The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1.คู่มือการปฎิบัติการสอนในสถานศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lappakorn, 2022-04-22 00:46:33

1.คู่มือการปฎิบัติการสอนในสถานศึกษา

1.คู่มือการปฎิบัติการสอนในสถานศึกษา

คำนำ

หลักสูตรปริญญาครุศาสตรบัณฑิต 5 ปี ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ได้กำหนดให้มี
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เป็นระยะเวลา 1 ปีการศึกษา ตามข้อกำหนดของคุรุสภา เพ่ือยกระดับมาตรฐาน
การฝกึ หัดครูให้สูงข้ึน โดยมงุ่ หวังว่านักศึกษาจะมที ักษะในการสอนและปฏิบัตงิ านในหน้าที่ครูอย่างมีประสทิ ธิภาพ
การฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครูเป็นกระบวนการที่มีความสำคัญที่นกั ศกึ ษาจะไดเ้ รียนรแู้ ละพัฒนาการเรยี นการสอน
และงานในหนา้ ท่ีครอู ย่างเปน็ รูปธรรม และสามารถนำความรแู้ ละทฤษฎีทศี่ ึกษาในชั้นเรียนไปประยุกตใ์ ช้และสรา้ ง
องค์ความรู้ทางการศึกษา เพื่อสร้างสรรค์และแก้ปัญหาในกระบวนการทำงาน โดยมีครูพี่เลี้ยง ครูนิเทศก์ และ
ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นท่ีปรึกษาให้คำแนะนำ และให้ความช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด อีกทั้งยังมีอาจารย์นิเทศก์จาก
คณะครุศาสตร์ และจากคณะผู้ร่วมผลิต มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ท่ีจะให้คำแนะนำ ให้คำปรึกษา และ
ควบคมุ ดแู ลนกั ศกึ ษาให้มคี ุณภาพตามท่คี ณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บุรีรัมย์ไดต้ งั้ เป้าหมายไว้

ดังน้ัน เพื่อให้การดำเนินการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ จึงจัดทำคู่มือการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาข้ึน เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติการ
สอนในสถานศึกษาของนักศกึ ษา และเป็นแนวทางสำหรับการนเิ ทศและติดตามการฝึกประสบการณ์วิชาชพี ครูของ
ครูพ่เี ลี้ยง ครูนิเทศก์ และผู้บริหารสถานศึกษา

คณะผู้จัดทำหวังว่าเอกสารฉบบั น้ี จะเป็นประโยชน์อยา่ งเต็มท่ี และสรา้ งความเข้าใจในแนวทางการปฏิบตั ิ
ใหต้ รงกนั สำหรบั ทุกส่วนฝ่ายท่ีเกยี่ วข้องกบั การปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา เพื่อให้กระบวนการฝึกประสบการณ์
วชิ าชีพครใู นสถานศึกษาประสบความสำเร็จและมปี ระสทิ ธภิ าพ

ศนู ย์ฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครู
คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั บุรรี ัมย์

สารบัญ

หนา้

ตอนที่ 1 การปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา................................................................................................ 1
ลกั ษณะงาน 2
จุดประสงค์ 2
แนวการจัด 3
บทบาทหน้าท่ีของผเู้ ก่ยี วข้องในการปฏิบัติการสอนในสถานศกึ ษา 4
บทบาทหนา้ ที่ของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา 4
แนวปฏิบตั ขิ องผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาต่อนักศกึ ษาฝึกประสบการณว์ ิชาชีพครู 5
แนวปฏบิ ตั ขิ องผ้บู ริหารสถานศกึ ษาต่อมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บรุ ีรมั ย์ 6
บทบาทหนา้ ท่ีของครูนเิ ทศก์ประจำโรงเรยี น 6
บทบาทหน้าที่ของครูพีเ่ ล้ียง 6
คณุ สมบตั ิของครูพเ่ี ลยี้ งตามที่ครุ สุ ภา และคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั บุรรี ัมยก์ ำหนด 7
แนวปฏิบัติของครูพเ่ี ล้ยี ง 7
บทบาทหนา้ ท่ีของอาจารยน์ ิเทศก์ 8
บทบาทหนา้ ท่ีของนกั ศึกษาฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี ครู 8
การประเมินผลการปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 9
แนวทางการประเมนิ ผล 9
11
ตอนที่ 2 การเตรยี มการสอนและการจัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้ 11
การเตรียมการสอน 11
การจดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้ 11
องค์ประกอบสำคัญของแผนการจดั การเรยี นรู้ 12
แนวทางการเขียนแผนการจดั การเรียนรู้ 16
16
ตอนท่ี 3 การทำโครงการดา้ นวิชาการเพอื่ พัฒนาโรงเรยี น 17
แนวปฏบิ ตั ใิ นการพัฒนา 18
ขัน้ ตอนการดำเนนิ โครงการ 20
แบบฟอร์มการทำโครงการด้านวชิ าการเพื่อการพฒั นาโรงเรียน 23
แบบขออนมุ ตั ิโครงการ
รายงานผลการดำเนนิ งาน

ตอนที่ 4 การทำวิจยั ในชน้ั เรียน หนา้
ความหมายของการวจิ ยั ในชน้ั เรยี น
เปา้ หมายสำคญั ของการวิจยั ในช้ันเรยี น 40
ลักษณะของการวิจัยในชัน้ เรยี น 40
กระบวนการวจิ ยั ในช้นั เรียน 40
การเขียนรายงานการวจิ ยั 40
หลกั การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน 40
โครงสร้างของรายงานการวิจัยในชน้ั เรียน 41
แนวทางการเขียนรายงานการวจิ ยั ในชัน้ เรียน 41
41
ตอนท่ี 5 แนวปฏิบัตขิ องนกั ศึกษาฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครใู นสถานศกึ ษา 43
แนวปฏบิ ัตกิ ารแต่งกาย 48
แนวปฏิบตั ิการฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี ครใู นสถานศึกษา 48
แนวทางปฏิบัติการลา 48
การพจิ ารณาโทษของนักศึกษาฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู 49
50
คณะกรรมการปรับปรงุ คู่มือการปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา 54

การป ิฏบั ิตการสอนในสถานศึกษา ตอนท่ี 1 การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษา

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ เป็นสถาบันผลิตครู หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต ตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา และจรรยาบรรณวิชาชีพครู ตามปรัชญาคณะครุศาสตร์ “ผลิตครูดี มีความรู้
เปน็ ผู้นําเทคนคิ วธิ ี มีศรทั ธาในวิชาชพี คร”ู

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา กำหนดสาระความรู้สมรรถนะ และประสบการณ์วิชาชีพของผู้ประกอบ
วิชาชีพครู ตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ หมวด 1 ผู้ประกอบวิชาชีพครู ในส่วนของสาระการฝึก
ทักษะและสมรรถนะของผู้ประกอบวิชาชีพครูตามมาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ ข้อ 13 การปฏิบัติการสอนใน
สถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะ ประกอบด้วย

1. สาระการฝกึ ทกั ษะ
1.1 การปฏิบตั กิ ารสอนวชิ าเอก
1.2 การวดั และประเมนิ ผล และนําผลไปใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี น
1.3 การวิจยั เพื่อพฒั นาผู้เรยี น
1.4 การแลกเปล่ียนเรียนรู้ หรือแบ่งปนั ความรู้ในการสัมมนาการศึกษา

2. สมรรถนะ
2.1 สามารถจัดการเรียนรใู้ นสาขาวชิ าเอก
2.2 สามารถประเมิน ปรับปรุง และศึกษาวิจัยเพอื่ พฒั นาผเู้ รียน
2.3 ปฏิบัติงานอนื่ ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
ดังน้ัน นอกจากนักศึกษาจะต้องเรียนรายวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรแล้ว จะต้องปฏิบัติการสอนใน

สถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ โดยลงทะเบียนในรายวิชา 1005201 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ
1005202 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 โดยหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554)
มรี ายละเอยี ดคำอธิบายรายวชิ า ดังน้ี

รายวชิ า 1005201 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 (Teaching Internship 1) 6 (450)
การปฏิบัติงานวิชาชีพครูในสถานศึกษา ซึ่งเกี่ยวกับภารกิจต่าง ๆ ได้แก่งานสอนธุรการ

งานกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน และกิจกรรมอน่ื ๆ ของโรงเรียน รวมทงั้ การสัมมนาการปฏบิ ตั งิ านวิชาชีพครู

1 ศนู ย์ฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ครู

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบุรรี มั ย์

รายวชิ า 1005202 การปฏบิ ัติการสอนในสถานศกึ ษา 2 (Teaching Internship II) 6 (450) การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา
การปฏิบัติงานวิชาชีพครูในสถานศึกษา ซึ่งเก่ียวกับภารกิจต่าง ๆ ได้แก่ งานสอน

งานธรุ การ งานกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน และกิจกรรมอ่นื ๆ ของโรงเรยี น รวมท้งั การสัมมนาการปฏบิ ตั งิ านวชิ าชพี ครู
และการฝกึ ทำวจิ ยั ในช้ันเรียน

และหลักสูตรครศุ าสตรบณั ฑติ (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2558) ซึ่งมรี ายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวิชา ดงั นี้
รายวิชา 1005201 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 (Teaching Internship I) ต้องสอบผ่านรายวิชา
1004101 การปฏิบัติงานวิชาชีพครู 1 และรายวิชา 1004102 การปฏิบัติงานวิชาชีพครู 2 ตามลำดับ
การปฏิบัติงานวิชาชีพครูในสถานศึกษาซ่ึงเกี่ยวกับภารกิจต่าง ๆ ได้แก่ การปฏิบัติการสอนวิชาเอก การวัด และ
ประเมินผล และนําผลไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน งานธุรการ งานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและกิจกรรมอื่น ๆ
ของโรงเรียน รวมทั้งการสมั มนาการปฏิบัติงานวิชาชีพครู
รายวิชา 1005202 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 (Teaching Internship II) ต้องสอบผ่านรายวิชา
1005201 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 ตามลำดับ การปฏิบัติการงานวิชาชีพครูในสถานศึกษาซึ่งเกี่ยวกับ
ภารกิจต่าง ๆ ได้แก่ การปฏิบัติการสอนวิชาเอก การวัดและประเมินผล และนําผลไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน
การทำวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียนงานธุรการ งานกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนและกิจกรรมอ่ืน ๆ ของโรงเรียน รวมท้ังการ
สมั มนาการปฏิบัติงานวิชาชพี ครู

ลกั ษณะงาน
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา เป็นการนําความรู้ท่ีนักศึกษาได้ศึกษามาแล้วทั้งหมด ในรายวิชาต่าง ๆ

และประสบการณ์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงานวิชาชีพครู 1 การปฏิบัติงานวิชาชีพครู 2 มาใช้ปฏิบัติงานในหน้าที่
ของครูทุกอย่าง เสมือนเป็นครูประจําการ โดยมีระยะเวลาในการปฏิบัติการสอน 2 ภาคการศึกษา (1 ปีการศึกษา)
ซึ่งเป็นการพัฒนาสมรรถนะท้ัง 3 ด้าน ตามการประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครูของคุรุสภา ดังนี้ สมรรถนะด้าน
การจัดการเรียนรู้ ด้านความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและชุมชน และด้านการปฏิบัติหน้าท่ีครู และจรรยาบรรณ
วิชาชพี

จุดประสงค์
1. เพื่อให้นักศึกษาได้ปฏิบัติงานด้านการสอนตามสาขาวิชาท่ีเรียนมา และปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ

ในหน้าทคี่ รู
2. เพือ่ ให้นกั ศึกษามสี มรรถภาพในการเป็นครู และมีลกั ษณะของครทู ด่ี ี

ศนู ย์ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพครู 2

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบรุ รี มั ย์

การป ิฏบั ิตการสอนในสถานศึกษา แนวการจดั
หลกั สูตรครศุ าสตรบณั ฑิต (ค.บ. 5 ป)ี คณะครศุ าสตร์ ดำเนินการดงั น้ี
1. คัดเลอื กโรงเรียนท่ีมีคุณสมบัติตามประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรอื่ ง หลักเกณฑค์ ุณสมบตั ิของสถาน

ศึกษาสำหรับปฏิบัติการสอน หรือสถานศึกษาที่เป็นโรงเรียนเครือข่ายร่วมพัฒนาวิชาชีพครูเพื่อขออนุญาต
ส่งนกั ศกึ ษาไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

2. ทำความเขา้ ใจร่วมกันระหว่างบุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในโรงเรยี นที่รับ
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ให้เข้าใจตรงกันถึงหลักการ จุดมุ่งหมาย และการปฏิบัติการสอน ตลอดจน
วธิ กี ารประเมินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชพี ครู

3. จดั ปฐมนิเทศนกั ศึกษาก่อนออกไปปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษา เพ่ือใหเ้ ข้าใจถึงการปฏบิ ัติตนและการ
ปฏิบัตงิ านของนกั ศกึ ษา

4. จัดทำแนวปฏิบัตสิ ำหรบั นักศกึ ษาฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพครู
5. จดั อาจารย์ท่ีสอนวชิ าชพี ครูภาคทฤษฎีที่เกย่ี วกับการปฏิบัติงานของนกั ศกึ ษา เป็นอาจารย์นิเทศกก์ ลาง
ใหค้ ำแนะนาํ แกน่ กั ศกึ ษาร่วมกบั ครูพเี่ ลีย้ งนกั ศกึ ษาฝึกประสบการณ์วิชาชพี ครู
6. กำหนดหนา้ ทค่ี วามรบั ผิดชอบของนกั ศึกษา ระหวา่ งการปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา ดังนี้

6.1 ปฏบิ ัตกิ ารสอนในรายวิชาทต่ี รงตามสาขาวิชาเอก จำนวน 9-13 ช่วั โมงตอ่ สปั ดาห์
6.2 จัดทำแผนการจัดประสบการณ์ / แผนการจัดการเรียนรู้ตลอดช่วงระยะเวลาของ
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยมีการจดั ทำล่วงหน้าและให้ครูพ่ีเลยี้ งตรวจสอบแก้ไขให้ถกู ต้อง ก่อนนาํ ไปใช้
สอน และใช้กระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ (PLC) เพ่ือพัฒนาจรรยาบรรณวิชาชีพ
6.3 ผลิตสื่อการจัดการเรียนรู้ นวัตกรรมการเรียนรู้ หรือนําเทคนิควิธีการมาใช้ปฏิบตั ิการสอนให้
มีประสิทธภิ าพย่ิงขน้ึ
6.4 เขียนโครงการพัฒนาโรงเรียนเพ่ือพัฒนาโรงเรียนด้านวิชาการ ปฏิบัติงานตามโครงการ และ
รายงานผลโครงการ โรงเรียนละ 1 โครงการ
6.5 ปฏิบัติหน้าท่ีครูที่ปรึกษาหรือครูประจำชั้น ฝึกงานธุรการในชั้นเรียนต่าง ๆ เช่น การทำแบบ
บันทึกผลการเรียนประจำรายวิชา สมุดประจําตัวนักเรียน จัดห้องเรียน วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดูแลการ
เรียนของนักเรยี น เป็นตน้
6.6 ปฏิบัติงานสนับสนุนการสอนตามที่โรงเรียนมอบหมาย ได้แก่ งานวิชาการ งานบุคคล
งานงบประมาณ และงานบรหิ ารทัว่ ไป ภาคการศกึ ษาละ ไม่น้อยกว่า 40 ชวั่ โมง
6.7 ทำวจิ ัยในชัน้ เรยี นเพ่อื พัฒนาผู้เรียน อย่างน้อย 1 เร่ือง โดยในภาคการศึกษาท่ี 1 ส่งโครงรา่ ง
วจิ ัยในชัน้ เรียน และในภาคการศกึ ษาท่ี 2 สง่ วจิ ัยในช้ันเรยี นรูปเล่มสมบรู ณ์
6.8 จดั ปา้ ยนเิ ทศของห้องเรียน หรือโรงเรียน โดยกำหนดแผนการดำเนนิ งานไว้ล่วงหนา้

3 ศนู ย์ฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ครู

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บรุ รี ัมย์

6.9 เขา้ รว่ มกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของโรงเรยี น / คณะและมหาวทิ ยาลยั จดั ขึน้ การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา
6.10 บันทึกการปฏิบัติงานประจำวันอย่างสม่ำเสมอ และได้รับการรับรองและลงนาม รับทราบ
จากครพู ี่เล้ยี ง หรอื ผู้ทไ่ี ด้รับมอบหมาย
7. จัดให้มีการสัมมนาเพ่ือแลกเปลี่ยนปัญหาการปฏิบัติการสอน ท้ังในระหว่างการปฏิบัติการสอน
และหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยแบ่งกลุ่มตามสาขาวิชา แล้วร่วมกันเสนอปัญหา
และแนวทางการแก้ไข

บทบาทหนา้ ทขี่ องผู้เก่ียวข้องในการปฏบิ ัติการสอนในสถานศกึ ษา
ผู้เกี่ยวข้องในการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา เป็นผู้ที่มีส่วนสำคัญอย่างย่ิงในการพัฒนานักศึกษา

ให้สามารถปฏิบัติการสอนได้ และมีคุณลักษณะที่ดี ซ่ึงผู้เก่ียวข้องประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง
หรือครูนิเทศก์ประจำโรงเรียน อาจารย์นิเทศก์ และนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู แต่ละฝ่ายมีบทบาท
หน้าท่ีและความรับผดิ ชอบ ดงั น้ี

บทบาทหนา้ ที่ของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
ผู้บริหารสถานศึกษา ท่ีรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา เป็นผู้ที่มี
บทบาทสำคัญยิ่งในการพัฒนานักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ซ่ึงอาจจําแนกบทบาทหน้าที่ของผู้บริหาร
สถานศกึ ษาในสว่ นทีเ่ กย่ี วข้องกบั การจดั ใหน้ กั ศึกษาปฏิบตั ิการสอนในดา้ นตา่ ง ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้
1. ด้านการจดั การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษา

1.1 ใหค้ วามร่วมมอื กบั มหาวทิ ยาลยั ในการผลติ ครู เพือ่ ใหส้ อดคล้องกบั ความตอ้ งการของผู้ใช้ครู
1.2 ใหใ้ ชโ้ รงเรยี นเปน็ สถานท่ีปฏบิ ัตกิ ารสอนของนกั ศกึ ษา
1.3 ร่วมเป็นเครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพครู เพื่อร่วมวางแผน ให้คำปรึกษา ข้อเสนอแนะในการ
ดาํ เนินงาน และเขา้ ร่วมประชมุ อย่างน้อยปีละ 1 ครงั้
2. ด้านการปฐมนเิ ทศ
2.1 แนะนาํ เกีย่ วกับสถานท่แี ละสภาพท่วั ไปของโรงเรียน และชมุ ชน
2.2 แนะนําให้รู้จักกับบุคลากรของโรงเรียน ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เล้ียงนักศึกษา
ฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู ครูประจำช้ันหรอื ครูทปี่ รึกษา ครผู สู้ อน ครพู เิ ศษ ตลอดจนเจ้าหนา้ ที่ของโรงเรยี น
2.3 ชี้แจงเก่ยี วกับภารกจิ ของโรงเรียนและสภาพปัจจุบนั ของโรงเรียน
2.4 ช้ีแจงเกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับ ข้อตกลง หรือกติกาของโรงเรียนที่จะต้องยึดถือเป็น
แนวทางปฏิบัติ
2.5 แนะนําเก่ียวกับสิ่งอํานวยความสะดวกหรือบริการต่าง ๆ ของโรงเรียน และสถานที่ทำงาน
ของนกั ศกึ ษา

ศูนย์ฝึกประสบการณว์ ิชาชีพครู 4

คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบุรรี ัมย์

การป ิฏบั ิตการสอนในสถานศึกษา 2.6 แนะนําให้นักศึกษารู้จักกับบุคคลสำคัญในท้องถิ่น ได้เรียนรู้ขนบธรรมเนียม ประเพณี
และวฒั นธรรมของทอ้ งถ่ิน ตลอดจนการมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมของท้องถ่นิ

3. ด้านการจัดครผู ปู้ ระสานงานและครูพี่เล้ยี งของสถานศึกษา
3.1 พิจารณาจัดบุคลากรของสถานศึกษาคนใดคนหนึ่งให้เป็นผู้ประสานงานกับมหาวิทยาลัย

หรอื อาจารยน์ เิ ทศก์ และนักศกึ ษาฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพครู
3.2 พิจารณาคัดเลือก และแต่งตั้งครูพ่ีเล้ียงให้แก่นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู โดยมี

คณุ สมบตั ิตรงตามเกณฑท์ ่ีคุรุสภา และคณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรมั ย์กำหนด
3.3 สนับสนุนให้บุคลากรตามข้อ 3.1 และ 3.2 เข้าร่วมประชุมสัมมนาเกี่ยวกับการฝึก

ประสบการณ์วชิ าชีพครูทมี่ หาวิทยาลยั จดั ขึน้
4. ดา้ นการประสานงานกบั อาจารยน์ เิ ทศกข์ องมหาวิทยาลัย
4.1 อํานวยความสะดวกในการตดิ ตอ่ ประสานงานและการนิเทศนักศกึ ษา
4.2 แลกเปล่ยี นความคิดเห็นระหว่างบคุ ลากรทีเ่ ก่ยี วขอ้ งในสถานศึกษากบั อาจารย์นเิ ทศก์
5. ด้านนกั ศกึ ษา
5.1 มอบหมายงานการปฏบิ ัติการสอนใหแ้ กน่ ักศกึ ษา
5.2 นเิ ทศและตดิ ตามผลการปฏิบัตกิ ารสอน
5.3 ควบคุม ดูแล แก้ไขปัญหาในด้านการปฏบิ ตั ติ นของนกั ศกึ ษา
5.4 ใหค้ ำปรึกษาแกน่ ักศึกษาในการปฏิบัติการสอน
5.5 จัดสวสั ดกิ ารทจ่ี ําเป็นใหแ้ กน่ กั ศกึ ษา
5.6 พิจารณาและอนมุ ัตโิ ครงการตา่ ง ๆ ที่นักศึกษาจัดทำขนึ้
5.7 ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิการสอนของนักศกึ ษา
6. ดา้ นการสร้างความสมั พันธ์อนั ดีระหว่างนักศึกษาและบุคลากรของโรงเรยี น
6.1 สง่ เสรมิ ความสมั พนั ธ์อนั ดรี ะหวา่ งนกั ศกึ ษากับบคุ ลากรของโรงเรยี น
6.2 จดั ให้มกี ารประชมุ สัมมนาระหว่างนกั ศกึ ษากับบุคลากรของโรงเรียน
6.3 จัดใหม้ ีกจิ กรรมกลมุ่ สัมพนั ธใ์ นโอกาสอันควร
แนวปฏิบตั ิของผู้บริหารสถานศึกษาต่อนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
1. ให้การปฐมนเิ ทศแกน่ กั ศึกษาโดยใหร้ จู้ ักบคุ ลากร สถานท่ี ฯลฯ มอบหมายงานที่นักศึกษาต้องปฏบิ ตั ิ
2. ดูแลและจัดสวัสดิการท่ีจําเป็นแก่นักศึกษา เช่น โต๊ะ เก้าอี้ทำงาน วัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนรู้

เปน็ ต้น
3. ให้คำปรึกษาแนะนาํ แนวทางในการแก้ไขปญั หาต่าง ๆ และการปฏบิ ตั ิตนของนกั ศกึ ษา

5 ศนู ย์ฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพครู

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบรุ รี ัมย์

4. แนะนํานักศึกษาให้รู้จักบุคคลและสถานท่ีในท้องถิ่น ตลอดจนเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ในท้องถ่ิน การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา
ตามสมควรแกโ่ อกาส

5. ประเมินผลการปฏบิ ัติการสอนของนกั ศกึ ษาตามแบบประเมนิ ผลของมหาวิทยาลยั
แนวปฏบิ ตั ขิ องผ้บู ริหารสถานศึกษาตอ่ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบรุ ีรมั ย์
1. ร่วมมือกับมหาวทิ ยาลัยในการให้ขอ้ มลู เก่ียวกบั การปฏบิ ัตติ นและการดําเนนิ งานของนักศกึ ษา
2. ติดต่อและประสานงานกับมหาวิทยาลัยหรืออาจารย์นิเทศก์เกี่ยวกับการจัดและการดําเนินงาน ในการ
ฝึกประสบการณ์วิชาชพี ครู
3. ให้ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นแก่มหาวิทยาลัยเก่ียวกับการจัดและดําเนินงาน เพื่อพัฒนาการฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพครู
4. เม่ือมีเหตุที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอันจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่หรือสถานศึกษา ควรแจ้งให้
มหาวิทยาลัยทราบโดยเรว็
บทบาทหนา้ ทข่ี องครนู เิ ทศกป์ ระจำโรงเรยี น
ครูนิเทศก์ประจำโรงเรียน คือ ผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้บริหารสถานศึกษาให้ทำหน้าที่นิเทศนักศึกษา
ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ให้คำปรึกษา แนะนํา และให้ข้อเสนอแนะ ตลอดจนให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ
แกน่ ักศึกษา มแี นวปฏิบตั ิ ดงั นี้
1. ปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษาและสง่ มอบนกั ศึกษาให้แก่ครูพี่เลย้ี ง ในวนั แรกของการปฏิบัติการสอน
2. เป็นตัวแทนของโรงเรียน ในการติดต่อประสานงานกับมหาวิทยาลัยในเรื่องท่ีเก่ียวกับการปฏิบัติการ
สอนของนักศึกษาทุกคนทมี่ าฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครูในโรงเรียน
3. เป็นที่ปรึกษาและให้คำแนะนําแก่นักศึกษา เพ่ือแก้ไขปัญหาการวางตัวและความประพฤติ
ของนักศึกษา
4. ติดตอ่ และประสานงานกบั อาจารย์นิเทศก์ของมหาวิทยาลยั
5. เสนอขอ้ คดิ เห็นทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนางานฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ครตู ่อมหาวิทยาลัย
6. สร้างสัมพันธภาพทีด่ ีระหว่างโรงเรียนกับมหาวิทยาลยั สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษากบั ครูพ่ีเลีย้ ง และ
สมั พนั ธภาพทีด่ ีระหวา่ งนกั ศึกษาต่างสาขาวิชาทฝ่ี ึกประสบการณว์ ชิ าชพี ครใู นโรงเรียนเดยี วกนั
บทบาทหนา้ ทข่ี องครพู เ่ี ลย้ี ง
ครูพ่ีเลี้ยง หมายถึง บุคลากรประจําการท่ีผู้บริหารสถานศึกษามอบหมายให้ทำหน้าที่ให้คำปรึกษา ดูแล
แนะนํา ช่วยเหลือ และประเมินผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาของนักศึกษาฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู
จึงถือว่าเป็นบุคคลท่ีมบี ทบาทสำคัญมากทสี่ ุด เนื่องจากเปน็ ผู้ใกล้ชิดกับนักศกึ ษามากกว่าบุคคลอ่ืน ๆ ซึ่งถือว่าเป็น
ต้นแบบของความเป็นครูของนักศึกษา นอกจากนี้ยังต้องทำหน้าท่ีเป็นผู้รักษามาตรฐานทาง วิชาการแทนผู้บริหาร
สถานศึกษาในด้านที่เก่ียวกับการจัดการเรียนรู้ และยังต้องเป็นผู้ให้ความร่วมมือกับ อาจารย์นิเทศก์

ศูนย์ฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพครู 6

คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบุรรี ัมย์

การป ิฏบั ิตการสอนในสถานศึกษา จากมหาวิทยาลัยในการนิเทศการปฏิบัติการสอนของนักศึกษา อันจะทำให้เกิดความมีประสิทธิภาพ และได้
มาตรฐานวชิ าชีพครตู ามท่คี รุ ุสภากำหนด

คุณสมบตั ขิ องครูพ่เี ลย้ี งตามท่ีครุ สุ ภา และคณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบรุ รี ัมย์กำหนด
1. มคี ุณวุฒใิ นสาขาวิชาและมีประสบการณต์ รงกับการปฏบิ ัติการสอนของนักศึกษา
2. สำเร็จการศึกษาระดับปรญิ ญาตรีข้นึ ไป
3. มปี ระสบการณ์การสอนไม่น้อยกวา่ 3 ปี
4. มคี ุณลกั ษณะของความเป็นครู ครองตนเป็นแบบอยา่ งทดี่ ตี ามจรรยาบรรณครู และการเป็นครูมืออาชีพ
5. รู้และเข้าใจเก่ียวกับเป้าหมายและกระบวนการฝึกประสบการณว์ ิชาชีพครู
6. มีทกั ษะและเทคนคิ ในการนเิ ทศแบบกลั ยาณมิตร
7. มีความสามารถในการประสานงานและร่วมมือกับสถาบันผลิตครู และผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนา
นักศกึ ษา และการจัดการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพครู
8. ครูพเี่ ล้ยี ง 1 ท่าน ดแู ลนกั ศกึ ษาได้จำนวน 1 คนเทา่ นนั้
แนวปฏิบตั ขิ องครูพีเ่ ลี้ยง
1. ทำความเข้าใจเกี่ยวกบั งานฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครขู องคณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบุรรี มั ย์
2. แนะนาํ นักศกึ ษาฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ครตู อ่ นักเรียนในชั้นเรยี นทท่ี ำการสอน
3. ให้ความรู้ คำแนะนํา เกี่ยวกับสภาพการเรียนรู้ของนักเรียน แนวทางปฏิบัติการสอน การปกครอง
ชนั้ เรียน ตลอดจนการทำงานธรุ การในช้นั เรียน
4. เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้สังเกตการสอนของครูพ่ีเล้ียง ก่อนท่ีจะมอบหมายให้ปฏิบัติการสอนจริง
ในช้ันเรียน ตลอดจนให้คำแนะนํา สาธิตการสอน และทำกิจกรรมต่าง ๆ ในช้ันเรียน เพื่อเป็นแบบอย่างท่ีดี
แก่นกั ศึกษา
5. ให้คำแนะนํา ตรวจสอบ แก้ไข การทำแผนการจัดประสบการณ์ / แผนการจัดการเรียนรู้
กอ่ นการนําไปทำการสอนในชนั้ เรียน
6. สังเกตการสอน การทำงานในชั้นเรียนของนักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ ไม่ปล่อยให้นักศึกษาทำการสอน
โดยลำพัง ให้ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาการปฏิบัติการสอน เม่ือพบว่างานใดบกพร่อง ต้องให้คำแนะนํา เพ่ือช่วยให้
การฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ครูมีประสิทธภิ าพ
7. ช่วยเหลือและให้คำแนะนําเก่ยี วกับโครงการพฒั นาโรงเรียน
8. ช่วยเหลอื และให้คำแนะนาํ เกี่ยวกับการจดั ทำวจิ ัยในชัน้ เรียนเพือ่ พฒั นาผู้เรยี น
9. ประชมุ หรอื นิเทศร่วมกบั อาจารยน์ ิเทศก์ของมหาวิทยาลยั

7 ศนู ย์ฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ครู

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบุรรี มั ย์

10. ในกรณีท่ีพบว่านักศึกษามีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ขาดความรับผิดชอบในการปฏิบัติการสอน / การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา
การปฏิบัติตน (เช่น ไม่ปฏิบัติตนตามระเบียบและข้อปฏิบัติของโรงเรียน ปัญหาชู้สาว ฯลฯ) ให้ว่ากล่าวตักเตือน
ชแ้ี จงบทลงโทษ และแจง้ ศนู ยฝ์ กึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ครู หรืออาจารย์นิเทศก์ เพื่อรว่ มกันแกไ้ ขต่อไป

11. ประเมินผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาของนักศึกษา ตามแบบฟอร์มของมหาวิทยาลัย
และส่งผลการประเมินให้ผู้บริหารสถานศึกษารับทราบและรับรอง ภาคการศึกษาละ 2 ครั้ง ตามปฏิทิน
การฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพครูทีม่ หาวทิ ยาลยั กำหนด

บทบาทหน้าทขี่ องอาจารยน์ ิเทศก์
อาจารย์นิเทศก์ คือ อาจารย์ประจำของมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ที่ได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่นิเทศ
นักศึกษาท่ีอยู่ในความรับผิดชอบ ประกอบด้วยอาจารย์นิเทศก์กลาง และอาจารย์นิเทศก์สาขาวิชา ซ่ึงเป็นผู้ท่ีมี
ความใกล้ชิดกับนักศึกษาที่ต้องทำหน้าท่ีให้คำปรึกษา แนะนํา กำกับ ติดตาม ดูแล และให้ข้อเสนอแนะ ตลอดจน
ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ แก่นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในสถานศึกษา มีแนวทางในการปฏิบัติ
ดงั นี้
1. ร่วมประชุมวางแผนกับคณะกรรมการดาํ เนินงานศนู ยฝ์ กึ ประสบการณว์ ิชาชีพครู
2. เข้าร่วมในการปฐมนิเทศนักศึกษาหรืออบรมก่อนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สัมมนาระหว่างการ
ปฏบิ ัตกิ ารสอน และสมั มนาหลังการปฏิบตั กิ ารสอน
3. ร่วมประชมุ ปรกึ ษาหารือ เพ่อื หาแนวทางปรับปรงุ และแก้ปัญหาต่าง ๆ ในการฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ
ครูของนักศึกษา
4. ร่วมประสานงานกับบุคคลต่าง ๆ ท้ังทางมหาวิทยาลัย สถานศึกษา และผู้เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการ
ฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ครู
5. นิเทศงานปฏิบัติการสอน และงานด้านอ่ืน ๆ ท่ีโรงเรียนมอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติ รวมถึงการ
ปฏิบตั ิตนของนักศกึ ษา
6. นิเทศติดตามการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในสถานศึกษาของนักศึกษา อย่างน้อยภาคการศึกษาละ
2 ครั้ง และมกี ารสอบการปฏิบัตกิ ารสอนโดยอาจารย์นเิ ทศกส์ าขาวชิ า
7. ประเมิน และส่งผลการประเมินการฝึกประสบการณว์ ิชาชีพครูในสถานศึกษาของนักศกึ ษา ตามปฏิทิน
ท่มี หาวิทยาลัยกำหนด
บทบาทหนา้ ทข่ี องนกั ศกึ ษาฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู หมายถึง นักศึกษาชั้นปีที่ 5 ที่กําลังศึกษาตามห ลักสูตร
ครุศาสตรบัณฑิต มีคุณสมบัติครบถ้วนและได้รับการอนุมัติออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานศึกษาจาก
มหาวิทยาลัย มีแนวทางการปฏบิ ัติ ดงั นี้

ศูนย์ฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ครู 8

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั บรุ รี ัมย์

การป ิฏบั ิตการสอนในสถานศึกษา 1. รับการปฐมนิเทศหรอื อบรมก่อนการฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพครจู ากมหาวิทยาลัย และรับหนังสือส่งตัว
พรอ้ มคู่มือและเอกสารประกอบการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ครูในสถานศึกษา

2. ศึกษารายละเอยี ดคมู่ อื การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษาใหเ้ ข้าใจในการปฏบิ ตั ิ
3. พบผูบ้ ริหารสถานศึกษา แนะนําตวั และรบั การปฐมนเิ ทศจากทางโรงเรียน
4. พบครูพี่เลย้ี ง รบั มอบหมายงานตา่ ง ๆ ทีต่ อ้ งปฏบิ ัตใิ นการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพครู ไดแ้ ก่

4.1 ปฏิบตั ิการสอนในรายวิชาที่ตรงตามสาขาวิชา จำนวน 9-13 ช่วั โมงต่อสัปดาห์
4.2 ทำแผนการจัดประสบการณ์ แผนการจัดการเรียนรู้ตามรายวิชาที่สอน โดยทำล่วงหน้า
อยา่ งน้อย 1 สปั ดาห์ และส่งให้ครพู ่เี ลีย้ งตรวจกอ่ นนาํ ไปใช้สอน
4.3 ผลิตสื่อ / นวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ หรือ นําเทคนิควิธีการมาใช้ปฏิบัติการสอนให้มี
ประสิทธภิ าพยิ่งขนึ้
4.4 ปฏิบัติงานต่าง ๆ ในหน้าท่ีครู เช่น งานในหน้าที่ครูประจำช้ันหรือครทู ่ีปรึกษา งานธุรการใน
ชนั้ เรียน จดั ป้ายนเิ ทศในห้องเรียน จดั หอ้ งเรยี น เป็นตน้
4.5 ทำโครงการพัฒนาโรงเรียน โดยให้ดำเนินการร่วมกับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูใน
โรงเรียนเดียวกนั โดยต้องผ่านการอนุมัติโครงการจากผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา
4.6 ทำวจิ ยั ในชั้นเรียนเพื่อแก้ปัญหาหรือพฒั นาการเรยี นการสอน
4.7 ทำบันทกึ ประจำวนั โดยบนั ทกึ งานทป่ี ฏบิ ตั ทิ กุ วนั และให้ครูพ่ีเลย้ี งลงนามรับรอง
4.8 ปฏิบัติงานสนับสนุนการสอนตามท่ีโรงเรียนมอบหมาย ได้แก่ งานวชิ าการ งานบริหารบุคคล
งานบรหิ ารงบประมาณ และงานบริหารทัว่ ไป ภาคการศกึ ษาละไมน่ ้อยกวา่ 40 ช่วั โมง
4.9 รว่ มกิจกรรมตา่ ง ๆ ของโรงเรยี นหรือชมุ ชนอย่างสม่ำเสมอ
5. ประชุมรว่ มกันระหวา่ งนักศึกษาท่ีฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในโรงเรียนเดียวกัน เพ่ือจัดทำโครงการ /
ปรึกษาหารือ / แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแกป้ ัญหาต่าง ๆ ร่วมกันอย่างสม่ำเสมอ โดยต้องมีบันทึกการประชุม
ร่วมกันเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร (จดั ทำเปน็ เลม่ บนั ทึกการประชมุ ) ตามรปู แบบงานสารบรรณ
6. เข้าร่วมกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์กำหนด ได้แก่ การอบรม / สัมมนาก่อน-ระหว่าง-หลัง
การฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี ครใู นสถานศึกษา
7. ปฏบิ ัตติ ามระเบยี บและแนวปฏบิ ัตขิ องมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบุรรี มั ย์ และสถานศึกษา

การประเมนิ ผลการปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษา
การประเมินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในสถานศึกษา เป็นการประเมินผลในรายวิชา

การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษา 1 และการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2

9 ศนู ย์ฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพครู

คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบุรรี ัมย์

แนวทางการประเมนิ ผล

1. นกั ศกึ ษาท่ปี ฏบิ ตั ิการสอนต้องดำเนินการครบทุกขัน้ ตอน ดงั ต่อไปนี้

1.1 เข้ารับการอบรมก่อนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สัมมนาระหว่างการฝึกประสบการณ์

วิชาชพี ครู และสมั มนาหลงั การฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพครู ตามวนั เวลาที่มหาวิทยาลยั กำหนด

1.2 ดำเนินการฝึกปฏิบัติการสอนจริงในสถานศกึ ษาตามช่วงของระยะเวลาที่มหาวิทยาลยั กำหนด

1.3 ไม่สร้างความเสื่อมเสียต่อตนเอง โรงเรียนหรือองค์กรที่เกี่ยวข้อง โดยมีผลการตรวจสอบ

ขอ้ เท็จจรงิ ปรากฏแน่ชดั

2. ได้รับผลการประเมนิ ครบทุกรายการ ดงั นี้

2.1 คะแนนประเมนิ ผลจากโรงเรยี น รอ้ ยละ 50

2.2 คะแนนประเมนิ ผลจากมหาวทิ ยาลัย รอ้ ยละ 50

3. กําหนดใหก้ ารประเมินผล เป็นค่าระดบั คะแนน 8 ระดับ คือ

A หมายความว่า ได้ผลการประเมนิ เปน็ ดีเยย่ี ม มคี ่าระดับคะแนน 4.0

B+ หมายความว่า ไดผ้ ลการประเมนิ เปน็ ดีมาก มีคา่ ระดับคะแนน 3.5

B หมายความวา่ ได้ผลการประเมนิ เป็น ดี มคี า่ ระดับคะแนน 3.0

C+ หมายความว่า ได้ผลการประเมนิ เป็น ดีพอใช้ มีคา่ ระดับคะแนน 2.5

C หมายความว่า ได้ผลการประเมนิ เปน็ พอใช้ มคี ่าระดับคะแนน 2.0

D+ หมายความว่า ไดผ้ ลการประเมนิ เปน็ อ่อน มีค่าระดับคะแนน 1.5

D หมายความว่า ได้ผลการประเมนิ เปน็ ออ่ นมาก มีคา่ ระดบั คะแนน 1.0

F หมายความวา่ ได้ผลการประเมนิ เปน็ ตก มีค่าระดับคะแนน 0.5

การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา

ศนู ย์ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ครู 10

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรรี ัมย์

การเตรียมการสอนและการจัดทำแผนการ ัจดการเรียน ้รู ตอนท่ี 2 การเตรยี มการสอนและการจัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้

การเตรียมการสอน
การเตรียมการสอน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมที่จะสอน เช่น เตรียมเนื้อหาวิชา เตรียมกิจกรรม

เตรียมสื่อการเรียนรู้ ตลอดจนการวัดและประเมินผล การเตรียมการสอนท่ีดีจะช่วยให้ผู้สอนเกิดความมั่นใจ
ในการสอน และช่วยให้การสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ในการเตรียมการสอนน้ัน ผู้สอนจะต้องจัดทำแผน
การจดั การเรียนรใู้ ห้เสรจ็ เรยี บรอ้ ยก่อนที่จะสอน

การจดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้
การจดั ทำแผนการจดั การเรียนรเู้ ป็นการออกแบบการจัดการเรยี นรู้ประจำเรอ่ื งหรอื หนว่ ยย่อย เพ่ือเตรยี ม

การจัดการเรียนรู้ล่วงหน้าอย่างเป็นระบบและเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งจะได้นําไปใช้เป็นแนวทางจัดการเรียนรู้ให้
ผเู้ รียนเกดิ การเรยี นรตู้ ามเปา้ หมายทก่ี ำหนดไว้

องคป์ ระกอบสำคญั ของแผนการจัดการเรียนรู้
1. หัวเร่ือง ประกอบด้วย ลำดับที่ของแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิชา ชั้น ช่ือหน่วย
การเรียนรู้ ช่ือเรอื่ ง วนั ที่ / เวลาท่ใี ช้สอน
2. มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้วี ดั / ผลการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
3. สาระสำคัญ
4. สาระการเรยี นรู้
5. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
6. สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้
7. การวัดและประเมนิ ผล
8. บนั ทกึ ผลหลังสอน
รูปแบบของการเขียนแผนการจัดการเรียนรูม้ ีหลายรูปแบบ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สามารถ
เลือกใช้ได้ตามท่ีสาขาวิชากำหนด หรือใช้แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางของสถานศึกษาที่ฝึกประสบการณ์
ถ้าเลอื กใชเ้ ป็นรูปแบบใดให้ใช้รปู แบบน้ัน ๆ ท้งั หมด และควรใหค้ รอบคลมุ ประเด็นสำคัญตา่ ง ๆ ด้วย

11 ศนู ย์ฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครู

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บรุ รี มั ย์

แนวทางการเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ การเตรยี มการสอนและการจัดทำแผนการจดั การเรียนรู้
แผนการจดั การเรยี นรู้ ท่ี .......

กลุ่มสาระการเรียน .............................................. รหัสวชิ า/ชอ่ื วิชา .................................................. ช้นั .............
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ................... (ชื่อหน่วยการเรยี นร้)ู ................. เรอ่ื ง ....................................................................
เวลาทส่ี อน ......... ช่ัวโมง วัน/เดอื น/ปีทส่ี อน ..................................... เวลาที่สอน ...........................................

มาตรฐานการเรยี นรู้ และตวั ชว้ี ัด / ผลการเรียนรู้ / จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
การเขียนมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด ในรายวิชาท่ีเป็นรายวิชาพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง 2560) ถ้าเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาเพิ่มเติม ให้เขียนเฉพาะหัวข้อ ผลการเรียนรู้ตาม
หลักสูตรสถานศึกษา

ตวั อย่างการเขยี นมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชีว้ ัด กล่มุ สาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างงานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์
คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ ใน
ชวี ิตประจำวัน
ตัวชี้วดั ศ 1.1 ม.1/5 ออกแบบรปู ภาพ สญั ลักษณ์ หรอื กราฟิกอน่ื ๆ ในการนําเสนอความคดิ และขอ้ มลู

สาระสำคญั
เป็นข้อความสรปุ ท่ีเรียบเรียงมา จากลักษณะเด่นของเนื้อหา โดยเขียนให้สั้น กะทัดรัด และมี ความหมาย

ชดั เจน
ตัวอย่างสาระสำคญั

สาระสำคัญในเชงิ เน้ือหาความรู้
รากของพืชมี 3 ชนิด ได้แก่ รากแก้ว รากฝอย และรากแขนง สาระสำคัญในเชิงทักษะ

กระบวนการ
การใช้กระบวนการเขียน เป็นการเตรียมการเขียน การยกร่างข้อเขียน การปรับปรุงข้อเขียน

การบรรณาธิการกิจ และการเขียนให้สมบูรณ์ จะทำให้ได้ข้อเขียนท่ีมีความถูกต้องเหมาะสม
สาระสำคญั ในเชิงเจตคติ

ความขยนั หมัน่ เพยี ร เปน็ ส่ิงทีน่ ําไปสคู่ วามสำเร็จ

ศูนย์ฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครู 12

คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบุรรี ัมย์

การเตรียมการสอนและการจัดทำแผนการ ัจดการเรียน ้รู สาระการเรยี นรู้
ระบุเน้ือหาสาระหรอื แนวคิดของเน้ือเรอ่ื ง /สาระที่ผเู้ รียนตอ้ งเรียนรู้ ให้สัมพันธ์สอดคล้องกับ จุดประสงค์

หรือผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง หรอื ตัวชี้วดั เรียงตามลำดับเป็นข้อ ๆ เขียนเฉพาะหัวข้อหลัก และหัวข้อย่อย ไม่ต้อง
เขียนรายละเอยี ด เช่น

ตัวอย่าง การเขยี นสาระการเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
การเขยี นลายกนก 3 ตัว
• ช่อื ลายกนก
• ลวดลายของลายกนกชนดิ ต่าง ๆ
• ความสำคญั ของลายกนก

กจิ กรรมการเรยี นรู้
เปน็ การจดั กจิ กรรม /ประสบการณท์ เ่ี น้นผ้เู รยี นเป็นสำคัญ ดังน้ี
- สอดคล้องกับเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน (มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้

จดุ ประสงคก์ ารเรียนร้)ู
- ใช้กระบวนการเรียนรู้ท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคญั
- ใชน้ วตั กรรมการเรียนร้ตู า่ ง ๆ ท่ีสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์ และเหมาะสม กบั สาระการเรยี นรู้
- มลี ำดบั ขัน้ ตอนเป็นขน้ั นาํ เข้าสูบ่ ทเรียน ขั้นปฏิบัตกิ ิจกรรม และข้ันสรปุ

ตัวอย่างกจิ กรรมการเรยี นรูจ้ ากรปู แบบการสอนทักษะปฏิบตั ติ ามแนวคดิ ของแฮรโ์ รว์
1. ขัน้ นาํ เข้าส่บู ทเรียน

1.1 ครูแจ้งจุดประสงค์และสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับลวดลายไทยแบบต่าง ๆ ว่ามีลักษณะ
อย่างไร เช่น มีลายเส้นเป็นลวดลายแบบไทย ระบายสีแบนเรียบ ไม่เน้นแสงเงา มีลายเส้นที่ชัดเจนอ่อนช้อย ตัด
เส้นดว้ ยสีดำ หรอื นำ้ ตาล

1.2 ครูอภิปรายร่วมกับนักเรียนเกี่ยวกับการวาดภาพแบบไทยพร้อมดูภาพการเขียนลายไทย
กนก 3 ตวั

13 ศนู ย์ฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพครู

คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บรุ รี ัมย์

2. ข้ันสอน (ตามแนวคิดของแฮร์โรว)์ การเตรยี มการสอนและการจัดทำแผนการจดั การเรียนรู้
2.1 ขน้ั การเลียนแบบ
2.1.1 นักเรยี นดูตัวอย่างภาพเก่ยี วกับลวดลายไทย สังเกต เปรียบเทียบความเหมือนและ

ความแตกต่าง เช่น สีเรียบกับแสงเงา เส้นโค้งกับเส้นหยัก ลายกลีบบัวกับลายกนก เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ครู
แนะนําเพิ่มเตมิ เมือ่ นกั เรยี นไม่เข้าใจ

2.1.2 นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5 คนศึกษาจากภาพตัวอย่าง และเอกสารใบความรู้ที่ 1
เรอ่ื ง การเขยี นลายไทยลายกนก 3 ตัว เกี่ยวกับลักษณะของภาพ การใช้เส้น สี แสงเงา แล้วสรุปเป็น ความคิดรวบ
ยอดของกลุ่ม โดยทำในใบงานท่ี 1

2.2 ขนั้ ลงมือปฏิบตั ติ ามคำสั่ง
2.2.1 นักเรียนฝึกทักษะปฏิบัติการเขียนลายไทยกนก 3 ตัว ตามตัวอย่างจาก ใบความรู้

ท่ี 1 โดยวาดภาพลายกนกลงในกระดาษวาดเขียนตามหัวขอ้ ที่กำหนดไว้ในบตั รคำสั่ง
2.2.2 นกั เรียนอธิบายกระบวนการสรา้ งสรรค์ภาพและหลักการเขียนลายไทยกนก 3 ตัว

แล้วเขียนผังความคิดสรุปความคิดรวบยอดเก่ียวกับหลักเกณฑ์การสร้างภาพ เพื่อให้เกิดความชํานาญ และพัฒนา
งานต่อไป

2.3 ขน้ั การกระทำอย่างถกู ต้องสมบูรณ์
2.3.1 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นของแต่ละกลุ่มในเรื่อง ทักษะ

ปฏิบัติการเขียนลายไทย และความคิดสร้างสรรค์ การใช้สี การตัดเส้นด้วยสีเข้ม ให้แต่ละกลุ่มเขียนสรุป ความคิด
หลกั การเขยี นภาพลายไทยกนก 3 ตัว

2.3.2 นักเรียนนําความรู้จากการเขียนลายไทย ลายกนก สร้างสรรค์ภาพแบบต่าง ๆ
มาประกอบเป็นภาพใหส้ มบูรณ์ มคี วามแปลกใหม่ น่าสนใจ ครใู หค้ วามรู้เพ่มิ เติมเมื่อนักเรยี นไมเ่ ขา้ ใจ

2.4 ขั้นการแสดงออก
นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบเขียนภาพไทย ตามความคิดจินตนาการของตัวเอง

ให้ถูกต้องสมบรู ณ์ อย่างคล่องแคล่วรวดเรว็ ด้วยความม่ันใจ
2.5 ข้นั การกระทำอยา่ งเปน็ ธรรมชาติ
2.5.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรมการเขียนลายไทยกระหนก 3 ตัว ให้มีความ

แปลกใหมไ่ ม่ซำ้ แบบแลว้ ระบายสีให้สวยงามสมบูรณ์ ตามจินตนาการ พร้อมทงั้ ตัง้ ช่ือภาพลงในใบงานท่ี 2

ศนู ย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 14

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรรี ัมย์

การเตรียมการสอนและการจัดทำแผนการ ัจดการเรียน ้รู 2.5.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มอธิบายผลงานของตนเองให้เพ่ือนฟัง โดยเปรียบเทียบกับภาพ
ที่ทดลองวาดในคร้ังแรกเก่ียวกับเร่ือง ความคิดสร้างสรรค์และทักษะปฏิบัติการวาดภาพ แล้วให้เพ่ือนร่วมกัน
วิพากษว์ ิจารณ์ผลงานของตนเอง

2.5.3 นกั เรียนอภิปรายซกั ถามเพิม่ เติม แลว้ จัดแสดงผลงานในที่เตรยี มไว้
สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้

1. ระบุวัสดอุ ปุ กรณต์ า่ ง ๆ ท่ใี ช้ตามลำดบั ของกิจกรรม
2. ระบุแหล่งการเรียนรู้ สถานทต่ี ่าง ๆ ท่ีผู้เรยี นไปศกึ ษาเรยี นรู้
3. ระบบุ คุ คล ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ หรือปราชญช์ าวบา้ นทเ่ี ปน็ วทิ ยากร
การวัดและประเมนิ ผล
ระบุสง่ิ ทตี่ อ้ งการวัด วธิ กี าร เครือ่ งมอื และเกณฑ์การประเมนิ ผล
บนั ทกึ ผลการจดั การเรยี นรู้
1. เขยี นแสดงผลการจดั การเรียนรตู้ ามจุดประสงคก์ ารเรียนรู้
2. เขยี นปญั หาตา่ ง ๆ ทพ่ี บจากการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
3. เขยี นขอ้ เสนอแนะ เพอื่ การปรบั ปรุงแกไ้ ขในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครง้ั ต่อไป

15 ศนู ย์ฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู

คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบรุ รี มั ย์

ตอนที่ 3 การทำโครงการด้านวชิ าการเพือ่ พฒั นาโรงเรยี น การทำโครงการดา้ นวชิ าการเพื่อพฒั นาโรงเรยี น

การจัดทำโครงการด้านวิชาการ เพ่ือพัฒนานักเรียนให้เกิดประสิทธิภาพ และต่อยอดโรงเรียนให้เกิด
คุณภาพท่ีดีย่ิงขึ้น เป็นงานในหน้าท่ีอย่างหนึ่งท่ีนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูจะต้องเข้าไปมีส่วนร่วมในการ
จดั ทำ โดยการจดั ทำเปน็ โครงการมขี อบข่ายและข้ันตอนต่าง ๆ ในการดําเนนิ งาน ดังนี้

ขอบข่ายงาน
งานโครงการดา้ นวิชาการ ประกอบดว้ ย
1. โครงการอบรม / สมั มนา
2. โครงการพฒั นาการเรียนการสอน
3. โครงการค่ายวิชาการ
4. โครงการส่งเสรมิ ความรเู้ ฉพาะดา้ นให้แกน่ กั เรยี น
5. โครงการพัฒนาสอ่ื นวัตกรรมในศาสตร์ทเ่ี กี่ยวข้อง
6. โครงการปรับปรุง / พัฒนาโรงเรียนและช้ันเรียน เช่น โครงการการปรับปรุงภูมิทัศน์เพ่ือเสริมสร้าง

ทักษะความรู้และเสริมสร้างทักษะ / สมรรถภาพทางกายให้กับนักเรียน โครงการพัฒนางานตาม
แนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น
7. อืน่ ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การพัฒนาวชิ าการ

แนวปฏิบตั ใิ นการพัฒนา
1. นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูต้องปรึกษาครูพี่เลี้ยง อาจารย์นิเทศก์ และผู้บริหารสถานศึกษา

เพ่ือให้งานพัฒนาในด้านท่ีกำหนด และสอดคล้องกับโครงการที่โรงเรียนได้ทำไว้หรือบูรณาการอยู่ในกรอบความ
เหมาะสมของโรงเรยี น โดยต้องให้โรงเรียนรับรู้และพจิ ารณาเห็นชอบ

2. ในการปรับปรุง / พฒั นาแต่ละครั้ง โดยเฉพาะในวนั หยุด จะต้องไดร้ ับอนุญาตจากผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
เสยี กอ่ น โดยเสนอใหท้ ราบถึงกระบวนการทำงานที่จะจัดทำและผู้รว่ มกจิ กรรม ในกรณมี ีนักเรียนมารว่ มปฏิบัติงาน
ในวันหยุดตอ้ งแจง้ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาและมกี ารดำเนินการขออนุญาตผูป้ กครองของนกั เรยี นด้วย

3. ขอให้นักศึกษาฯ พิจารณาทุนทรัพย์ โดยห้ามใช้จ่ายเงินเกินฐานะของตนเอง จนก่อให้เกิดความ
เดือดร้อนแก่ตนเองและครอบครัว ซึ่งจะเป็นผลกระทบต่อนักศึกษาในรุ่นต่อไปท่ีทางโรงเรียนจะเปรียบเทียบได้
ดังนั้น ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู จึงไม่อนุญาตให้นักศึกษาซ้ือของที่ระลึกให้เป็นอนุสรณ์แก่โรงเรียนในการ
จัดทำโครงการเป็นอนั ขาด

ศูนย์ฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพครู 16

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั บุรรี มั ย์

การทำโครงการ ้ดาน ิวชาการเพื่อ ัพฒนาโรงเรียน งานพัฒนาดังกลา่ ว จะสามารถทำได้มากน้อยเพยี งใดย่อมขนึ้ อยู่กับสภาพของโรงเรียน หากเป็นโรงเรียนท่ี
มคี วามพร้อมอยู่แล้วงานพัฒนาก็อาจมีนอ้ ย ถา้ เป็นโรงเรียนในชนบท งานที่จะทำและโอกาสทจ่ี ะพัฒนาก็มีมากขึ้น
ดังน้ัน นกั ศกึ ษาจงึ ต้องคิดและจดั กิจกรรมทีเ่ หมาะสมกบั บริบทของนกั เรยี น โรงเรยี น และชมุ ชนรอบข้าง

ขน้ั ตอนการดำเนนิ โครงการ
1. นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในแต่ละโรงเรียนจะต้องจัดทำโครงการด้านวิชาการเพื่อพัฒนา

โรงเรียน 1 โครงการ ต่อ 1 โรงเรียน โดยเลือกโครงการท่ีเหมาะสมกับจำนวนนักศึกษาฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครู
ทไ่ี ปฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในโรงเรยี นนัน้ ๆ ตามความเหมาะสมและความเห็นชอบของครทู ปี่ รกึ ษาโครงการ

2. เสนอโครงการตามแบบฟอรม์ ท่ีกำหนดให้ และดำเนนิ การอนมุ ัติโครงการตามขั้นตอน
3. เม่ือโครงการได้รับการอนุมัติ และได้รับการอนุญาตจากผู้อำนวยการโรงเรียนหรือผู้ท่ีได้รับมอบหมาย
อนุมัติ จงึ จะดำเนินโครงการได้ โดยนกั ศกึ ษาจะต้องดำเนินการตามแนวทางดังน้ี

3.1 ให้หัวหน้านักศึกษาเตรียมประชุม วางแผนการดำเนินโครงการ และแบ่งหน้าท่ีให้กับ
นกั ศกึ ษาฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี ครูในโรงเรียน

3.2 ดำเนินโครงการให้เป็นไปตามกำหนดเวลาที่วางแผนไว้ และเป็นไปตามระบบและระเบียบที่
กำหนดไว้

3.3 ในขณะท่ีดำเนินโครงการ จะต้องเก็บรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงการให้ครบถ้วน
เพอ่ื เปน็ ข้อมลู ในการสรุปผลโครงการ

3.4 หลังจากดำเนินโครงการเสร็จเรียบร้อยแล้ว ต้องจัดทำรายงานโครงการตามแบบฟอร์มท่ี
กำหนดให้

4. จัดทำรายงานผลโครงการเปน็ รปู เล่มสมบรู ณ์ จำนวน 2 เล่ม โดยแบง่ ออกเปน็
4.1 เล่มท่ี 1 เล่มต้นฉบับ ให้นำส่งโรงเรียนเมื่อสิ้นสุดการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

ภาคการศึกษาที่ 1 เพอื่ เป็นหลักฐานและผลงานของนักศกึ ษาฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครูในรุน่ นน้ั ๆ
4.2 เล่มที่ 2 เล่มถ่ายสำเนา ให้นำส่งที่ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในกิจกรรมสัมมนา

หลังฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ครู ภาคการศึกษาที่ 1 หรือวันทศี่ ูนยฝ์ ึกประสบการณว์ ชิ าชีพครไู ด้กำหนดไว้
โครงการด้านวิชาการเพ่ือพัฒนาโรงเรียนนอกจากจะเป็นประโยชนส์ ำหรับนกั ศึกษาแล้ว ยังเปน็ ประโยชน์

ตอ่ นกั เรียน โรงเรียน และศนู ยฝ์ ึกประสบการณ์วชิ าชีพครูในการปรบั ปรงุ และพัฒนางานฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู
ดังนั้น ในการจัดโครงการของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูให้เหมาะสมกับสภาพของโรงเรียน จะช่วยให้
ทราบถึงบรบิ ท และความแนวทางการพฒั นาเพอ่ื สง่ เสรมิ ความกา้ วหน้าของโรงเรยี นไดด้ ้วยเชน่ กัน

17 ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชพี ครู

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบรุ รี ัมย์

แบบฟอร์มการทำโครงการด้านวิชาการเพ่ือการพัฒนาโรงเรยี น การทำโครงการดา้ นวชิ าการเพื่อพฒั นาโรงเรยี น

การเขยี นโครงการ และรายงานผลโครงการ ประกอบด้วย
1. การเขยี นโครงการเพื่อของบประมาณ

1.1 บันทกึ ข้อความขออนุมตั ิโครงการ
1.2 โครงการ
2. การเขยี นรายงานผลโครงการ
2.1 ปกนอก / ปกใน
2.2 คำนำ
2.3 สารบัญ
2.4 รายงานผลโครงการ
2.5 แบบประเมนิ ตนเอง
2.6 แบบประเมนิ จากอาจารย์พ่เี ลยี้ ง

ศนู ย์ฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี ครู 18

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบรุ รี ัมย์

การทำโครงการ ้ดาน ิวชาการเพื่อ ัพฒนาโรงเรียน บนั ทึกขอ้ ความ

สว่ นราชการ …………………………………………………………………………………………………………………………....................
ท่ี ………………………………………………………….. วนั ท.่ี ......................................................................................
เรือ่ ง ขออนมุ ตั ิโครงการ..........................................................................................................................................
เรียน ผู้อำนวยการโรงเรยี น......................................................................................................................................

ด้วย ข้าพเจ้า............................................................................................ ตัวแทนนักศกึ ษ าฝึกประสบการณ์
วิชาชีพครู มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบุรรี ัมย์ ไดจ้ ดั ทำโครงการ..............................................................................................
........................................................................................................................................................ .................................
มวี ัตถปุ ระสงค์เพื่อ............................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
ในระหว่างวันท.่ี ......... ถงึ วนั ที่............เดือน....................................................พ.ศ.................เวลา.............................น.
ณ ....................................................................................................................................................................................

ดังนั้น ข้าพเจ้าในนามตัวแทนนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
จึงขออนุญาตจัดทำโครงการ........................................................................................................... ............................
โดยใช้เงินงบประมาณของ........................................................................................................ ..................................
เป็นเงินท้ังส้ิน........................................................................บาท (..........................................................................)
ดังเอกสารทีแ่ นบมาพร้อมนี้

จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดพจิ ารณาอนุมตั ิ

(..................................................)
ตำแหนง่ .......................................................

ผเู้ สนอโครงการ

19 ศูนย์ฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพครู

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั บรุ รี มั ย์

แบบขออนุมัตโิ ครงการ ปีงบประมาณ............... / ปีการศกึ ษา ..............

นักศกึ ษาฝึกประสบการวชิ าชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบุรรี ัมย์

แบบอนมุ ัตโิ ครงการ ช่ือโครงการ :

ปีงบประมาณ .............. / ........................................................................................................................

ปีการศึกษา .............. ........................................................................................................................

หน่วยงานรับผิดชอบ

: นักศึกษาฝกึ ประสบการวชิ าชีพครู ระยะเวลาดำเนนิ การ : ...............................................................................

โรงเรยี น......................................

1. ชอื่ โครงการ ............................................................................................................................. .................. การทำโครงการดา้ นวชิ าการเพื่อพฒั นาโรงเรยี น
2. ลกั ษณะโครงการ

2.1 ประเภท  โครงการตอ่ เนื่อง  โครงการพัฒนางานเดิม  โครงการใหม่
2.2 วธิ ีดำเนนิ การ  ดำเนนิ การเอง  ร่วมกบั หน่วยงาน .....................................................
3. ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ
นกั ศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู จำนวน..............คน
ท่ีปรกึ ษาโครงการ

1) .......................................................................... ครูพีเ่ ล้ยี ง
2) ..........................................................................
3) ..........................................................................
4. หลักการและเหตุผล

(มีประมาณ 2-3 ย่อหน้า ย่อหน้าที่ 1 เกริ่นนำโดยท่ัวไปท่ีเก่ียวข้องกับโครงการเพื่อเชื่อมต่อย่อหน้าท่ี 2 ย่อหน้าที่ 2
กล่าวถึงโครงการภาพรวม ย่อหนา้ ที่ 3 สรุปว่าจะทำโครงการ / วัตถุประสงค์ / วันเดือนปี ทด่ี ำเนินโครงการ / ประโยชน์ / อ่นื ๆ
ท่ีเกยี่ วขอ้ ง)

......................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................. ......
....................................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................. ......
....................................................................................................................................................................................

ศนู ย์ฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพครู 20

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบรุ รี ัมย์

5. วัตถุประสงค์

5.1 ...............................................................................................................................................................

5.2 ........................................................................................................................... ....................................

5.3 ...............................................................................................................................................................

6. ขั้นตอนและระยะเวลาการดำเนินงาน

ลำดบั ที่ ขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน ระยะเวลาดำเนินการ

ข้นั วางแผน (P)

1 ประชมุ ปรึกษาหารอื คณุ ครูพ่ีเล้ยี งและผ้เู ก่ยี วข้อง

2 เสนอโครงการเพ่ืออนุมัติ

ขนั้ ดำเนนิ งาน (D)

3 ประชมุ วางแผน / แบ่งงาน

4 ดำเนนิ งานตามโครงการ

ขั้นติดตามผล (C)

5 ประเมนิ การดำเนินโครงการ

ขนั้ นำผลการดำเนนิ งานไปปรับปรุงพัฒนาในการดำเนินงานคร้งั ต่อไป (A)

การทำโครงการ ้ดาน ิวชาการเพื่อ ัพฒนาโรงเรียน 6 ประชุมเพื่อปรบั ปรงุ แก้ไขผลงานดำเนนิ โครงการในครั้งต่อไป

7. ตัวชี้วัดความสำเร็จ
7.1 เชิงปรมิ าณ
7.1.1 ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการและกิจกรรมไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80
7.1.2 ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการและกิจกรรมมคี วามพงึ พอใจไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 85
7.1.3 ผู้เขา้ รว่ มโครงการและกจิ กรรมไดร้ บั ความรคู้ วามเข้าใจไมน่ ้อยกว่า 85
7.2 เชงิ คุณภาพ (เขียนใหส้ อดคล้องกันกับเชิงปรมิ าณ)
7.2.1 (บอกให้เป็นรูปธรรม ดี / ดีมาก)
7.2.2 (บอกให้เปน็ รูปธรรม ดี / ดมี าก)
7.2.3 (บอกให้เป็นรูปธรรม ดี / ดีมาก)

8. สถานทจี่ ดั กิจกรรม ...................................................................................................................................

9. กลุ่มเป้าหมาย

9.1 ผบู้ ริหาร และครใู นโรงเรยี น จำนวน ............ คน

9.2 นกั เรียน ระดับ.................... จำนวน ............ คน

21 ศนู ย์ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพครู

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบุรรี มั ย์

10. งบประมาณ เปน็ เงนิ ทั้งสิน้ ....................บาท แบ่งออกเป็น งบประมาณ (บาท)
ที่ รายการ

รวมเปน็ เงิน (........................................................) .................... บาท

รวมงบประมาณทั้งส้ิน................................................................บาท
--ถวั จา่ ยทกุ รายการ--

11. ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ
11.1 ...............................................................................................................................................................
11.2 ...............................................................................................................................................................
11.3 ............................................................................................................................. ..................................

............................................................ การทำโครงการดา้ นวชิ าการเพื่อพฒั นาโรงเรยี น
(...................................................................)

ผเู้ สนอโครงการ

............................................................
(...................................................................)

ผู้เหน็ ชอบโครงการ

............................................................
(...................................................................)

ผู้อนุมัตโิ ครงการ

ศนู ย์ฝึกประสบการณ์วิชาชพี ครู 22

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั บุรรี มั ย์

การทำโครงการ ้ดาน ิวชาการเพื่อ ัพฒนาโรงเรียน รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการ.........................................................................

ประจำภาคเรยี นท่.ี .......... ปีการศึกษา....................
ปงี บประมาณ....................................

โดย
นักศึกษาฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพครู
โรงเรยี น...............................................................................
คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบรุ รี มั ย์

23 ศนู ย์ฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี ครู

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบุรรี มั ย์

รายชอ่ื นักศึกษาฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ครู คณะครุศาสตร์ การทำโครงการดา้ นวชิ าการเพื่อพฒั นาโรงเรยี น
โรงเรยี น..................................................................

1. ...............................................รหสั นักศึกษา............................ สาขาวิชา.................................................
2. ...............................................รหัสนักศึกษา............................ สาขาวิชา.................................................
3. ...............................................รหสั นกั ศกึ ษา............................ สาขาวชิ า.................................................
4. ...............................................รหัสนักศึกษา............................ สาขาวิชา.................................................
5. ...............................................รหสั นักศกึ ษา............................ สาขาวชิ า.................................................
6. ...............................................รหัสนกั ศึกษา............................ สาขาวิชา.................................................
7. ...............................................รหัสนกั ศกึ ษา............................ สาขาวชิ า.................................................
8. ...............................................รหัสนักศึกษา............................ สาขาวชิ า.................................................
9. ...............................................รหัสนกั ศึกษา............................ สาขาวิชา.................................................
10. ...............................................รหัสนกั ศกึ ษา............................ สาขาวิชา.................................................
11. ...............................................รหสั นักศกึ ษา............................ สาขาวชิ า.................................................
12. ...............................................รหสั นักศกึ ษา............................ สาขาวชิ า.................................................
13. ...............................................รหสั นักศกึ ษา............................ สาขาวิชา.................................................
14. ...............................................รหัสนกั ศกึ ษา............................ สาขาวิชา.................................................
15. ...............................................รหสั นกั ศกึ ษา............................ สาขาวชิ า.................................................
16. ...............................................รหสั นักศกึ ษา............................ สาขาวชิ า.................................................
17. ...............................................รหสั นักศกึ ษา............................ สาขาวชิ า.................................................
18. ...............................................รหัสนกั ศึกษา............................ สาขาวชิ า.................................................
19. ...............................................รหัสนกั ศกึ ษา............................ สาขาวชิ า.................................................
20. ...............................................รหสั นักศึกษา............................ สาขาวชิ า.................................................
21. ...............................................รหสั นักศึกษา............................ สาขาวิชา.................................................
22. ...............................................รหสั นกั ศกึ ษา............................ สาขาวชิ า.................................................
23. ...............................................รหสั นกั ศึกษา............................ สาขาวิชา.................................................
24. ...............................................รหัสนักศึกษา............................ สาขาวิชา.................................................

ศนู ย์ฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครู 24

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั บรุ รี ัมย์

การทำโครงการ ้ดาน ิวชาการเพื่อ ัพฒนาโรงเรียน คำนำ

............................................................................................................................. .........................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .........................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................ .................................................................................. ......................................................

คณะผู้จัดทำ
(วันท่.ี ........เดอื น...................พ.ศ. ..............)

25 ศูนย์ฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพครู

คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บรุ รี ัมย์

สารบญั หน้า การทำโครงการดา้ นวชิ าการเพื่อพฒั นาโรงเรยี น
x
แบบขออนมุ ัตโิ ครงการ................................................................................................................... x
ช่อื โครงการ.................................................................................................................................... x
ลักษณะโครงการ................................................................................................................ ............ xx
ผู้รับผดิ ชอบโครงการ..................................................................................................................... xx
หลกั การและเหตผุ ล...................................................................................................................... xx
วัตถปุ ระสงค์.................................................................................................................................. xx
ขนั้ ตอนและระยะเวลาการดำเนินงาน........................................................................................... xx
ตวั ช้วี ดั ความสำเรจ็ ........................................................................................................................ xx
สถานทจี่ ัดกิจกรรม........................................................................................................................ xx
กลุม่ เป้าหมาย................................................................................................................................ xx
งบประมาณ............................................................................................................................. ....... xx
ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ บั ....................................................................................................................... xx
รายงานผลการดำเนนิ งานโครงการ............................................................................................... xx
ภาคผนวก...................................................................................................................... ................ xx
xx
ภาคผนวก ก แบบประเมนิ ความพึงพอใจ............................................................................ xx
ภาคผนวก ข บันทกึ ข้อความและคำสง่ั แต่งต้งั .....................................................................
ภาคผนวก ค ภาพกิจกรรม..................................................................................................

ศนู ย์ฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู 26

คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บรุ รี ัมย์

รายงานผลการดำเนนิ งานโครงการ

1. ช่ือโครงการ ................................................................................................................... ...........................

2. วัน เวลา และสถานทดี่ ำเนนิ กิจกรรม

....................................................................................................................................................... .......................

...................................................................................................... ........................................................................

3. ลักษณะโครงการ

3.1 ประเภท  โครงการต่อเน่ือง  โครงการพฒั นางานเดิม  โครงการใหม่

3.2 วธิ ีดำเนินการ  ดำเนนิ การเอง  รว่ มกับหน่วยงาน..................................................

4. ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ…………………………………………………………………………………………………………...............

ท่ีปรกึ ษาโครงการ

1) .......................................................................... ครูพี่เลีย้ ง

2) …………………………………………………………………

3) ..........................................................................

การทำโครงการ ้ดาน ิวชาการเพื่อ ัพฒนาโรงเรียน 4) .........................................................................

5. งบประมาณโครงการ

ท่ี รายการ งบประมาณทขี่ ออนุมัติ (บาท) งบประมาณท่ใี ช้จรงิ (บาท)

รวม ............. บาท ............. บาท

รวมงบประมาณทใ่ี ช้ดำเนินการท้ังสนิ้ ................................................................บาท

6. ผ้เู ข้ารว่ มโครงการ จำนวน ............ คน
6.1 ผู้บรหิ าร และครูในโรงเรียน จำนวน ............ คน
6.2 นักเรียน ระดับ.................... จำนวน ........... คน
รวมกลุ่มเป้าหมาย

27 ศนู ย์ฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพครู

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบรุ รี มั ย์

7. ผลการดำเนินงานตามข้ันตอน (ปรบั ตามตอ้ งการ) การทำโครงการดา้ นวชิ าการเพื่อพฒั นาโรงเรยี น
ขน้ั วางแผน (P)
7.1 ประชมุ คณะกรรมการเพอ่ื วางแผนกำหนดโครงการ
7.2 จดั ทำรายละเอียดของโครงการ
7.3 เสนอโครงการเพ่อื ขอความเห็นชอบ/อนมุ ตั งิ บประมาณ
ขน้ั ดำเนินงาน (D)
7.4 ประชมุ แบ่งงาน /มอบหมายงาน
7.5 เตรียมงานตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย
7.6 ดำเนนิ การตามโครงการ
ขนั้ ตดิ ตามผล (C)
7.6 สงั เกตผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรม
7.7 ประเมนิ โครงการ
ขั้นสรปุ ผลการดำเนินงานเพือ่ เปน็ ฐานข้อมลู ในการดำเนนิ งานครั้งตอ่ ไป (A)
7.8 ร่วมประชมุ เพ่ือสรปุ โครงการ หาแนวทางแกไ้ ขปรับปรงุ พฒั นาในการดำเนินโครงการครง้ั ต่อไป

8. ผลการประเมินโครงการ ผลการประเมนิ โครงการ แบง่ ออกเปน็ 2 ส่วน คือ
ส่วนท่ี 1 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู จากแบบประเมินโครงการ
สว่ นที่ 2 ผลการประเมนิ ความสำเรจ็ ของโครงการ
8.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู จากแบบประเมินโครงการ
เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการประเมนิ ครั้งนี้ เป็นแบบประเมินทค่ี ณะกรรมการฝ่ายประเมนิ ผลได้สร้างขนึ้ มีลักษณะ

ดังน้ี
ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ท่ัวไปของผู้เขา้ รบั การอบรม ประกอบดว้ ย เพศ อายุ กล่มุ
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจที่มีต่อการจัดโครงการ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตามวิธี

ของลิเคิรท์ (Likert) 5 ระดับ คือ มคี วามพงึ พอใจนอ้ ยท่ีสดุ มีความพงึ พอใจน้อย มีความพงึ พอใจปานกลาง มีความ
พึงพอใจมาก และมีความพงึ พอใจมากท่ีสุด ให้ผเู้ ข้ารว่ มโครงการเลอื กตอบตามความคิดเห็น

ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ และคำถามปลายเปิด

ศูนย์ฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพครู 28

คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบรุ รี ัมย์

จากผลการประเมินจากแบบประเมินท่ีไดร้ ับกลบั คนื มา (ตามจำนวนแบบประเมนิ ) จากน้ันนำมาวิเคราะห์

ข้อมูลโดยใช้แสดงเปน็ คา่ รอ้ ยละ

การนำเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ตามลำดบั ดงั น้ี

ตอนท่ี 1 แสดงขอ้ มูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ไดแ้ ก่ เพศ อายุ กล่มุ นำเสนอในตารางท่ี 1

ตอนท่ี 2 แสดงผลการประเมินเป็นรายข้อและโดยภาพรวม นำเสนอในตารางท่ี 2-3

ตอนท่ี 3 แสดงคา่ ความถ่แี ละค่าร้อยละของความเหน็ / ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ นำเสนอใน ตารางที่ 4

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามแบบสอบถามโครงการ ดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี

ตอนที่ 1 ข้อมูลท่ัวไป

ตารางที่ 1 แสดงข้อมลู ท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ ช้ันปี สาขาวชิ า

ข้อมูลทั่วไป จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด (........... คน)

จำนวน รอ้ ยละ

เพศ

ชาย 79 44.63

หญงิ 98 55.36

อายุ

การทำโครงการ ้ดาน ิวชาการเพื่อ ัพฒนาโรงเรียน ต่ำกว่า 20 ปี 31 15.5

20-29 ปี 103 58.19

30-39 ปี 17 9.60

40-49 ปี 16 9.03

50 ปีข้นึ ไป 10 5.64

กลมุ่

นกั เรยี น 12 6.77

นกั ศกึ ษา 98 55.36

ครู / อาจารย์ 25 14.12

ประชาชนท่ัวไป 42 23.72

จากตางรางท่ี 1 พบว่า มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 177 คน แบ่งออกเป็น ชาย 79 คน คิดเป็นร้อย
ละ 44.63 หญิง 98 คน คิดเป็นร้อยละ 55.36 โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มนักเรียน ร้อยละ 6.77 นักศึกษา ร้อยละ
55.36 ครู / อาจารย์ ร้อยละ 14.12 และประชาชนทวั่ ไป รอ้ ยละ 23.72

29 ศนู ย์ฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพครู

คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั บุรรี มั ย์

ตอนที่ 2 แสดงความพงึ พอใจทีม่ ตี อ่ การจดั โครงการ

ตารางที่ 2 แสดงความพึงพอใจที่มีต่อการจัดโครงการ จำแนกเป็นรายข้อและโดยภาพรวม

รายการ คา่ รอ้ ยละ

ดา้ นความร้คู วามเขา้ ใจ

1. ความรูค้ วามเข้าใจในเรอ่ื งก่อนเขา้ รว่ มงาน 78.52

2. ความรู้ความเข้าใจในเรอ่ื งหลังเข้าร่วมงานในเรื่อง....................................... 84.17

3. หลงั การเข้ารว่ มกจิ กรรมม่ันใจว่าทา่ นมีความรู้ มีทักษะพฒั นาตนเองได้ 77.87

ดา้ นความพงึ พอใจของโครงการ

4. กระบวนการทำงาน / สถานท่ี

4.1 การจดั สถานท่ี / บรรยากาศ มีความเหมาะสม 93.78

4.2 การประชาสมั พนั ธ์กิจกรรม 83.03

4.3 รูปแบบของการจดั กิจกรรม 92.64

4.4 ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม 89.24

4.5 การต้อนรับ / การให้บริการอนื่ ๆ 87.48

4.6 ระบบแสง สี เสียง 90.38

ดา้ นการแสดง / การจัดนิทรรศการ การทำโครงการดา้ นวชิ าการเพื่อพฒั นาโรงเรยี น

5.1 รูปแบบการแสดง 92.64

5.2 ความรคู้ วามสามารถด้านการแสดงของ................................................. 89.26

5.3 ความร้สู กึ ที่ได้ชม................................................................................... 84.17

5.4 รปู แบบของการให้ความร้ใู นการจัดนิทรรศการ 90.94

ด้านการนำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

6. การถา่ ยทอดสืบสานวฒั นธรรมการแสดง.................................................... 88.12

7. สามารถนำความรู้ที่ไดไ้ ปประยกุ ตใ์ นการเรียนและการพัฒนาตนเอง 81.91

8. สามารถนำความร้ทู ี่ได้ไปเผยแพร่ / ถา่ ยทอดแกผ่ อู้ นื่ ได้ 81.91

รวม 86.62

ศนู ย์ฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู 30

คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บรุ รี มั ย์

จากตางรางที่ 2 พบว่า ความคิดเห็นโดยภาพรวมต่อโครงการฯ โดยรวมอยู่ในระดับดี สรุปได้ร้อยละ

86.62 เม่ือพิจารณาเป็นด้าน ๆ พบว่า ด้านความรู้ความเข้าใจ ร้อยละ 81.02 ด้านความพึงพอใจของโครงการ

ร้อยละ 89.35 และดา้ นการนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ รอ้ ยละ 83.98

ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์เนื้อหาเก่ียวกบั ความคดิ เหน็

ตารางท่ี 3 แสดงค่าความถี่จากผู้ตอบแบบสอบถามปลายเปดิ เกยี่ วกบั ความคดิ เห็น / ข้อเสนอแนะ

รายการ คา่ รอ้ ยละ

1. ควรมีการจดั นิทรรศการให้สวยงามและน่าสนใจ 12.42

2. มีการประชาสมั พันธ์นอ้ ย 19.77

3. อากาศร้อนควรมีพัดลม 11.29

4. ควรมกี จิ กรรมเช่นน้ีอีกเพ่ือพฒั นานักศึกษา 42.37

5. การจดั สถานทีม่ ีความสวยงาม 14.12

รวม 100

จากตางรางที่ 3 พบว่า หัวข้อท่ีได้ค่าคะแนนมากท่ีสุด คือ ควรมีกิจกรรมเช่นน้ีอีกเพื่อพัฒนานักศึกษา
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 42.37 และน้อยทีส่ ุด คอื การจดั สถานทม่ี ีความสวยงาม คดิ เปน็ ร้อยละ 14.12

การทำโครงการ ้ดาน ิวชาการเพื่อ ัพฒนาโรงเรียน 8.2 ผลการประเมนิ ความสำเร็จของโครงการ

ประเมินผลตามตัวช้ีวัดความสำเร็จท่ีตั้งไว้ในโครงการข้อ 11 โดยให้เขียนเป้าหมาย และผลการ

ดำเนินงาน และสรุปว่าการดำเนินงานนั้นบรรลุหรอื ไม่บรรลเุ ป้าหมายตามท่ีตัง้ ไว้ โดยสรุปเป็นตารางตามตวั อย่าง

ดงั นี้

ตวั ชวี้ ัดความสำเรจ็ เปา้ หมาย ผลการดำเนินงาน การบรรลเุ ป้าหมาย

1. นักศกึ ษา / นักเรยี น........................... ผลงานการศกึ ษาค้นควา้ การศึกษาคน้ ควา้ ✓

มีการศึกษาค้นคว้า 50 ผลงาน 50 ผลงาน

2. จำนวนผ้รู ว่ มงาน จำนวน 200 คน จำนวน 195 คน 

3. ผลงานของนกั ศกึ ษา / นกั เรียน อย่างน้อย รอ้ ยละ 80 รอ้ ยละ 87.21 ✓
.......................ผา่ นเกณฑ์

4. ผเู้ ข้าร่วมงานมคี วามพึงพอใจใน อยา่ งน้อยร้อยละ 80 รอ้ ยละ 70.25 
กจิ กรรม

31 ศูนย์ฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ครู

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรรี ัมย์

After Action Review (AAR)

จากการดำเนินการตามโครงการ............................................ในวันท่ี.......เดือน.................พ.ศ......... ........
ณ ................................................................................ ซึ่งมีการประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ
เมื่อวันที.่ ............ เดอื น.......................... พ.ศ. ...................... สรุปได้ดงั น้ี

สง่ิ ท่ปี ระสบความสำเรจ็ หรือจดุ เด่นของโครงการน้ี คอื
1. ………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหาและอปุ สรรคที่เกดิ ข้ึนระหว่างการดำเนนิ โครงการ และแนวทางแก้ไขปัญหาในปีต่อไป

ปญั หา / อุปสรรค สาเหตขุ องปญั หา แนวทางแก้ไขปญั หาในปีต่อไป

การจัดกจิ กรรมครั้งนีช้ ว่ ยให้ไดฝ้ กึ การวางแผน (P) การลงมือปฏิบัติ (D) การตรวจสอบผลการปฏบิ ัติ (C) และ การทำโครงการดา้ นวชิ าการเพื่อพฒั นาโรงเรยี น
การสรปุ ผลการปฏบิ ัติโครงการกิจกรรม (A) หรือไม่ อยา่ งไร

 มีการฝึกปฏิบตั ิตามกระบวนการดงั กลา่ ว
 ไม่มีการฝกึ ปฏบิ ตั ติ ามกระบวนการดังกลา่ ว

คำอธิบายเพิ่มเติม
............................................................................................... ...............................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ศนู ย์ฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครู 32

คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบุรรี ัมย์

โครงการน้บี รรลุตามวัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ และตรงตามผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั ของโครงการหรอื ไม่

 บรรลุ  ไม่บรรลุ

เพราะ............................................................................................................................. .............................................

ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติมในการจัดกจิ กรรมคร้งั ต่อไป คือ ............................................................................................

......................................................................................................................... ...........................................................

............................................................................................................................................ ........................................

ระดับการเรียนรู้ ประโยชน์ และความสุขในการเป็นผู้รับผิดชอบโครงการดังกล่าว (ให้คะแนนโดยใส่

เครือ่ งหมาย ✓ ลงในช่องทตี่ รงกับความคิดเหน็ )

มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย ไมม่ ี 
☺✓

การทำโครงการ ้ดาน ิวชาการเพื่อ ัพฒนาโรงเรียน ลงช่ือ.............................................................
ผรู้ ับผิดชอบโครงการ

33 ศนู ย์ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพครู

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บรุ รี ัมย์

ใบประเมินตนเอง

(ตัวแทนนกั ศึกษาเปน็ ผูป้ ระเมิน)
ชือ่ โครงการ / กิจกรรม .....................................................................................................................................
วันเริม่ ทำงาน..........................................................................วนั สิ้นสดุ การทำงาน.............................................

คำช้แี จง ใหข้ อ้ มูลโดยใสเ่ คร่ืองหมาย ✓ ลงในช่อง  ตามความเปน็ จรงิ

1. เหตุผลทเ่ี ลือกงานนี้ (เลอื กไดห้ ลายคำตอบ)

 เคยทำงานเช่นนม้ี าก่อน  มผี ู้พอชว่ ยเหลือได้  นา่ จะไดค้ วามรู้

 ตรงกับความสนใจ  เปน็ งานที่เสียค่าใช้จา่ ยน้อย  ผปู้ กครองแนะนำ

 มีวัสดอุ ุปกรณค์ รบอยแู่ ล้วลงมอื ทำงานไดท้ ันที  อ่ืน ๆ (ระบ)ุ .................................................

2. เม่อื เรม่ิ ทำงาน พบว่างานนี้

 งา่ ยกว่าทีค่ ดิ  ยากกวา่ ท่คี ิด  ยากง่ายใกล้เคียงกับที่คดิ

3. ความรสู้ กึ เมือ่ ทำงานไประยะหนงึ่

 พอใจ  อยากเปลยี่ นงาน  ตอ้ งทนทำต่อไป

4. ความร่วมมอื จากจากนักเรียนหรอื เพ่ือนร่วมงานในระหวา่ งทำงาน

 ไดร้ บั ความร่วมมือมาก  ได้รับความร่วมมือบ้าง  ไม่มผี ูใ้ ห้ความร่วมมือเลย

5. การแกไ้ ขอปุ สรรคระหว่างทำงาน การทำโครงการดา้ นวชิ าการเพื่อพฒั นาโรงเรยี น

 แก้ไขดว้ ยตนเอง  คำแนะนำจากครูพี่เลยี้ ง  ไมม่ ีอปุ สรรคเลย

6. ปัญหาที่พบระหว่างทำงาน (ถา้ ไม่มีไม่ตอ้ งตอบ)

 มเี วลาทำงานนอ้ ย  เสียคา่ ใช้จา่ ยมาก  อาจารย์ในโรงเรยี นไม่สนใจเท่าที่ควร

 อ่ืน ๆ (ระบ)ุ ..............................

7. ความรู้สกึ ระหวา่ งทำงาน

 มคี วามสขุ /สนกุ สนาน  เป็นปกติ / เฉย ๆ  เบื่อ / อยากให้งานเสร็จเร็วๆ

8. ความรสู้ กึ เมอ่ื งานสำเร็จ

 ภาคภูมใิ จมาก  โลง่ อก  ไมพ่ อใจเพราะไม่เปน็ ตามคาด

สง่ิ ทภี่ าคภูมใิ จในการทำงานน้ี (ถ้ามี) คือ............................................................................................................

ส่ิงทย่ี ังไม่พอใจ (ควรปรบั ปรุง) ในการทำงานนี้ (ถา้ มี) คือ.................................................................................

ความเหน็ อนื่ ๆ (ถา้ มี)..........................................................................................................................................

สรปุ ผลการทำงาน  ดมี าก  ดี  ปานกลาง  ยังไม่นา่ พอใจ

ลงชอ่ื ......................................................................................วนั /เดอื น/ปี.............................................................

ศนู ย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 34

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั บุรรี ัมย์

ใบประเมินจากผบู้ รหิ ารโรงเรยี น หรือผทู้ ี่ไดร้ บั มอบหมาย

ชอื่ โครงการ / กจิ กรรม .....................................................................................................................................................
ชอ่ื เจ้าของงาน : นกั ศึกษาฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั บรุ รี ัมย์
วันเรมิ่ ทำงาน....................................................................วันสน้ิ สุดการทำงาน....................................................................
คำชแี้ จง ให้ขอ้ มูลโดยใส่เครอ่ื งหมาย ✓ ลงในช่อง  ตามความเปน็ จรงิ

ท่ี เรอื่ งทป่ี ระเมิน  มาก ระดบั การประเมนิ  น้อย
1 ระดบั ความรู้ / ประสบการณเ์ ดมิ  ดมี าก  ปานกลาง  พอใช้
2 ลักษณะของแผนงาน  ดี  ดี  ไม่ดี
3 การเตรียมกอ่ นลงมือทำงาน  พอใช้  ไมเ่ ป็นไปตาม
 พยายามรกั ษา ข้ันตอนทีก่ ำหนด
4 การทำงานตามขน้ั ตอน  ราบร่นื เวลา  ไมด่ ี
 ปานกลาง
5 การแก้ไขระหวา่ งการทำงาน (ถา้ ม)ี  ดี  ไมด่ ี
 ปานกลาง
6 ความตง้ั ใจ / เอาใจใส่ / ขยนั ขันแข็ง /  ดี  ไมด่ ี
ปรบั ปรุงการทำงาน  ปานกลาง
 ไมม่ ปี รับปรุง
7 ความร่วมมือกันระหวา่ งนักศกึ ษา (ถ้ามี)  ดี  พอสมควร
 ไมส่ นใจ
8 เม่ืองานเสรจ็ มกี ารทบทวนปรบั ปรงุ งาน  อย่างรอบคอบ  พอควร
อยา่ งไร  ไม่เหมาะสม
 พอควร  พอใช้
การทำโครงการ ้ดาน ิวชาการเพื่อ ัพฒนาโรงเรียน 9 เมือ่ งานเสรจ็ ผลงานเปน็ ท่ีพอใจของเจ้าของ  มาก  ดี
งานเพยี งใด  ไมเ่ หมาะสม
 พอควร
10 เป็นงานท่ีเหมาะแกค่ วามถนดั / ความสามารถ  มาก

11 ลกั ษณะของผลงานดา้ นความคดิ  ดีมาก

12 ลกั ษณะของผลงานดา้ นประโยชน์ / ความ  มาก
สวยงาม

ความรูค้ วามเขา้ ใจทไ่ี ด้จากการทำงาน.....................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
ความสามารถพิเศษ/ความถนัด/ทักษะ...................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
ความเห็นอื่น ๆ (ถ้ามี).............................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
สรปุ ผลการทำงาน  ดีมาก  ดี  ปานกลาง  ยังไมน่ า่ พอใจ

ลงชือ่ .........................................................................................วัน/เดือน/ปี...........................................................................

35 ศูนย์ฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครู

คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั บรุ รี มั ย์

ภาคผนวก การทำโครงการดา้ นวชิ าการเพื่อพฒั นาโรงเรยี น
ภาคผนวก ก ภาพประกอบกิจกรรม
ภาคผนวก ข หลักฐานอน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วกับโครงการ
ภาคผนวก ค สำเนาขออนมุ ตั โิ ครงการ
ภาคผนวก ง สำเนาแบบประเมินโครงการ (ใสต่ ัวอยา่ งประมาณ 5-10 ชุด)

ศนู ย์ฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพครู 36

คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบรุ รี ัมย์

ตวั อยา่ งแบบประเมนิ 1

แบบประเมินกิจกรรม “อบรมพัฒนาวชิ าชพี ”
ระหว่างวนั ที่ 28-29 เมษายน 2561

ณ หอ้ งปฏบิ ัติการดนตรี อาคาร 14 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บรุ รี มั ย์

คำชีแ้ จง โปรดทำเครอื่ งหมาย ✓ แสดงความคดิ เหน็ ในกจิ กรรม “อบรมพัฒนาวชิ าชพี ” โดยแบง่ ออกเป็น 3 ตอน คอื

ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไป ตอนที่ 2 ผลที่ได้รับจากการเขา้ รว่ มอบรม ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ

ระดบั ความพงึ พอใจ 5 = มากท่สี ุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = นอ้ ย 1 = นอ้ ยท่ีสุด

ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลทวั่ ไป 1. เพศ  ชาย  หญิง

ตอนที่ 2 ผลทไ่ี ด้รับจากการเขา้ รว่ มอบรม

ท่ี รายการประเมิน ระดบั การประเมิน หมายเหตุ
54321

ด้านความรูค้ วามเขา้ ใจ

1 ความรู้ความเข้าใจกอ่ นเขา้ รว่ มงานโครงการอบรม

2 ความรคู้ วามเข้าใจหลงั เขา้ อบรม

2.1 การปฏบิ ตั ติ นในสถานศึกษาในการฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพครู

2.2 ความรเู้ ก่ียวการการปฏบิ ตั ิงานฝึกประสบการณใ์ นโรงเรียน ปกี ารศกึ ษา 2563

2.2.1 การจดั ทำงานสารบรรณ (หนังสอื ภายใน / ภายนอก)

2.2.2 การเขยี นโครงการ

2.2.3 การจัดทำแฟม้ สะสมงาน

2.2.4 การวจิ ยั ในชั้นเรยี น

การทำโครงการ ้ดาน ิวชาการเพื่อ ัพฒนาโรงเรียน 2.3 พ้นื ฐานการพฒั นาวิชาชพี ครู

3 หลงั การเขา้ อบรมม่ันใจวา่ สามารถจดั ระบบความคดิ / ประมวลความรคู้ วามคดิ ไปสกู่ าร

พฒั นาตนเองได้อย่างเป็นระบบ

ด้านความพึงพอใจของโครงการ

4 กระบวนการทำงาน / สถานท่ี

4.1 การจดั สถานที่ / บรรยากาศ มีความเหมาะสม

4.2 รปู แบบของการจัดกิจกรรม

4.3 ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรม

5 วิทยากร

5.1 การถ่ายทอดเนอ้ื หา ความร้เู ขา้ ใจงา่ ยนา่ สนใจมีความชัดเจน

5.2 การสร้างบรรยากาศในการเขา้ อบรมในกิจกรรม

5.3 การเปิดโอกาสให้ผเู้ ข้าอบรมมสี ่วนร่วมในการแลกเปลยี่ นความคิดเห็น

5.4 เทคนคิ การถา่ ยทอดความร้โู ดยรวมมคี วามเหมาะสม

ดา้ นการนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

6 สามารถนำความรู้ท่ีได้ไปใชใ้ นการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพครู

7 สามารถนำความรู้ที่ไดไ้ ปเผยแพรแ่ ละถา่ ยทอดแก่ผ้อู ื่นได้

8 สามารถนำความร้ไู ปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพได้

ความพงึ พอใจต่อการเขา้ รับการฝึกอบรมในภาพรวม

37 ศนู ย์ฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพครู

คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบุรรี ัมย์

ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ การทำโครงการดา้ นวชิ าการเพื่อพฒั นาโรงเรยี น
3.1 สิ่งท่ีพึงพอใจในการอบรม…………………………………………………………………………………………………………………….....................................

..........................................................................................................................................................................................................................................
3.2 ส่ิงทตี่ อ้ งการพฒั นาตนเองต่อไป……………………………………………………………………………………………………………....................................

........................................................................................................................................................................................................................................
3.3 อืน่ ๆ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………........................................

........................................................................................................................................................................................................................................

ศนู ย์ฝึกประสบการณว์ ิชาชีพครู 38

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บรุ รี มั ย์

ตัวอย่างแบบประเมิน 2

แบบประเมินโครงการพัฒนาบุคลากรเพ่อื เพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิงาน โครงการยอ่ ย โครงการศกึ ษาดูงาน
ระหว่างวันที่ 28-30 เมษายน 2562
ณ เกาะชา้ ง จังหวัดตราด

คำชีแ้ จง โปรดทำเครื่องหมาย ✓ แสดงความคดิ เหน็ โครงการ โดยแบ่งออกเปน็ 3 ตอน คอื

ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป ตอนท่ี 2 ผลทไี่ ด้รับจากการเข้ารว่ มโครงการ ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ

ระดับความพึงพอใจ 5 = มากทส่ี ุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = นอ้ ย 1 = นอ้ ยท่ีสดุ

ตอนท่ี 1 ข้อมูลทวั่ ไป 1. เพศ  ชาย  หญงิ 2. อายุ ............... ปี

ตอนที่ 2 ผลทไี่ ดร้ บั จากการเขา้ รว่ มอบรม

ท่ี รายการประเมิน ระดับการประเมนิ 1 หมายเหตุ
5432

ด้านความร้คู วามเขา้ ใจ

1 ความร้คู วามเขา้ ใจกอ่ นเข้ารว่ มงานโครงการอบรม

2 ความร้คู วามเขา้ ใจหลังเขา้ อบรม

2.1 เรอื่ ง........................................................................

2.2 เรือ่ ง........................................................................

3 หลังการเข้าอบรมมนั่ ใจว่าสามารถจดั ระบบความคดิ / ประมวลความรคู้ วามคดิ ไปสกู่ ารพฒั นาตนเองได้

อยา่ งเป็นระบบ

ด้านความพงึ พอใจของโครงการ

4 การบวนการทำงาน / สถานท่ี

การทำโครงการ ้ดาน ิวชาการเพื่อ ัพฒนาโรงเรียน 4.1 สถานท่ใี นการทำกิจกรรม

4.2 รปู แบบของการจดั กิจกรรม

4.3 ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม

4.4 การใหบ้ รกิ ารด้านตา่ ง ๆ

5 วิทยากร

5.1 การถา่ ยทอดเนอ้ื หา ความรเู้ ขา้ ใจงา่ ยน่าสนใจมคี วามชัดเจน

5.2 การสรา้ งบรรยากาศในการเขา้ อบรมในกจิ กรรม

5.3 การเปดิ โอกาสให้ผ้เู ข้าอบรมมสี ่วนร่วมในการแลกเปลยี่ นความคิดเห็น

5.4 เทคนคิ การถ่ายทอดความรูโ้ ดยรวมมีความเหมาะสม

ดา้ นการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

6 สามารถนำความรทู้ ่ไี ด้ไปใชใ้ นการพฒั นาตนเองและหน่วยงาน

7 สามารถนำความร้ทู ่ไี ดไ้ ปเผยแพร่และถา่ ยทอดแกผ่ ู้อ่นื ได้

8 สามารถนำความรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้ในการดำเนินชวี ิต

ความพึงพอใจต่อการเขา้ ร่วมศกึ ษาดงู านในภาพรวม

ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ………………………………………………………………………………………………………………………………………..................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...............................................

39 ศนู ย์ฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพครู

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั บรุ รี ัมย์

ตอนที่ 4 การวจิ ยั ในชนั้ เรยี น การวิจยั ในช้นั เรยี น

ความหมายของการวจิ ยั ในชั้นเรยี น
การวิจัยในช้ันเรียน หมายถึง การวิจัยท่ีทำโดยครผู ู้สอนเพ่ือแกป้ ัญหาท่ีเกิดข้นึ ในหอ้ งเรียนและนําผลมาใช้

ปรับปรงุ การเรยี นการสอนเพ่ือใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสดุ กบั ผ้เู รียน
เป้าหมายสำคัญของการวิจัยในช้ันเรยี น

1. การแสวงหาคําตอบ จากปัญหาหรอื ขอ้ สงสัยของครู
2. คดิ ค้นพัฒนานวตั กรรม เพื่อใชใ้ นการแกป้ ัญหาจัดการเรยี นการสอน
3. การแกป้ ัญหานักเรียนบางคน / บางเร่ือง
4. พัฒนาการเรียนการสอน การค้นหาแนวทางการแกไ้ ขปัญหาที่เกิดขนึ้ และพฒั นาวชิ าชพี
5. การพฒั นาคุณภาพการเรยี นการสอนให้เกิดผลดีทส่ี ุด
ลักษณะของการวิจัยในชน้ั เรียน มดี งั นี้
1. ปญั หาการวจิ ัยเกิดขึ้นจากการทำงานในช้นั เรยี นท่ีเก่ยี วกบั การเรียนการสอน
2. ผลการวิจยั นาํ ไปใชเ้ พ่อื พัฒนาการเรียนการสอน
3. เป็นการวิจัยในสภาพการณ์จริงของห้องเรียน ไม่ได้จัดสถานการณ์ใหม่หรือจัดห้องเรียนใหม่ข้ึนมา
สำหรบั การวิจยั โดยเฉพาะ
4. การวจิ ัยดำเนินไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอน สอนไปวิจัยไป แล้วนําผลการวิจัยมาใช้แก้ปัญหา
และทำการเผยแพร่ให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ ผอู้ ื่น
กระบวนการวิจยั ในชัน้ เรยี น
1. สํารวจและวิเคราะห์ปญั หา
2. กำหนดวิธีการในการแกป้ ัญหา
3. พัฒนาวธิ ีการ หรอื นวตั กรรม
4. นาํ วิธีการ หรอื นวตั กรรมไปใช้
5. สรุปผล

ศนู ย์ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพครู 40

คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบุรรี มั ย์

การ ิว ัจยใน ้ชันเ ีรยน การเขียนรายงานการวจิ ยั
การเขียนรายงานการวิจัยเป็นการนําเสนอความรู้ และเผยแพร่ผลงานของตนเองที่ได้พัฒนาข้ึนให้ผู้อ่ืน

ได้รับทราบ และสามารถนาํ ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้ ทั้งยังแสดงความสามารถทางวิชาการ ของ
ผวู้ ิจยั

การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน เป็นสื่อกลางในการขยายองค์ความรู้ที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน ผู้อ่าน
สามารถเลือกใช้ประโยชน์จากการวิจัยได้หลายส่วน เช่น ข้อค้นพบ เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย
เปน็ ตน้ มแี นวทางการเขียนดงั น้ี

1. หลกั การเขยี นรายงานการวิจัยในช้ันเรยี น
การเขยี นรายงานการวจิ ัยในชั้นเรียน ควรคำนงึ ถึงสิง่ ต่าง ๆ ตอ่ ไปน้ี
1.1 ยึดความถูกต้องตามหลักวิชาการ ทุกเน้ือหาสาระที่เขียน ต้องมาจากการศึกษาค้นคว้า

วเิ คราะห์ สังเคราะห์ และเปน็ ผลทเ่ี กิดจากการวจิ ยั
1.2 เน้ือหาสาระในแต่ละบทต้องมีความสอดคล้องเชื่อมโยงกัน โดยยึดวัตถุประสงค์การวิจัยเป็น

หลักในการเรียบเรียง
1.3 หวั ขอ้ ย่อยของแต่ละบทมีความเปน็ เอกภาพและชดั เจน ไมค่ ลุมเครอื
1.4 เม่ือผู้อา่ นงานวิจัยอ่านรายงานการวิจัยจนจบ แล้วได้คําตอบต่อประเด็นปัญหาการวิจัย และ

สามารถพัฒนาต่อ ในการนําผลการวิจยั ไปใช้ หรือนําวจิ ัยไปใชต้ อ่ ไปได้
1.5 ต้องตระหนักอยู่ตลอดเวลาว่า เป็นการเขียนรายงานการวิจัยให้ผู้อ่ืนอ่าน ดังน้ันต้องมีความ

ชดั เจน สอดคลอ้ งต่อเนื่อง และสร้างความเขา้ ใจตอ่ ผู้อ่าน
การเขยี นรายงานการวิจยั ควรยึดหลัก 4 ประการ คือ
มีความตรง กลา่ วถึงปญั หาการวจิ ัย วัตถปุ ระสงค์การวิจยั วิธีการ และผลการวิจัยอย่างถกู ตอ้ ง
มคี วามชดั เจน ส่อื ความหมายไดถ้ กู ตอ้ ง
มีความสมบูรณ์ มขี ้อมูลครบถว้ น
มคี วามนา่ เชือ่ ถอื ข้อมูลถูกต้องตามความเป็นจรงิ

2. โครงสร้างของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน การเขียนรายงานการวิจัยแบบเป็นทางการ แบ่งออกเป็น
3 ส่วน ดงั นี้

ตอนท่ี 1 ส่วนนํา
ตอนที่ 2 สว่ นเนื้อหา
ตอนท่ี 3 สว่ นอา้ งอิง

41 ศนู ย์ฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครู

คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั บุรรี ัมย์

ตอนท่ี 1 ส่วนนาํ ประกอบด้วย การวิจยั ในช้นั เรยี น
- ปกนอก
- ปกใน
- บทคัดย่อ
- กิตติกรรมประกาศ
- สารบัญ
- สารบญั ตาราง (ถ้าม)ี
- สารบญั ภาพ (ถ้ามี)

ตอนท่ี 2 สว่ นเน้อื หา ประกอบด้วยเนื้อหา 5 บท ดงั นี้
บทที่ 1 บทนาํ
1) ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา
2) วตั ถปุ ระสงคก์ ารวิจัย
3) สมมตฐิ านการวจิ ัย (ถ้าม)ี
4) ขอบเขตการวจิ ัย
4.1) กลุ่มตัวอยา่ ง
4.2) เนื้อหาที่วิจัย
4.3) ตัวแปรการวจิ ยั
4.4) ระยะเวลาวจิ ัย
5) นยิ ามศัพท์เฉพาะ
6) ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะไดร้ บั จากการวจิ ยั
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง
1) แนวคิด ทฤษฎี ท่เี ก่ียวข้องกับประเดน็ ปัญหาการวจิ ัย
2) งานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วข้อง ท้ังในและต่างประเทศ
บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนินการวจิ ัย
1) ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
2) วิธดี ำเนนิ การทดลอง (วิจัยเชิงทดลอง)
3) เครื่องมือท่ใี ช้ในการวิจยั
4) การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
5) การวิเคราะหข์ ้อมูล
6) สถิตทิ ใี่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล

ศูนย์ฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครู 42

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบรุ รี มั ย์

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
(กำหนดหัวข้อการนาํ เสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลตามวัตถุประสงคก์ ารวิจัย)

บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผลการวจิ ัย และข้อเสนอแนะ
1) สรุปผลการวจิ ยั
2) อภปิ รายผลการวจิ ัย
3) ข้อเสนอแนะ

ตอนที่ 3 สว่ นอ้างอิง ประกอบด้วย
1) บรรณานุกรม (ทง้ั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)
2) ภาคผนวก ประกอบดว้ ย
- ตัวอย่างเครอ่ื งมือ และคุณภาพเคร่ืองมือการวิจัย
- ตัวอยา่ งการวเิ คราะหข์ ้อมลู
- รายนามผู้ทรงคณุ วุฒิ
- ข้อมลู อา้ งอิงอ่ืน ๆ

3. แนวทางการเขียนรายงานการวจิ ัยในชัน้ เรียน
แนวทางการเขยี นรายงานการวิจัยในช้ันเรียน ซึ่งจะกลา่ วถงึ แนวทางการเขยี นแบบเปน็ ทางการ ส่วนกรณี
ที่ต้องการเขียนแบบไม่เป็นทางการ ผู้เขียนรายงานการวิจัยสามารถนําไปแนวทางการเขียน และปรับประยุกต์ใช้
โดยอาจตดั หัวข้อทไี่ มจ่ าํ เป็นออกได้

3.1 การเขยี นส่วนนาํ ของรายงานการวิจัย
สว่ นนาํ เปน็ ส่วนทีอ่ ยกู่ ่อนสว่ นท่ีเป็นเนื้อหา เพอื่ ชว่ ยใหร้ ายละเอยี ดเกีย่ วกับการวิจัย ในชั้นเรยี น
ทำให้รายงานการวิจยั สมบูรณ์ และสอ่ื ความหมายยิ่งขนึ้ ซ่ึงมีแนวทางการเขยี น ดังนี้

การ ิว ัจยใน ้ชันเ ีรยน หวั ข้อในรายงานการวจิ ัย แนวทางการเขยี นรายงานการวจิ ยั
1. ปกนอก บอกรายละเอียดเกี่ยวกบั
1. ชือ่ เร่อื งวิจยั
2. ปกใน 2. ชอ่ื ผวู้ จิ ัย
3. บทคัดย่อ 3. หนว่ ยงานทีผ่ ู้วิจยั สังกดั
4. ปที ่ีทำวิจยั สำเร็จ
มีขอ้ ความเหมือนปกนอก แต่ใชก้ ระดาษเหมือนเนอื้ ในรายงานการวิจยั
บทคดั ยอ่ โดยทว่ั ไปมคี วามยาวประมาณ 1-2 หน้า แบง่ ออกเปน็ 2 ส่วน ดังน้ี
1. สว่ นแรก จะระบุ ช่อื เรือ่ ง ชอื่ ผู้วจิ ยั ปีทท่ี ำการวิจยั
2. ส่วนเน้ือหา บอกรายละเอียดครอบคลุมจดุ ประสงคก์ ารวจิ ัย ประชากร และ

43 ศนู ย์ฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ครู

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบรุ รี มั ย์

หัวข้อในรายงานการวิจยั แนวทางการเขยี นรายงานการวิจยั

กลุม่ ตัวอย่าง วธิ ีดำเนนิ การวิจยั และสรปุ ผลการวจิ ัยโดยย่อ

4. กิตตกิ รรมประกาศ เป็นส่วนที่ผู้วิจัยกล่าวขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ให้ความช่วยเหลือในการทำ

วิจัย ความยาวไมค่ วร 1 หนา้

5. สารบัญ ระบุโครงสร้างของเอกสารทั้งหมด ในส่วนของเนื้อหาแต่ละบท ควรระบุหัวข้อ

สำคญั ของแตล่ ะบท เพือ่ สะดวกในการค้นหา

6. สารบัญตาราง ควรจดั ทำสารบัญตาราง ภาพ และแผนภมู ิ โดยแยกสารบัญ ระบชุ อ่ื ตาราง

7. สารบัญภาพ และสารบัญ ภาพ และแผนภูมิต่าง ๆ ที่ได้แสดงไว้ในรายงานการวิจัย เรียงลำดับหมายเลข

แผนภูมิ ตาราง และระบุหน้า

3.2 การเขียนสว่ นเนอื้ หาของรายงานการวิจยั

ในสว่ นเน้อื หาของรายงานการวจิ ัย ประกอบดว้ ยเนื้อหา จำนวน 5 บท มแี นวทางในการเขียน ดังนี้

หวั ข้อในรายงานการวจิ ยั แนวทางการเขียนรายงานการวิจัย

บทท่ี 1 บทนาํ

1.1 ความเปน็ มาและความสำคัญ อธิบายความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ช้ีให้เห็นสภาพปัญหาใน

ของปญั หา ประเด็นท่ีผู้วิจัยสนใจศึกษา ผลที่เกิดจากปัญหาน้ัน ๆ และแนวทางการ

วิจัยคร้ังน้ีซึ่งเป็น ความสำคัญของปัญหา แนวทางท่ีได้จากการศึกษา

เอกสาร และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง โดยอ้างอิงหลักฐาน ผลการสํารวจ

เอกสาร หรอื ผลการวิจัย

1.2 วัตถุประสงค์การวจิ ัย เขียนเป็นข้อให้ชัดเจนว่า จะศึกษาเร่ืองอะไร กับใคร ในแง่มุมใด

วัตถปุ ระสงค์ต้องสอดคลอ้ งกับหวั ขอ้ วจิ ัย

1.3 สมมตฐิ านการวจิ ยั (ถา้ ม)ี ระบุสมมติฐานการวิจัย ซ่ึงเป็นสิ่งที่ผู้วิจัยสันนิษฐานหรือคาดว่าจะเป็น การวิจยั ในช้นั เรยี น

คําตอบของปัญหาที่ทำการศึกษา ซึ่งต้องมีเหตุผลหรือผลการวิจัยหรือ

ทฤษฎีรองรับ สมมติฐานที่ต้ังขึ้น สามารถทดสอบได้จากการวิจัย

สอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ท่ีกำหนด และช้ีทิศทางของการวจิ ัยและตัวแปร

ทีศ่ ึกษา

1.4 ขอบเขตการวจิ ยั การเขียนขอบเขตการวิจัย ตอ้ งกำหนดดังนี้

1) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง โดยกำหนดลักษณะประชากร จำนวน

ประชากร การเลอื กกลมุ่ ตัวอย่าง ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง และวธิ ีเลือกกลุ่ม

ตัวอยา่ ง

ศูนย์ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพครู 44

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั บรุ รี ัมย์

หัวข้อในรายงานการวิจยั แนวทางการเขียนรายงานการวิจัย

2) ตัวแปรการวิจยั ระบุตัวแปรอสิ ระ และตัวแปรตาม

3) ระยะเวลาวจิ ัย ระบเุ วลาเริม่ ตน้ ถงึ สิน้ สุดการวิจัย

1.5 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ เขียนให้ความหมายของคําที่มีความสำคัญในการวิจัยเร่ืองนั้น โดยเฉพาะ

นิยาม ตามตัวแปรท้ังตวั แปรอสิ ระ และตวั แปรตาม เพ่ือให้ผ้อู ่านงานวิจัยมี

ความเข้าใจตวั แปรที่ศกึ ษาตรงกบั ผวู้ ิจยั

1.6 ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะ เปน็ การยำ้ ใหเ้ ห็นถงึ ความสำคัญของการวิจยั วา่ จะ ไดร้ ับจากการวิจัย

การเขียนประโยชนก์ ารวิจัย เกิดประโยชน์อย่างไรบ้าง ซึ่งควรสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และเกิดขึ้น

จากการทำวิจยั หรอื นาํ ผลการวจิ ัยไปใช้

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกย่ี วข้อง

เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้อง แบ่งการนาํ เสนอเป็น 2 ตอน ได้แก่

1) แนวคดิ ทฤษฎี ทเี่ กี่ยวขอ้ งกับประเดน็ ปญั หาการวิจยั

2) งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง ทั้งในและต่างประเทศ โดยแต่ละหัวข้อมีการ

วิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อเช่ือมโยงแนวคิด ทฤษฎี และ ผลการวิจัยต่าง ๆ

ใหเ้ ห็นความสำคัญ หรอื ตัวแปรท่ศี ึกษาอย่างชดั เจนและครบถว้ น

บทที่ 3 วธิ ีดำเนินการวจิ ัย

3.1 ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง - ระบุกลมุ่ ประชากรในการวิจัยใหช้ ัดเจน

- ระบุวิธกี ารได้มาซง่ึ กลมุ่ ตัวอย่างและขนาดของกลมุ่ ตวั อย่าง

3.2 วิธดี ำเนนิ การทดลอง บอกขั้นตอนวิธีการทดลอง หรือการนํานวัตกรรมไปแก้ปัญหาหรือพัฒนา

ผเู้ รียน พรอ้ มระบุแบบแผนการวจิ ยั

3.3 เครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการวิจยั การเขยี นเครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั ประกอบด้วย

1) ชนดิ หรอื ประเภทของเครอ่ื งมอื

การ ิว ัจยใน ้ชันเ ีรยน 2) ข้ันตอนการสร้างเครื่องมอื

3) การหาคุณภาพของเครอ่ื งมือ

3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล - ระบขุ นั้ ตอน วธิ กี าร และระยะเวลาของการเก็บรวบรวมข้อมลู

- ระบุวิธีการตรวจสอบความถกู ตอ้ งของข้อมลู และแหล่งข้อมูล

3.5 การวิเคราะหข์ ้อมลู - ระบุวิธกี ารวเิ คราะห์

- ระบุสถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์

ของการวิจยั

45 ศนู ย์ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ครู

คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบรุ รี ัมย์

หวั ข้อในรายงานการวจิ ัย แนวทางการเขียนรายงานการวิจัย

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล - เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลให้มีความชัดเจน น่าสนใจ เช่นการใช้ตาราง

กราฟ หรือแผนภมู ิ

- ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ควรเรียงลำดับตามวตั ถุประสงค์ของการวิจัย

- มกี ารอธิบายสญั ลกั ษณ์ต่าง ๆ ท่ีใช้อยา่ งชดั เจน

- สรปุ ความหมายขอ้ มูลใหส้ อดคล้องกบั วัตถุประสงค์การวจิ ัย

- ใช้ภาษาอ่านงา่ ย กะทดั รดั

บทที่ 5 สรุป อภิปราย ผลการวิจยั และข้อเสนอแนะ

สรปุ อภปิ ราย ผลการวจิ ัย และ - เขียนรายงานแบ่งเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย สรุปผลการดำเนินการวิจัย

ขอ้ เสนอแนะ โดยย่อ และสรุปผลการวิจยั ตามวตั ถุประสงค์การวิจยั

5.1 สรปุ ผลการวจิ ยั - สรปุ ผลการวิจยั ตามวตั ถุประสงค์

5.2 อภิปรายผลการวจิ ยั - ใช้กรอบแนวคิด ทฤษฎี และผลการวิจยั เปน็ ฐานขอ้ มลู ในการอภปิ รายผล

- เรียงลำดับเน้ือหาให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัยและสมมติฐาน

การวจิ ัย

- ชี้ให้เห็นว่าผลการวิจัยที่ได้ สอดคล้องหรือขัดแย้งกับหลักการ ทฤษฎี

หรือ ผลการวิจัยที่มผี ู้อื่นศกึ ษาไว้

- การอภิปรายผลตามวัตถุประสงค์ ควรแยกอภิปรายเป็นประเด็น และ

อภิปราย ทล่ี ะประเดน็

5.3 ขอ้ เสนอแนะ เขียนขอ้ เสนอแนะ แยกเป็น 2 สว่ น ดังนี้

1) ข้อเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ โดยนําผลการวจิ ัยที่มี

ผล วเิ คราะห์ตำ่ หรือสูง มาเสนอแนะว่าควรทำอย่างไร การวิจยั ในช้นั เรยี น

2) ข้อเสนอแนะในการทำวิจัย เป็นข้อเสนอแนะเพ่ือการทำวิจัยเพ่ิมเติมว่า

ข้อค้นพบท่ีได้ก่อให้เกิดประเด็น หรือแนวคิดท่ีควรมีการทำวิจัยในระยะ

ตอ่ ไป ในหัวขอ้ ใดบา้ ง

ศูนย์ฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครู 46

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรรี ัมย์


Click to View FlipBook Version