The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการเรียนบทครูสอน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ธวัชชัย กันตังกุล, 2022-12-08 12:46:23

เอกสารประกอบการเรียนบทครูสอน

เอกสารประกอบการเรียนบทครูสอน

นวตั กรรมทางการศกึ ษา
เอกสารประกอบการเรียนนาฏศิลป์พนื้ บา้ น

โนราบทครสู อน
สำหรับนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6

นายธวชั ชัย กนั ตงั กลุ
รหสั นกั ศึกษา 641120014

สาขาวชิ านาฏศลิ ป์ คณะครศุ าสตร์

มหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช
2565



คำนำ

เอกสารประกอบการเรียนรำโนราบทครูสอน ฉบับนจี้ ดั ทำขึ้นโดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่ือใชเ้ ป็นสื่อการ
เรียนการสอนการแสดงพ้ืนบ้านโนราของนักเรียน ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ตลอดทั้งผสู้ นใจใฝ่เรียนรู้ที่
ตอ้ งการพัฒนาทักษะการแสดงโนรา

สาระสำคัญของเอกสารประกอบด้วย ประวัติหรือตำนานโนราองค์ประกอบของโนราเคร่ืองแต่ง
กาย ดนตรี บทร้องและเพลง ผู้แสดง สถานที่แสดง ท่ารำ ความเช่ือและพิธีกรรม โอกาสท่ีใช้ในการแสดง
แบบฝกึ หดั กอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น คำถามทบทวน

ขอขอบคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีรวัฒน์ ช่างสาน อาจารย์ประจำวิชาการแสดงโนรา ท่ีชี้แนะ
การพัฒนาเอกสารจนสมบูรณ์เป็นสอ่ื ท่ีดีมปี ระโยชน์ ขอบคุณศิลปินโนรากลอยใจดาวรุง่ ที่เสียสละเวลามา
เป็นวทิ ยากรแนะนำการแสดงโนราที่ถูกตอ้ งตามแบบฉบับ ขอบคุณเพอื่ น ๆ น้อง ๆ สาขาวิชานาฏศิลปท์ ุก
คนท่เี ป็นกำลงั ใจในการพัฒนาสรา้ งผลสมั ฤทธิท์ ด่ี ีของงานเอกสารครั้งน้ี จึงขอขอบคณุ มา ณ โอกาสนี้

นายธวชั ชยั กันตงั กุล
1/ธันวาคม/2565

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครูสอน ข

สารบญั

เรือ่ ง หนา้
คำนำ............................................................................................................................................... ก
สารบัญ............................................................................................................................................ ข
สารบญั ภาพ..................................................................................................................................... ค
คำช้ีแจงการใช้เอกสาร..................................................................................................................... จ
กระดาษคำตอบ............................................................................................................................... 3
สาระการเรียนรู้............................................................................................................................... 1
จดุ ประสงค์การเรยี นร้.ู ..................................................................................................................... 1
วิธีสอนและกจิ กรรมการเรียนการสอน............................................................................................. 1
สื่อการเรียนการสอน....................................................................................................................... 1
การวดั ผลประเมนิ ผล...................................................................................................................... 2
แบบทดสอบก่อนเรยี น.................................................................................................................... 4
โนราบทครูสอน.............................................................................................................................. 7
ประวตั โิ นรา........................................................................................................................... 7
องค์ประกอบชุดการแสดง..................................................................................................... 7
ผู้แสดง.................................................................................................................................. 7
เพลงประกอบการแสดง......................................................................................................... 8
เครอื่ งแตง่ กาย........................................................................................................................ 9
เครื่องดนตร.ี ........................................................................................................................... 17
ทา่ รำโนราบทครูสอน............................................................................................................. 20
สรุป............................................................................................................................................... 37
คำถามทบทวน.............................................................................................................................. 38
แบบฝึกหดั ที่ 1 เรือ่ งโนราบทครสู อน..................................................................................... 38
แบบฝกึ หดั ท่ี 2 เรื่องเพลงประกอบการแสดง......................................................................... 39
แบบฝกึ หัดที่ 3 เร่อื งองคป์ ระกอบของการแสดง.................................................................... 40
แบบฝกึ หดั ท่ี 4 เรอื่ งทา่ รำ...................................................................................................... 41
แบบทดสอบหลังเรียน............................................................................................................ 42
บรรณานกุ รม............................................................................................................................... 45
ภาคผนวก................................................................................................................................... 47

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครสู อน ค

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หน้า
ภาพที่ 1 ผูแ้ สดงบทสอนรำ..................................................................................................................... 8
ภาพท่ี 2 เทริด......................................................................................................................................... 9
ภาพที่ 3 ชุดลกู ปัดมโนราห์..................................................................................................................... 10
ภาพที่ 4 บา่ ............................................................................................................................................ 11
ภาพที่ 5 ปงิ้ คอ....................................................................................................................................... 11
ภาพท่ี 6 รอบอก.................................................................................................................................... 12
ภาพที่ 7 ปกี นกแอน............................................................................................................................... 12
ภาพท่ี 8 ทบั ทรวง.................................................................................................................................. 13
ภาพท่ี 9 ปกี หรือหางหงส์...................................................................................................................... 13
ภาพท่ี 10 ผา้ นุ่ง.................................................................................................................................... 14
ภาพที่ 11 สนบั เพลา............................................................................................................................. 14
ภาพท่ี 12 ผา้ ห้อย................................................................................................................................. 15
ภาพที่ 13 หน้าผา้ ................................................................................................................................. 15
ภาพที่ 14 กำไลตน้ แขน......................................................................................................................... 16
ภาพท่ี 15 กำไล.................................................................................................................................... 16
ภาพที่ 16 เลบ็ ...................................................................................................................................... 17
ภาพท่ี 17-23เครอ่ื งดนตรีโนรา......................................................................................................... 17-18
ภาพท่ี 20-36 ทา่ รำบทครูสอน......................................................................................................... 20-36



คำช้ีแจงการใช้เอกสารประกอบการเรยี น
เรือ่ ง โนราบทครูสอน สำหรบั นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2

1. นกั เรียนตอ้ งมีความซ่อื สตั ย์ต่อตนเอง โดยต้องปฏบิ ตั ิตามคำสั่งของครูอย่างเคร่งครัด
2. เอกสารเร่ืองโนราบทครูสอน เปน็ เอกสารท่ีมีความสมบรู ณ์ในเล่ม นักเรียนต้องทำความเข้าใจ
กับคำชี้แจง ตรวจสอบวัตถุประสงค์ ตรวจสอบสาระสำคัญ ทำแบบฝึกหัดก่อนเรียน แล้วจึงศึกษาสาระใน
เล่มท้ังหมด อ่านสรุป และทำคำถามทบทวนที่มีในเล่มทุกคร้ัง ทำแบบทดสอบหลังเรียนอย่างมีสมาธิและ
เขา้ ใจ
3. นักเรียนตอ้ งอา่ นหนงั สอื ทกุ หนา้ เพ่ือทำความเขา้ ใจ หากมขี ้อสงสัยให้ถามครู
4. นักเรียนปฏิบัติตามกิจกรรมอย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งแบบทดสอบก่อนเรียน/หลัง
เรียน นักเรยี นจะตอ้ งมีความซ่ือสัตยโ์ ดยจะตอ้ งทำดว้ ยตนเองอยา่ งเครง่ ครัด
5. เม่ือนักเรียนเรียนและทำกิจกรรมในเล่มเสร็จ จะต้องเก็บเอกสารประกอบการเรียนส่งครูเพ่ือ
จะไดบ้ นั ทกึ คะแนน
6. หากนักเรียนอ่านคำถามในกิจกรรมไม่เข้าใจจะต้องตรวจสอบกับคุณครูเท่าน้ัน โดยไม่ถาม
เพ่ือน

1

สาระการเรยี นรู้

สาระสำคัญของเอกสารประกอบการเรียน เรอื่ ง โนรา มดี ังนี้
1.ความหมาย
2.ประวตั โิ นราบทครูสอน
3.องคป์ ระกอบของโนรา
3.1. เครอื่ งแตง่ กาย
3.2. ดนตรี
3.3. บทรอ้ งและเพลง
3.4. ผ้แู สดง
3.5. สถานท่แี สดง
3.6. ทา่ รำ
4.ความเชอ่ื และพิธกี รรม
5.โอกาสที่ใช้ในการแสดง

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. นกั เรยี นบอกความหมายของโนราบทครสู อนไดถ้ กู ตอ้ ง
2. นกั เรยี นสามารถร้อง และรับบทร้องโนราบทครูสอนไดถ้ ูกตอ้ ง
3. นกั เรยี นบอกท่ารำโนราบทครสู อนได้ถกู ตอ้ ง
4. นกั เรยี นปฏิบัตทิ า่ รำโนราบทครสู อนไดถ้ ูกต้อง

วธิ สี อนและกจิ กรรมการเรยี นการสอน

1. วิธีสอน
วธิ ีสอนมีการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยใช้วิธีการสอนที่หลากหลายมีการจัดการเรียน

การสอนแบบอธิบาย อภิปรายและการฝึกปฏิบัติ การทำงานกลุ่ม ทำแบบทดสอบก่อนเรียน / หลังเรียน
และการทำแบบฝึกหดั ทา้ ยบท

2. กิจกรรมการเรียนการสอน
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประจำบทนี้ผู้สอนต้องใชป้ ระกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่

1-2 จากคู่มือการใช้นวตั กรรมเอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครสู อน

ส่ือการเรยี นการสอน

1. คมู่ ือการใชเ้ อกสารประกอบการ
2. เอกสารประกอบการเรยี น

เอกสารประกอบการเรียนรำโนราบทครสู อน 2

การวดั ผลและประเมนิ ผล

กระบวนการวดั ผลประเมินผล
1. วิธกี าร
1.1 สังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
1.2 สังเกตพฤติกรรมรายกลมุ่
1.3 ตรวจแบบฝกึ หัด
1.4 ทดสอบกอ่ นเรียน / หลงั เรียน
2. เครื่องมือ
2.1 แบบประเมนิ พฤตกิ รรมรายบุคคล
2.2 แบบประเมนิ พฤติกรรมรายกลมุ่
2.3 แบบเฉลยแบบฝกึ หดั ท้ายบทที่ 1
2.4 แบบทดสอบกอ่ นเรียน / หลงั เรียน
2.5 แบบเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน / หลงั เรยี น
3. เกณฑก์ ารวดั ผลประเมินผล
3.1 ทำแบบทดสอบผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 80
3.2 ทำแบบฝกึ หัดผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 80

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครูสอน 3

กระดาษคำตอบ

โรงเรยี น......................................................................ปกี ารศกึ ษา...........................
ชอ่ื ..........................................................................ชน้ั ...................เลขท่.ี ...............
กลมุ่ สาระการเรยี นร้.ู ....................วนั ท่ี..............เดือน...................พ.ศ..................

ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
16
27
38
49
5 10

ประเมินผล
เตม็

ได้

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครสู อน 4

แบบทดสอบก่อนเรียน

กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ สาระนาฏศิลป์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6

เรอ่ื งโนราบทครสู อน รหัสวิชา ............ เวลา 20 นาที คะแนน 10 คะแนน

**********************************************************************************

คำชแ้ี จง : ให้นักเรยี นเลือกคำตอบที่ถูกที่สดุ แลว้ ทำเครอ่ื งหมาย (×) ลงในกระดาษคำตอบ

1. โนราบทครสู อน มคี วามหมายตามข้อใด

ก. เปน็ บทพืน้ ฐานในการรำโนรา ท่อี ธบิ ายการสอนของครู เชน่ ครูสอนผูกผ้า ครสู อนรำโนรา

ข. เป็นบทครชู ั้นต้น ของโนราทม่ี กี ารผสมทา่ ทาง มกี ารร้องรบั อย่างฉับไว

ค. เป็นบทครูขนั้ ปฐม มกี ารใช้ทา่ รำทยี่ ากข้ึน ทั้งท่าน่งั รำ ท่ายนื รำ มีการร้องรับของลกู คู่

ง. บทครูสอน เป็นบทเเรกเร่ิมในการรำโนรา มีท่ารำทน่ี ั้งรำและยนื รำ

จ. บทครูสอน มกี ารสอนของครูในเรือ่ ง ระดับของมอื เช่น รำเทยี มบ่า รำเทียบพก

2. ข้อใดถือเปน็ ลักษณะเด่นของโนราบทครสู อน ท่ีชัดทสี่ ดุ

ก. มีลกั ษณะคลา้ ยกบั แมบ่ ทใหญ่ ของภาคกลาง

ข. มีการรอ้ งของตน้ เสยี ง และการร้องรับของลกู คู่

ค. เนือ้ ร้องกล่าวถงึ ครูสอน การสอนของครู

ง. กลา่ วถึง นางกนิ รี เทพเทวา ในป่าหมิ พาน

จ. มีการยกวรรณคดีมาประกอบ เช่น อนุมาน

3. คำร้องเร่ิมต้นบทครสู อน ขน้ึ ตน้ ด้วยคำว่าอะไร

ก. ครูเจา้ เอย๋ ครสู อน สอดเยอ้ื งกอ่ นต่องา

ข. ครูสอนใหร้ ำ เทียมบ่า

ค. ครสู อนให้ผกู ผ้า สอนขา้ ให้ทรงกำไล

ง. สอนครอบเทรดิ น้อย รำจับสรอ้ ยพวงมาลยั

จ. สอนเจา้ เอน๋ สอนรำ

4. เม่อื ตน้ เสยี งรอ้ งว่า " ครสู อนใหท้ รงกำไล ใสแขนซ้าย แขนขวา " ลกู คจู่ ะร้องรบั ว่าอะไร

ก. ออวา่ สอดทรงกำไล ใสแขนซ้าย แขนขวา นอ้ งเอ๋ย แขนซ้าย แขนขวาละน้อง สอดทรงกำไล

ใสแขนซา้ ย แขนขวา

ข. สอดทรงกำไล ใสแขนซ้าย แขนขวา

ค. สอดทรงกำไล ใสแขนซ้าย แขนขวา นอ้ งเอ๋ย แขนซ้าย แขนหวา

ง. สอนทรงกำไล ใสแขนซา้ ย แขนขวา นน้ั แหละแขนซา้ ยแขนขวาละนอ้ ง แขนซา้ ย แขนขวา

สอดทรงกำไล ใสแขนซ้าย แขนขวา

จ. ข้อ 1 และ ข้อ 4

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครสู อน 5

5. จากภาพ เป็นทา่ รำ ทต่ี รงกับคำร้องใด
ก. ครสู อนใหท้ รงกำไล
ข. สอนครอบเทรดิ นอ้ ย
ค. ครูสอนใหผ้ กู ผา้
ง. สอดเยื้องข้างซา้ ย
จ. ตนี ถบี พนัก

6. จากภาพ เป็นท่ารำ ท่ีตรงกบั คำรอ้ งใด
ก. ครูสอนใหท้ รงกำไล
ข. สอนครอบเทริดน้อย
ค. ครูสอนให้ผกู ผา้
ง. สอดเยือ้ งขา้ งซา้ ย
จ. ตีนถบี พนัก

7. จากภาพ เป็นทา่ รำ ทตี่ รงกบั คำรอ้ งใด
ก. ครูสอนให้ทรงกำไล
ข. สอนครอบเทริดนอ้ ย
ค. ครสู อนให้ผกู ผ้า
ง. สอดเยอื้ งขา้ งซา้ ย
จ. ตนี ถบี พนัก

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครูสอน 6

8. ทา่ สอดเดอื้ ง เย้ืองข้างขวา ปฏิบัติอย่างไร
ก. นัง่ ขัดสมาท เข่าขวาทับเขา่ ซา้ ย มอื ทง้ั สองพนมมอื ระดบั อก หน้าตรง มอื ท้งั สองแบมือแยก
จากกนั ยกไว้ระดบั ศรี ษะ หนา้ ตรง
ข. น่งั ขดั สมาท เขา่ ขวาทับเขา่ ซา้ ย มอื ทัง้ สองพนมมอื ระดับอก หนา้ ตรงมอื ท้ังสองจีบปรกหนา้
ค. ดงึ มอื จบี ทง้ั สองลงมาระดับสะเอว แล้วม้วนจีบปล่อยเปน็ วงบวั บาน (วงเขาควาย) หนา้ ตรง
ง. นง่ั คุกเข่าซ้าย ลาดเข่าขวาไปด้านขา้ ง มือซา้ ยม้วนมือจีบปล่อยเป็นวงบน มอื ขวาจบี หงายแขน
ตงึ วางบนเขา่ ขวา เอียงซ้าย
จ. นั่งคกุ เขา่ ขวา ลาดเข่าซ้ายไปดา้ นหนา้ มอื ขวาม้วนมอื จีบปลอ่ ยเป็นวงบน มือซ้ายจบี หงายแขน
ตงึ วางบนเข่าซา้ ย เอียงขวา

9. ท่า ตนี ถบี พะนกั ปฏิบัตอิ ย่างไร
ก. นัง่ ขัดสมาท เขา่ ขวาทับเขา่ ซ้าย มือทง้ั สองพนมมอื ระดับอก หนา้ ตรง มอื ท้ังสองแบมอื แยก
จากกนั ยกไว้ระดบั ศีรษะ หน้าตรง
ข. น่ังขัดสมาท เข่าขวาทับเขา่ ซา้ ย มอื ทั้งสองพนมมอื ระดับอก หน้าตรงมือทัง้ สองจบี ปรกหนา้
ค. ดึงมือจีบทั้งสองลงมาระดับสะเอว แล้วมว้ นจบี ปลอ่ ยเป็นวงบัวบาน (วงเขาควาย) หน้าตรง
ง. นั่งคุกเขา่ ซ้าย ลาดเขา่ ขวาไปดา้ นข้าง มอื ซา้ ยม้วนมือจบี ปลอ่ ยเป็นวงบน มอื ขวาจีบหงายแขน
ตงึ วางบนเข่าขวา เอยี งซ้าย
จ. นั่งคกุ เขา่ ขวา ลาดเขา่ ซ้ายไปดา้ นหนา้ มอื ขวาม้วนมอื จบี ปลอ่ ยเปน็ วงบน มอื ซ้ายจบี หงายแขน
ตึงวางบนเข่าซา้ ย เอยี งขวา

10. ทา่ สอนครอบเทริดน้อย ปฏิบัติอย่างไร
ก. นัง่ ขดั สมาท เขา่ ขวาทบั เข่าซา้ ย มอื ทั้งสองพนมมอื ระดับอก หนา้ ตรง มือทง้ั สองแบมอื แยก
จากกนั ยกไว้ระดับศรี ษะ หน้าตรง
ข. น่ังขัดสมาท เข่าขวาทบั เข่าซา้ ย มือท้งั สองพนมมอื ระดับอก หนา้ ตรงมอื ท้ังสองจบี ปรกหนา้
ค. ดงึ มือจีบทง้ั สองลงมาระดบั สะเอว แล้วม้วนจบี ปล่อยเปน็ วงบวั บาน (วงเขาควาย) หนา้ ตรง
ง. น่ังคกุ เขา่ ซา้ ย ลาดเขา่ ขวาไปดา้ นข้าง มือซา้ ยมว้ นมอื จบี ปล่อยเป็นวงบน มือขวาจบี หงายแขน
ตงึ วางบนเขา่ ขวา เอยี งซา้ ย
จ. นัง่ คกุ เข่าขวา ลาดเข่าซ้ายไปดา้ นหนา้ มอื ขวาม้วนมอื จีบปลอ่ ยเป็นวงบน มอื ซ้ายจบี หงายแขน
ตงึ วางบนเขา่ ซา้ ย เอยี งขวา

เอกสารประกอบการเรียนรำโนราบทครสู อน 7

รำโนราบทครูสอน

โนรา เป็นนาฏศิลป์พ้ืนบ้านของคนในภาคใต้ มีรูปแบบทางการแสดงประกอบด้วย การร้อง การ
รำ การเล่นเป็นเร่ืองราว โดยมีเคร่ืองดนตรีท่ีเป็นอัตลักษณ์เป็นเคร่ืองประโคม โนราบทครูสอน เป็นท่ารำ
เบ้ืองต้นสำหรับการฝึกหัดโนราของผู้สนใจเพื่อทำความเข้าใจและเตรียมตัวฝึกหัดเล่าเรียนในเบื้องต้น
สาระสำคัญของเอกสารประกอบการเรียนนี้ คือความหมาย ประวัติความเป็นมาของโนราบทครูสอน
องค์ประกอบของการแสดง โอกาสที่ใชแ้ สดง และท่ารำ ดังน้ี

ประวัตโิ นราบทครสู อน

โนราบทครูสอน โนราบทครูสอนเป็นท่ารำฝึกหัดเบื้องต้นของการรำโนรา ในท่าน่ังรำ สาระของ
ท่ารำอธิบายรูปแบบการสอนของคุณครูท่ีมุ่งส่ังสอนให้ลูกศิษย์ รู้จักลักษณะการแต่งกาย เน้ือหาของบท
ร้องจะกล่าวถึงครูสอนให้รู้จักเครื่อง แต่งกายโนรา เช่น การใส่เทริด การนุ่งผ้า การสวมกำไล นอกจากน้ี
ยังให้รายละเอียดเกี่ยวกับการยักเย้ืองท่ารำ ท้ังแขน ขา ข้อมืออย่างสวยงาม บทร้องจะประกอบด้วยการ
รอ้ งของตน้ เสียง และมกี ารรอ้ งรับของลกู คู่พรอ้ มกับการตที บั และกลองอย่างเร้าใจ (ธีรวัฒน์ 2565)

องคป์ ระกอบชดุ การแสดง

องคป์ ระกอบ หมายถงึ ส่งิ ตา่ ง ๆ ทใ่ี ช้ประกอบเปน็ สิ่งใหญ่ หรือ ส่วนของสิ่งตา่ ง ๆ ทเ่ี ป็นเครอื่ ง
ประกอบทำใหเ้ กดิ เปน็ รปู ขน้ึ ใหมโ่ ดยเฉพาะ (ราชบณั ฑติ ยสภา, 2554). ประกอบดว้ ย ผู้แสดง เพลงและ
ดนตรี เครอ่ื งแตง่ กาย และสถานที่แสดง ดงั น้ี

1. ผแู้ สดง
ผู้แสดง หมายถึง ผ้เู ล่นหรือผู้ร่วมในการละเลน่ หรือการแสดงต่างๆ ให้คนดู (ราชบณั ฑติ ยสภา,

2554). ผูแ้ สดงโนราบทครสู อนนี้ จะเปน็ นางรำประจำคณะ ในอดตี นั้นเรยี ก ผู้รำประเภทนว้ี า่ หวั จกุ โนรา
คือ นกั เรียนฝกึ หดั ใหม่ท่ียงั ไม่ได้ผ่านพิธีผูกผา้ ใหญ่ แต่คอยตดิ ตามคณะโนราไปยงั แหลง่ ตา่ ง ๆ ได้ จนอายุ
ครบบวชจึงจะทำพิธผี กู ผา้ ใหญ่เปน็ โนราใหญ่ตอ่ ไป
ผู้แสดง หมายถึง คนท่ีรับผิดชอบในการแสดงโนราทั้งการร้อง การ รำการแสดงเป็นเร่ืองราวบนเวทีในแต่
ละคร้งั ประกอบดว้ ย ตัวนายโรง ตัว นางรำ และตัวตลก ดงั นี้

1.1. ตัวนายโรง หมายถึง ตัวพระเอก เจ้าของคณะ หัวหน้าคณะผู้แสดงท่ีเป็นผู้นำของ
คณะโนรา ในอดีตใช้ผู้ชายแสดงล้วน จึงต้องมีรูปร่างท่ี เป็นผู้นำมีความรอบรู้จัดเจนใน
กระบวนการแสดงโนราอย่างชดั เจน

1.2. ตัวนางรำ หมายถึง ตัวนางโนราท่ีเป็นตัวประกอบในการรำ โนราแต่ละคร้ังในอดีต
ตัวนางรำมักเป็นตัวหัวจุกโนรา คือเด็กฝึกหัดรำโนรา ที่มีความสนใจ มีความสามารถในการรำมัก
เปน็ ตัวประกอบในการรำหมู่ ของการรำบทครูสอน บทสอนรำ บทปฐม และอน่ื ระยะตอ่ มาหัวจุก
โนรา เริม่ หมดไปจากสงั คม ปัจจบุ นั เรมิ่ มโี นราหญงิ เกิดขึน้

เอกสารประกอบการเรียนรำโนราบทครูสอน 8

1.3. ตัวตลก หมายถึง ผู้แสดงท่ีทำให้ผู้ชมขบขัน, โดยปริยาย หมายถึงผู้ท่ีคนอื่นหัวเราะ
เยาะการแสดงโนราจะมีตัวตลกท่ีใช้แสดงหลักคู่ กับการแสดงโนราคือ ตัวพรานเป็นตัวแสดงท่ี
สำคัญมีหลายบทบาท ทั้งเป็น ตัวตลกของคณะโนราและเป็นตัวบอกเร่ืองสำหรับทำการแสดงใน
แต่ละคร้ังอย่างไรก็ตามตัวตลกในบทบาทการแสดงของโนรามีตัวพราน 2 ลักษณะ คือ พราน
ผชู้ ายสวมหน้ากากสแี ดง และพรานผู้หญิงหรอื พรานเมยี สวม หนา้ กากสขี าวหรอื สีเน้ือ

ภาพที่ 1 ผแู้ สดงบทสอนรำ

ท่ีมา : ธวัชชัย กนั ตงั กุล : 2565 : ภาพถ่าย พฤษจกิ ายน : 12

2. เพลงและดนตรี

เพลงและดนตรี ของการแสดงโนราบทครูสอน จะให้รายละเอียดของสาระ 2 ประเด็น คือ

เพลง และดนตรี ดังน้ี

2.1 เพลง หมายถึง ถ้อยคำท่ีนักประพันธ์เรียงร้อยหรือเรียบเรียงขึ้น ซึ่งประกอบด้วย

เนื้อร้อง ทำนอง จังหวะ ทำให้เกิดความไพเราะสร้างความเพลิดเพลินให้แก่ผู้ฟัง เพลงที่ใช้

ประกอบการรำโนราบทครสู อนจะให้รายละเอียด 2 ลักษณะคอื เพลงทับเพลงโทน และบทร้อง

โนราบทครสู อน ดังนี้

2.1.1 เพลงทับเพลงโทน หมายถึง นัฏชนันท์ หนูพรหม 2565 เพลงทับเพลง

โทน คอื จังหวะหนึ่งในการทำบทโนรามีความเร้าอารมณ์ ครืน้ เครง ท้ังผู้รำและผรู้ บั บท ผู้

ที่จะเลน่ เพลงทับเพลงโทนได้ จะต้องมีพนื้ ฐานโนราบทครสู อนมากอ่ น

2.1.2 บทรอ้ งโนราบทครสู อน

ครูเอยครสู อน เสดื้องกรต่อง่า

ครูสอนเขยี นหนังสือ หารอื ครูสอนรำมโนราห์

ครสู อนให้ผูกผา้ สอนข้าทรงกำไล

ครสู อนครอบเทริดนอ้ ย รำจับสร้อยพวงมาลัย

ครูสอนให้ทรงกำไล สอดใส่แขนซา้ ยแขนขวา

รำท่าเสดอ้ื งเยอ้ื งข้างซา้ ย ตคี า่ ไดห้ า้ พระพารา

รำทา่ เสดอ้ื งเยือ้ งขา้ งขวา ตีคา่ ได้ห้าตำลึงทอง

เอกสารประกอบการเรียนรำโนราบทครูสอน 9

รำทา่ ตีนถบี พนกั สองมอื ชกั เอาแสงทอง

หาไหนใหไ้ ด้เสมือนนอ้ ง ทำนองพระเทวดา

2.2 ดนตรี หมายถึง เสยี งทจี่ ัดเรียงอย่างเปน็ ระเบียบ และมีแบบแผนโครงสร้าง เปน็ รปู แบบ
ของกิจกรรมเชิงศิลปะของมนุษย์ท่ีเกี่ยวข้องกับเสียงโดยดนตรีน้ันแสดงออกมาในด้านระดับเสียง (ซ่ึง
รวมถึงท่วงทำนองและเสียงประสาน) จังหวะ และคุณภาพเสียง (ความต่อเน่ืองของเสียง พื้นผิวของเสียง
ความดงั ค่อย) ดนตรีน้ันสามารถใชใ้ นด้านศิลปะหรือสุนทรียศาสตร์ การส่ือสาร ความบันเทิง รวมถึงใช้ใน
งานพิธีการต่างๆ (สกุ รี เจรญิ สุข,2561)
เคร่ืองแตง่ กาย

ราชบัณฑิตยสภา, (2545) “เคร่ือง” คือ ส่ิงสำหรับประกอบกันหรือ เป็นพวกเดียวกัน“แต่ง” คือ
จัดให้งาม “กาย”คือตัว ดังน้ัน “เคร่ืองแต่งกาย” จึงหมายถึงสิ่งสำหรับประกันจัดให้งามท่ีเก่ียวกับตัวของ
นักแสดง โนรา เชื่อกันว่าเครื่องแต่งกายโนราเป็นส่ิงของที่ขุนศรีศรัทธาได้รับพระราชทาน เป็นเคร่ืองต้น
อันมีเทริด กำไลแขน ป้ันเหน่งสังวาลพาดเฉียง 2 ข้าง ปีกนกแอ่น หางหงส์ สนับเพลา ธีรวัฒน์ ช่างสาน.
(2560). สรุปเครื่องแต่งกายโนราต้ังแตส่ มัย รัชกาลที่ 5 ถึงปัจจุบนั มี 3 แบบ คือ แบบเครื่องต้น แบบทรง
บวั และแบบเครื่องลูกปัด 5 ชนิ้ หรือเครอื่ งเตม็

1. เทริด เป็นเคร่ืองประดับศีรษะของตัวนาย โรงหรือโนราใหญ่หรือตัวยืนเคร่ือง(โบราณไม่นิยม
ในางรำใช)้ ทำเปน็ รปู มงกุฎอย่างเต้ยี มีกรอบหนา้ มี ดา้ ยมงคลประกอบ

ภาพที่ 2 เทริด
ที่มา : ธวชั ชัย กนั ตงั กลุ 2565 : ภาพถ่าย พฤษจิกายน : 12

เอกสารประกอบการเรียนรำโนราบทครูสอน 10

2. เครอื่ งลูกปดั หมายถงึ ชุดเสื้อผา้ เครือ่ งแตง่ กายของตวั โนราโดยการนำเม็ดลูกปดั กระดกู ต่าง ๆ
ในยุคก่อนนยิ มใช้สีเม็ดลกู ปดั อยา่ งน้อย 5 สี ทตี่ ัดกนั มารอ้ ยกับเชือกตามลกั ษณะของภมู ิปญั ญาของคน
ภาคใต้ ใหเ้ กิดเปน็ ลวดลายตา่ ง ๆ ท้ังลายฟันปลาลายข้าวหลามตัด ลายพิมพ์พอง อยา่ งวิจติ รสวยงาม
นำมาห่อหุ้มรา่ งกายนักแสดงโนราแทนเสื้อประกอบ ดว้ ยชน้ิ ส่วนสำคญั 5 ชน้ิ คือ

ภาพท่ี 3 ชุดลูกปดั มโนราห์
ที่มา : ธวชั ชยั กันตังกุล 2565 : ภาพถ่าย พฤษจิกายน : 12
2.1 บ่า สำหรบั สวมทบั บนบา่ ซ้าย และขวา รวม 2 ชน้ิ

ภาพที่ 4 บา่
ท่มี า : ธวชั ชยั กันตังกุล 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจิกายน : 12

เอกสารประกอบการเรียนรำโนราบทครูสอน 11

2.2 ปง้ิ คอ สำหรับสวมหอ้ ยคอดา้ นหน้าและด้านหลังคลา้ ยกรองละครไทยรวม 2 ชน้ิ

ภาพท่ี 5 ปงิ้ คอ
ที่มา : ธวชั ชยั กันตงั กุล 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจิกายน : 12
2.3 พานอกหรอื รอบอก เปน็ เทคนคิ การรอ้ ยลูกปัดเปน็ รปู สี่เหลีย่ มผนื ผ้า ใช้พนั รอบตวั นักแสดง
เพ่ือปกปิดหนา้ อก เครื่องแตง่ กายช้นิ น้บี างถ่ินเรยี กว่า พานโคร บางถิ่นเรียกว่ารอบอก

ภาพที่ 6 พานอกหรือรอบอก
ท่ีมา : ธวชั ชัย กันตังกลุ 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจิกายน : 12

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครูสอน 12

3. ปกี นกแอน่ หรือปกี เหน่ง หมายถงึ เครอื่ งประดบั ทำดว้ ยแผ่นเงินเป็นรูปคลา้ ยนกนางแอน่ กำลัง
กางปีก ใชส้ ำหรบั โนราใหญห่ รอื ตัวยืนเครือ่ ง สวมติดกบั สังวาลอยทู่ ร่ี ะดับเหนอื สะเอว ดา้ นซ้ายและขวา
คล้ายตาบทศิ ของละคร

ภาพที่ 7 ปีกนกแอ่นหรอื ปีกเหนง่
ท่มี า : ธวชั ชัย กันตังกลุ 2565 : ภาพถ่าย พฤษจิกายน : 12
4. ซับทรวงหรอื ทับทรวงหรอื ตาบ หมายถงึ สร้อยคอสำหรบั สวมห้อยไว้ตรงทรวงอกส่วนที่เป็น
สรอ้ ยคอจะรอ้ ยดว้ ยเม็ดลกู ปดั เป็นเส้นลงมาผกู ตดิ ไวก้ บั แผน่ เงนิ เป็นรูปคลา้ ยขนมเปียกปนู ดนุ ลาย และอาจ
ฝังเพชรพลอยเปน็ ดอกดวงหรอื อาจ รอ้ ยด้วยลูกปัด นยิ มใชเ้ ฉพาะตวั โนราใหญห่ รอื ตวั ยนื เครอื่ ง ปจั จบุ ันตวั
นางรำกใ็ ส่ไดแ้ ละบางคร้ังอาจร้อยเป็นเมด็ ลูกปดั อยา่ งเดียวไม่มีแผน่ เงนิ กไ็ ด้

ภาพท่ี 8 ซับทรวงหรือทับทรวงหรือตาบ
ทมี่ า : ธวชั ชัย กันตงั กลุ 2565 : ภาพถ่าย พฤษจิกายน : 12

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครสู อน 13

5. ปีกหรือหางหงส์ หมายถึง เคร่ืองแต่งร่างกายส่วนหลังระดับสะเอวของนักแสดงนิยมทำด้วยเขา
ควายหรือโลหะ ปจั จบุ ันสามารถทำด้วยแผ่นพีวซี กี ม็ ี นำมาเกลาให้เปน็ รูปคล้ายปีกนก 2 ช้ิน นำมาประกบกนั
ผกู ปลายใหแ้ นน่ ส่วน โคนจะแยกออกจากกนั ดึงไวด้ ้วยผา้ ท่เี ย็บเปน็ เส้นปลอ่ ยชายทั้ง 2 ขา้ งใหย้ าวไวส้ ำหรบั
ผกู มัดกบั สะเอว ปลายปีกเชดิ งอนขึน้ และผูกรวมกนั ไวท้ ำพจู่ ากไหมพรมตดิ ไวเ้ หนือปลายปกี ใช้ลกู ปดั รอ้ ย
ห้อยเป็นดอกดวงรายตลอดท้ังข้างซ้าย และขวาใหด้ ูคล้ายขนของนก ใชส้ ำหรบั สวมคาดทบั ผา้ นงุ่ ตรงระดบั
สะเอว ปลอ่ ยปลายปกี ยน่ื ไป ดา้ นหลงั คล้ายหางกินรี

ภาพท่ี 9 ปกี หรือหางหงส์
ทม่ี า : ธวชั ชยั กันตังกลุ 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจิกายน : 12
6. ผ้านุ่ง หมายถึง ผ้ายาวสี่เหล่ียมผนื ผ้าอาจเปน็ ผ้าลายไทยหรือผ้าพน้ื ก็ได้นำมานุ่งทับสนับเพลาให้
ชาย รงั้ ไปเหนบ็ ไวข้ ้างหลงั ปล่อยปลายชายให้ห้อยลงเช่นเดียวกับหางกระเบน เรยี กปลายชายทีพ่ ับแล้ว หอ้ ย
ลงน้ีว่า “หางหงส์” การนุ่งผ้ายาวเป็นหางหงส์ของโนราน้ีถือเป็นภูมิปัญญาตามอัตลักษณ์ของทางภาคใต้
เท่านั้นมีข้ันตอนการนุ่งท่ีแยบยล ไม่ง่ายสำหรับผู้ที่ไม่มีประสบการณ์อย่างไรก็ตามปัจจุบันผ้ายาวท่ีใช้นุ่งนี้
นำมาเยบ็ เป็นผา้ สำเรจ็ รูปให้งา่ ยตอ่ การแตง่ กาย

ภาพท่ี 10 ผา้ นงุ่
ที่มา : ธวชั ชัย กันตงั กลุ 2565 : ภาพถ่าย พฤษจกิ ายน : 12

เอกสารประกอบการเรียนรำโนราบทครูสอน 14

7. หน้าเพลา หรือเหน็บเพลา หนอื หนบั เพลา หมายถึง กางเกงยาวคร่งึ นอ่ งสำหรบั สวมใส่ของ
นกั แสดงโนราท้ังตัวพระและตวั นางรำนิยมทำจากผ้ายืดเพอ่ื ความยดื หยนุ่ ของการเคลอ่ื นไหวรา่ งกายส่วนขา
ของนักแสดงปลายขาจะตกแตง่ ด้วยผ้าลาย เปน็ แถบสีเพอ่ื ความสวยงาม สนับในอดตี สามารถทำได้ 2 แบบ
คือแบบทนี่ งุ่ สวมเปน็ กางเกง และแบบทท่ี ำเฉพาะขาท้งั สองข้าง โคนขาผกู เชอื กใหแ้ น่นแตป่ จั จบุ ันนคี้ งเหลือ
แบบเดียวคอื ทน่ี ุ่งเป็นกางเกง

ภาพที่ 11 หนา้ เพลา
ท่มี า : ธวชั ชยั กนั ตงั กลุ 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจิกายน : 12
8. ผ้าหอ้ ย หมายถงึ ผา้ สีตา่ งๆทค่ี าดให้ชายผ้าห้อยลงมาดา้ นล่างความยาพอคลมุ เขา่ นกั แสดง โดย
ปกตจิ ะใช้ผ้าสีแผ่นบาง ๆอาจเปน็ ผา้ ชีฟอง หรอื ผา้ โทนสตี ่างๆ อดั จีบหรือพลสี หรอื จะเปน็ ผา้ โปร่งผา้ บางสี
สดก็ได้ห้อยเคยี งไวร้ ะหว่างหนา้ ผ้าทง้ั ดา้ นซ้ายและดา้ นขวา

ภาพที่ 12 ผ้าหอ้ ย
ที่มา : ธวัชชัย กันตงั กุล 2565 : ภาพถ่าย พฤษจกิ ายน : 12

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครสู อน 15

9. หน้าผ้า หมายถึง ผ้าเนอื้ หนาปกลวดลายด้วยเล่ือมและลูกปัดตามท่นี ิยมจะเป็นผา้ สีผนักเช่น สีดำ
สีนำ้ เงนิ หน้าผ้ามี 3 ชน้ิ หอ้ ยไวค้ รงกลางลำตวั 1 ช้ิน และขา้ งขาด้านซ้ายและขวาอีกขา้ งละชน้ิ

ภาพที่ 13 หนา้ ผา้
ที่มา : ธวชั ชยั กนั ตังกุล 2565 : ภาพถ่าย พฤษจิกายน : 12
10. กำไลตน้ แขน หมายถึง กำไลทใี่ ชห้ นบี ไวท้ ี่ตน้ แขนของผู้แสดงทัง้ 2 ขา้ งเพอ่ื ขบรดั กล้ามเน้อื ให้
ดู ทะมดั ทะแมงและเพ่ิมความสง่างาม ของกลา้ มเน้ือแขนขณะที่ร่ายรำมากขน้ึ อยา่ งไรก็ตามเข้าใจวา่ ต้น
แขนน่าจะเปรียบไดก้ ับพาหุรัดของเคร่อื งแตง่ กายละครไทยนน่ั เอง

ภาพท่ี 14 กำไลต้นแขน
ทมี่ า : ธวชั ชยั กนั ตังกุล 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจกิ ายน : 12

เอกสารประกอบการเรียนรำโนราบทครูสอน 16

11. กำไล หรอื ไหมล หมายถงึ กำไลของโนรามกั ทำด้วยทองเหลือง ทำเปน็ วงแหวนใชส้ วมมอื ทัง้ 2
ขา้ ง ๆ ละหลายๆ วง เชน่ แขนแตล่ ะ ขา้ งอาจสวม 5-10 วงซ้อนกัน เพอ่ื เวลาปรับเปลยี่ นทา่ จะไดม้ เี สียงดงั
เปน็ จังหวะเรา้ ใจยงิ่ ขึ้น

ภาพท่ี 15 กำไล
ทม่ี า : ธวชั ชัย กันตงั กลุ 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจกิ ายน : 12
12. เลบ็ หมายถงึ เคร่ืองสวมนิว้ มือใหโ้ คง้ งามคล้าย เล็บกินนรหรอื กนิ รี ทำดว้ ยทองเหลอื งหรอื เงนิ
อาจตอ่ ปลายดว้ ยหวายที่มี ลกู ปดั รอ้ ยสอดสไี วพ้ องาม นยิ มสวม มอื ละ 4 นวิ้ (ยกเว้นหัวแมม่ อื )

ภาพท่ี 16 เลบ็
ทมี่ า : ธวัชชัย กันตังกลุ 2565 : ภาพถ่าย พฤษจกิ ายน : 12

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครูสอน 17

เครอ่ื งดนตรี
เคร่ืองดนตรีโนรา ส่วนใหญ่เป็นเคร่ืองตีให้จังหวะเทียบได้กับเคร่ืองเบญจดุริยางค์ มี 6 อย่าง

(tungsong. 2562). มดี ังน้ี

ภาพท่ี 17 เครอ่ื งดนตรโี นรา
ท่ีมา : ธวชั ชัย กนั ตงั กุล 2565 : ภาพถ่าย พฤษจกิ ายน : 12
1. ทับ(โทน) หมายถึง เป็นเครือ่ งตีทส่ี ำคญั ที่สุด เพราะทำหน้าท่ีคุมจังหวะและเป็นตัวนำในการเปลี่ยน
จงั หวะทำนอง ทบั โนรา เป็นทับค่เู สยี งต่างกนั เล็กนอ้ ยนยิ มใช้ดนตรีเพียงคนเดยี ว
2. กลอง หมายถึง เป็นกลองทัดขนาดเล็ก (โตกว่ากลองของหนังตะลุงเล็กน้อย) 1 ใบ ทำหน้าท่ีเสริม
เนน้ จงั หวะและล้อเลยี นเสยี งทบั
3. ป่ี หมายถึง เป็นเครื่องเป่าเพียงช้ินเดียวของวง นิยมใช้ป่ีในหรือบางคณะอาจใช้ป่ีนอกใช้เพียง 1
เลา
4. โหมง่ หมายถงึ ฆอ้ งคู่ เสียงตา่ งกันท่ีเสยี งแหลมเรยี กวา่ เสียงโหมง้ ท่ีเสยี งทุ้มเรียกว่า เสียงหมงุ่
5. ฉง่ิ หมายถงึ เปน็ เครอ่ื งตีเสรมิ แตง่ และเนน้ จังหวะ
6. แตระ หรอื แกระ หมายถงึ กรบั มที ง้ั กรบั อันเดียวทีใ่ ช้ตีกระทบกับรางโมงหรอื กรับคแู่ ละมีทร่ี ้อยเปน็
พวงอยา่ งกรับพวงหรอื ใชไ้ มเ้ รียวไมห้ รอื ลวดเหล็กหลายๆอนั มัดเขา้ ด้วยกนั ตใี ห้ปลายกระทบกนั ก็
เรยี กว่าแตระ มีลลี าการขับรอ้ งและรบั บทกลอนอยา่ งหนึ่งเรียกว่า เพลงหนา้ แตระ (ใชแ้ ต่เฉพาะ
แตระไม่ใช้ดนตรชี ้นิ อื่นประกอบ)

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครูสอน 18

ภาพท่ี 18 ทบั ภาพที่ 19 กลอง

ที่มา : ธวชั ชัย กันตังกุล 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจกิ ายน : 12

ภาพที่ 21 โหม่ง ภาพท่ี 20 ป่ี

ที่มา : ธวชั ชยั กนั ตังกลุ 2565 : ภาพถ่าย พฤษจิกายน : 12

ภาพท่ี 22 ฉ่ิง ภาพที่ 23 แตระ

ท่ีมา : ธวชั ชยั กนั ตงั กลุ 2565 : ภาพถ่าย พฤษจิกายน : 12

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครูสอน 19

โอกาสทใ่ี ชแ้ สดง
โอกาสท่ีใช้แสดงโนรา ใช้แสดง 2 รูปแบบ คือ โนราประกอบพิธีกรรม (โนราโรงครู)และโนรา

เพอื่ ความบันเทงิ ซึ่งมี ความแตกต่างกนั (UNESCO, 2552 ) ดังน้ี
1. โนราประกอบพิธีกรรม หรือ โนราโรงครูโนราโรงครูเป็นการแสดงโนราประกอบพิธีกรรมท่ี

ปรากฏอยู่ในวิถีของคนภาคใตม้ าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีจุดมุ่งหมายสำคัญในการแสดง ๓ ประการ คือ
เพือ่ เป็นการเคารพบูชาและแสดงความกตัญญูตอ่ วิญญาณบรรพบุรุษ เพื่อแก้บนหรือแก้เหมฺรยและเพ่อื ทำ
พธิ ีครอบครโู นราและรักษาโรคตา่ ง ๆ การแสดงโนราโรงครูจะมี 2 ประเภท คือ

1.1 การแสดงโนราโรงครใู หญ่ เปน็ การแสดงโนราโรงครูสมบูรณ์แบบถกู ต้องครบถ้วน
ตามประเพณแี ละนยิ มแสดงโดยท่ัวไปใชเ้ วลา 3 วนั 2 คนื

1.2 การแสดงโนราโรงครูเล็กหรือโรงค้ำครู เป็นการแสดงเพ่ือยืนยันว่าจะมีการจัดโรง
ครูใหญ่อย่างแน่นอน ใช้เวลาแสดง 1 วัน 1 คืนการแสดงโนราโรงครูซึ่งจัดโดยท่ัวไปจะเร่ิมใน
เดือนมีนาคมถึงเดือนกันยายนเริ่มพิธีในวันพุธถึงวันศุกร์การแสดงโนราโรงครูจะมีองค์ประกอบ
และรูปแบบการแสดงโนราสมบูรณ์ครบถ้วนทุกขั้นตอนตั้งแต่การรำ การร้อง การแสดงเป็นเรื่อง
และการบรรเลงดนตรีประกอบพธิ ีกรรมท่ีทำให้เกิดศิลปะการแสดงโนราสืบทอดต่อมาอย่างย่ังยืน
เพราะเป็นการเปิดโอกาสให้ทุกคนในชุมชนเป็นเจ้าของและผู้ร่วมประกอบพิธกี รรมโดยเรียบง่าย
ไม่ซับซ้อนและเขา้ ถึงพิธกี รรมได้อย่างลึกซ้งึ

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครสู อน 20

ทา่ รำบทครูสอน
ท่ารำโนราบทครูสอนสำหรับใช้ประกอบการฝึกรำในคร้ังน้ีนาฏยศัพท์สําคัญก่อนฝึกรําโนราบทครูสอน
ผ้เู รยี นจะตอ้ งฝกึ เพอ่ื ความเขา้ ใจของการปฏิบัตทิ า่ รํามีดงั ตอ่ ไปนี้
1. กรดี นวิ้ หมายถึง กิริยาของน้ิวมอื ที่กรดี ออกทีละนิว้ กอ่ นตัง้ วงซึ่งสามารถปฎิบตั ไิ ดท้ ้งั มอื ซา้ ยและมือขวา

วิธีปฏิบัติ คือ กํานิ้วมือท้ังห้านิ้วเข้าฝ่ามือ จากน้ัน ค่อยดีดนิ้วช้ี ต่อด้วยน้ิวกลาง นิ้วนาง และ
นิ้วกอ้ ยออกทีละนิว้ ขณะที่ดดี น้ิวออกนิ้วหัวแม่มือตั้งคอ่ ย ๆ เล่ือนรูดนว้ิ ไปตามโคนน้ิวท่ีดดี นิ้วออกด้วย ดัง
ภาพ

ภาพท่ี 24 กรดี น้วิ
ทีม่ า : ธวัชชัย กนั ตงั กุล 2565 : ภาพถ่าย พฤษจกิ ายน : 12
2. ต้ังวงหน้า หมายถึง กิริยาของลําแขนที่ตั้งเป็นเหล่ียมให้ข้อมืออยู่ระดับใบหน้า สามารถปฏิบัติได้ท้ัง
ทางซา้ ยและทางขวา
วธิ ปี ฏิบัติ คือ ยกขอ้ ศอกไปดา้ นหนา้ ข้อแขนส่วนบนยกใหโ้ คง้ ไปด้านหนา้ เลก็ น้อย นวิ้ มือทง้ั
สกี่ รีดตึง หักหวั แม่โป้งเข้าหาฝ่ามือ ดงั ภาพ

ภาพที่ 25 ตงั้ วงหนา้
ท่ีมา : ธวัชชัย กนั ตงั กุล 2565 : ภาพถ่าย พฤษจิกายน : 12

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครูสอน 21

3. เคล้ามือ หมายถึง กิริยาของการปฏิบตั ิท่ารําของมือ ทั้งปฏิบัติไม่เหมือนกัน คือ หากมือขวาจีบปรกข้าง
มือซ้ายตง้ั วงบน

วิธีปฏิบัติ คือ มือทั้งสองตั้งวงบน (วงเขาควาย) จากน้ันม้วนมือขวาเป็นจีบปรกข้าง มือซ้ายตั้งวง
บนจากน้ันค่อยม้วนมือซ้ายเป็นจีบปรกข้าง มือขวาคลายจีบออกเป็นตั้งวงบน ปฏิบัติสลับไปมา เรียกว่า
การเคล้ามอื ดงั ภาพ

ภาพท่ี 26 เคลา้ มอื
ที่มา : ธวชั ชยั กนั ตังกลุ 2565 : ภาพถ่าย พฤษจิกายน : 12
4. กระทบกน้ หมายถงึ กิรยิ าของการเกร็งหนา้ ขา พร้อมขมิบกน้ จะทําให้มีแรงสง่ ลาํ ตัวขึ้นด้านบนแลว้ คอ่ ย
ปลอ่ ยทง้ิ น้ำหนักลงกบั พน้ื
วิธีปฏิบตั ิ โดยการน่ังขดั สมาธิ แล้วเกรง็ หน้าขา พร้อมกับขมิบก้น กระแทกตวั ข้ึนด้านบนแล้วคอ่ ย
ผ่อนหน้าขาท้งิ นำ้ หนักลงพน้ื เหมอื นเดมิ การกระทบก้นต้องปฏิบัติการเกร็งหน้าขาพร้อมกับจังหวะเพลง
ดงั ภาพ

ภาพท่ี 27 กระทบก้น
ทม่ี า : ธวชั ชัย กันตงั กลุ 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจกิ ายน : 12

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครูสอน 22

5. เลอื่ นเท้า หมายถึง กริ ยิ าของการขยบั เทา้ เคล่ือนทโ่ี ดยไม่ยกจากพื้น
สามารปฏบิ ัตไิ ด้ทัง้ ขา้ งซ้ายและข้างขวา หรอื ปฏิบัติพรอ้ มกนั ท้งั สองขา้ งกไ็ ด้

วิธีปฏิบัติ โดยการวางเท้าราบกับพ้ืน จากน้ันบิดส้นเท้าสลับกับบิดปลายเท้า ในกรณีท่ีผู้แสดง
น่งั คกุ เขา่ ๆดา้ นท่ีวางกบั พืน้ จะต้องหมุนหัวเข่าตามเท้าไปด้วย ดังภาพ

ภาพท่ี 28 เลื่อนเทา้
ท่ีมา : ธวชั ชยั กันตังกลุ 2565 : ภาพถ่าย พฤษจิกายน : 12

เอกสารประกอบการเรียนรำโนราบทครูสอน 23

6. ย้อนตัว หมายถึง กริ ยิ าของการถ่ายนำ้ หนักตัวจากซา้ ยไปขวา หรือจากขวาไปซา้ ยกไ็ ด้ เชน่
ในท่าตนี ถีบพนัก

วิธีปฏิบตั ิ เมื่อนกั แสดงตั้งท่ามือขวาตงั้ วงบน มอื ซา้ ยจบี หงายวางเข่าซ้าย
การย้อนตัวต้องคืนน้ำหนักจากซ้ายแล้วกลับทางขวาปฏิบัตทิ ่ารําเหมือนเดิมเหมือนตอนปฏิบัติท่าคร้ังแรก
ดงั ภาพ

ภาพที่ 29 ย้อนตวั
ที่มา : ธวชั ชัย กนั ตงั กุล 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจกิ ายน : 12
7. สาวจบี หมายถึง กริ ยิ าของมอื จีบแล้วค่อยปล่อยเป็นวง เช่น ทา่ สองมอื ชกั เอาแสงทอง
วธิ ปี ฏิบตั ิ มือซา้ ยจีบหงายวางเข่าซา้ ย ส่วนมือขวาจีบหงายรวมมอื กบั มือซา้ ย
แล้วดึงมือจีบปลอ่ ยเปน็ ตง้ั วงบน ดังภาพ

ภาพที่ 30 สาวจบี
ทีม่ า : ธวัชชยั กนั ตงั กลุ 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจิกายน : 12
ท่าราํ บทครูสอน

เอกสารประกอบการเรียนรำโนราบทครสู อน 24

ท่ารําบทครูสอน จะให้รายละเอียดของเน้ือร้อง และอธิบายท่ารำตามเน้ือร้องท่ีนำเสนอพร้อม
ภาพประกอบ ดงั นี้
1. เนอื้ ร้อง ครเู อย ครสู อน เสด้ืองกร ต่องา่
อธิบายทา่ ราํ
“ครูเอย ครสู อน” นั่งขัดสมาท เขา่ ขวาทับเขา่ ซ้าย มือทง้ั สองพนมมอื ระดบั อก หน้าตรง
“สอนแล้วแมน่ าครสู อน” นั่งลกั ษณะเดมิ ยกมือจรดหนา้ ผาก กม้ หนา้ เล็กน้อย หนา้ ตรง

ครเู อยครูสอน สอนแมน่ าครูสอน

ภาพท่ี 31 ครูเอยครสู อน สอนแม่นาครูสอน

ที่มา : ธวชั ชยั กนั ตงั กุล 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจกิ ายน : 12

“ เสดื้องกร ” นั่งลกั ษณะเดิม ยกมือซ้ายกรดี นวิ้ ต้ังวงหนา้ มอื ขวาจีบหงายต่อศอก เอียงขวา
“ ตอ่ ง่า ” ดึงมอื ขวา กรีดน้ิวตั้งวงหน้า ข้อมือทั้งสองเข้าหาลาํ ตัวปลายนว้ิ แยกออก หนา้ ตรง

ภาพท่ี 32 เสด้ืองกร ตอ่ ง่า
ที่มา : ธวัชชัย กนั ตังกลุ 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจกิ ายน : 12
หมายเหตุ ช่วงรอ้ งรับปฏิบตั ทิ ่าต่อง่า กระทบกน้ ตรงจงั หวะใหญ่จนรอ้ งรบั หมด***

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครสู อน 25

2. เน้ือร้อง ครูสอนเขียนหนังสือ หารอื ครสู อนรําโนรา
อธิบายทา่ ราํ
“ครสู อน” นัง่ ลักษณะเดมิ พนมมอื ระดบั อก หน้าตรง
“เขียนหนังสือ” น่ังลักษณะเดิม มือซ้ายแบหงายงอแขนระดับอก มือขวาจีบคว่ำวนมือ (ลักษณะเขียน
หนงั สอื ) จงั หวะสุดทา้ ยตวัดจีบออก

ครสู อน เขยี นหนังสือ
ภาพท่ี 33 ครสู อน เขยี นหนงั สอื

ที่มา : ธวัชชยั กันตงั กุล 2565 : ภาพถ่าย พฤษจิกายน : 12
“หารอื ครสู อน” นัง่ ลกั ษณะเดิม มอื ทง้ั สองจีบปรกหนา้
“รําโนรา” ดงึ มอื จีบทงั้ สองลงมาระดบั สะเอว แล้วม้วนจบี ปลอ่ ยเป็นวงบัวบาน (วงเขาควาย) หนา้ ตรง

ภาพท่ี 34 หารือครสู อน รำโนรา
ทม่ี า : ธวัชชัย กนั ตังกลุ 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจิกายน : 12
หมายเหตุ ชว่ งร้องรบั ปฏบิ ัตทิ ่ารําโนรา แตใ่ ช้วธิ เี คล้ามือจบี แลว้ ปลอ่ ยเปน็ ตั้งวงตามจงั หวะเพลง
โดยเริม่ ท่มี อื ขวาก่อนจนร้องรับหมด***

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครสู อน 26

3. เนื้อร้อง ครูสอนใหผ้ ูกผ้า สอนข้าให้ทรงกาํ ไล
อธบิ ายทา่ รํา
“ครสู อน” นัง่ ลกั ษณะเดิม พนมมือระดบั อก หน้าตรง
“ให้ผูกผ้า” ลดมอื ท้ังสองลงจบี หงายไขว้มอื ระดบั สะเอว โดยมือซ้ายทบั มือขวา หน้าตรง

ครูสอน ใหผ้ กู ผ้า
ภาพท่ี 35 ครสู อน ใหผ้ กู ผา้

ท่มี า : ธวัชชัย กนั ตังกุล 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจิกายน : 12
“สอนข้า” นั่งลักษณะเดมิ พนมมือระดบั อก หนา้ ตรง
“ให้ทรงกําไล” นง่ั ลักษณะเดมิ มือซา้ ยกํามืองอแขนระดับอก มือขวาชีน้ ว้ิ ระดับขอ้ มือซา้ ย เอียงขวา

สอนขา้ ใหท้ รงกำไล
ภาพที่ 36 สอนขา้ ให้ทรงกำไล

ทม่ี า : ธวชั ชัย กันตังกุล 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจกิ ายน : 12
หมายเหตุ ช่วงร้องรับปฏิบัติท่าทรงกําไล ใช้วิธีกระทบก้นพร้อมกับเคาะนิ้วช้ีตามจังหวะเพลงจนร้องรับ
หมด

เอกสารประกอบการเรียนรำโนราบทครูสอน 27

4. เนื้อรอ้ ง ครสู อนให้ครอบเทรดิ น้อย รําจับสร้อยพวงมาลัย
อธบิ ายท่ารํา
“ครสู อน” นัง่ ลกั ษณะเดมิ พนมมอื ระดับอก หน้าตรง
“ใหค้ รอบเทริดนอ้ ย” มือขวากํายอดเทรดิ มือซ้ายแบมอื แตะข้างแก้ม เอยี งขวา

ครูสอน ให้ครอบเทริดน้อย
ภาพที่ 37 ครสู อน ใหค้ รอบเทรดิ นอ้ ย

ที่มา : ธวชั ชัย กนั ตงั กลุ 2565 : ภาพถ่าย พฤษจิกายน : 12

“สอนแล้วแม่นา” น่งั ลกั ษณะเดมิ พนมมอื ระดบั อก หน้าตรง
“ครอบเทริดนอ้ ย” มอื ท้ังสองแบมือแยกจากกัน ยกไวร้ ะดบั ศรี ษะ หน้าตรง

สอนแล้วแม่นา ครอบเทรดิ น้อย

ภาพท่ี 38 สอนแล้วแม่นา ครอบเทริดน้อย

ที่มา : ธวัชชยั กนั ตังกุล 2565 : ภาพถ่าย พฤษจกิ ายน : 12

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครูสอน 28

“รําจับสรอ้ ย” นงั่ ลกั ษณะเดมิ มือทั้งสองจีบควำ่ ไขว้มือระดบั ใบหน้า หนา้ ตรง
“พวงมาลยั ” ดงึ มือจบี ท้ังสองลงมาระดบั สะเอว แล้วต้ังเขา่ ขวา(ลงฉากนอ้ ย) มอื ท้ังสองจีบ
คว่ำไขว้มือระดับอก หน้าตรง

รำจับสรอ้ ย พวง มาลัย

ภาพท่ี 39 รําจบั สร้อย พวงมาลยั

ทม่ี า : ธวัชชยั กนั ตงั กลุ 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจกิ ายน : 12

หมายเหตุ ช่วงร้องรับปฏิบัติท่าจับสร้อยพวงมาลัย ใช้วิธีหมุนตัวไปทางซ้ายโดยการเลื่อนเท้าไปเรื่อย ๆ 1

รอบจนจบจงั หวะเพลงหนา้ ตรง

5. เนือ้ รอ้ ง ครสู อนให้ทรงกาํ ไล สอดใส่แขนซา้ ยย้ายแขนขวา
อธิบายทา่ รํา
“ครสู อน” ลดตวั ลงนั่งขัดสมาทลกั ษณะเดิม พนมมือระดับอก หนา้ ตรง
“ใหท้ รงกาํ ไล” มอื ซ้ายกรดี น้วิ ตั้งวงหน้า มือขวาแบมือแตะระดับขอ้ มือซ้าย เอียงขวา

ครูสอน ให้ทรงกำไล
ภาพท่ี 40 ครสู อน ให้ทรงกำไล

ทีม่ า : ธวัชชัย กนั ตงั กลุ 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจิกายน : 12

เอกสารประกอบการเรียนรำโนราบทครูสอน 29

“นี่แหละสอนทรงกาํ ไล” ปฏบิ ตั ซิ ำ้ ทา่ รําเดมิ อกี ครง้ั
“สอดใส่แขนซ้าย” น่ังลักษณะเดิม มือซ้ายตัง้ วงหน้า มือขวาจีบคว่ำวนรอบข้อมือซ้ายเหว่ยี งตัวไปตามจีบ
เล็กนอ้ ย แลว้ คนื ตวั หน้าตรง
“ย้ายแขนขวา” มือขวาตั้งวงหน้า มือซ้ายจีบควำ่ วนรอบขอ้ มือขวา เหว่ยี งตวั ไปตามจีบเล็กน้อยแล้วคืนตวั
หนา้ ตรง

สอนใส่แขนซา้ ย ยา้ ยแขนขวา

ภาพท่ี 41 สอดใส่แขนซ้าย ย้ายแขนขวา

ท่มี า : ธวชั ชยั กนั ตงั กุล 2565 : ภาพถ่าย พฤษจกิ ายน : 12

หมายเหตุ ช่วงรอ้ งรบั ปฏบิ ตั ิทา่ สอดใสแ่ ขนซ้ายย้ายแขนขวา จนจบจงั หวะเพลงหน้าตรง

6. เนื้อร้อง ราํ ท่าเสด้อื งเย้อื งข้างซา้ ย ตคี า่ ไดห้ ้าพระพารา
อธบิ ายทา่ ราํ
“รําท่าเสด้อื ง” นัง่ คุกเขา่ แยกเข่าออก พนมมือระดับหน้าอก หน้าตรง
“เยอ้ื งข้างซา้ ย” นงั่ คกุ เขา่ ขวา ลาดเขา่ ซ้ายไปด้านขา้ ง มอื ขวาม้วนมือจีบปลอ่ ยเป็นวงบน
มอื ซ้ายจบี หงายแขนตงึ วางบนเข่าซา้ ย เอียงขวา

ภาพที่ 42 รําท่าเสดอื้ ง เยอ้ื งข้างซา้ ย
ท่มี า : ธวชั ชยั กันตังกุล 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจิกายน : 12

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครสู อน 30

“ท่านีเ่ สดอ้ื งเยอ้ื งขา้ งซ้าย” นง่ั ลกั ษณะเดมิ ย้อนมือจีบซา้ ย แลว้ แลว้ วางมือจบี บนเขา่ ซา้ ยลกั ษณะเดมิ
เอียงขวา

ภาพที่ 43 ทา่ นเ่ี สดอ้ื งเยือ้ งข้างซา้ ย
ทมี่ า : ธวัชชยั กันตงั กลุ 2565 : ภาพถ่าย พฤษจิกายน : 12
“ตคี า่ ” นง่ั ลกั ษณะเดมิ มือซ้ายกาํ มอื หงายทอ้ งแขน มอื ขวาชท้ี ีม่ ือกาํ
“ได้ห้าพระพารา” มือท้ังสองจีบรวมมือระดับอก จากนั้นม้วนมือออกปล่อยเป็นวงกลาง (ปลายน้ิวเข้าหา
กนั ) ต้งั เข่าซ้าย (ลงฉากน้อย) หนา้ ตรง

ท่าตีค่า

ได้ห้า

เอกสารประกอบการเรียนรำโนราบทครูสอน 31

ภาพท่ี 44 ตคี า่ ไดห้ ้า ประพารา
ที่มา : ธวัชชยั กนั ตงั กลุ 2565 : ภาพถ่าย พฤษจิกายน : 12
หมายเหตุ ชว่ งรอ้ งรับปฏิบตั ทิ ่าพระพารา ใช้วธิ ีหมุนตัวไปทางขวาโดยการเล่อื นเท้าไปเร่ือย ๆ 1 รอบ
จนจบจังหวะเพลงหนา้ ตรง
7. เนื้อร้อง รําท่าเสดอ้ื งเยอ้ื งขา้ งขวา ตคี ่าได้หา้ ตาํ ลึงทอง
อธบิ ายทา่ รํา
“รําทา่ เสดื้อง” นั่งคุกเขา่ แยกเข่าออก พนมมอื ระดบั หนา้ อก หนา้ ตรง
“เยื้องขา้ งขวา” นั่งคุกเขา่ ซ้าย ลาดเข่าขวาไปด้านขา้ ง มือซา้ ยม้วนมอื จีบปลอ่ ยเปน็ วงบน
มอื ขวาจบี หงายแขนตึงวางบนเขา่ ขวา เอยี งซา้ ย

ภาพที่ 45 รําท่าเสด้อื ง เยื้องขา้ งขวา
ที่มา : ธวชั ชยั กันตังกุล 2565 : ภาพถ่าย พฤษจกิ ายน : 12
“ท่านเ่ี สด้อื งเย้อื งขา้ งขวา” นัง่ ลักษณะเดมิ ยอ้ นมอื จีบขวา แล้ววางมือจบี บนเขา่ ขวาลักษณะเดิม

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครูสอน 32

เอียงซ้าย

ภาพที่ 46 ทา่ นีเ่ สด้ืองเย้อื งข้างขวา
ทม่ี า : ธวชั ชยั กนั ตังกุล 2565 : ภาพถ่าย พฤษจิกายน : 12
“ตีค่า” นัง่ ลักษณะเดมิ มือขวากาํ มือหงายท้องแขน มอื ซ้ายชที้ ่ีมือกํา
“ได้ห้าตาํ ลงึ ทอง” ต้งั เขา่ ขวา (ลงฉากนอ้ ย) มอื ขวากาํ มอื (หงายข้อมือ) ช้ยี อดเทริด
มอื ซ้ายจบี สง่ หลังเอียงขวา

ตคี า่ ไดห้ า้

เอกสารประกอบการเรียนรำโนราบทครูสอน 33

ภาพที่ 47 ตคี า่ ไดห้ ้า ตำลงึ ทอง
ทีม่ า : ธวชั ชยั กนั ตังกลุ 2565 : ภาพถ่าย พฤษจกิ ายน : 12
หมายเหตุ ช่วงรอ้ งรบั ปฏบิ ตั ทิ า่ ตําลงึ ทอง ใช้วิธหี มนุ ตัวไปทางซ้ายโดยการเลื่อนเทา้ ไปเรือ่ ย ๆ 1 รอบ
จนจบจงั หวะเพลงหน้าตรง
8. เนอ้ื รอ้ ง ทา่ น้ตี นี ถบี พะนัก สองมือชกั เอาแสงทอง
อธิบายท่าราํ
“ทา่ น่ีตนี ถีบพะนัก” น่งั คุกเขา่ ขวา ลาดเข่าซ้ายไปดา้ นหน้า มอื ขวาม้วนมอื จบี ปลอ่ ยเป็นวงบน
มือซา้ ยจบี หงายแขนตึงวางบนเขา่ ซ้าย เอยี งขวา
“ถีบแลว้ แมน่ ่าถบี พะนกั ” นง่ั ลกั ษณะเดิม ยอ้ นมือจีบซ้าย แลว้ วางมอื จีบบนเข่าซ้ายลักษณะเดิม เอยี งขวา

ภาพท่ี 48 ท่านตี้ นี ถบี พะนัก
ทีม่ า : ธวัชชัย กนั ตงั กลุ 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจกิ ายน : 12

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครสู อน 34

ภาพที่ 49 ถบี แล้วแมน่ า่ ถีบพะนกั
ทมี่ า : ธวชั ชยั กนั ตงั กุล 2565 : ภาพถ่าย พฤษจกิ ายน : 12
“สองมือชกั ” มอื ซ้ายปฏิบตั ิลกั ษณะเดิม มือขวาดึงมอื จีบหงาย(ปลายจบี ตรงกับมอื ซ้าย)
“เอาแสงทอง” มอื ขวาดงึ มอื ปล่อยเป็นตงั้ วงบน เอียงขวา

ภาพท่ี 50 สองมอื ชกั เอาแสงทอง
ทีม่ า : ธวชั ชยั กันตงั กลุ 2565 : ภาพถ่าย พฤษจกิ ายน : 12
หมายเหตุ ช่วงรอ้ งรับปฏบิ ตั ิท่าสองมือชกั เอาแสงทองไปเรือ่ ย ๆ จนจบจังหวะเพลง

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครูสอน 35

9. เนือ้ ร้อง หาไหนให้ไดเ้ สมอื นนอ้ ง ทาํ นองพระเทวดา
อธบิ ายท่าราํ
“หาไหนใหไ้ ด”้ นง่ั คกุ เขา่ มอื ซ้ายแบมอื แตะอก มอื ขวากําน้ิวช้ี เคาะน้ิวตามจงั หวะเพลง เอียงซา้ ย
“เสมือนนอ้ ง” นัง่ ลักษณะ มอื ซา้ ยแตะอกเหมือนเดมิ สว่ นมือขวาม้วนมือจีบแล้วปลอ่ ยเปน็ ลกั ษณะวง
กลาง เอียงขวา

ภาพท่ี 51 หาไหนไม่ได้ เสมือนน้อง
ที่มา : ธวัชชัย กนั ตังกลุ 2565 : ภาพถา่ ย พฤษจกิ ายน : 12
“เหมือนแล้วแมน่ าเสมือนนอ้ ง” ปฏิบัตสิ ลบั ข้างกับท่าเสมือนน้อง

ภาพที่ 52 เหมอื นแล้วแม่นาเสมอื นนอ้ ง
ทม่ี า : ธวชั ชยั กนั ตงั กลุ 2565 : ภาพถ่าย พฤษจิกายน : 12

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครสู อน 36

“ รําทํานอง” น่งั คกุ เขา่ มอื ทั้งสองรวมจบี ไวร้ ะดบั ใบหน้า
“พระเทวดา” กระโดดตวั ขาทง้ั สองลงฉากใหญ่ มือทงั้ สองต้ังวงเขาควาย หนา้ ตรง

ภาพที่ 53 รำทำนองพระเทวดา
ท่ีมา : ธวัชชัย กันตังกุล 2565 : ภาพถ่าย พฤษจกิ ายน : 12
หมายเหตุ ช่วงรอ้ งรับปฏิบัตทิ า่ ราํ พระเทวดา จนหมดจังหวะ ท้ายการรอ้ งรับ เล่ือนเท้าท้ังสองยนื ตรง

เอกสารประกอบการเรียนรำโนราบทครสู อน 37

สรปุ

เป็นท่ารำฝึกหัดเบ้ืองต้นของการรำโนรา ในท่าน่ังรำ สาระของท่ารำอธิบายรูปแบบการสอนของ
คุณครูที่มุ่งสั่งสอนให้ลูกศิษย์ รู้จักลักษณะการแต่งกาย เน้ือหาของบทร้องจะกล่าวถงึ ครสู อนให้รู้จักเคร่ือง
แตง่ กายโนรา เช่น การใส่เทริด การนุ่งผ้า การสวมกำไล นอกจากนี้ยังให้รายละเอยี ดเก่ียวกับการยักเย้ือง
ท่ารำ ทั้งแขน ขา ข้อมืออย่างสวยงาม บทร้องจะประกอบด้วยการร้องของต้นเสียง และมีการร้องรับของ
ลูกคู่พรอ้ มกบั การตที บั และกลองอย่างเรา้ ใจ

มีคำกลอนท้ังหมด 18 วรรค แต่ละวรรคเป็นการการสอนของคุณครู มีดนตรีประกอบคือ เพลง
ทบั เพลงโทน เคร่ืองเปน็ กายเปน็ ชดุ ลกู ปดั ครบชดุ หรือเต็มชดุ

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครสู อน 38

คำถามทบทวน

แบบฝึกหัดท่ี 1 เรอ่ื ง รำโนราบทครสู อน
***************************************************************************
คำช้ีแจง : ให้นกั เรียนตอบคำถามและอธิบายตามสิ่งกำหนดใหต้ อ่ ไปนี้ (10 คะแนน)
1. เครอ่ื งแต่งกายโนราทเ่ี ปน็ เคร่อื งประดับ มีอะไรบ้าง
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
..............................................................................................................

2. เคร่ืองแตง่ กายโนราทีเ่ ปน็ เครื่องลูกปดั มก่ี ช่ี น้ิ อะไรบ้าง
.......................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................
....................................................................................................................................................

3. เคร่อื งแต่งกายโนราทเี่ ทียบเคียงกบั มงกฎุ กษัตริยค์ อื
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………........................................................................
............................................................................

4. เทริด คืออะไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………........................................................................
............................................................................

เอกสารประกอบการเรียนรำโนราบทครูสอน 39

แบบฝึกหัดที่ 2 เรื่อง เพลงประกอบการแสดง
**********************************************************************
คำชีแ้ จง : ใหน้ กั เรียนตอบคำถามและอธิบายตามส่ิงกำหนดใหต้ อ่ ไปนี้ (10 คะแนน)
1. เครือ่ งดนตรีมโนราห์มกี ่ชี น้ี และอธิบายถงึ ลกั ษณะพร้อมวิธกี ารเลน่
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.....................................................
2. อธบิ ายและยกตัวอยา่ งการรอ้ งบทสอนรำ
………………………………………………………………………………………………………………………………
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.....................................................

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครสู อน 40

แบบฝึกหัดที่ 3 เรื่อง องค์ประกอบของการแสดง
**********************************************************************
คำช้แี จง : ให้นกั เรียนตอบคำถามและอธบิ ายตามสง่ิ กำหนดให้ตอ่ ไปน้ี (10 คะแนน)
1. ผู้แสดงหมายถงึ อะไร นกั แสดงโนราหป์ ระกอบไปด้วยตัวละครใดบ้าง มหี นา้ ที่อย่างไร
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.....................................................
2. เคร่อื งแต่งกายมโนราห์ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

.....................................................

เอกสารประกอบการเรียนรำโนราบทครสู อน 41

แบบฝกึ หัดที่ 4 เร่ือง ท่ารำ
**********************************************************************
คำชีแ้ จง : ใหน้ ักเรียนตอบคำถามและอธบิ ายตามส่ิงกำหนดใหต้ ่อไปน้ี (10 คะแนน)
1. อธบิ ายท่ารำของบทรอ้ งทวี่ ่า “ครเู อย ครสู อนสอนแลว้ แมน่ าครูสอนเสดอ้ื งกรต่อง่า ”
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.....................................................
2. อธิบายท่ารำของบทร้องที่ว่า“หาไหนให้ได้เสมือนน้อง เหมือนแล้วแม่นาเสมือนน้อง รําทํานองพระ
เทวดา”
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

.....................................................

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครสู อน 42

แบบทดสอบหลังเรยี น

กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ สาระนาฏศลิ ป์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

เรอื่ ง โนราบทครสู อน รหัสวิชา ............ เวลา 50 นาที คะแนน 20 คะแนน

**********************************************************************************

คำชีแ้ จง : ให้นกั เรยี นเลือกคำตอบทถ่ี กู ท่สี ดุ แลว้ ทำเครอื่ งหมาย (×) ลงในกระดาษคำตอบ

1. โนราบทครสู อน มีความหมายตามข้อใด

ก. เปน็ บทพนื้ ฐานในการรำโนรา ท่ีอธิบายการสอนของครู เช่น ครูสอนผูกผ้า ครสู อนรำโนรา

ข. เป็นบทครูชัน้ ตน้ ของโนราท่ีมกี ารผสมท่าทาง มีการร้องรบั อย่างฉบั ไว

ค. เป็นบทครขู ัน้ ปฐม มีการใชท้ า่ รำทย่ี ากขึ้น ท้ังทา่ นงั่ รำ ทา่ ยนื รำ มีการรอ้ งรบั ของลูกคู่

ง. บทครสู อน เป็นบทเเรกเรม่ิ ในการรำโนรา มีทา่ รำที่นง้ั รำและยืนรำ

จ. บทครูสอน มกี ารสอนของครูในเร่ือง ระดบั ของมือ เช่น รำเทยี มบา่ รำเทียบพก

2. ข้อใดถอื เปน็ ลกั ษณะเดน่ ของโนราบทครูสอน ที่ชดั ทส่ี ดุ

ก. มีลกั ษณะคล้ายกบั แมบ่ ทใหญ่ ของภาคกลาง

ข. มกี ารร้องของตน้ เสยี ง และการรอ้ งรบั ของลูกคู่

ค. เน้ือรอ้ งกล่าวถึง ครสู อน การสอนของครู

ง. กล่าวถึง นางกนิ รี เทพเทวา ในปา่ หมิ พาน

จ. มกี ารยกวรรณคดมี าประกอบ เชน่ อนุมาน

3. คำร้องเริ่มต้นบทครสู อน ขน้ึ ต้นดว้ ยคำวา่ อะไร

ก. ครูเจ้าเอ๋ยครสู อน สอดเยอื้ งก่อนต่องา

ข. ครูสอนให้รำ เทียมบ่า

ค. ครสู อนใหผ้ กู ผา้ สอนขา้ ใหท้ รงกำไล

ง. สอนครอบเทริดนอ้ ย รำจบั สรอ้ ยพวงมาลัย

จ. สอนเจา้ เอน๋ สอนรำ

4. เม่อื ตน้ เสยี งรอ้ งว่า " ครสู อนใหท้ รงกำไล ใสแขนซ้าย แขนขวา " ลูกค่จู ะรอ้ งรบั วา่ อะไร

ก. ออวา่ สอดทรงกำไล ใสแขนซ้าย แขนขวา น้องเอย๋ แขนซา้ ย แขนขวาละน้อง สอดทรงกำไล

ใสแขนซ้าย แขนขวา

ข. สอดทรงกำไล ใสแขนซ้าย แขนขวา

ค. สอดทรงกำไล ใสแขนซา้ ย แขนขวา น้องเอย๋ แขนซ้าย แขนหวา

ง. สอนทรงกำไล ใสแขนซ้าย แขนขวา นนั้ แหละแขนซ้ายแขนขวาละน้อง แขนซ้าย แขนขวา

สอดทรงกำไล ใสแขนซา้ ย แขนขวา

จ. ขอ้ 1 และ ข้อ 4

เอกสารประกอบการเรยี นรำโนราบทครูสอน 43

5. จากภาพ เปน็ ทา่ รำ ทต่ี รงกับคำร้องใด
ก. ครสู อนใหท้ รงกำไล
ข. สอนครอบเทรดิ น้อย
ค. ครูสอนใหผ้ กู ผา้
ง. สอดเยื้องขา้ งซา้ ย
จ. ตีนถบี พนกั

6. จากภาพ เป็นทา่ รำ ท่ตี รงกับคำรอ้ งใด
ก. ครสู อนใหท้ รงกำไล
ข. สอนครอบเทริดนอ้ ย
ค. ครสู อนให้ผกู ผา้
ง. สอดเย้ืองข้างซา้ ย
จ. ตีนถบี พนกั

7. จากภาพ เป็นทา่ รำ ทต่ี รงกับคำรอ้ งใด
ก. ครสู อนให้ทรงกำไล
ข. สอนครอบเทริดน้อย
ค. ครสู อนให้ผกู ผา้
ง. สอดเยือ้ งข้างซ้าย
จ. ตนี ถบี พนกั

เอกสารประกอบการเรียนรำโนราบทครสู อน 44

8. ทา่ สอดเด้อื ง เยื้องข้างขวา ปฏิบตั อิ ยา่ งไร
ก. นง่ั ขัดสมาท เข่าขวาทบั เขา่ ซา้ ย มือทง้ั สองพนมมอื ระดับอก หน้าตรง มือทงั้ สองแบมอื แยก
จากกนั ยกไวร้ ะดบั ศีรษะ หนา้ ตรง
ข. นงั่ ขดั สมาท เขา่ ขวาทบั เข่าซา้ ย มือทัง้ สองพนมมอื ระดับอก หน้าตรงมอื ท้ังสองจบี ปรกหนา้
ค. ดึงมอื จีบท้ังสองลงมาระดบั สะเอว แล้วมว้ นจีบปล่อยเป็นวงบวั บาน (วงเขาควาย) หน้าตรง
ง. นง่ั คุกเข่าซ้าย ลาดเขา่ ขวาไปดา้ นข้าง มือซ้ายมว้ นมือจีบปล่อยเปน็ วงบน มือขวาจบี หงายแขน
ตึงวางบนเขา่ ขวา เอียงซ้าย
จ. นงั่ คกุ เข่าขวา ลาดเขา่ ซา้ ยไปดา้ นหนา้ มือขวามว้ นมอื จีบปลอ่ ยเป็นวงบน มอื ซ้ายจบี หงายแขน
ตงึ วางบนเข่าซ้าย เอียงขวา

9. ท่า ตนี ถบี พะนัก ปฏบิ ัตอิ ยา่ งไร
ก. น่งั ขัดสมาท เข่าขวาทบั เขา่ ซ้าย มอื ทัง้ สองพนมมอื ระดับอก หนา้ ตรง มือทั้งสองแบมอื แยก
จากกนั ยกไว้ระดบั ศีรษะ หนา้ ตรง
ข. น่ังขัดสมาท เขา่ ขวาทบั เขา่ ซา้ ย มือทงั้ สองพนมมือระดับอก หน้าตรงมอื ทั้งสองจีบปรกหนา้
ค. ดึงมอื จีบทัง้ สองลงมาระดับสะเอว แล้วม้วนจีบปล่อยเป็นวงบวั บาน (วงเขาควาย) หน้าตรง
ง. น่งั คกุ เข่าซ้าย ลาดเข่าขวาไปดา้ นข้าง มือซ้ายม้วนมอื จบี ปลอ่ ยเป็นวงบน มอื ขวาจีบหงายแขน
ตงึ วางบนเข่าขวา เอียงซ้าย
จ. นัง่ คกุ เขา่ ขวา ลาดเขา่ ซ้ายไปดา้ นหน้า มอื ขวาม้วนมือจบี ปลอ่ ยเปน็ วงบน มอื ซ้ายจบี หงายแขน
ตึงวางบนเข่าซา้ ย เอยี งขวา

10. ทา่ สอนครอบเทริดน้อย ปฏบิ ตั ิอย่างไร
ก. น่ังขัดสมาท เข่าขวาทบั เขา่ ซ้าย มอื ทง้ั สองพนมมอื ระดับอก หนา้ ตรง มือท้งั สองแบมอื แยก
จากกัน ยกไวร้ ะดบั ศีรษะ หน้าตรง
ข. น่ังขัดสมาท เข่าขวาทับเขา่ ซ้าย มือทั้งสองพนมมือระดับอก หน้าตรงมอื ทงั้ สองจีบปรกหน้า
ค. ดงึ มือจีบท้งั สองลงมาระดบั สะเอว แล้วมว้ นจบี ปลอ่ ยเป็นวงบัวบาน (วงเขาควาย) หนา้ ตรง
ง. นงั่ คุกเขา่ ซ้าย ลาดเข่าขวาไปด้านขา้ ง มือซา้ ยมว้ นมอื จบี ปล่อยเปน็ วงบน มอื ขวาจีบหงายแขน
ตงึ วางบนเขา่ ขวา เอยี งซา้ ย
จ. นั่งคกุ เขา่ ขวา ลาดเข่าซา้ ยไปด้านหน้า มือขวาม้วนมอื จีบปล่อยเปน็ วงบน มือซา้ ยจบี หงายแขน
ตงึ วางบนเขา่ ซ้าย เอียงขวา

เอกสารประกอบการเรียนรำโนราบทครสู อน 45

บรรณานุกรม

ศาสตรแ์ หง่ ครหู มอโนรา. (2556). บทกลอนและบทร้องของพิธกี รรมโนรา. สบื ค้นเมื่อ 2565 ตลุ าคม : 10
จาก http://krunora.blogspot.com/2013/06/blog-post_7.html

ธรี วัฒน์ ช่างสาน. (2543). รายงานการวิจัยเครอื่ งลูกปดั โนราในจังหวดั
นครศรีธรรมราช. นครศรีธรรมราช : สถาบนั ราชภฏั นครศรีธรรมราช.

ธีรวฒั น์ ชา่ งสาน. (2560). การพัฒนาเคร่ืองแต่งกายโนราภมู ิปัญญาชาวบา้ นในจังหวดั นครศรีธรรมราช.
สืบค้นเม่อื 2565, ตุลาคม : 25

จาก file:///C:/Users/lenovo/Downloads/128541
A1-337152-1-10-20180614.pdf
ราชบณั ฑิตยสภา. (2554). โนรา. สบื คน้ เมอ่ื 2565, ตลุ าคม : 25
จาก https://dictionary.apps.royin.go.th/
Xekkalakpaktai. (2562). ตำนานโนรา. สืบค้นเม่อื 2565, ตุลาคม : 25
จากhttps://sites.google.com/site/xekkalakpaktai/nora/nora-1
tungsong.com. (2562). เครอ่ื งแต่งกายโนรา. สบื ค้น2565, ตลุ าคม : 25
จาก https://www.tungsong.com/NakhonSri/Cultures&
Games_Nakhonsri/%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B8
%A3%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B9%8C/group
ราชบณั ฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย. สบื ค้นเม่ือ 2565, ตุลาคม : 25

จาก https://dictionary.sanook.com/search/dict-th-th-royal-
institute/%E0%B8%9A%E0%B8%97

วารสารวฒั นธรรม. (2020). โนรา ที่สุดแห่งทกั ษิณนาฏยศาสตร์.
สบื ค้นเมอ่ื 2565, ตลุ าคม : 25
จาก http://article.culture.go.th/index.php/template-
features/198-2020-03-26-08-58-58

Tungsong.com.(2562). เคร่ืองดนตรี. สบื คน้ เมือ่ 2565, ตลุ าคม : 25
จาก https://www.tungsong.com/NakhonSri/Cultures&
Games_Nakhonsri/

OpenBase.in.th. (2552). ภาพเครอื่ งดนตรีโนรา. สืบคน้ เม่อื 2565, ตลุ าคม : 25


Click to View FlipBook Version