่างกัน และไม่สามารถ ดำรงชีวิตด้วยตัวคนเดียวได้จึงทำ ให้เกิดสังคมเกิดขึ้น โครงสร้างทาง สังคมเป็นส่วนต่างๆที่ประกอบกัน เป็นระบบความสัมพันธ์ของสังคม มนุษย 6 8 สอบกลางภาค 1 20 5 ระบอบการเมือง การปกครอง ส 2.2 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ประชาธิปไตย หมายถึง การ ปกครองที่เป็นของประชาชน โดย ประชาชน และเพื่อประชาชน ตลอดจนเป็นหลักในการดำเนิน ชีวิตของคนในการอยู่ร่วมกันโดย สันติ ภายใต้ความเชื่อที่ว่า คนเรา เกิดมา เท่าเทียมกัน คือ ได้รับการ คุ้มครองจากรัฐตามกฎหมาย และ โอกาสที่จะได้รับการบริการต่าง ๆ ในกฎหมาย รัฐธรรมนูญ ประชาธิปไตย คือ การที่รัฐบาล เป็นของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน หรือ ประชาธิปไตย คือ สังคมที่ประชาชนมีเสรีภาพ สม ภาพ และภราดรภาพ 6 8
37 ลำดับ ที่ ชื่อหน่วยการเรียน มาตรฐานการ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 6 รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย ส 2.2 ม.4-6/4 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มีหลักการสำคัญเพื่อส่งเสริมและ คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของ ประชาชนให้เป็นที่ประจักษ์และ ชัดเจน มีความพยายามที่จะ สนับสนุนให้ประชาชนมีบทบาท และมีส่วนร่วมในการปกครองและ ตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐ อย่างเป็นรูปธรรมและสัมฤทธิผล มาอย่างต่อเนื่อง 5 6 7 กฎหมายใน ชีวิตประจำวัน ส 2.1 ม.4-6/1 กฎหมายเป็นระเบียบกฎเกณฑ์ ข้อบังคับทีรัฐใช้บังคับใช้ให้สังคมให้ เกิดความสงบสุข ดังนั้น การศึกษา กฎหมายการคุ้มครองสิทธิของ บุคคล ย่อมจะท าให้มีความรู้ความ เข้าใจในระเบียบกฎเกณฑ์ข้อบังคับ สามารถที่จะปฏิบัติตนได้อย่าง ถูกต้องตามกฎหมาย และไม่ถูก ผู้อื่นเอารัดเอาเปรียบ 6 8 สอบปลายภาค 1 30 รวม 40 100
38 โครงสร้างรายวิชาประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 รหัสวิชา ส 31104 รายวิชา ประวัติศาสตร์ไทย จำนวน 1 คาบ/สัปดาห์ เวลา 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน 0.5 หน่วยกิต ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 4 ผลงานของบุคคล สำคัญในการ สร้างสรรค์ชาติไทย ส 4.3 ม.4-6/4 บุคคลสำคัญที่มีส่วนสร้างสรรค์ วัฒนธรรมไทยและประวัติศาสตร์ไทย มี ทั้งซาวไทยและชาวต่างประเทศ ขาวไทย ทุกคนควรศึกษาผลงานและยกย่องท่าน และนำไปเป็นแบบอย่างในการปฏิบัติตน 9 25 สอบกลางภาค 1 20 5 การสร้างสรรค์ วัฒนธรรมและภูมิ ปัญญาไทย ส 4.3 ม.4-6/3 ม.4-6/5 วิถีการดำรงชีวิตและภูมิปัญญาของคน ไทยในแต่ละยุคสมัย มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ซึ่งมีผลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทย และวัฒนธรรมไทยจึงมีความจำเป็นที่ ขาวไทย จะต้องร่วมมือกันอนุรักษ์ภูมิ ปัญญาและวัฒนธรรมไทย 9 25 สอบปลายภาค 1 30 20 100
39 7) ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้
40
41
42
43
44
45