The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปรับตัวของแรงงานกัมพูชา
และแรงงานเมียนมาร์ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ในจังหวัดสงขลา จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่เป็นแรงงานกัมพูชา 10 คน และแรงงานเมียนมาร์ 10 คน ในประเด็นผลกระทบต่าง ๆ โดยข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพและได้ถูกมาวิเคราะห์โดยวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า แรงงานข้ามชาติมีอายุตั้งแต่ 25-48 ปี ศาสนาอิสลาม 5 คน ศาสนาพุทธ 15 คน อาชีพต่อเนื่องประมง 10 คน อาชีพพนักงานโรงงาน 8 คน และอาชีพลูกเรือประมง 2 คน สถานภาพแต่งงาน 18 คน โสด 2 คน และอายุการทำงานมีตั้งแต่
1-11 ปี โดยการปรับตัวในช่วงสถานการณ์โควิด-19 พบว่ามี 4 ประเด็นหลัก คือ 1) การปรับตัวทางด้านกฎหมาย พบว่า มีการให้แรงงานทำเอกสารการอนุญาตให้แรงงานข้ามชาติบางจำพวกอยู่ใน ราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-19 และห้ามเดินทางออกนอกประเทศไทยเนื่องจากมีการปิดด่าน
2) การปรับตัวทางด้านเศรษฐกิจพบว่า แรงงานข้ามชาติจะต้องเป็นหนี้นายจ้างเพื่อทำเอกสารการอนุญาตในการอยู่ต่อประเทศไทย เช่น วีซ่า พาสปอร์ต ซึ่งงานที่ได้น้อยลงทำให้ส่งเงินให้ที่บ้านได้น้อยลงด้วย รายได้สำหรับแรงงานที่รับเหมาเป็นกิโลน้อยลง OT น้อยลงแต่ภาระมีเพิ่มขึ้นจากการที่ต้องดูแลทั้งตัวเองและครอบครัวในช่วงสถานการณ์โควิด-19
3) การปรับตัวทางด้านสังคม พบว่า วิถีปฏิบัติแบบนิวนอมอล เช่น การบังคับใช้หน้ากาก และเจลล้างมือ กลายเป็นภาระทำให้มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ถึงแม้ว่าการระบาดในรอบแรกจะได้รับความช่วยเหลือจากนายจ้าง แต่การระบาดระลอกใหม่ยังไม่มีการช่วยเหลือ สำหรับประเด็น 4) การปรับตัวทางด้านสาธารณสุข พบว่า แรงงานส่วนใหญ่รับข่าวสารจากโทรศัพท์ผ่าน Facebook และดูแลตัวเองตามมาตรการต่าง ๆ แรงงานที่เข้าไปรักษาหรือว่าไปตรวจในช่วงที่โควิด-19 ส่วนใหญ่จะใช้บัตรประกันสังคมในการรักษาพยาบาล แต่ถ้าหากซื้อยาที่ร้านยาจะต้องใช้เงินตัวเองในการซื้อยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by alisa.h, 2021-05-14 08:11:10

รายงานวิจัยเรื่อง การปรับตัวของแรงงานข้ามชาติ จังหวัดสงขลา ในช่วงสถานการณ์โควิด-19

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปรับตัวของแรงงานกัมพูชา
และแรงงานเมียนมาร์ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ในจังหวัดสงขลา จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่เป็นแรงงานกัมพูชา 10 คน และแรงงานเมียนมาร์ 10 คน ในประเด็นผลกระทบต่าง ๆ โดยข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพและได้ถูกมาวิเคราะห์โดยวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า แรงงานข้ามชาติมีอายุตั้งแต่ 25-48 ปี ศาสนาอิสลาม 5 คน ศาสนาพุทธ 15 คน อาชีพต่อเนื่องประมง 10 คน อาชีพพนักงานโรงงาน 8 คน และอาชีพลูกเรือประมง 2 คน สถานภาพแต่งงาน 18 คน โสด 2 คน และอายุการทำงานมีตั้งแต่
1-11 ปี โดยการปรับตัวในช่วงสถานการณ์โควิด-19 พบว่ามี 4 ประเด็นหลัก คือ 1) การปรับตัวทางด้านกฎหมาย พบว่า มีการให้แรงงานทำเอกสารการอนุญาตให้แรงงานข้ามชาติบางจำพวกอยู่ใน ราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-19 และห้ามเดินทางออกนอกประเทศไทยเนื่องจากมีการปิดด่าน
2) การปรับตัวทางด้านเศรษฐกิจพบว่า แรงงานข้ามชาติจะต้องเป็นหนี้นายจ้างเพื่อทำเอกสารการอนุญาตในการอยู่ต่อประเทศไทย เช่น วีซ่า พาสปอร์ต ซึ่งงานที่ได้น้อยลงทำให้ส่งเงินให้ที่บ้านได้น้อยลงด้วย รายได้สำหรับแรงงานที่รับเหมาเป็นกิโลน้อยลง OT น้อยลงแต่ภาระมีเพิ่มขึ้นจากการที่ต้องดูแลทั้งตัวเองและครอบครัวในช่วงสถานการณ์โควิด-19
3) การปรับตัวทางด้านสังคม พบว่า วิถีปฏิบัติแบบนิวนอมอล เช่น การบังคับใช้หน้ากาก และเจลล้างมือ กลายเป็นภาระทำให้มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ถึงแม้ว่าการระบาดในรอบแรกจะได้รับความช่วยเหลือจากนายจ้าง แต่การระบาดระลอกใหม่ยังไม่มีการช่วยเหลือ สำหรับประเด็น 4) การปรับตัวทางด้านสาธารณสุข พบว่า แรงงานส่วนใหญ่รับข่าวสารจากโทรศัพท์ผ่าน Facebook และดูแลตัวเองตามมาตรการต่าง ๆ แรงงานที่เข้าไปรักษาหรือว่าไปตรวจในช่วงที่โควิด-19 ส่วนใหญ่จะใช้บัตรประกันสังคมในการรักษาพยาบาล แต่ถ้าหากซื้อยาที่ร้านยาจะต้องใช้เงินตัวเองในการซื้อยา

Keywords: การปรับตัว, แรงงานข้ามชาติ, จังหวัดสงขลา, โควิด-19

42

สอดคล้องกับผใู้ หข้ ้อมูลในประเดน็ เก่ียวขอ้ งกับการปรับตัวทางด้านเศรษฐกิจท่วี า่
“...รายได้ลดลงจากการทา OT เพราะตอนที่ไม่มีโควดิ OT สามารถทาได้
3-4 ช่ัวโมง แต่พอมีโควิดแล้ว OT ทาได้แค่วันละ 1 ช่ัวโมง บางคร้ังก็มี
บางครั้งก็ไม่มี น้อยลงจากเดิม ซึ่งปกติแล้วจะได้เงินจากการทา OT
ช่ัวโมงละ 60 บาท ส่วนรายได้ท่ีนอกจาก OT ยังได้เหมือนเดิม 325 บาท
ต่อวัน ถ้าหยุดงานก็จะไม่ได้ สว่ นค่าตอ่ เอกสารต้องเอาเงินตวั เอง เงนิ เก็บ
ถ้าหักจากค่าทาเอกสารแล้วก็มีเงินเหลือแค่ 1,000-2,000 บาท สามารถ
อยู่ไดแ้ ค่ 15 วัน...”
(ตู (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 24 มกราคม 2564)

สอดคล้องกบั ผใู้ ห้ข้อมูลในประเด็นเกี่ยวขอ้ งกบั การปรบั ตัวทางด้านเศรษฐกจิ ท่ีวา่
“...ไม่เหมือนเดิมแต่สามารถทางานได้ปกติอยู่คือสามารถทางานเต็มวนั 8
ช่วั โมง แต่รายได้นอ้ ยลง ทางานนอ้ ยลง ตอนท่ีไม่มโี ควิดทางาน 12 ช่ัวโมง
รวมกับทา OT แต่ตอนนี้ทางาน 8 ชั่วโมง รายได้ได้เป็นรายวัน 325 บาท
ถ้าทา OT ชั่วโมงละ 60 บาท แต่ตอนน้ีไม่มี OT ทาให้เงินไม่พอ เพราะ
ต้องเล้ียงลูกวัย 9 เดือน เล้ียงแฟนซ่ึงแฟนทางานไม่ได้เพราะต้องเล้ียงลูก
อยู่บ้านไม่ไว้ใจใครให้มาเลี้ยง ส่วนค่าเอกสารต้องเอาเงินให้นายจ้าง แล้ว
ถ้าหักค่าทาเอกสารแลว้ จะเหลอื แค่ 1,500 บาท อยู่ได้อาทิตย์หนง่ึ แต่ถา้ มี
งานกเ็ ก็บได้เรื่อย ๆ...”
(โม้ (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 24 มกราคม 2564)

สอดคล้องกบั ผู้ใหข้ อ้ มูลในประเดน็ เกยี่ วข้องกับการปรบั ตวั ทางดา้ นเศรษฐกจิ ท่วี า่
“...ทางานปกติ แต่รายได้น้อยลงจากการทา OT เพราะบางวันก็ไม่มี
บางวันก็ทา OT วันละ 2-3 ช่ัวโมง น้อยจากตอนท่ีไม่มีโควิด ก่อนท่ีจะมี
โควิด มีOT ให้ทาทุกวันวนั หนึ่งทางาน 12 ชวั่ โมง แลว้ ปกตริ ายไดท้ ่ีได้ก็ได้
เป็นรายวัน วันละ 325 บาท ทา OT ชั่วโมงละ 60 บาท แต่ก็ยังไม่ส่งผล

43

กระทบกับครอบครัวเพราะอยู่กันแค่ 2 คน สามีภรรยา แฟนเองก็ทางาน
ด้วยทาให้รายได้ยังสามารถพอที่จะใช้ในชีวิตประจาวันอยู่ ส่วนค่าทา
เอกสาร 7,000 บาท กับแฟน คนละ 3,500 บาท เงินที่เก็บถ้าหักจากค่าทา
เอกสารแล้วก็เหลืออยู่ 2,000-3,000 บาท อยู่ได้แค่ อาทิตย์ถึงสองอาทิตย์
เงินอกี สว่ นกต็ ้องสง่ เงนิ ให้ที่บ้าน แต่กย็ งั ส่งไดป้ กติแตน่ ้อยลงจากเดิม...”

(อ้าว (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 24 มกราคม 2564)
จากการสัมภาษณ์ กูชิ, โซ, ตู, โม้, และอ้าว จะตอบแบบสัมภาษณ์สอดคล้องกัน
อนั เนื่องมาจากการทางานท่มี ีลักษณะของงานทีเ่ หมือนกนั

“...สามารถทางานได้ปกติ ซึ่งรายได้ต่อเดือนจะได้ 9,600 บาท ช่วงที่
โควิดรอบแรกก็ไม่ได้ตกงาน หรือว่าเลิกจ้าง ว่างงาน พักงาน ทางานได้
ปกติเลย ส่วนโควิด-19 ระลอกใหม่ก็ไม่มีผลกระทบกับการทางาน
เหมือนกันสามารถทางานได้ปกติเลย ส่วนค่าเอกสารที่ต้องทาหมื่นกว่า
บาท เกินกว่าเงินท่ีได้ แต่นายจ้างออกให้ก่อนถ้าไม่พอแต่ต้องติดหน้ี
นายจ้างหัก 17,000 กว่าบาท ส่วนค่าติดหนี้กับนายจ้างสามารถทา
ข้อตกลงกันไดว้ ่าจะหักยังไงกบี่ าท...”

(มโี จ้ (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 25 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกับผใู้ หข้ อ้ มูลในประเด็นเก่ยี วขอ้ งกับการปรบั ตวั ทางดา้ นเศรษฐกจิ ทวี่ า่
“...สามารถทางานได้ปกติ ซึ่งรายได้ต่อเดือนจะได้ 9,600 บาท เวลา
ทางานก็ไม่มีวันหยุด เพราะทางาน เดือนหนึ่งออกเรือครง้ั หน่ึงกลับเข้าฝง่ั
อยู่บ้าน 5 วัน ก็ต้องออกเรือต่อ แล้วถ้าหยุดงานเองก็จะโดยหักเงิน 500
บาทต่อวัน แต่ถ้าไม่สบายบนเรือไม่ไหวจริงๆ ก็หัก 500 บาทต่อวัน
เหมือนกัน รายได้ที่ได้ก็ไม่พอ เพราะต้องเล้ียงลูก แฟน คนในครอบครัว
แต่ถ้าเอาเงินตัวเองรวมกับของแฟนก็พอ ส่วนค่าเอกสารที่ต้องต่อ 7,200
บาท ต้องใช้เงินตัวเอง นายจ้างจะทาให้ แล้วถ้าเงินไม่พอก็ไปยืมนายจ้าง

44

ได้ ถ้าค่อยพูดคุยกับนายจ้างเองว่าจะหักเงินยังไงก่ีบาท แล้วแต่ข้อตกลง
ของคนน้ัน ๆ ซึ่งที่ทางานตัวเองลูกจ้างสามารถเบิกเงินล่วงหน้าได้
40,000 บาทตอ่ คน ถ้ามากกวา่ นจี้ ะไม่ได้นายจ้างจะไมใ่ หย้ ืม...”

(ไทลีน (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 25 มกราคม 2564)
จากการสัมภาษณ์ มีโจ้ และไทลีน จะตอบแบบสัมภาษณ์สอดคล้องกัน
อนั เนือ่ งมาจากการทางานทมี่ ลี กั ษณะของงานทเี่ หมือนกนั

2.3 ประเดน็ การปรบั ตัวทางด้านสังคม
จากการสัมภาษณ์การปรับตัวทางด้านสังคมของกลุ่มแรงงานกัมพูชา พบว่า

การเข้าถึงระบบสวัสดิการสังคม เช่น เงินเยียวยา ของท่ีได้รับความช่วยเหลือจากนายจ้าง
แบบแผนการใช้ชีวิตขณะที่ทั่วโลก Shut Down ปัญหาการส่ือสาร ปัญหาการปฏิสัมพันธ์
ฯลฯ ยงั มีผลกบั การปรับตัวของแรงงาน สอดคล้องกบั การสัมภาษณว์ ่า

“...ทาให้ลาบาก ทางานไม่ได้ เศรษฐกิจไม่ดี แต่ก็มีการดูแลน่ะ มีการล้าง
มอื ใสห่ นา้ กาก พยายามปรับตวั ให้ได้กบั โควิด แต่ก็สามารถใช้ชวี ติ ปกติได้
เลย แต่ก็ลาบากอยู่บ้างกับการทางานต้องใส่หน้ากาก ล้างมือ อยากไป
ไหนมาไหนก็ไม่ได้ อยากกลับบ้าน ก็กลับก็ไม่ได้ แต่ก็ยังได้รับความ
ช่วยเหลือจากศูนย์อภิบาลทางทะเล เอาข้าวสาร ของใช้ ถุงยังชีพ
แต่นายจ้างไม่ได้ให้อะไร แต่บอกถึงวิธีการดูแลตัวเอง ตอนที่มีการให้ไป
ไหนมาไหนได้กไ็ ม่ดี เพราะชว่ งน้ลี าบาก ลดค่าใช้จ่ายไดด้ ้วย...”

(มาไล (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 14 มกราคม 2564)

สอดคล้องกับผใู้ ห้ขอ้ มลู ในประเด็นเกย่ี วข้องกับการปรบั ตวั ทางดา้ นสังคมทว่ี า่
“...ทาให้ลาบาก ไม่กล้าไปไหนมาไหน กลัวโควิด-19 พอย่ิงกลัวก็จะใส่
หน้ากาก ล้างมือ แล้วก็ตอนที่ไหนมาไหนได้ ก็ยังไม่กล้าไปไหนกลัวท่ีจะ
ไปไหนมาไหน แต่พอระลอกใหม่ยิ่งไม่กล้าจะไปไหน แล้วไม่สามารถใช้
ชีวิตได้ปกติ แต่ยังดีท่ีได้รับความช่วยเหลือจากศูนย์ที่เข้ามาช่วยให้

45

ขา้ วสาร ของกนิ ของใช้ นายจา้ งสอนวิธีการดแู ลตวั เองอย่างเดยี ว แตไ่ ม่ให้
อะไรเลย นอกจากนี้แล้วก็ไม่มีแล้ว แล้วก็โควดิ แบบนี้ไม่ดีเลย กลัว ถ้าคน
ที่ทางานด้วยกันไม่กลัวแต่ถ้าไม่รู้ก็จะกลัวแล้วก็ท่ีทางานเราไม่รู้ว่าเขาจะ
เลิกจ้างไหม ทางานไดไ้ หม หรือว่าไม่ได.้ ..”

(สีมะ (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 14 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกบั ผใู้ หข้ อ้ มลู ในประเด็นเก่ยี วข้องกับการปรับตัวทางด้านสงั คมทวี่ า่
“...ลาบาก เดือดร้อนเร่ืองงาน เม่ือก่อนงานเยอะ เด๋ียวนี้งานน้อย ทาให้
เงินน้อยลง เดือนหน่ึงไม่พอใช้ ต้องใช้ของแฟนแทน แล้วจะต้องส่งเงินให้
ท่ีบ้านด้วย ช่วงโควิดก็ดูแลตัวเอง ใส่หน้ากาก เพราะกลัวว่าจะติด
เจลล้างมือก็ต้องซื้อเอง นายจ้างไม่มีให้ เพราะถ้าไม่ป้องกันตัวแล้วติด
คนอื่น ทาให้คนอื่นเดือดร้อนด้วย ยงั ดีที่ได้รับความชว่ ยเหลือจากที่ศูนย์ฯ
ทใี่ ห้ 3 รอบแล้ว ใหข้ า้ วสาร ใหข้ องใช้ ส่วนนายจ้างไม่มใี ห้ แมแ้ ตท่ ่ีทางาน
ก็ไม่มีเจลล้างมือต้องใช้ของตัวเอง แต่ไม่ต้องเว้นระยะห่าง เพราะทาปลา
คนเดียว แล้วก็ยังไม่พอใช้ต้องช่วยเหลือตัวเอง ของที่ไม่จาเป็นก็ไม่ซื้อ
นอกจากของกิน...”
(มาซตี อห์ (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 15 มกราคม 2564)

สอดคล้องกบั ผู้ให้ขอ้ มลู ในประเดน็ เกี่ยวข้องกับการปรบั ตัวทางด้านสงั คมทวี่ ่า
“...ทาให้ลาบาก กลัวไม่มีงานทา แต่ตอนนี้ยังทางานได้ปกติ แต่ปีท่ีแล้ว
โรงงานหยุดงาน เดือดร้อนมาก ช่วงแรกที่โควิดเกิดข้ึนต้องพักงาน
3 เดือน แล้วก็ระลอกใหม่ท่ีเกิดข้ึนช่วงปีใหม่ หางานนอกบ้าง ทางาน
ประมงบ้าง ไรย่ างบา้ ง แล้วก็มกี ารดแู ลตวั เอง ใส่หนา้ กาก ลา้ งมือ ทางาน
ท่ีโรงงานก็มีการเว้น ยังดีท่ีได้รับความช่วยเหลือจากนายจ้าง ไม่เอา
ค่าห้อง ค่าไฟ ให้อยฟู่ รี แจกหนา้ กากให้ แจกเจลล้างมือให้ แล้วกม็ ีท่ีศูนย์

46

ได้ให้ถุงยังชีพ นายจ้างได้บอกด้วยว่าไม่ให้ออกไปไหนนอกจากที่พัก
ทาให้ไม่มโี อกาสที่จะตดิ โควิด-19...”

(วิน วงศ์ (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

สอดคล้องกับผใู้ ห้ข้อมลู ในประเด็นเกีย่ วขอ้ งกับการปรบั ตัวทางดา้ นสงั คมทวี่ า่
“...ทาให้รายได้น้อยลงไปด้วย เมื่อก่อนที่จะมีโควิดงานเยอะ แต่พอมี
โควิดแล้วงานน้อยลง กลับบ้านกัมพูชาก็ไม่ได้ ตอนน้ีเวลาเลิกงานก็มีการ
รวมตัวกันบ้างบางครั้ง จะนั่งคุยกันประมาณ 5-6 คน แต่ทุกคนก็จะใส่
หน้ากากกัน ตอนน้ีเองก็มีการดูแลตัวเองเช่น ล้างมือกับสบู่หรือไม่ก็กับ
เจลล้างมือ ใส่หน้ากากตลอด เนื่องจากการทางานจะต้องชิด ๆ กัน ไม่มี
การเว้นระยะห่างเพราะทางานจะต้องทาแบบต่อเน่ืองกันแยกกันทาไมไ่ ด้
แต่ก่อนท่ีจะทางานมีการวัดอุณหภมู ิ ยังดีที่ได้รับความช่วยเหลือจากศูนย์
ได้แจกถุงยังชีพ เจล สบู่ หน้ากาก นายจ้างไม่มีแจกจะต้องซ้ือเอง แต่ท่ี
ทางานก็ได้บอกเก่ียวกับวิธีการดูแลตัวเอง แต่ไม่ได้สอนว่าให้ทาอย่างไร
แล้วก็ไม่เขา้ ร่วมกจิ กรรมงานบุญ หรอื เทศกาลท่ีมีคนเยอะ...”
(โกย เฮง (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 18 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกับผใู้ หข้ อ้ มลู ในประเดน็ เกยี่ วข้องกบั การปรับตัวทางด้านสังคมทวี่ า่
“...ก็กลัวบ้างไม่กลัวบ้างธรรมดา ลาบากนาน ๆ จะได้งานทาคร้ังหน่ึง
ตอนทไ่ี ม่มีโควดิ งานทที่ าก็ทาได้ทกุ วนั แตพ่ อมโี ควดิ งานก็นอ้ ยลง รายได้ก็
น้อยลง เลยต้องดูแลตัวเอง ใส่หน้ากาก ล้างมือ ไม่กล้าออกไหนพอซื้อ
กับข้าวเสรจ็ ก็กลับมาท่ีบ้าน เดนิ เล่นแคร่ อบ ๆ บรเิ วณบ้าน แต่ยังดที ี่ได้รับ
ความช่วยเหลือจากศูนย์ได้แจกถุงยังชีพ นายจ้างไม่ได้ช่วย แล้วก็ไม่มีใคร
มาช่วยแล้ว ตอนท่ีสามารถไปไหนมาไหนได้ปกติไม่ดีเลย เพราะปกติก็ไม่
คอ่ ยได้เทย่ี วอยู่แล้ว ยังไมก่ ลา้ ไปไหนด้วย กลบั บ้านไม่ไดเ้ พราะดา่ นปิด...”
(ไก่ ซอและ (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

47

สอดคลอ้ งกับผูใ้ ห้ข้อมูลในประเดน็ เก่ยี วขอ้ งกับการปรบั ตวั ทางด้านสงั คมที่วา่
“...ทาใหล้ าบาก กลัวด้วย เวลาจะไปไหนกไ็ ม่กลา้ ไป แต่สามารถทางานได้
ปกติ เวลาทางานกจ็ ะใสห่ นา้ กาก ล้างมือ ทที่ างานมีทใี่ ห้ลา้ งมือโดยเฉพาะ
แต่มีแค่ที่ทางานอย่างเดียว ไม่มีให้เอากลับมีแต่มาแจกท่ีทางานบริเวณท่ี
ขุดปลาที่ทางาน แต่พอโควิดระลอกใหม่มา งานน้อยลงช่วงนี้ไม่มีงาน
เวลาไปไหนมาไหนให้ใส่หน้ากาก อยู่ห่างจากคนอ่ืน ยังดีที่ได้รับความ
ช่วยเหลือจากศูนย์ได้แจกถุงยังชีพ บางคร้ังก็พอ บางคร้ังก็ไม่พอนาน ๆ
จะไดท้ ี นายจา้ งไมไ่ ด้ชว่ ย...”
(เตียว ไหวเยด็ (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

จากการสัมภาษณ์ มาไล, สีมะ, มาซตี อห์, วนิ วงศ์, โกย เฮง, ไก่ ซอและ และเตียว
ไหวเย็ด จะตอบแบบสมั ภาษณ์สอดคล้องกนั อันเน่ืองมาจากการทางานท่ีมีลักษณะของงาน
ทีเ่ หมอื นกัน

“...ทาใหล้ าบาก กลัวจะติดเช้อื ที่โรงงานมกี ารดูแลทีด่ ี มกี ารใหล้ า้ งมือ ใส่
หน้ากากตอนที่ทางาน ไม่ไปไหนไกล ๆ ไม่ไปไนท่ีคนเยอะ แต่ว่ายัง
สามารถใช้ชีวิตได้ปกติ แค่ต้องระวังตัวให้มากขึ้นยังไม่กล้าไปไหนมาไหน
ไปแค่ตลาดอย่างเดยี วที่อื่นไม่ไป ที่โรงงานก็ไดบ้ อกว่าไม่ให้ไปไหนในที่ที่มี
คนเยอะ ๆ เลยไม่กล้า ยังดีท่ีได้รับความช่วยเหลือจากนายจ้าง ช่วงโควดิ
รอบแรกโรงงานชว่ ยให้เงนิ อาทติ ย์ละ 400 บาท ตดิ กนั 3 อาทติ ย์ แล้วกม็ ี
ท่ีศูนย์ได้ให้ถุงยังชพี ข้าวสาร ขา้ วของ เคร่อื งใช.้ ..”

(สมอน งอน (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกบั ผู้ใหข้ อ้ มูลในประเด็นเก่ยี วขอ้ งกับการปรับตัวทางด้านสังคมท่วี า่
“...ทาใหก้ ลวั แตย่ งั ไมล่ าบากเทา่ กบั รอบแรก เพราะยงั สามารถไปไหนมา
ไหนได้อยู่ การดูแลตัวเองก็ดูแลเหมือนเดิมเหมือนกับรอบแรก มีการล้าง
มือ ใส่หน้ากาก ตอนทางานก็ยืนห่างกันอยู่คนละฝ่ังทางาน ยังดีที่ได้รับ

48

ความช่วยเหลือจากนายจ้างให้เงินเยียวยาอาทิตย์ละ 400 บาท ติดกัน 3
อาทิตย์ เราพักงานแต่นายจ้างยังให้เงิน แล้วก็มีท่ีศูนย์ที่ช่วยเอาถุงยังชีพ
มาให้ มีหน้ากาก เจลล้างมือให้ ท่ีทางานกับที่บ้านเองก็ไม่น่าจะติดโควิด
ด้วย เพราะเวลาไปทางานมีการตรวจวัดอุณหภูมิ ให้ล้างมือ ใส่หน้ากาก
ทุกวนั แลว้ เวลาทางานไม่มี OT ให้ทาด้วย...”

(ตินสด (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

สอดคล้องกบั ผใู้ หข้ ้อมูลในประเดน็ เกี่ยวขอ้ งกับการปรบั ตวั ทางด้านสังคมท่วี า่
“...ทาให้ลาบาก ไปไหนมาไหนไม่ได้ กลัวมากด้วย เดือดร้อน งานน้อยลง
ในช่วงโควิด ปกติตอนไม่มีโควิดทางานทุกวัน ท้ังอาทิตย์ แต่พอมีโควิด
ทางาน 2-4 วัน ที่ทางานก็ทางานห่างกัน 1 เมตร โต๊ะหนึ่งได้ 4 คน อยู่
คนละมุม มีการล้างมือ ใส่หน้ากาก ยังดีที่ได้รับความช่วยเหลือจากศูนย์
ได้แจกถุงยังชพี มกี ารสอนลา้ งมอื การใส่หน้ากาก ตอนท่ไี ปไหนมาไหนได้
ตัวเองกย็ ังไม่กล้าไป เพราะยังกลัวว่าจะตดิ โควิด แล้วกม็ ีการได้บอกคนใน
ครอบครวั ให้ดแู ลตวั เอง ตอนทีโ่ รงงานปดิ กใ็ ช้เงนิ อย่างประหยดั ๆ...”
(เท พอม (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

จากการสัมภาษณ์ สมอน, ตินสด และเท พอม จะตอบแบบสัมภาษณ์สอดคล้อง
กัน อันเนื่องมาจากการทางานทมี่ ลี ักษณะของงานทีเ่ หมือนกนั

จากการสัมภาษณ์การปรับตัวทางด้านสังคมของกลุ่มแรงงานเมียนมาร์ พบว่า
การเข้าถึงระบบสวัสดิการสังคม เช่น เงินเยียวยา ของท่ีได้รับความช่วยเหลือจาก
นายจ้าง แบบแผนการใช้ชีวิตขณะที่ทั่วโลก Shut Down ปัญหาการส่ือสาร ปัญหาการ
ปฏิสัมพันธ์ ฯลฯ ยังมีผลกับการปรับตัวของแรงงาน สอดคล้องกับการสัมภาษณ์ว่า

“...ทาให้ลาบาก ทางานไม่ค่อยได้ ปลาไม่ค่อยมี ปกติสามารถทางานได้ทุก
วัน แต่เด๋ียวน้ีงานมีบ้างไม่มีบ้างไปไหนไม่ได้ ถ้าจะเปล่ียนนายจ้างก็เปลี่ยน
ไม่ได้ แต่ถ้าจะไปไหนจะใส่หน้ากากตลอด ก่อนไปไหนก็จะล้างมือ ล้างมือที่

49

จดุ บรกิ าร กลบั บ้านก็จะกลับมาล้างมือด้วย เวน้ ระยะห่างในที่ทางาน ตอนท่ี
ไปไหนมาไหนได้ก็ยังไม่กล้าจะไปแต่ไปตลาดอย่างเดียว แต่ยังดีที่ได้รับความ
ช่วยเหลอื จากศูนย์มาแจกของ เชน่ หนา้ กาก เจลลา้ งมอื ถงุ ยงั ชพี นอกจากนี้
แล้วไมม่ ี นายจ้างเองก็ไมม่ ีเหมือนกัน...”

(เล (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 21 มกราคม 2564)

สอดคล้องกบั ผู้ให้ข้อมลู ในประเด็นเกย่ี วขอ้ งกับการปรบั ตวั ทางดา้ นสงั คมทีว่ ่า
“...กลวั ลาบาก งานไมค่ อ่ ยมีไมเ่ หมือนเม่ือก่อน ปกี ่อนสามารถเกบ็ เงินได้
เยอะแตป่ นี ้ยี งั ไมแ่ น่ใจ เพราะงานน้อยลง แล้วก็เวลาจะไปไหนก็ไปนาน ๆ
ที ไม่กล้าไปเท่ียว ไม่เหมือนเม่ือก่อนไปเท่ียวบ่อยแต่เด๋ียวนี้ไม่กล้าไปไหน
กลัวว่าจะติด แต่ถ้าไปไหนก็จะใส่หน้ากากตลอด ทางานก็ใส่เหมือนกัน
ที่โรงงานก็มีการวัดอุณหภูมิ มีการล้างมือด้วย มีการเว้นระยะห่างในท่ี
ทางาน ถ้าไปซื้อของจะซื้อเก็บให้ได้ 5-6 วัน แล้วค่อยไปซื้อต่อ ไม่กล้าไป
ไหนเพราะไม่รู้ว่าใครบ้างท่ีตดิ โควดิ -19 แต่ยังดที ไ่ี ด้รบั ความชว่ ยเหลอื จาก
นายจ้าง มีการแจกหน้ากากผ้า แจกเจลล้างมือในระรอบแรก แต่ระลอก
ใหมย่ ังไมแ่ จกต้องซอ้ื เอง ที่โรงงานกม็ ขี ายเหมอื นกนั แล้วก็มีทีศ่ นู ยไ์ ด้แจก
หน้ากาก เจลลา้ งมอื มถี ุงยงั ชีพให้...”
(สุ (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 21 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกับผู้ให้ข้อมูลในประเดน็ เกีย่ วขอ้ งกับการปรบั ตัวทางดา้ นสังคมท่วี า่
“...กลัว ลาบากด้วย ไม่กล้าไปไหนมาไหน การทางานก็สามารถทางานได้
ปกติ โควิด-19 ยังไม่กระทบกับการทางาน ปกติก็จะล้างมือ ใส่หน้ากาก
มีการเว้นระยะห่าง บางคร้ังก็ทางานติดกัน บางคร้ังก็เว้นระยะห่างข้ึนอยู่
ว่าเรากาลังทาอะไร ตอนที่ไปไหนมาไหนได้ ถ้ามีธุระก็จะไป แต่ถ้าไม่มี
ธุระก็จะไม่ไป แต่ยังดีท่ีได้รับความช่วยเหลือจากนายจ้าง มีข้าวสารแจก

50

ให้ช่วงปีใหม่ที่ผ่านมา แต่หน้ากาก เจลล้างมือไม่มีให้ แล้วก็มีที่ศูนย์
ได้แจกหน้ากาก เจลลา้ งมอื ถุงยงั ชพี ใหต้ อนโควิด-19...”

(โจ้ (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 21 มกราคม 2564)
จากการสัมภาษณ์ เล , สุ และโจ้ จะตอบแบบสัมภาษณ์สอดคล้องกัน
อันเน่ืองมาจากการทางานท่ีมีลกั ษณะของงานที่เหมือนกนั

“...ไม่กลัว พอโควิดรอบแรกระบาดแล้ว พอมาระบาดใหม่ทาให้เป็นเร่ือง
ปกติ แต่มีการใส่หน้ากาก ล้างมือ ท่ีทางานก็มีการวัดอุณหภูมิ แต่ลาบาก
ตรงท่ีว่าไปไหนมาไหนไม่ได้ ใช้ชีวิตไม่สะดวก แต่ตอนที่เขาประกาศให้ไป
ไหนได้ ก็กล้าท่ีจะไป เพราะสงขลายังไม่มีโควิดทาให้ไม่ค่อยได้กลัว
สะดวกด้วย ดีท่ีได้รับความช่วยเหลือจากนายจ้างในช่วงโควิดรอบแรก
ให้หน้ากาก เจลลา้ งมือ แลว้ ก็มีทศี่ ูนยใ์ หถ้ ุงยงั ชพี 4-5 รอบแล้ว...”

(กูชิ (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 24 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกบั ผู้ใหข้ ้อมลู ในประเดน็ เกยี่ วขอ้ งกบั การปรบั ตวั ทางดา้ นสงั คมทวี่ า่
“...ทาใหล้ าบาก ไม่กลา้ กลวั กังวลว่าจะติดที่เราไหม จะไปแค่ตลาดอย่าง
เดียว จะใส่หน้ากาก กลับมาบ้านก็จะเอาหน้ากากท่ีใส่ทิ้ง ล้างมือ แล้วก็
ไม่ไดไ้ ปไหนแล้วนอกจากทีบ่ ้านกับทท่ี างาน แต่ปกตแิ ลว้ สามจี ะเป็นคนไป
ตลาด ตอนโควิดรอบแรกใช้ชีวิตไม่สะดวก ตลาดปิดซ้ือกับข้าวไม่ได้
แต่พอระลอกใหม่สะดวกมากขึ้น ซื้อกับข้าวได้อีก แต่ยังดีที่ได้รับความ
ช่วยเหลือจากศูนย์ท่ีเข้ามาช่วยให้ถุงยังชีพ หน้ากาก สบู่ล้างมือ เจลล้าง
มือ นายจ้างให้หน้ากาก กับเจลล้างมือ 2 ขวด แต่ให้ในระรอบแรก
ระลอกใหม่หน้าจ้างยังไม่ได้ให้ความช่วยเหลือ แล้วก็ความเสี่ยงท่ีพักกับที่
ทางานก็ไม่นา่ จะมี เพราะท่ที างานเองก็มกี ารตรวจตลอด...”
(โซ (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 24 มกราคม 2564)

51

สอดคล้องกับผ้ใู ห้ข้อมลู ในประเด็นเกย่ี วข้องกบั การปรับตัวทางดา้ นสงั คมท่ีวา่
“...ยงั ไมส่ ่งผลกระทบกับตวั เอง ยงั ไมเ่ ดอื ดร้อน ไมล่ าบาก สามารถใช้ชวี ิต
ได้ปกติ เพราะปกติแล้วตัวเองไม่ค่อยได้ไปไหนอยู่แล้ว นอกจากท่ีพัก
ทท่ี างาน แตถ่ ้าจะออกไปไหนก็จะไปแค่ตลาด จะใสห่ น้ากาก ล้างมอื บอ่ ย ๆ
ไม่ไปในที่คนเยอะ ๆ แต่ยังดีท่ีได้รับความช่วยเหลือจากศูนย์ท่ีเข้ามาช่วย
แจกหน้ากาก เจลล้างมือ ถุงยังชีพ นายจ้างไม่ได้ช่วยอะไร แต่ท่ีทางานมี
การมาตรการดูแล เชน่ วดั อณุ หภูมิกอ่ นเขา้ โรงงาน ให้ล้างมอื ใส่หนา้ กาก
ก่อนเขา้ งานทกุ คร้ังแล้วกม็ กี ารเวน้ ระยะหา่ ง...”
(ตู (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 24 มกราคม 2564)

สอดคล้องกับผใู้ หข้ อ้ มลู ในประเด็นเกย่ี วข้องกบั การปรบั ตวั ทางดา้ นสงั คมทีว่ ่า
“...ทาให้ลาบาก กลับประเทศไม่ได้ ไปไหนมาไหนก็ไม่ได้ อยู่บ้านเบ่ือจะ
ไปไหนไม่ได้กลัว ไม่กล้าไปท่ีคนเยอะ ๆ แต่ถ้าจะไปก็จะใส่หน้ากาก
ล้างมือบ่อย ๆ ถ้ากินข้าวก็จะมีช้อนกลาง ดีท่ีได้รับความช่วยเหลือจาก
ศูนย์ท่ีเข้ามาช่วย แจกหน้ากาก เจลล้างมือ ถุงยังชีพ นายจ้างให้หน้ากาก
เจลล้างมือในรอบแรก แต่พอโควิดระลอกใหม่ยังไม่ได้ให้ แต่ท่ีทางานมี
การวัดอุณหภูมิก่อนเข้างาน เว้นระยะห่าง โต๊ะหนึ่ง 2 คน อยู่ห่าง ๆ กัน
แล้วก็ที่ทางานเองก็มีโอกาสท่ีจะติดโควิด เพราะว่ามีคนไทยที่ทางานด้วย
เช่น คนจะนะในสงขลา หาดใหญ่ ท่ีเป็นคนไทย เพราะไม่รู้ว่านอกจากท่ี
ทางานแล้วเขาไปไหน...”
(โม้ (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 24 มกราคม 2564)

สอดคล้องกับผู้ให้ข้อมลู ในประเดน็ เก่ยี วข้องกับการปรบั ตวั ทางด้านสังคมท่ีวา่
“...ตอนนี้ยังไม่ลาบาก สามารถใช้ชีวิตปกติ แต่กลัว กลัวว่าจะติดจาก
คนอื่นแล้วมาติดตัวเอง เลยต้องป้องกัน ใส่หน้ากาก กลับมาที่พักก็จะ
ล้างมือ ถ้าไม่จาเป็นก็ไม่ออกอยู่ที่ห้อง จะไปตลาดเฉพาะวันอาทิตย์วัน

52

เดียว แล้วซื้อเก็บไว้ที่บ้านให้พอกับหนึ่งอาทิตย์ แล้วก็ได้รับความ
ช่วยเหลือจากศูนย์ที่เข้ามาช่วย แจกหน้ากาก เจลล้างมือ ถุงยังชีพ
นายจ้างไม่ได้ช่วยเหลือ แต่ที่ทางานเองก็มีมาตรการป้องกันให้ใส่
หน้ากาก ล้างมือ แต่ไม่ได้เว้นระยะห่างมาก แต่พอกลับบ้านก็จะกลับมา
อาบน้าทาความสะอาดเลย แต่ทางานมีความกังวลอยู่ว่าจะมีโควิดไหม
เพราะตัวเองอยู่แผนกห้องเย็น คนที่มารับของจะต้องเข้าห้องเย็นแล้ว
จะต้องช่วยขนของขึน้ รถ ทาให้ต้องสือ่ สารกัน ก็เลยกลัวแต่ก็ไม่มที างเลือก
เพราะงานกจ็ ะต้องทา...”

(อา้ ว (นามสมมต)ิ , สัมภาษณ์ 24 มกราคม 2564)
จากการสมั ภาษณ์ กชู ิ, โซ, ต,ู โม้ และอ้าว จะตอบแบบสัมภาษณส์ อดคลอ้ งกัน อัน
เน่อื งมาจากการทางานท่มี ลี ักษณะของงานท่เี หมือนกนั

“...ทาให้ยังสามารถใช้ชีวิตปกติ เพราะเวลาส่วนใหญ่แล้วอยู่บนเรือ
มากกว่าบนฝั่ง เวลาหนึ่งเดือนออกเรือคร้ังหนึ่งแต่พอกลับมาฝ่ังพักอยู่
บ้านแค่ 5 วัน กต็ อ้ งออกไปต่อ แล้วในเวลา 5 วันน้กี ไ็ ม่ได้ไปไหนอยู่แต่ใน
บ้านก็เลยทาให้ตัวเองน้ันไม่กลวั โควิด-19 ดีที่ยังได้รับความช่วยเหลอื จาก
ศูนย์ที่เข้ามาช่วย แจกหน้ากาก เจลล้างมือ ถุงยังชีพ นายจ้างไม่ได้ให้
แล้วกค็ วามเส่ยี งทีจ่ ะติดโควิด-19 ไม่มเี พราะอยบู่ นเรอื คนนอกขึน้ ไม่ได้...”

(มีโจ้ (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 25 มกราคม 2564)

53

สอดคลอ้ งกับผ้ใู หข้ อ้ มลู ในประเด็นเก่ยี วขอ้ งกับการปรับตวั ทางด้านสังคมทว่ี า่
“...ไม่มีความกังวล หรือว่าลาบาก แต่กลัว เพราะทางานอยู่บนเรือแต่
กงั วลคนท่ีบ้านมากกว่า ตัวเองมีลูกเล็กด้วย แฟนท่ตี ้องไปทางาน และคน
ในครอบครวั ที่อยู่บ้านแต่ป้องกนั ตัว ไม่ไปในท่ีคน เยอะ ๆ นอกจากตลาด
ดีที่ได้รับความช่วยเหลือจากศูนย์ท่ีเข้ามาช่วย แจกหน้ากาก เจลล้างมือ
ถงุ ยงั ชพี นายจ้างไมไ่ ด้ให.้ ..”
(ไทลีน (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 25 มกราคม 2564)

จากการสัมภาษณ์ มีโจ้ และไทลีน จะตอบแบบสัมภาษณ์สอดคล้องกัน
อันเนอื่ งมาจากการทางานทมี่ ลี ักษณะของงานทเ่ี หมือนกัน

2.4 ประเดน็ การปรับตวั ทางดา้ นสาธารณสขุ
จากการสัมภาษณ์การปรับตัวทางด้านสาธารณสุขของกลุ่มแรงงานกัมพูชา

พบว่า การได้รับข้อมูลคาแนะนาในการดูแล ป้องกัน หรือแม้แต่การเตรียมความพร้อมใน
การรักษา ยังมีผลกบั การปรบั ตวั ของแรงงาน สอดคล้องกบั การสมั ภาษณ์วา่

“...รู้ข่าวเร่ืองโควิด-19 จากการดูข่าวในโทรศัพท์จาก Facebook
เกี่ยวกับวิธีการล้างมือ ใส่หน้ากากยังไง เวลาอยู่บ้านก็จะกินอาหารที่สุข
ทาความสะอาดทุกอย่าง เช่น ห้องนอนทั่วห้อง แล้วก็มีการสอนคนใน
ครอบครัวให้ล้างมือ ไปไหนมาไหนกใ็ ห้ใส่หน้ากาก แลว้ ก็ตอนทไี่ ม่สบายก็
จะไปโรงพยาบาล จะใช้บัตรประกันสุขภาพ 30 บาท ในการรักษา แต่ถ้า
เป็นไข้ธรรมดาก็จะซื้อยามากิน โดยสามารถไปซ้ือยาด้วยตัวเองได้เลยที่
รา้ นขายยา...”

(มาไล (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 14 มกราคม 2564)

54

สอดคลอ้ งกับผใู้ หข้ ้อมูลในประเด็นเกีย่ วขอ้ งกับการปรับตัวทางด้านสาธารณสขุ ที่ว่า
“...รู้ข่าวเรื่องโควิด-19 จากการดูข่าวในทีวี ดูเขาสอนการล้างมือ การใส่
หน้ากาก แล้วมาใช้กับตัวเอง ที่ทางานก็มีบอกให้ล้างมือ แล้วก็เวลาไป
ไหนมาไหนก็จะใส่ผ้าปิดปาก ล้างมือ แล้วก็ได้บอกคนในครอบครัวให้ใส่
ผ้าปิดปาก ล้างมือ แต่ถ้าไม่สบายก็จะไปซ้ือยาที่คลินิก ใช้เงินตัวเองไปซอื้
แต่มีเงินเก็บไม่เยอะ จะไปกับรถมอไซค์รับจ้าง แต่ถ้าไปโรงพยาบาล ก็จะ
ใช้บัตรประกันสังคมในการรักษา...”
(สมี ะ (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 14 มกราคม 2564)

สอดคล้องกบั ผูใ้ หข้ ้อมูลในประเด็นเกย่ี วข้องกับการปรับตวั ทางด้านสาธารณสขุ ท่ีว่า
“...รู้ข่าวเร่ืองโควิด-19 จากการดูข่าวในโทรศัพท์จาก Facebook
เก่ียวกับการประกาศ ดูวิธีการใส่หน้ากาก ล้างมือ ถ้าไข้ถึง 40 องศา ต้อง
ไปหาหมอ สาหรบั ตวั เองแลว้ กจ็ ะดูแลตัวเอง เชน่ ถ้าเจอคนไมร่ จู้ ักก็จะใส่
หน้ากาก ล้างมือ พยายามไม่ไปไหนท่ีคนเยอะ บอกลูกว่าให้ใส่เจลล้างมอื
ในกระเป๋าลูก ให้ใส่หน้ากาก แล้วถ้าไม่สบายก็จะไปคลินิกแต่ต้องเสียเงิน
ตัวเอง ถ้าไปโรงพยาบาลจะใช้บัตรสุขภาพ จ่ายแค่ 30 บาท แต่ทาให้
เสียเวลาเพราะต้องรอ แตถ่ ้าไปคลินิกจะเรว็ ไม่เสยี งาน...”
(มาซตี อห์ (นามสมมต)ิ , สมั ภาษณ์ 15 มกราคม 2564)

55

สอดคลอ้ งกบั ผใู้ ห้ข้อมูลในประเด็นเกีย่ วข้องกับการปรบั ตัวทางด้านสาธารณสขุ ที่วา่
“...รู้ข่าวเร่ืองโควิด-19 จากการดูข่าวในโทรศัพท์จาก Facebook
เก่ียวกับการป้องกันตัวในช่วงโควิด มีการล้างมือ ไปไหนต้องล้างมือ
ใส่หนา้ กาก แลว้ ไดบ้ อกคนในครอบครัวด้วยว่าให้ใสห่ น้ากาก ลา้ งมือเวลา
จะไปไหนมาไหน แลว้ ถา้ ไมส่ บายก็ไปโรงพยาบาล ใชบ้ ตั รประกนั สงั คมใน
การรักษา ถา้ ซื้อยาก็ต้องเอาเงินตวั เองซื้อ...”
(วนิ วงศ์ (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

สอดคล้องกบั ผู้ใหข้ ้อมูลในประเด็นเก่ยี วขอ้ งกับการปรบั ตวั ทางดา้ นสาธารณสขุ ทวี่ ่า
“...รู้ข่าวเร่ืองโควิด-19 จากการดูข่าวใน Facebook ในโทรศัพท์ ดูข่าว
เก่ียวกับแรงงานท่ีติดโควิดในระลอกใหม่ ดูแลตัวเองด้วยการถ้าไม่จาเป็น
ก็อยู่แต่ในบ้าน ถ้าไปทางานใส่รองเท้าบูท ล้างมือกับเจลถ้าไม่มีเจลก็ล้าง
มือกับสบู่ ใส่หน้ากาก ปกติแล้วร่างกายแข็งแรงเลยไม่มีอาการไม่ไข้ขึ้น
หรอื ว่าไม่สบาย เลยไม่ต้องไปโรงพยาบาล และไมต่ อ้ งไปซอ้ื ยากนิ เอง...”
(โกย เฮง (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 18 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกับผู้ให้ข้อมูลในประเดน็ เกีย่ วขอ้ งกับการปรบั ตวั ทางด้านสาธารณสุขทว่ี ่า
“...รู้ข่าวเร่ืองโควิด-19 จากมีคนบอกมาเรื่องโควิด บอกให้ล้างมือบ่อย ๆ
ใส่หน้ากากด้วย ไปไหนมาไหนต้องใส่หน้ากากตลอด ไม่อยู่ใกล้กันให้อยู่
กันห่าง ๆ ต้องทาแบบนี้ทุกวัน แล้วก็ปกติถ้าไม่สบายก็ไปโรงพยาบาล ใช้
เงินตัวเองในการรักษาพยาบาล นายจ้างไม่ช่วยในเรื่องค่ารักษา ถ้าซื้อยา
ก็ตอ้ งใช้เงนิ ตวั เองเหมือนกัน...”
(ไก่ ซอและ (นามสมมต)ิ , สัมภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

56

สอดคลอ้ งกบั ผู้ใหข้ ้อมูลในประเดน็ เก่ียวข้องกับการปรับตวั ทางด้านสาธารณสขุ ที่วา่
“...รู้ข่าวเร่ืองโควิด-19 จากดูทีวี บอกให้ล้างมือให้สะอาด ใส่ผ้าปิดปาก
เวลาไปขา่ งนอกกต็ ้องใส่ผ้าปิดปากตลอด ไปข้างนอกให้อยู่ห่างจากคนอ่ืน
เวลากินข้าวก็จะกินท่ีสุก กินของร้อน ทาความสะอาดบ้านแล้วก็ได้บอก
คนอื่นว่าให้ทาความสะอาดด้วย เวลาไปไหนมาไหนต้องใส่ผ้าปิดปาก
ล้างมือกับเจลที่เข้าได้ต้ังเป็นจุด ๆ เพราะเราไม่รู้ว่าใครเป็นหรือว่าไม่เป็น
โควิด ถ้าไม่สบายก็ไปโรงพยาบาล บอกอาการกับหมอแล้วให้ยามากิน
ตรวจสขุ ภาพด้วย จะใช้บตั รประกนั สังคมในการรกั ษาพยาบาล...”
(เตียว ไหวเย็ด (นามสมมต)ิ , สัมภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

จากการสัมภาษณ์ มาไล, สมี ะ, มาซตี อห์, วิน วงศ์, โกย เฮง, ไก่ ซอและ และเตยี ว
ไหวเยด็ จะตอบแบบสมั ภาษณ์สอดคลอ้ งกัน อนั เน่ืองมาจากการทางานทม่ี ีลักษณะของงาน
ที่เหมอื นกัน

“...รู้ข่าวเรื่องโควิด-19 จากการเล่นโทรศัพท์จาก Facebook ดูในข่าวเรื่อง
คนท่ีติดเช้ือโควิดแล้วก็ที่โรงงานก็ได้สอน เปิดวิดีโอให้ดูเกี่ยวกับการดูแล
ตัวเอง เช่น การล้างมือท่ีถูกต้อง แล้วถ้าไม่สบายนายจ้างจะพาไป
โรงพยาบาล ใช่บัตรประกันสังคมในการรักษาพยาบาล แต่ถ้าไปซ้ือท่ีร้านยา
หรอื ว่าไปคลนิ กิ ตอ้ งใชเ้ งนิ ตวั เองในการรกั ษานายจ้างไมม่ ีให.้ ..”

(สมอน งอน (นามสมมต)ิ , สัมภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

สอดคล้องกบั ผใู้ หข้ ้อมูลในประเดน็ เกยี่ วข้องกับการปรับตัวทางด้านสาธารณสุขทว่ี า่
“...รู้ข่าวเรื่องโควิด-19 จากการดูข่าวในโทรศัพท์จาก Facebook แล้วก็
หัวหน้าที่โรงงานก็ได้บอก บอกให้ดูแลตัวเอง ล้างมือ ใส่หน้ากาก ยืนห่าง
กัน ถ้าไปตลาดให้ไปแค่แปบเดียวแล้วกลับบ้านเลย แล้วถ้าไม่สบายก็ไป
บอกนายจ้าง นายจ้างพาไปโรงพยาบาล ใช้บัตรประกันสังคมในการ

57

รกั ษาพยาบาล ถา้ จะซื้อยากินเอง บางครงั้ นายจ้างก็ซ้ือยามาให้ บางครง้ั ก็
ตอ้ งซ้ือเองแลว้ ถ้าซือ้ เองก็ต้องใชเ้ งนิ ตัวเองเบกิ กบั นายจ้างไม่ได.้ ..”

(ตนิ สด (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกบั ผ้ใู หข้ ้อมูลในประเด็นเกย่ี วข้องกับการปรบั ตัวทางด้านสาธารณสุขที่วา่
“...รู้ข่าวเรื่องโควิด-19 จากการดูข่าวในโทรศัพท์จาก Facebook ดู
เก่ียวกับการดูแลตัวเองในช่วงโควิด เวลาล้างมือกับสบู่ ต้องล้างมือวันละ
3-4 คร้ัง ไปไหนมาไหนให้ใส่หน้ากากตลอด ไปตลาดไปซื้อของก็ต้องใส่
หน้ากาก ล้างมือ ดูแลตัวเองตลอด แล้วถ้าไม่สบายก็ไปหาหมอ นายจ้าง
พาไปโรงพยาบาล ใช้บัตรประกันสังคม ในการรกั ษาพยาบาล ถา้ ไปซ้ือยา
กนิ เองกต็ ้องเอาเงนิ ตัวเองนายจา้ งไมม่ ใี ห.้ ..”
(เท พอม (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

จากการสัมภาษณ์ สมอน, ตินสด และเท พอม จะตอบแบบสัมภาษณ์สอดคล้อง
กนั อนั เน่อื งมาจากการทางานทีม่ ีลกั ษณะของงานท่ีเหมือนกัน

จากการสัมภาษณ์การปรับตัวทางด้านสาธารณสุขของกลุ่มแรงงานเมียนมาร์
พบว่า การได้รับข้อมูลคาแนะนาในการดูแล ป้องกัน หรือแม้แต่การเตรียมความพร้อมใน
การรกั ษา ยังมผี ลกับการปรบั ตัวของแรงงาน สอดคลอ้ งกับการสัมภาษณว์ ่า

“...รขู้ า่ วเร่อื งโควดิ -19 จากการดขู ่าวในโทรศัพท์จาก Facebook ทีน่ ายก
ได้บอกเก่ียวกับโควิด-19 การล้างมือวันละก่ีครั้ง ไปไหนมาไหนก็ต้องล้าง
มือ จังหวัดไหนมีโควิดบ้าง จังหวัดไหนสามารถไปไหนมาไหนได้ แต่ดูแล
ตัวเอง เช่น มีการออกกาลังกายในบ้านและบริเวณรอบ ๆ บ้าน มีการกิน
รอ้ น ช้อนกลาง ใสห่ น้ากาก ลา้ งมอื เวน้ ระยะหา่ ง แตถ่ ้ามอี าการไม่สบาย
ก็จะไปโรงพยาบาล โดยใช้บัตรประกันสังคมในการรักษาเรื่องค่าใช้จ่าย
แต่ถ้าต้องไปซื้อยาทีร่ า้ น ก็จะตอ้ งใช้เงนิ ตัวเอง...”

(เล (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 21 มกราคม 2564)

58

สอดคลอ้ งกับผใู้ ห้ข้อมูลในประเด็นเกีย่ วขอ้ งกับการปรับตวั ทางด้านสาธารณสขุ ทวี่ า่
“...ร้ขู ่าวเรอื่ งโควดิ -19 จากการดขู า่ วในโทรศัพท์จาก Facebook ว่าวันน้ี
มีเพิ่มก่ีคน วิธีการล้างมือ ดูโฆษณาการล้างมือ ที่ศูนย์อภิบาลผู้เดินทาง
ทะเลสงขลาได้เข้ามาสอนวิธีการล้างมือท่ีถูกวิธีให้ การดูแลตัวเองก็จะ
ดูแลมีการใส่หน้ากาก ล้างมือ เว้นระยะห่าง โดยได้มีการบอกแฟนด้วยวา่
จะต้องดูแลต้องเองยังไง ช่วย ๆ กับแฟนในการดูแล บ้างทีแฟนก็มาบอก
ตัวเองเหมือนกัน ถ้ารู้สึกไม่สบายก็จะไปซื้อยากินเอง จะไม่กล้าไป
โรงพยาบาล เพราะโรงพยาบาลคนเยอะไปซ้ือยาง่ายกว่า แต่ถ้าไป
โรงพยาบาลก็จะใช้บตั รประกันสงั คมในการรักษา...”
(สุ (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 21 มกราคม 2564)

สอดคล้องกบั ผใู้ ห้ข้อมูลในประเดน็ เกี่ยวข้องกับการปรบั ตัวทางด้านสาธารณสุขท่วี า่
“...รู้ข่าวเรื่องโควิด-19 จากการดูใน Youtube ดูว่าคนติดกี่คน ตายก่ีคน
ดูการล้างมือ การดูแลตัวเอง ที่โรงงานมีการล้างมือ มีจุดบริการล้างมือ มี
การวัดอุณหภูมิทุกวัน มีการให้ใส่หน้ากากทุกวันท่ีจะไปทางาน ถ้าจะไป
ไหนก็จะล้างมือทุกคร้ัง กลับบ้านก็จะต้องกลับมาล้างมืออีกรอบ ถ้าไม่
สบายจะต้องไปโรงพยาบาลก็จะใช้บัตรประกันสังคมใน การ
รักษาพยาบาล แต่ถ้าไปซ้ือยาก็จะต้องเอาเงินตัวเองจ่าย นายจ้างไม่มีเงิน
ให้สาหรับค่ารักษา...”
(โจ้ (นามสมมต)ิ , สมั ภาษณ์ 21 มกราคม 2564)

จากการสัมภาษณ์ เล, สุ และโจ้ จะตอบแบบสัมภาษณ์สอดคล้องกัน อัน
เนื่องมาจากการทางานท่มี ีลักษณะของงานท่เี หมือนกัน

59

“...รู้ข่าวเร่ืองโควิด-19 จากการดูโทรศัพท์จาก Facebook ดูวิธีการล้าง
มือ ใส่หน้ากาก แล้วก็มีท่ีศูนย์อภิบาลผู้เดินทางทะเลสงขลามาอบรม
วิธีการล้างมือ ใส่หน้ากากให้ดู แล้วก็ถ้าไม่สบายก็จะไปโรงพยาบาล ใช้
บัตรประกันสังคม จะไม่ไปซื้อยาที่ร้าน ไปโรงพยาบาลง่ายกว่า แต่ถ้าไม่
สบายที่ทางานนายจ้างมียาให้ไปขอรับยาได้ แต่ถ้าไม่ไหวนายจ้างก็จะพา
ไปหาหมอ...”

(กูชิ (นามสมมต)ิ , สัมภาษณ์ 24 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกับผู้ใหข้ ้อมูลในประเดน็ เกี่ยวข้องกับการปรบั ตัวทางดา้ นสาธารณสขุ ท่วี า่
“...รู้ข่าวเร่ืองโควิด-19 จากการดูข่าวในโทรศัพท์จาก Facebook ดู
เก่ียวกบั ขา่ วที่มหาชยั คนไหนทีต่ ิดคนไหนไม่ติด คนไหนทม่ี คี วามเสี่ยงคน
ไหนที่ไม่มีความเสี่ยง แล้วก็ดูแลตัวเองด้วยการ ใส่หน้ากาก ล้างมือ เวลา
มีคนเยอะ ๆ ไม่ไป เว้นระยะห่าง แล้วก็ได้บอกคนในครอบครัวด้วยว่าไป
ไหนมาไหนให้ใส่แล้วถ้าไม่สบายก็จะไปโรงพยาบาล ไปกับสามี จะใช้บัตร
ประกันสังคมในการรักษา ถ้าซ้ือยาก็ต้องเอาเงินตัวเองซ้ือ นายจ้างไม่มี
สวสั ดิการให้ แตถ่ า้ ไมส่ บายทท่ี างานนายจ้างจะเอายามาให้กิน...”
(โซ (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 24 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกบั ผู้ใหข้ ้อมูลในประเดน็ เกี่ยวขอ้ งกับการปรับตัวทางด้านสาธารณสุขทว่ี ่า
“...รู้ข่าวเรื่องโควิด-19 ใน Facebook ในโทรศัพท์ ดูข่าวเก่ียวกับท่ี
มหาชัย ท่ีไปได้ท่ีไหนห้ามไม่ให้ไป การเข้า-ออกของจังหวัดว่าจะจังหวัด
ไหนเปิด จังหวัดไหนปิดไม่ให้ไป พ้ืนท่ีสีแดง แล้วก็ดูวิธีการล้างมือ ใส่
หน้ากากจากประเทศเมียนมาร์ในข่าวด้วย แล้วถ้าไม่สบายปกติจะไปซ้ือ
ยากินเองท่ีคลินิก ไม่ไปโรงพยาบาล เพราะคนไข้เยอะ ไม่รู้ว่าใครเป็นใคร
แต่ถ้าไม่สบายที่โรงงานแล้วต้องไปโรงพยาบาล จะมีคนที่โรงงานพาไป

60

แล้วนายจ้างก็จะให้หยุดงาน แต่ถ้าไม่สบายหนัก ๆ โรงงานให้พักงาน
14 วนั กกั ตวั ไว้...”

(ตู (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 24 มกราคม 2564)

สอดคล้องกับผใู้ ห้ข้อมูลในประเดน็ เกยี่ วข้องกับการปรบั ตวั ทางด้านสาธารณสขุ ทวี่ า่
“...รู้ข่าวเรื่องโควิด-19 จากการเล่นโทรศัพท์จาก Facebook ดูข่าว
เก่ียวกับท่ีมหาชัย ดูวิธีการล้างมือ ใส่หน้ากาก ใส่หน้ากากและล้างมือ
บ่อย ๆ เวลาไปทางานเว้นระยะห่าง ไม่ไปไหนอยู่บ้าน ถ้าจะไปไหนให้ใส่
หนา้ กาก ล้างมือ แลว้ ถา้ ไมส่ บายกใ็ หก้ ินยา ไม่พาลูกออกบริเวณนอกบ้าน
ให้อยู่แต่ในบ้าน ถ้าไปโรงพยาบาลก็จะใช้บัตรประกันสังคม แต่ถ้าต้องซ้ือ
ยาต้องเอาเงนิ ตัวเองซ้ือยาแต่ถ้าไมส่ บายที่โรงงานที่ทางานมียาใหก้ ิน...”
(โม้ (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 24 มกราคม 2564)

สอดคล้องกบั ผ้ใู หข้ ้อมูลในประเด็นเก่ียวข้องกับการปรบั ตวั ทางด้านสาธารณสุขที่วา่
“...รู้ข่าวเร่ืองโควดิ -19 จากการเล่นโทรศัพท์ใน Facebook ดูว่าท่ีไหนไป
ได้ที่ไหนไปไม่ได้ ท่ีไหนปิดบ้าง แล้วถ้าไม่สบายก็ไปโรงพยาบาลใช้บัตร
ประกันสังคมในการรักษา ถ้าซ้ือยาต้องเอาเงินตัวเองนายจ้างไม่มีการ
ช่วยเหลือ แตป่ กติก็จะดูแลตัวเองตลอด ใสห่ นา้ กาก ล้างมือตลอด...”
(อ้าว (นามสมมต)ิ , สัมภาษณ์ 24 มกราคม 2564)

จากการสัมภาษณ์ กูชิ, โซ, ตู, โม้, และอ้าว จะตอบแบบสัมภาษณ์สอดคล้องกัน
อนั เน่อื งมาจากการทางานท่มี ีลกั ษณะของงานทเ่ี หมือนกัน

61

“...รู้ข่าวเร่ืองโควิด-19 จากเพ่ือนบอกตอนท่ีเข้าฝ่ังเก่ียวกับข่าวท่ีมหาชัย
เพราะตอนอย่บู นเรือไม่ได้ติดตามขา่ วไม่มีสัญญาณ แลว้ ถา้ อยู่บนเรือไม่ได้
ใส่หน้ากากแต่ถ้าข้ึนปลาต้องใส่พอขึ้นปลาที่ฝั่งกลับบ้านก็จะกลับมา
อาบน้า เวลาไม่สบายก็จะไปโรงพยาบาล เพราะจะได้รู้ด้วยว่าตัวเองเป็น
โรคอะไร จะใช้บัตรสุขภาพในการรักษา นายจ้างไม่มีค่ารักษาพยาบาลให้
แลว้ ถา้ ต้องซ้ือยากินเองก็...”

(มโี จ้ (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 25 มกราคม 2564)

สอดคล้องกับผู้ใหข้ ้อมูลในประเด็นเกยี่ วขอ้ งกับการปรับตัวทางด้านสาธารณสขุ ทวี่ ่า
“...รู้ข่าวเร่ืองโควิด-19 จากเพ่ือนลูกเรือบอก เก่ียวกับข่าวท่ีมหาชัย
ระบาดแล้วก็มีท่ีศูนย์อภิบาลผู้เดินทางทะเลมาช่วยสอนวิธีการล้างมือ ใส่
หน้ากาก แล้วก็ตอนที่ตัวเองอยู่บนฝ่ังถ้าจะไปไหน เช่น ไปตลาดก็จะดู
ตัวเอง ถ้าไม่สบายหนักก็จะไปโรงพยาบาล ใช้บัตรประกันสุขภาพในการ
รกั ษา ถ้าซือ้ ยากต็ ้องเอาเงนิ ตวั เอง นายจ้างไมม่ สี วสั ดิการให้...”
(ไทลนี (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 25 มกราคม 2564)

จากการสัมภาษณ์ มีโจ้ และไทลีน จะตอบแบบสัมภาษณ์สอดคล้องกัน อัน
เนื่องมาจากการทางานที่มีลักษณะของงานทีเ่ หมือนกัน

62

ภาพที่ 1 ผู้ใหส้ ัมภาษณ์แรงงานกมั พชู า ภาพที่ 2 ผใู้ ห้สัมภาษณ์แรงงานกมั พูชา
ถา่ ยโดย เจ้าหนา้ ท่ศี ูนย์อภบิ าลผเู้ ดินทางทะเลสงขลา, 14 มกราคม 2564

ภาพที่ 3 ผใู้ หส้ มั ภาษณ์แรงงานกมั พูชา
ถา่ ยโดย เจ้าหน้าที่ศนู ย์อภิบาลผู้เดินทางทะเลสงขลา, 15 มกราคม 2564

63

ภาพที่ 4 ผู้ให้สมั ภาษณ์แรงงานกมั พชู า ภาพท่ี 5 ผูใ้ หส้ มั ภาษณ์แรงงานกัมพูชา
ถ่ายโดย เจ้าหน้าที่ศูนย์อภบิ าลผู้เดินทางทะเลสงขลา, 16 มกราคม 2564

ภาพท่ี 6 ผ้ใู หส้ มั ภาษณ์แรงงานกมั พูชา ภาพท่ี 7 ผู้ให้สมั ภาษณ์แรงงานกัมพชู า

ถา่ ยโดย เจา้ หนา้ ทศ่ี นู ย์อภบิ าลผ้เู ดินทางทะเลสงขลา, 16 มกราคม 2564

64

ภาพท่ี 8 ผูใ้ ห้สมั ภาษณ์แรงงานกัมพชู า ภาพท่ี 9 ผใู้ หส้ มั ภาษณ์แรงงานกมั พูชา
ถ่ายโดย เจา้ หนา้ ที่ศนู ย์อภบิ าลผเู้ ดินทางทะเลสงขลา, 16 มกราคม 2564

ภาพที่ 10 ผู้ใหส้ ัมภาษณ์แรงงานกัมพชู า
ถา่ ยโดย เจ้าหน้าทีศ่ นู ย์อภิบาลผูเ้ ดินทางทะเลสงขลา, 18 มกราคม 2564

65

ภาพท่ี 11 ผูใ้ ห้สัมภาษณ์แรงงานเมยี นมาร์ ภาพที่ 12 ผู้ใหส้ มั ภาษณ์แรงงานเมียนมาร์
ถ่ายโดย เจา้ หน้าท่ศี นู ย์อภิบาลผูเ้ ดนิ ทางทะเลสงขลา, 21 มกราคม 2564

ภาพท่ี 13 ผูใ้ ห้สัมภาษณ์แรงงานเมียนมาร์
ถา่ ยโดย เจา้ หนา้ ที่ศูนย์อภบิ าลผเู้ ดนิ ทางทะเลสงขลา, 21 มกราคม 2564

66

ภาพที่ 14 ผ้ใู หส้ ัมภาษณแ์ รงงานเมียนมาร์ ภาพที่ 15 ผใู้ ห้สมั ภาษณแ์ รงงานเมยี นมาร์
ถ่ายโดย เจา้ หนา้ ท่ศี ูนย์อภิบาลผเู้ ดินทางทะเลสงขลา, 24 มกราคม 2564

ภาพท่ี 16 ผู้ให้สัมภาษณ์แรงงานเมยี นมาร์ ภาพท่ี 17 ผู้ใหส้ ัมภาษณแ์ รงงานเมียนมาร์
ถ่ายโดย เจ้าหน้าท่ศี นู ย์อภบิ าลผ้เู ดินทางทะเลสงขลา, 24 มกราคม 2564

67

ภาพท่ี 18 ผูใ้ หส้ ัมภาษณ์แรงงานเมยี นมาร์
ถ่ายโดย เจา้ หน้าทศ่ี นู ย์อภิบาลผู้เดนิ ทางทะเลสงขลา, 24 มกราคม 2564

ภาพที่ 19 ผใู้ ห้สมั ภาษณ์แรงงานเมยี นมาร์ ภาพท่ี 20 ผใู้ ห้สัมภาษณ์แรงงานเมียนมาร์
ถ่ายโดย เจ้าหน้าทศ่ี ูนย์อภบิ าลผเู้ ดนิ ทางทะเลสงขลา, 25 มกราคม 2564

68

อภปิ รายผล

การศึกษาเรื่อง การปรับตัวของแรงงานข้ามชาติ จังหวัดสงขลาในช่วงสถานการณ์
โควิด-19 ในคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปรับตัวของแรงงานกัมพูชา และแรงงาน
เมียนมาร์ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ในจังหวัดสงขลา ผู้ศึกษาได้นามาอภิปรายดังนี้ จาก
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการปรับตัวของแรงงานกัมพูชา และแรงงานเมียนมาร์ในช่วง
สถานการณ์โควดิ -19 ในจงั หวดั สงขลา

ประเด็นผลกระทบทางด้านกฎหมาย พบว่า ทั้งแรงงานกัมพูชาและแรงงานเมยี น
มาร์ แบง่ ประเดน็ การปรบั ตัวได้ 3 ประเด็น คอื 1. ต้องต่อเอกสารบัตร 2. ไม่ตอ้ งตอ่ เอกสาร
3. นายจ้างต่อเอกสารให้ โดยรายละเอียดมีดังนี้ 1. ต่อเอกสารบัตร: เนื่องจากเอกสารบัตร
หมดอายุ แตม่ คี ่าใชจ้ ่าย จานวน 9,180 บาทต่อคน เมื่อมาเปน็ ครอบครวั ตอ้ งจ่ายไมต่ า่ กว่า
2 คน รวมทั้งส้ิน 18,360 บาท ถือเป็นราคาสูงสาหรับแรงงานท่ีได้ค่าจ้างวันละ 200-500
บาท 2. ไม่ต้องต่อเอกสาร: เนื่องจากยังไม่หมดอายุ เช่น วีซ่า พลาสปอร์ต 3. นายจ้างต่อ
เอกสารให:้ เนื่องจากแรงงานบางคนต่อเอกสารไม่เป็นนายจา้ งจึงดาเนินต่อเอกสารให้ และ
จากสถานการณ์โควิด-19 ด่านปิดไม่สามารถกลับประเทศสามารถแบ่งประเด็นการปรบั ตวั
ได้ 3 ประเด็น คือ 1. อยากกลับบ้านแล้วกลับมาทางานที่ไทยต่อ 2. อยากกลับบ้านถาวร
3. ไม่คิดท่ีจะกลับบ้าน โดยรายลละเอียดมีดังนี้ 1. อยากกลับบ้านแล้วกลับมาทางานท่ีไทย
ตอ่ : เนอ่ื งจากกลับไปเย่ียมบา้ น ทาธุระทบ่ี ้าน หรือดสู ถานการณ์อีกทีว่าสามารถกลับเข้ามา
ทีป่ ระเทศไทยตอ่ ไดอ้ ีกไหม 2. อยากกลบั บา้ นถาวร: เนอื่ งจากจากบา้ นเกดิ มาหลายปี คิดถงึ
คนในครอบครัว 3. ไม่คิดท่ีจะกลับบ้าน: เน่ืองจากอยากท่ีจะเก็บเงินท่ีไทยก่อน แล้วค่อย
กลับ ถึงกลับไปก็ไม่รูจ้ ะทางานอะไร ทางานท่ีได้กอ่ นดีกว่า

ประเด็นการปรับตัวทางด้านเศรษฐกิจ พบว่า ท้ังแรงงานกัมพูชาและแรงงาน
เมียนมาร์ แบ่งประเด็นการปรับตัวได้ 7 ประเด็น คือ 1. เม่ือทาหนังสือต่อเอกสารแรงงาน
จะต้องใช้เงินตัวเองเป็นหลักแล้วค่อยไปปรึกษากับนายจ้างถ้าหากว่าเงินตัวเองมีไม่พอ
2. กลมุ่ ท่ีทางานอาชีพต่อเนื่องประมงที่ไม่สามารถทางานได้ปกติ 3. แรงงานที่ทางานอาชีพ
ต่อเนื่องประมงท่ีสามารถทางานได้ปกติ 4. แรงงานท่ีทางานเป็นพนักงานโรงงาน

69

5. แรงงานท่ีทางานเป็นลูกเรือประมง 6. ภาระท่ีเพิ่มข้ึนในช่วงสถานการณ์โควิด-19
7. แรงงานที่ถูกพักงานในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ระลอกแรก โดยรายละเอียดมีดังน้ี
1. เม่ือทาหนังสือต่อเอกสารแรงงานจะต้องใช้เงินตัวเองเป็นหลักแล้วค่อยไปปรึกษากับ
นายจ้างถ้าหากว่าเงินตัวเองมีไม่พอ: เนื่องจากค่าใช้จ่ายในการต่อเอกสารกับรายรับของ
แรงงานมไี มเ่ พียงพอ ทาให้ตอ้ งยืมเงินจากนายจ้าง ทาให้เป็นหน้ีนายจา้ งจากการทาหนังสือ
เอกสาร และยังมีแรงงานที่ยงั ไม่รู้จะเอาเงินจากไหนทาเอกสาร เนอ่ื งจากตอนน้ียงั ไม่มีเงินที่
จะ 2. กลุ่มที่ทางานอาชีพต่อเนื่องประมงที่ไม่สามารถทางานได้ปกติ: เนื่องจากงานท่ี
น้อยลงทาให้รายได้ยิ่งน้อยลงจากปกติจะได้วันละ 500-800 บาทต่อวัน เหลือ 200-500
บาทต่อวัน การทา OT ก็ย่ิงน้อยหรือไม่มี OT ให้ 3. แรงงานท่ีทางานอาชีพต่อเนอ่ื งประมง
ที่สามารถทางานได้ปกติ: เนื่องจากยังไม่ส่งผลกระทบกับงานท่ีทา และรายได้ที่ได้รับ
4. แรงงานที่ทางานเป็นพนักงานโรงงาน: เน่ืองจากบางคนท่ีได้รับค่าจ้างเป็นพนักงาน
โรงงานจะไดร้ ับค่าจ้างเหมือนเดิม แตร่ ายไดน้ ้อยลงจากการทา OT 5. แรงงานทที่ างานเป็น
ลูกเรือประมง: เน่ืองจากแรงงานที่ทางานเป็นลูกเรือจะได้รับค่าจ้างเป็นรายเดือน ซ่ึง
สามารถทางานได้ปกติ ไม่กระทบกับการทางานและรายได้ 6. ภาระที่เพิ่มขึ้นในช่วง
สถานการณ์โควิด-19: เน่ืองจากจะต้องซื้อหน้ากาก ซ้ือสบู่ล้างมือ หรือแม้แต่ซื้อเจลล้างมือ
เพ่ือป้องกันตัวเองจากโควิด-19 ท่ีเกิดขึ้น 7. แรงงานที่ถูกพักงานในช่วงสถานการณ์โควิด-
19 ระลอกแรก: เน่ืองจากเศรษฐกิจท่ีลาบากทาให้นายจ้างได้ลดอัตราการจ้างงานของ
แรงงาน

ประเด็นการปรับตัวทางด้านสังคม พบว่า ท้ังแรงงานกัมพูชาและแรงงานเมียน
มาร์ แบ่งประเด็นการปรับตัวได้ 5 ประเด็น คือ 1. ไม่สะดวกกับการใช้ชีวิตประจาวัน
2. วิตกกังวล 3. ยงั ไมเ่ ดือนร้อนหรอื ว่าลาบากในช่าวงโควดิ -19 4. ไดร้ ับความช่วยเหลือจาก
ศูนย์อภิบาลผู้เดินทางทะเลสงขลาในเบื้องต้น 5. ยังไม่ได้รับความช่วยเหลือจากนายจ้าง
ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ในระลอกใหม่ โดยรายละเอียดมีดังน้ี 1. ไม่สะดวกกับการใช้
ชวี ติ ประจาวัน: เน่อื งจากไมส่ ามารถออกไปไหนมาไหนได้เชน่ ออกไปเท่ียว ออกไปซื้อของท่ี
จาเป็น หรือแม้แต่การพบปะพูดคุยกันหลังเลิกงาน 2. วิตกกังวล: เนื่องจากยังมีความกงั วล
กลัว ต่อการท่ีจะออกไปไหนแล้วจะนาเช้ือกลับมา แต่กลุ่มแรงงานเองก็มีการดูแลตัวเองใน

70

เบ้ืองต้น เพื่อลดความระแวงหรือวา่ ความกลัวที่จะเกิดขึ้น 3. ยังไม่เดือนร้อนหรือว่าลาบาก
ในช่าวงโควิด-19: เน่ืองจากเป็นแรงงานท่ีไม่ค่อยได้ไปไหนอยู่แล้วนอกจากท่ีทางานและท่ี
พัก 4. ได้รับความช่วยเหลือจากศูนย์อภิบาลผู้เดินทางทะเลสงขลาในเบ้ืองต้น: เนื่องจาก
แรงงานต้องการความช่วยเหลอื เช่น ถุงยังชีพ และอุปกรณ์ป้องกันโควดิ -19 เป็นต้น 5. ยัง
ไม่ได้รับความช่วยเหลือจากนายจ้างในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ในระลอกใหม่: แต่ระลอก
แรกที่เกิดขึ้นเมื่อ มนี าคม 2563 ได้รับความช่วยเหลือจากนายจ้าง เช่น มีการแจกหน้ากาก
เจลล้างมือ บางคนนายจ้างให้อยู่ท่ีพักฟรี บางคนได้รับได้รับเงินช่วยเหลือจากการโดนพัก
งาน

ประเด็นการปรับตัวทางด้านสาธารณสุข พบว่า ทั้งแรงงานกัมพูชาและแรงงาน
เมียนมาร์ แบ่งประเด็นการปรับตัวได้ 7 ประเด็น คือ 1. ได้รับข่าวสารโซเชียลมีเดีย
2. ได้รบั ข่าวสารจากดูทวี ี 3. คนรอบขา้ งบอกเกี่ยวกับสถานการณ์โควิด-19 4. เลอื กท่ีจะไป
ซื้อยาทานมากกว่าไปโรงพยาบาลหากมีอาการไม่สบายในช่วงสถานการณ์โควิด -19
5. เลือกไปโรงพยาบาลมากกวา่ ซ้ือยาเพ่ือไปตรวจสขุ ภาพในชว่ งสถานการณ์โควดิ -19 6. ไม่
ไปทั้งโรงพยาบาลและไปซ้ือยา 7.การดูแลตัวเอง โดยรายละเอียดมีดังน้ี 1. ได้รับข่าวสาร
โซเชียลมีเดีย: เนื่องจากแรงงานจะเล่นโทรศัพท์หลังจากการทางานทาให้สามารถรับรู้
ข่าวสารเก่ียวกับโควิด-19 ผ่านช่องทาง Facebook Youtube 2. ได้รับข่าวสารจากดูทีวี:
เนอ่ื งจากแรงงานไม่ไดเ้ ล่นโซเชียล แต่มที ีวีทบี่ ้านทาให้ร้ขู ่าวสารจากทวี ีแทน 3. คนรอบข้าง
บอกเกี่ยวกับสถานการณ์โควิด-19: เนื่องจากทางานเป็นลูกเรือประมงส่วนใหญ่จะไม่เล่น
โทรศัพท์ทาให้ได้รู้ข่าวสารจากเพ่ือน ๆ แทน 4. เลือกท่ีจะไปซื้อยาทานมากกว่าไป
โรงพยาบาลหากมีอาการไม่สบายในช่วงสถานการณ์โควิด-19: เนื่องจากสะดวก ปลอดภัย
กว่าโรงพยาบาลเพราะโรงพยาบาลคนเยอะ และทาใหไ้ ม่เสียงานเพราะและทาให้ไม่เสียงาน
เพราะถ้าไปโรงพยาบาลจะต้องใช้เวลานาน 5. เลือกไปโรงพยาบาลมากกว่าซ้ือยาเพ่ือไป
ตรวจสุขภาพในช่วงสถานการณ์โควิด-19: เน่ืองจากแรงงานจะใช้บัตรประกันสังคมในการ
รักษาพยาบาล สาหรับแรงงานที่ไม่ได้ใช้บัตรประสังคมในการรักษาก็จะใช้บัตรประกัน
สุขภาพแทน 6. ไม่ไปท้ังโรงพยาบาลและไปซ้ือยา: เน่ืองจากร่างกายท่ีแข็งแรงทาให้ไม่

71

จาเป็นต้องได้รับการรักษา 7.การดูแลตัวเอง: ท้ังใส่หน้ากาก ล้างมือ เว้นระยะห่าง และไม่
ไปในสถานทีท่ ีค่ นเยอะ ๆ จะไปแค่ตลาดเพอื่ ซือ้ กบั ข้าวแลว้ จะกลบั ที่พักเลย

ข้อเสนอแนะ

ข้อเสนอแนะในการนาผลการวจิ ยั ไปใช้
1. รัฐควรมีการติดตามแรงงานข้ามชาติอย่างต่อเน่ือง และรัฐควรมีการช่วยเหลือ

ท้ังทางด้านกฎหมาย ด้านสังคม ด้านสาธารณสุข และด้านเศรษฐกิจ เพื่อให้แรงงานข้าม
ชาตมิ ีการปรบั ตวั นอ้ ยทส่ี ุด

2. ควรทาการพูดคุยระหว่างภาครัฐกับแรงงานข้ามชาติ ภาคเอกชนกับแรงงาน
ข้ามชาติ ภาครัฐกับภาคเอกชน และแรงงานข้ามชาติด้วยกันเองเก่ียวกับการปรับตัวท่ีเกิด
ข้ึนกับแรงงานข้ามชาติ อีกท้ังควรทาความเข้าใจแรงงานข้ามชาติ เพื่อสะท้อนให้เห็นว่า
ปัญหาที่เกิดขึ้นกับแรงงานข้ามชาติมีอะไร อะไรที่ยังขาด หรือเกิน เพื่อให้เกิดความสมดุล
กับแรงงานข้ามชาติ

ขอ้ เสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป
1. ควรทาการศึกษาเก่ียวกับการช่วยเหลือของภาครัฐ และภาคเอกชนท่ีเข้ามา

ช่วยเหลือแรงงานข้ามชาติในสถานการณ์โควิด-19 เพื่อท่ีแรงงานข้ามชาติจะได้รับการ
ช่วยเหลือจากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ได้อยา่ งเตม็ ที่

2. ควรทาการศึกษาเก่ียวกับคุณภาพชีวิตของแรงงานข้ามชาติในสถานการณ์โค
วิด-19 เพื่อสะท้อนให้เห็นว่าชีวิตของข้ามชาติในสถานการณ์โควิด-19 ใช้ชีวิตอย่างไร
เหมอื นหรือแตกต่างกนั กอ่ นท่จี ะมีโควิด-19

72

เอกสารอ้างองิ

กันยปริณ ทองสามสี อิสระ ทองสามสี และณรรช หลักชัยกุล. (2563). ปจั จยั ท่สี ง่ ผลตอ่
การคมุ้ ครองแรงงานข้ามชาติตามสทิ ธิกองทุนประกันสังคมและกองทนุ เงนิ
ทดแทน. วารสารมหาวทิ ยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนษุ ยศาสตร์และ
สงั คมศาสตร์, 7(2), 81.

กรมการจัดหางาน. (2563). ตลาดแรงงานหลังวิกฤต Covid-19. วารสารจัดหางานโคราช,
3(11/2563), 6.

เจษฎา นกน้อย และวรรณกรณ์ บรพิ นั ธ์. (2557). คุณภาพชีวติ การทางานของแรงงานข้าม
ชาตทิ ท่ี างานในสถานประกอบการจงั หวดั สงขลา. วารสารปารชิ าต มหาวิทยาลัย
ทกั ษัณ, 27(3), 246-247.

ณษิ าอร พหิ สู ตู ร ณภคั อร ปณุ ยภาภสั สร และภัทรี ฟรีสตัด. (2562). พัฒนารูปแบบการ
สง่ เสรมิ สุขภาพแรงงานข้ามชาตทิ ีไ่ ดร้ ับอนุญาตให้เขา้ มาอยู่ในราชอาณาจักรเปน็
กรณีพเิ ศษสาหรับสัญชาติ เมียนมาร์ ลาว และกัมพชู าในภาคตะวนั ออกของ
ประเทศไทย. วารสารสมาคมนกั วิจยั , 24(3), 175-176.

ทรงชัย ทองปาน. (2563). “องค์ความรวู้ ่าดว้ ยแรงงานข้ามชาตกิ ับสขุ ภาพ”: ผลจากการ
สงั เคราะห์งานวิจัยว่าดว้ ยแรงงานขา้ มชาติในประเทศไทย. วารสารสุขศึกษา,
43(2), 3.

บัญชา เกิดมณี และคณะ. (2563). แนวคิดและทิศทางการแกป้ ญั หาโควดิ -19. วารสารก้าว
ทันโลกวทิ ยาศาสตร,์ 20(1), 9-11.

พระราชบัญญตั ิคมุ้ ครองแรงงาน (ฉบับท่ี 7). (2562 เมษายน 5). ราชกจิ จานุเบกษา.
เล่ม 136 ตอนท่ี 43 ก. 21-29.

รุง่ อรุณ กระแสรส์ นิ ธุ์ และคณะ. (2563). การปรบั ตัวของแรงงานข้ามชาตชิ าวพมา่ ของ
สถานประกอบการในเขตอตุ สาหกรรมจงั หวดั สมทุ รสาคร. วารสารเครอื ขา่ ย
ส่งเสรมิ การวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร,์ 3(2), 72-73.

73

วลั ภา ทบั สุวรรณ. (2559). การนาการค้ามนษุ ยด์ ้านแรงงานมาเปน็ เง่ือนไขในการค้า
ระหว่างประเทศของประเทศสหรฐั อเมรกิ าที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย.
(วิทยานพิ นธป์ รญิ ญามหาบณั ฑติ ). มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร,์ กรุงเทพมหานคร.

วรรณรัตน์ ศรสี ุกใส. (2559). การพัฒนาสวสั ดกิ ารแรงงานเพ่ือรองรับยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี
(พ.ศ. 2560-2579). ค้นจาก http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/doc_pr/
ndc_25602561/PDF/8507s/%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A1.pdf

ศนู ยอ์ ภบิ าลผเู้ ดนิ ทางทะเลสงขลา. (2558). คณะกรรมการคาทอลิกเพ่ือการอภบิ าลสังคม
แผนกผู้ท่องเทย่ี วผเู้ ดินทางทะเล Stella Maris. [เอกสาร]. สงขลา: ศนู ยอ์ ภิบาล
ผเู้ ดนิ ทางทะเลสงขลา.

ศนู ย์อภิบาลผู้เดินทางทะเลสงขลา. (2558). บทบาทหนา้ ทฝ่ี ่ายงานต่าง ๆ ตามโครงสร้าง.
[เอกสาร]. สงขลา: ศนู ยอ์ ภบิ าลผเู้ ดินทางทะเลสงขลา.

ศูนย์อภิบาลผ้เู ดนิ ทางทะเลสงขลา. (2558). แผนผงั องค์กร. [เอกสาร]. สงขลา:
ศูนย์อภบิ าลผเู้ ดนิ ทางทะเลสงขลา.

สนิท สตั โยภาส. (2559). แรงงานงานต่างด้าวกบั ความมั่งคงทางสังคม. วารสารบณั ฑิตวจิ ยั ,
7(1), 203.

สานกั วชิ าการ สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2561). การบรหิ ารแรงงานขา้ มชาติ
ในประเทศไทย. ค้นจาก https://library2.parliament.go.th/ejournal/
content_af/2561/dec2561-4.pdf

สานกั งานท่าเรือประมงสงขลา. (ม.ป.ป.). ความเปน็ มา. ค้นจาก http://songkhla.
fishmarket.co.th/

องค์การอนามยั โลก. (2563). Coronavirus disease (COVID-19) questions and
answers. คน้ จาก https://www.who.int/thailand/emergencies/
novel-coronavirus-2019/q-a-on-covid-19

Coleman. (1981). Abnormal Psychology and Modern Life. New York:
Bombay.

74

Phra Pachhen Avudhdhammo (Suy). (2560). สภาพชวี ติ ของแรงงานกัมพชู า
ในเขตปทุมธานี. (วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ ). มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, กรงุ เทพมหานคร.

75

บุคลานุกรม

กูชิ (นามสมมติ) (แรงงานเมียนมาร)์ (ผ้ใู ห้สัมภาษณ)์ . นางสาวสารีปะ อุเซ็ง ผสู้ มั ภาษณ์.
ทา่ เทยี บเรือประมงใหมส่ งขลา ท่าสะอ้าน ตาบลบ่อยาง อาเภอเมือง
จังหวัดสงขลา. เมอ่ื วันที่ 24 มกราคม 2564.

โกย เฮง (นามสมมต)ิ (แรงงานกมั พชู า) (ผใู้ ห้สมั ภาษณ์). นางสาวสารปี ะ อเุ ซ็ง ผู้สมั ภาษณ.์
ทา่ เทียบเรือประมงใหมส่ งขลา ท่าสะอ้าน ตาบลบ่อยาง อาเภอเมอื ง
จงั หวดั สงขลา. เมื่อวนั ท่ี 18 มกราคม 2564.

ไก่ ซอและ (นามสมมต)ิ (แรงงานกัมพชู า) (ผูใ้ ห้สัมภาษณ์). นางสาวสารีปะ อุเซ็ง
ผู้สมั ภาษณ.์ ทา่ เทยี บเรือประมงใหมส่ งขลา ทา่ สะอ้าน ตาบลบอ่ ยาง อาเภอเมือง
จงั หวัดสงขลา. เม่อื วนั ที่ 16 มกราคม 2564.

โซ (นามสมมต)ิ (แรงงานเมียนมาร์) (ผูใ้ หส้ ัมภาษณ)์ . นางสาวสารปี ะ อุเซง็ ผสู้ มั ภาษณ์.
ท่าเทียบเรือประมงใหมส่ งขลา ทา่ สะอ้าน ตาบลบ่อยาง อาเภอเมือง
จงั หวัดสงขลา. เม่อื วันท่ี 24 มกราคม 2564.

โจ้ (นามสมมต)ิ (แรงงานเมยี นมาร์) (ผ้ใู ห้สมั ภาษณ์). นางสาวสารปี ะ อเุ ซง็ ผ้สู ัมภาษณ.์
ชุมชนโคกไร่ หมทู่ ่ี 8 ตาบลพะวง อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา. เมือ่ วันท่ี 21
มกราคม 2564.

ตินสด (นามสมมติ) (แรงงานกัมพูชา) (ผู้ให้สมั ภาษณ์). นางสาวสารปี ะ อเุ ซง็ ผสู้ ัมภาษณ.์
ท่าเทยี บเรือประมงใหมส่ งขลา ทา่ สะอ้าน ตาบลบ่อยาง อาเภอเมือง
จงั หวดั สงขลา. เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2564.

ตู (นามสมมติ) (แรงงานเมยี นมาร)์ (ผใู้ ห้สัมภาษณ์). นางสาวสารีปะ อเุ ซ็ง ผู้สัมภาษณ์.
ทา่ เทียบเรือประมงใหม่สงขลา ท่าสะอ้าน ตาบลบ่อยาง อาเภอเมือง
จังหวัดสงขลา. เม่ือวนั ท่ี 24 มกราคม 2564.

เตียว ไหวเย็ด (นามสมมติ) (แรงงานกมั พูชา) (ผู้ให้สัมภาษณ)์ . นางสาวสารีปะ อุเซ็ง
ผู้สัมภาษณ.์ ทา่ เทยี บเรือประมงใหมส่ งขลา ท่าสะอ้าน ตาบลบอ่ ยาง อาเภอเมือง
จงั หวดั สงขลา. เมอ่ื วนั ที่ 16 มกราคม 2564.

76

เท พอม (นามสมมติ) (แรงงานกัมพชู า) (ผใู้ ห้สมั ภาษณ์). นางสาวสารีปะ อุเซ็ง ผู้สมั ภาษณ.์
ท่าเทยี บเรือประมงใหมส่ งขลา ทา่ สะอ้าน ตาบลบอ่ ยาง อาเภอเมอื ง
จังหวดั สงขลา. เมือ่ วนั ที่ 16 มกราคม 2564.

ไทลนี (นามสมมติ) (แรงงานเมยี นมาร์) (ผใู้ หส้ มั ภาษณ)์ . นางสาวสารปี ะ อุเซง็ ผสู้ มั ภาษณ์.
ชมุ ชนกโู บร์ ตาบลบ่อยาง อาเภอเมอื ง จงั หวดั สงขลา. เมื่อวันท่ี 24 มกราคม
2564.

มาซีตอห์ (นามสมมต)ิ (แรงงานกัมพูชา) (ผ้ใู หส้ ัมภาษณ์). นางสาวสารปี ะ อเุ ซง็
ผู้สมั ภาษณ.์ ทา่ เทียบเรือประมงใหม่สงขลา ท่าสะอา้ น ตาบลบอ่ ยาง อาเภอเมือง
จงั หวัดสงขลา. เมื่อวนั ท่ี 15 มกราคม 2564.

มาไล (นามสมมต)ิ (แรงงานกัมพชู า) (ผใู้ หส้ ัมภาษณ์). นางสาวสารีปะ อเุ ซง็ ผสู้ มั ภาษณ์.
ทา่ เทียบเรือประมงใหม่สงขลา ทา่ สะอ้าน ตาบลบ่อยาง อาเภอเมอื ง
จงั หวัดสงขลา. เมือ่ วันท่ี 14 มกราคม 2564.

มโี จ้ (นามสมมต)ิ (แรงงานเมียนมาร)์ (ผู้ให้สมั ภาษณ์). นางสาวสารีปะ อเุ ซ็ง ผู้สัมภาษณ์.
ชมุ ชนกโู บร์ ตาบลบ่อยาง อาเภอเมือง จังหวดั สงขลา. เมื่อวันท่ี 24 มกราคม
2564.

โม้ (นามสมมติ) (แรงงานเมียนมาร)์ (ผ้ใู ห้สมั ภาษณ)์ . นางสาวสารปี ะ อเุ ซง็ ผสู้ ัมภาษณ.์
ท่าเทียบเรือประมงใหมส่ งขลา ท่าสะอ้าน ตาบลบ่อยาง อาเภอเมอื ง
จงั หวดั สงขลา. เมือ่ วนั ที่ 24 มกราคม 2564.

เล (นามสมมต)ิ (แรงงานเมียนมาร)์ (ผใู้ หส้ มั ภาษณ)์ . นางสาวสารปี ะ อุเซ็ง ผ้สู มั ภาษณ์.
ชมุ ชนโคกไร่ หมู่ที่ 8 ตาบลพะวง อาเภอเมอื ง จังหวดั สงขลา. เมื่อวนั ท่ี 21
มกราคม 2564.

วนิ วงศ์ (นามสมมต)ิ (แรงงานกัมพชู า) (ผู้ใหส้ ัมภาษณ์). นางสาวสารปี ะ อุเซง็ ผสู้ ัมภาษณ์.
ทา่ เทียบเรือประมงใหมส่ งขลา ท่าสะอ้าน ตาบลบอ่ ยาง อาเภอเมือง
จงั หวดั สงขลา. เมือ่ วนั ที่ 16 มกราคม 2564.

77

สมอน งอน (นามสมมต)ิ (แรงงานกมั พชู า) (ผูใ้ ห้สมั ภาษณ์). นางสาวสารปี ะ อุเซง็
ผสู้ มั ภาษณ์. ท่าเทียบเรือประมงใหม่สงขลา ทา่ สะอา้ น ตาบลบ่อยาง อาเภอเมือง
จงั หวดั สงขลา. เม่อื วนั ท่ี 16 มกราคม 2564.

สีมะ (นามสมมต)ิ (แรงงานกมั พูชา) (ผใู้ หส้ ัมภาษณ)์ . นางสาวสารปี ะ อเุ ซ็ง ผ้สู ัมภาษณ์.
ท่าเทียบเรือประมงใหม่สงขลา ท่าสะอ้าน ตาบลบอ่ ยาง อาเภอเมอื ง
จงั หวดั สงขลา. เมอ่ื วนั ที่ 14 มกราคม 2564.

สุ (นามสมมติ) (แรงงานเมียนมาร์) (ผู้ให้สัมภาษณ)์ . นางสาวสารีปะ อุเซง็ ผสู้ มั ภาษณ์.
ชมุ ชนโคกไร่ หมทู่ ่ี 8 ตาบลพะวง อาเภอเมอื ง จังหวดั สงขลา. เมือ่ วันที่ 21
มกราคม 2564.

อ้าว (นามสมมติ) (แรงงานเมียนมาร์) (ผใู้ ห้สัมภาษณ)์ . นางสาวสารีปะ อุเซง็ ผสู้ ัมภาษณ.์
ทา่ เทยี บเรือประมงใหม่สงขลา ท่าสะอ้าน ตาบลบอ่ ยาง อาเภอเมือง
จังหวดั สงขลา. เมอ่ื วันท่ี 24 มกราคม 2564.

รายงานวจิ ยั เรอื ง

การปรบั ตัวของแรงงานขา้ มชาติ

จงั หวดั สงขลา ในชว่ งสถานการณโ์ ควดิ -19

สารปี ะ อุเซง็
อลิสา หะสาเมาะ

สาขาวชิ าพฒั นาสงั คม
คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตตานี

พฤษภาคม 2564


Click to View FlipBook Version