The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือรวบรวมความคิด ประสบการณ์ และการขับเคลื่อนเมืองแห่งการเรียนรู้ จากคณะวิจัยโครงการวิจัยปากพูนเมืองแห่งการเรียนรู้ จ.นครศรีธรรมราช

โดยมี ผศ.ดร.ดำรงศ์พันธ์ ใจห้าววีระพงศ์ และ คณาจารย์ ร่วมด้วยนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช

ดำเนินการจัดทำโดย โครงการการขับเคลื่อนผลงานวิจัยผ่านการสื่อสารสาธารณะ
เพื่อพัฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้ (WeCitizens)

สนับสนุนโดย หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by WeCitizens, 2023-01-04 12:49:20

WeCitizens : เสียงปากพูน

หนังสือรวบรวมความคิด ประสบการณ์ และการขับเคลื่อนเมืองแห่งการเรียนรู้ จากคณะวิจัยโครงการวิจัยปากพูนเมืองแห่งการเรียนรู้ จ.นครศรีธรรมราช

โดยมี ผศ.ดร.ดำรงศ์พันธ์ ใจห้าววีระพงศ์ และ คณาจารย์ ร่วมด้วยนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช

ดำเนินการจัดทำโดย โครงการการขับเคลื่อนผลงานวิจัยผ่านการสื่อสารสาธารณะ
เพื่อพัฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้ (WeCitizens)

สนับสนุนโดย หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.)

ถืือได้้ว่า่ การวิจิ ััยปากพููนเมือื งแห่ง่ การเรีียนรู้� เป็น็ การวิจิ ััยที่่ม�ุ่�งสร้้างการเรียี นรู้�
ผ่่านการประมวลข้้อมููล และศัักยภาพจากทรััพยากรทุุนเดิมิ ของชุุมชน นำ�ำ มาต่อ่ เติมิ
เสริิมสร้้างให้้มีีความชััดเจน ส่่งเสริมิ ให้้เกิดิ การเสริมิ พลัังซึ่่�งกัันและกัันระหว่า่ งคนใน
ชุุมชน องค์์การปกครองส่่วนท้้องถิ่น� และนัักวิชิ าการ นำำ�พาให้้เกิิดการปฏิิบััติเิ พื่่�อต่อ่ ยอด
ของดีีที่่ม� ีอี ยู่�ให้้เกิดิ การลงมือื ทำำ� ลองผิิดลองถููก สร้้างประสบการณ์ก์ ารทำำ�งานร่ว่ มกััน
และยกระดัับคุุณค่่าต่่างๆ ของเมือื งปากพูนู ที่่�มีีดีอี ยู่�แล้้วให้้สามารถค้้นพบทิิศทาง
และความเป็น็ ไปได้้ใหม่่ๆ เพื่่�อสร้้างทางเลืือกให้้กัับคนในพื้้น� ที่่�ต่อ่ ไป

ผลการวิจิ ััย พบว่า่ ความหลากหลายของทรััพยากรชีวี ภาพและภูมู ิปิ ััญญา
ท้้องถิ่น� พัันธุ์์�พืชื ทั้ง�้ สิ้น� 17 ชนิดิ 41 วงศ์์ 49 สกุุล 51 สปีชี ีสี ์์ ภูมู ิปิ ััญญา

การใช้้ประโยชน์์จากทรััพยากรท้้องถิ่น� มีคี วามหลากหลาย
ทั้�ง้ นำ�ำ ประกอบอาหารทานสด แปรรููป สินิ ค้้าอััตลัักษณ์์
ใช้้ในการรัักษาโรค นำำ�ไปสู่่�การจััดทำำ�พิพิ ิิธภััณฑ์ม์ ีีชีวี ิติ
ระบบการจััดการชุุมชน พบว่่า กลไกไอ้้เฒ่า่ ปากพููน
เป็น็ กลไกความร่ว่ มมือื และเครือื ข่า่ ยการพััฒนาเมือื งปากพูนู
และปรากฏการณ์ก์ ารเคลื่่�อนไหวของกลุ่่�มมาจากการมีคี วาม

ต้้องการของชุุมชนร่ว่ มกััน ทำ�ำ ให้้โครงสร้้างของกลุ่่�มมีคี วามเหนียี วแน่น่
สร้้างกฎกติกิ าร่ว่ มกััน นอกจากนี้้�ทุุนประวััติศิ าสตร์์ส่่งผลให้้ผู้้ค� นในสร้้าง
ความรู้้ส� ึึกร่ว่ ม สร้้างความภููมิิใจในท้้องถิ่�นในมิติ ิิ ต่่าง ๆ ความสำ�ำ เร็็จของ
ประชาชนหรือื กลุ่่�มประกอบอาชีีพในชุุมชนปากพูนู เกิิดจากการมีผี ู้้น� ำำ�ที่่�ดีีมีแี หล่่ง
ทุุนในชุุมชน การเอื้�อประโยชน์์ซึ่่�งกััน การมีีสมาชิกิ ที่่�มีีวินิ ััย และปฏิิบััติิตามกฎ
ของกลุ่่�มการส่่งเสริมิ การมีีส่ว่ นร่ว่ มอย่่างแท้้จริิง การส่่งเสริมิ และร่่วมมือื กัันหน่ว่ ยงาน
ภายในและภายนอกชุุมชน ผ่่านความเป็็น พื้้�นที่่�แห่ง่ การเรีียนรู้� (Learning Space)

“ตลาดความสุขุ ชาวเล”

แลกเปลี่่ย� นสินิ ค้้าและวััฒนธรรม ยกระดัับเศรษฐกิจิ ฐานราก และ
คุุณภาพชีวี ิิตของชาวชุุมชน เทศบาลเมืืองปากพููน
อย่า่ งมั่่�นคง ยั่ง� ยืืน

101





104

105

ความภูมู ิใิ จ

ในท้อ้ งถิ่น่�

การมาปรากฏตัวั ของคนในชุมุ ชนปากพูนู ที่ม�่ ีีอาชีีพเป็น็ คนทำ�ำ สวนมะพร้า้ ว ท้้องถิ่�น การรวมตััวกัันของชุุมชนเพื่่�อหาวิิธีีจััดระเบีียบแบ่ง่ กัันทำ�ำ มาหากิิน
และประมงพื้น�้ บ้า้ น ซึ่ง�่ สละเวลาการทำ�ำ มาหากินิ มาให้ท้ ีีมงานของเราได้ส้ ัมั ภาษณ์์ พร้้อมกัับฟื้น้� ฟูทู รัพั ยากรที่่เ� ป็น็ แหล่ง่ รายได้ท้ างเดีียวจึึงเกิิดขึ้้น� กฎกติิกา
ลงใน WeCitizens ในความรู้�สึกของพวกเราคืือ ‘มีีพลััง’ ของความสดชื่่�น ถูกู นำำ�เข้้ามาใช้อ้ ย่่างได้้ผล และด้้วยการหนุุนเสริมิ ของภาครัฐั งานอนุรุ ักั ษ์์
กระปรี้�กระเปร่่าติดิ มาด้้วย แม้น้ ว่่าหน้า้ ตาของพวกเขาจะมีีริ้้ว� รอยและ ทรัพั ยากรโดยใช้้ป่า่ ชายเลนให้เ้ ป็น็ พื้้�นที่่อ� นุบุ าลของสััตว์น์ ้ำ�ำ� และรวมถึึง
ลัักษณะผิิวที่ก่� ร้า้ นเกรีียมแดด อัันเกิดิ จากอาชีีพที่ต่� ้อ้ งอยู่่�ท่่ามกลางแดด การทำ�ำ งานควบคู่่�กัับโครงการการปล่อ่ ยลูกู สััตว์์น้ำำ��ที่�่ต่่อไปจะมีีราคาค่่างวด
เกืือบตลอดเวลา แต่่แววตาสีีน้ำ�ำ� ตาลเข้ม้ ก็็มีีประกายเจิิดจ้้า ในท้้องตลาดเมื่�อโตเต็็มวัยั ให้เ้ ติิบโตไปตามธรรมชาติจิ ึึงเกิดิ ขึ้้น� และผลลัพั ธ์์
ที่�่ได้้ก็น็ ่า่ ชื่น� ใจ คืือ ชุุมชนค่่อยๆ ขยับั รายได้ส้ ูงู ขึ้น� เพราะสัตั ว์น์ ้ำ��ำ นานาชนิดิ มีี
ถ้อ้ ยคำ�ำ ที่บ�่ อกกับั พวกเรา ให้ค้ วามรู้�สึกล้ว้ นออกมาจากใจ มีีทั้้ง� ความรู้�สึกรักั มากขึ้น� กว่า่ เดิิมอย่่างเห็็นได้้ชัดั ภายในสามสี่่เ� ดืือน ซึ่�่งนำำ�ไปสู่�ความคิดิ ต่่อ
ผูกู พันั และความภาคภููมิใิ จในท้อ้ งถิ่น� บ้า้ นเกิิดหรืือถ้้าเป็็นคนที่อ่� พยพย้้ายถิ่�น ยอดเพิ่่ม� รายได้ใ้ นแนวอื่น� ๆ เช่น่ การพัฒั นาพื้น�้ ที่ใ�่ ห้เ้ ป็น็ แหล่ง่ เรีียนรู้�ในรูปู แบบ
มาปัักหลัักอยู่�ที่�ป่ ากพููนนานมาแล้ว้ ก็ป็ รารถนาจะยึึดที่น�่ ี่่เ� ป็น็ เรืือนตาย ท่อ่ งเที่่�ยวเชิงิ นิเิ วศในป่่าชายเลนที่่ม� ีีทรััพยากรพร้้อมอยู่�แล้ว้ ไม่่ต้้องสร้า้ งใหม่่
การแปรรููปสินิ ค้้าของทะเลให้้มีีมููลค่่ามากขึ้น� และเรีียนรู้�การใช้้ช่อ่ งทาง
นั่่น� สิิ...แล้้วอะไรล่ะ่ ที่่ท� ำ�ำ ให้พ้ วกเขาเกิิดความรู้�สึกเช่่นนั้้น� ... เครืือข่า่ ยโลจิิสติกิ ส์์อย่่างชาญฉลาด เป็็นสิ่�งที่�่ชาวชุมุ ชนปากพูนู เรีียนรู้�ด้ว้ ย
พวกเขาไม่่ได้บ้ อกออกมาเป็น็ คำ�ำ พููดหรอก แต่่เราจัับความรู้�สึกนั้้น� ได้้ ตนเองอย่่างทัันยุุคสมััย
นอกเหนืือจากสายใยของเครืือญาติิ เพื่่อ� น ชีีวิติ อิสิ ระท่า่ มกลางธรรมชาติิ
ที่เ่� ห็น็ ทุกุ วันั จนซึึมซับั เข้า้ เป็น็ เนื้อ�้ เดีียวกัับจิติ วิญิ ญาณ ไม่่ว่า่ ฤดูกู าลจะร้้อน อย่า่ งไรก็็ดีี
หนาว หรืือหวั่น� ไหวไปกับั การมาของพายุุมรสุมุ ประจำ�ำ ถิ่่น� ลููกเล็ก็ บ้้างใหญ่่ ที่่ย� กตััวอย่่างมาข้้างต้น้ คืือการทำำ�มาหากิินของคนปากพูนู ในฐานะชาวเลหรืือ
บ้้าง บางคราวก็็หนัักเอาถึึงตาย ต้้องพลัดั พรากจากกันั ที่่�ทางเครื่�องมืือ คนที่�่ทำ�ำ มาหากิินกัับทะเล แต่ป่ ากพููนก็็มีีชาวสวนมะพร้้อมอีีกด้ว้ ย โดยได้้
ทำำ�มาหากิินหายไปกับั ทะเล ต้้องเริ่ม� ต้้นกันั ใหม่ห่ มด นั่่น� คืือเรื่อ� งราว องค์ค์ วามรู้�มาจากคนเพชรบุรุีีที่อ�่ พยพเข้า้ มานานกว่า่ 50 ปีี แต่ค่ วามน่า่ สนใจ
อย่า่ งรวบรัดั ของคนใต้ใ้ นพื้�น้ ที่ต�่ ำ�ำ บลปากพููน อำ�ำ เภอเมืือง ของจัังหวัดั ของปากพููนมีีมากกว่า่ เรื่�องการทำำ�มาหากิินเลี้ย� งปากท้อ้ ง แต่่คืือความกลม
นครศรีีธรรมราช กลืืนในการอยู่�ร่วมกันั อย่า่ งสันั ติิสุุขของชุุมชนไทยพุทุ ธและมุสุ ลิิม สภากาแฟ
… แบบวิถิ ีีคนใต้ใ้ นเพิงิ เล็ก็ ๆ คืือประจักั ษ์พ์ ยาน มันั เป็น็ เหมืือนฉากหนังั ที่ค�่ น
‘บ้้านใครใครก็ร็ ััก’ คงมีีความสำ�ำ คัญั พอๆ กับั ‘แหล่่งทำำ�มาหากินิ ของใคร ท้อ้ งถิ่�นมานั่่�งคุยุ กัันอย่า่ งไหลลื่�นโดยไม่่ต้อ้ งมีีสคริปิ ท์์ แต่่ใช้้เป็น็ พื้น�้ ที่ก�่ ลาง
ใครก็ห็ วง’ เมื่อ� ทรััพยากรสััตว์์น้ำ�ำ�เริ่�มลดลงเรื่�อยๆ จากการทำ�ำ ประมงด้้วย ที่่�คนภายนอกชุุมชนอย่่างพวกเรานั่่ง� ฟัังอย่่างเพลิิดเพลินิ ถึึงจะฟังั รู้�เรื่�องบ้้าง
เครื่�องมืือขนาดใหญ่่ของคนนอกพื้น�้ ที่ท�่ ี่�่อยู่�เหนืืออำ�ำ นาจการควบคุมุ ของคน ไม่รู่้�เรื่อ� งบ้้างก็็ตาม

December, 2022

ผลติ โดย
โครงการการขบั เคลื่อนผลงานวิจยั ผ่านการสื่อสารสาธารณะ

เพื่อพัฒนาเมืองแหง่ การเรยี นรู้ (WeCitizens)

สนบั สนนุ โดย
หน่วยบรหิ ารและจดั การทุนด้านการพัฒนาระดับพ้ืนท่ี (บพท.)

และสมาคมเพื่อออกแบบและส่งเสรมิ การมีพื้นที่สาธารณะ
และพ้ืนท่สี ีเขยี ว Greening Up Public Space

หวั หน้าโครงการ ออกแบบปก/รูปเลม่
สามารถ สุวรรณรตั น์ สังวรณ์ หอชัยศิวะนนท์

บรรณาธิการ อินโฟกราฟิ กส์
นพดล พงษ์สุขถาวร etceen studio

เร่ืองเล่าจากผ้คู น (เสียงปากพูน) วิดโี อ
นพดล พงษ์สุขถาวร ธรณิศ กีรตปิ าล
จริ ฎั ฐ์ ประเสรฐิ ทรพั ย์ วัชระพันธ์ ปั ญญา
ปิ ยะลักษณ์ นาคะโยธิน เอกรนิ ทร์ นันปิ นตา
ธิตนิ ัดดา จนิ าจนั ทร์
สามารถ สุวรรณรตั น์ สีน้ำ�
ธเนศ มณศี รี 15.28studio
ถา่ ยภาพ
กรนิ ทร์ มงคลพันธุ์ ประสานงาน
พรพจน์ นนั ทจวี รวัฒน์ ลลติ า จติ เมตตาบรสิ ุทธ์ิ

wecitizen2022 wecitizensvoice wecitizens
@gmail.com thailand.com

หนว่ ยบริหารและจดั การทนุ ด้านการพัฒนาระดับพ้ืนที่ (บพท.)
สำ�นกั งานสภานโยบายการอุดมศึกษา

วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรมแหง่ ชาติ (สอวช.)

ที่ปรึกษา และผทู้ รงคุณวุฒิ กรอบการวิจยั
“การพัฒนาเมืองแหง่ การเรียนรู้ (Learning City)”
รศ.ดร.ป่ นุ เท่ยี งบูรณธรรม รศ.ดร.ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ

ดร.สมคดิ แกว้ ทพิ ย์ รศ.ดร.ฉวีวรรณ เด่นไพบูลย์

การย้อนกลับไปศึกษาประวตั ศิ าสตร์

หรอื รากเหง้า ของเราเอง
คอื ต้นทุนอนั ยอดเยี่ยม สู่การพัฒนา

บา้ นเกิดของเรา ส่อู นาคต

- ผศ.มานะ ขุนุ วีีช่ว่ ย

นักั วิิจัยั ในโครงการเมือื งแห่ง่ การเรียี นรู้้�ปากพููน


Click to View FlipBook Version