1
2
3
4 ในทศวรรษที่ผ่ านมา “กฎบัตร” (Charter) กลายเป็ นหนึ่งเครื่องมือที่หลายเมืองในประเทศไทยน�า มาใช้ เพื่อกระตุ้ นการพัฒนาเมือง โดยใช้ เครื่องมือการ สร้ างภาคีเครือข่ าย กับค�ามั่นสัญญา (Commitment) เป็ นข้ อตกลงร่ วมของทุกภาคส่ วนในประเด็นต่ างๆ เป็ น ดังเข็มทิศ ช ่วยให ่ การขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองมีความ ้ ชัดเจน นครสวรรค คือ หนึ่งในเมืองที่ใช ์ กฎบัตร ได ้ ประสบความ ้ ส�าเร็จและก้ าวหน้ ามากที่สุดของประเทศ มิใช่ เพียงแค่ การคลี่คลายประเด็นการพัฒนา ศักยภาพ และความมุงมั ่น่ ของคนในจังหวัดออกมาเป็ นหัวข้ อชัดเจน แต่ ได้ เกิด แนวทางในความหลากหลายประเด็นน�าไปสู่ การปฏิบัติ การจริง เรื่องหนึ่ง คือ เรื่องการแก้ ไขผังเมือง ในเขต เมืองนครสวรรค์ ให้ สามารถตอบโจทย์ การลงทุน เพื่อ สร้ างความเป็ นไปได้ ใหม่ ๆ ใหกับเมือง ซึ่งได ้ ้ เกิดขึ้นจริง แล้ วกับย่ านสถานีขนส่ งนครสวรรค์ ซึ่งถูกน�ามาเป็ น โจทย์ วิจัยต่ อยอดความเป็ นไปได้ ตามแนวคิด Smart Block ผ่ านโครงการวิจัย การพัฒนาแพลตฟอร์ ม ต้ นแบบกฎบัตรเมืองอัจฉริยะเพื่อยกระดับขีดความ สามารถทางเศรษฐกิจและสังคม สู่ นครสวรรค์เมือง แหงการเรียนรู ่ ้ โดย ฐาปนา บุณยประวิตร นักผังเมือง จากสมาคมการผังเมืองไทย เป็ นหัวหน้ าโครงการ โครงการวิจัยชิ้ นนี้มีเป้ าหมาย เพื่อ 1) พัฒนากลไกการ ขับเคลื่อนเมืองแห่ งการเรียนรู้ สู่ ความความยั่งยืน (Learning City for Social and Economic Sustainability) ในระดับพื้นที่ โดยอาศัยแนวทางของ กฎบัตรเมืองอัจฉริยะ (Smart City Charter) ร่ วมกับ กระบวนการตกลงร่ วมกันของทุกภาคส่ วน (Social Collaboration) 2) พัฒนากระบวนการศึกษาท้ องถิ่ น (Local Study) ท�าให้ เกิดความรวมมือทางสังคม ความ ่ ภูมิใจ ในท้ องถิ่ น และน�าไปสู่ การต่ อยอดผลิตภัณฑ์ และ การบริการในพื้นที่ ด้ วยกระบวนการเพิ่มสมรรถนะใน การพัฒนาเมือง การพึ่งพาตนเอง และการบริหาร จัดการตนเองให้ แก่ ประชาชนในพื้นที่และ 3) พัฒนา พื้นที่การเรียนรู้ (Learning Space) ในรูปแบบของยาน่ อัจฉริยะ (Smartblock) เพื่อเป็ นพื้นที่น�ารอง (Sandbox) ่ ในการยกระดับทางกายภาพควบคูกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ่ และสังคมในระดับยาน ซึ่งได ่ ้ เลือกพื้นที่น�ารองเป็ นพื้นที่ ่ ย่ านสถานีขนส่ งนครสวรรค์ ขนาด 0.62 ตร.กม. เป็ น พื้นที่รูปทรงสามเหลี่ยมขนาบข้ างด้ วยถนนสายส�าคัญ สามสายได้ แก่ ทางหลวงแผ่ นดินหมายเลข 1 ถนน พหลโยธิน และถนนมาตุลี จากการท�างานอย่ างต่ อเนื่องของคณะผู้ วิจัยกับการ พั ฒนากฎบัตรนครสวรรค์ น�าสู่ การออกแบบให้ โครงการนี้ก�าหนดขั้นตอนการด�าเนินงานที่เป็ นขั้นตอน ตอเนื่องจากการผลักดันให ่นครสวรรค้ เป็ น Smart City ์ โดยริเริ่ มจากการสร้ าง Smartblock ให้ เป็ นตัวอย่ าง โดยอาศัย 7 ขั้นตอน ได้ แก่ 1) การแนะน�าโครงการ 2) การศึกษาทบทวนขอมูลเชิงพื้นที่และยุทธศาสตร ้การ์ พัฒนา 3) การคัดเลือกกรรมการกฎบัตรเมืองอัจฉริยะ 4) การฝึ กอบรมและการปฏิบัติการออกแบบเมือง 5) การออกแบบพื้นที่ Smartblock ให้ เป็ นพื้นที่ Urban Smart City Spaces 6) การปฏิบัติการขับเคลื่อนการ พั ฒนา และ 7) การประเมินผลและการพั ฒนา กระบวนการ แม้ ภาพของการจะเป็ นเมือง Smart City จะเล็งเห็นได้ ชัดในเรื่องของการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานด ้ านดิจิทัล ้ เป็ นหลัก แต่ ส�าหรับเมืองนครสวรรค์ ทางคณะนักวิจัย ได้ เพิ่มเติมแนวคิดการเจริญเติบโตอย่ างชาญฉลาด (Smart Growth) เกณฑการออกแบบด์ านพลังงานและ ้ สภาพแวดล้ อมระดับย่ าน (LEED-ND) เกณฑ์ การ ออกแบบเมือง Form-Based Codes และ LEED for Cities and Communities ซึ่งใหความส� ้าคัญกับการ จัดการพลังงาน สิ่ งแวดล้ อม และความน่ าอยู่ อย่ าง ยั่งยืนของย่ านและชุมชน เข้ ามามีส่ วนในการพัฒนา จินตภาพ และการออกแบบพื้นที่น�ารอง โดยขั ่นตอนการ้ ด�าเนินการที่นอกจากจะใชการมีส ้วนร่ วมรับฟังข ่ อคิดเห็น ้ แนวคิดการพัฒนาเมืองเหลานี้ก็ได ่ ถูกน� ้าไปใช้ เพื่อสราง้ ความรู้ ความเขาใจ ให ้ กับผู ้ ที่มีส ้ ่ วนเกี่ยวของทั ้ งภาครัฐ ้ เอกชน และประชาชนในพื้นที่อย่ างต่ อเนื่อง ซึ่งน�าไปสู่ การพัฒนาเกณฑ์ การสร้ างสภาพแวดล้ อมที่ดีใหกับ้ พื้นที่ เชน การก� ่าหนดเสนทางสัญจรสีต ้ างๆ เพื่อระบุถึง ่ นครสวรรค์ จากกฎบัตร สู่การเรียนรู้พัฒนาเมือง
5 การพัฒนาโครงสร้ างพื้นฐานรองรับในถนนสายนั้น อย่ างการพัฒนาทางเท้ า ทางจักรยาน พื้นที่กิจกรรม พื้นที่สีเขียว ส�าหรับถนนภายในชุมชน หรือถนนที่ ส่ งเสริมการค้ าขายและการเดินเท้ าเป็ นหลัก ฯลฯ ผลลัพธการด� ์าเนินงานที่เกิดขึ้น คณะวิจัยไดจัดกิจกรรม ้ ปฏิบัติการออกแบบเมืองและการรับฟั งความคิดเห็น จากประชาชนถึงการพัฒนายานอัจฉริยะ สอบถามความ ่ คิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนายานที่คนนครสวรรค ่ ์ ต้ องการ กิจกรรม Workshop ออกแบบย่ านอัจฉริยะ โดยใช้ แผนที่และโมเดลเสมือนจริงเพื่อใหผู้ ้ เข้ าร่ วมเห็น ภาพการพัฒนารูปแบบศูนยเศรษฐกิจใจกลางเมืองแห ์ งใหม ่ ่ ทั้งในเรื่องของความสูงอาคาร การปฏิบัติการก�าหนด ประเภทกิจกรรมเศรษฐกิจจ�าแนกตามโซนการใช้ ที่ดิน ของย่ านเศรษฐกิจนวัตกรรมอัจฉริยะ Smartblock สถานีขนส่ งจังหวัดนครสวรรค์ ซึ่งได้ ด�าเนินการจัด กิจกรรม Workshop ทั้งกับกลุ่ มหน่ วยงานภาครัฐ และ กับประชาชนในพื้นที่ การทดสอบสถานการณ์ จ�าลอง การออกแบบทางเดินโดยใช้ เครื่องมือ สถานการณ์ จ�าลอง (Tactical Urbanism) บริเวณด้ านหน้ าสถานี ขนส่ งจังหวัดนครสวรรค์ เติมพื้นผิวถนนด้ วยสีสัน สรางความแตกต้ างให ่ กับที่พื้นที่จอดรถริมทาง และทาง ้ ขามม้ าลาย ให ้ ้ เกิดความแตกตางชวนคิดชวนตั ่ งค� ้าถาม ต่ อพฤติกรรมการใช้ ถนนด้ านหน้ าสถานีขนส่ ง และการ สรางการมีส ้วนร่ วม (Social Collaboration) ซึ่งได ่ รับ้ ความรวมมือเป็ นอย ่ างดี จนอาจเรียกได ่ว้ าเป็ นคู ่ คิดมิตร ่ ร่ วมงาน อย่ างเทศบาลนครนครสวรรค์ คอยเป็ นก�าลัง หลักในการรวมปฏิบัติงาน และการสร ่ างการมีส ้วนร่วม่ กับประชาชนในพื้นที่ รวมไปถึงการจัดท�าการจัดท�าข้ อ เสนอการพัฒนาย่ านนวัตกรรมเศรษฐกิจ 6 บริเวณ บริเวณที่ 1 ย่ านนวัตกรรมเศรษฐกิจค้ าปลีกและบริการ (ตลาดปากน้�าโพ) บริเวณที่ 2 ย่ านนวัตกรรมเศรษฐกิจ สุขภาพ (ย่ านศรีสวรรค์ ) บริเวณที่ 3 ย่ านนวัตกรรม เศรษฐกิจใหม่ นครสวรรค์ (Smartblock สถานีขนส่ ง นครสวรรค์ ) บริเวณที่ 4 ย่ านนวัตกรรมผสมผสานการ ศึกษาและบริการ (ย่ านม.ราชภัฏ) บริเวณที่ 5 ย่ าน พาณิชยกรรมขนส่ งและโลจิสติกส์ (สถานีปากน้�าโพ) บริเวณที่ 6 ยานพาณิชยกรรมชานเมือง เพื่อตอบโจทย ่ ์ ทิศทางการพัฒนาเมืองนครสวรรค์ ในอนาคต ติดตามการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองเมืองนครสวรรค์ Facebook เทศบาลนครนครสวรรค์ https://www.facebook.com/nsm.go.th Facebook สมาคมผังเมืองไทย
6
7 ฐาปนา บุณยประวิตร จิตตเกษมณ์ นิโรจน์ธนรัฐ สมศักดิ์ อรุณสุรัตน์ นิกร ศรีนิล และวิพารัตน์ เทียมจันทร์ รุ่งรัตน์ สุวิทยารักษ์ สรรเสริญ นภาพร ฐปนันท์ งามบุษรัตน์ อร่ามศรี จันทร์สุขศรี คำ ปั น นพพันธ์ ธนาเทพ ถึงสุข สันติ คุณาวงศ์ ศักดิ์ ศิริ มีสมสืบ รศ.ดร.สุรชาติ แสงทอง นพ.ชวลิต วิมลเฉลา วิรัช ตั้ งประดิษฐ์ จตุรวิทย์ นิโรจน์ธนรัฐ รัตนาภรณ์ ทองแฉล้ม เสกสรร ป้ อมโพธิ์ ภราดาธีระยุทธ ชาแดง วีรวุฒิ บำ รุงไทย เสวก ล้อพูนผล ธรรมรงค์ ราชามุสิกะ ดร.ประเสริฐ พัฒนผลไพบูลย์ ดร.ภาสกร ประถมบุตร พัฒนพงศ์ สุวรรณชาต 28 38 42 46 48 52 56 58 60 62 66 70 78 80 82 84 88 90 92 94 96 98 100 102 104
8
9
10
11 ฐาปนา บุณยประวิตร นายกสมาคมผังเมืองไทยและ เลขานุการกฎบัตรไทย นักวิจัยที่เข้ ามายังเทศบาลนคร นครสวรรค์ และมีส่ วนขับเคลื่อนให้ เกิดคณะกรรมการ กฎบัตรนครสวรรค์เพื่อเป็ นกลไกในการพัฒนาเมือง กลาวชื่นชมเมืองแห ่ งนี้ว ่ าเป็ นเมืองที่เขาพบความร ่ วมมือ ่ จากทุกภาคส่ วนอย่ างน่ าทึ่งและไม่ เคยพบจากเมืองไหน มาก่ อน ถึงขนาดนิยามว่ านครสวรรค์ มีศักยภาพเป็ น เมืองหลวงแหงกฎบัตรของประเทศไทย ่ เชนเดียวกับสองคีย ่ แมนคนส� ์าคัญอยาง นายกเทศมนตรี ่ นครนครสวรรค์จิตตเกษมณ นิโรจน ์ ธนรัฐ ์ และประธาน สภาเทศบาลฯ สมศักดิ์ อรุณสุรัตน์ ที่ได้ รับเสียงชื่นชม จากทั้งกลุ่ มนักวิชาการ เครือข่ ายภาคธุรกิจและภาค ประชาชน ถึงความตังใจสานความร้วมมือและเปิ ดโอกาส ่ ใหคนนครสวรรค้ ์ ทุกกลุ่ มมีส่ วนในการแบ่ งปั นข้ อคิดเห็น เพื่อก�าหนดทิศทางของเมือง รวมถึงการออกแบบกรอบ ของกฎบัตรและแนวทางพัฒนาเมืองด้ วยสมาร์ ทซิตี้ ที่ ครอบคลุมผูคนทุกระดับ รวมทั ้งผู้มีรายได ้น้อยอย้ างทั ่ วถึง ่ แต่ นั่นล่ ะ ไม่ ใช่ เพียงเพราะการที่เมืองมีผู้ น�าเข้ มแข็ง เท่ า ที่ WeCitizens พูดคุยกับผู้ คนหลายสิบรายในเมืองแหง่ นี้ เกือบทั้งหมดตั้งข้ อสังเกตว่ า ที่เมืองมีนิมิตหมายแหง่ การพัฒนาที่น่ าชื่นชมเช่ นนี้ได้ เป็ นเพราะความรวมแรง่ รวมใจของภาคธุรกิจและประชาชน ซึ่งเป็ นผลมาจากการ ่ มีพื้นฐานทางวัฒนธรรม… “ผู้ คนในเมืองนี้ส่ วนใหญ่ เป็ นลูกหลานชาวจีน ทุกคนจึง รูจักกันหมดตั ้งแต้รุ่ นอากง กระทั ่ งท� ่าธุรกิจแบบเดียวกัน น้ อยรายที่จะมองเป็ นคู่ แข่ งกัน ผมมองว่ านี่คือจุดเด่ น ของเมืองนครสวรรค์ ” วิรัช ตั้งประดิษฐ์ กรรมการ หอการค้ า และประธานหอการค้ ากลุ่ มจังหวัดภาคเหนือ ตอนล่ าง 2 กล่ าว หรือเช่ นที่ จิตตเกษมณ์ นิโรจน์ ธนรัฐ นายกเทศมนตรีฯ กล่ าวไว้ … ตรุษจีนปากน�้ำโพ ภาพสะท้ อนการพัฒนาเมือง แบบคนนครสวรรค์ “เทศบาลสรางพาสานได ้ ก็เพราะผู ้ ประกอบการในปาก ้น้า� โพรวบรวมเงินกันซื้อที่ดินบริเวณเกาะยม ปากแม่ น้�า เจ้ าพระยา ก่ อนจะยกให้ เทศบาล เป็ นที่ก่ อสร้ างแลนด์ มารคใหม ์ ของเมือง หรือองค ่เจ์าแม้ กวนอิมที่มีแผนจะจัด ่ สร้ างบริเวณอุทยานวัฒนธรรมต้ นน้�าเจาพระยา มูลค้ ่ า กว่ า 38 ล้ านบาท นี่ก็เป็ นเงินที่รวมกันเองของภาค ประชาชนทั้งหมด” จริงอยู่ ที่นครสวรรค์เป็ นเมืองที่รุมรวยด่ ้ วยความหลาก หลายทางวัฒนธรรม ไม่ ใช่ เฉพาะคนไทยเชื้อสายจีนใน ย่ านการค้ าเท่ านั้น หากก็ปฏิเสธไม่ ได้ ว่ า เพราะ วัฒนธรรมแบบ ‘ปั่กน่า� โพโหงวซก’ หรือวัฒนธรรมของ คนจีน 5 ภาษา ที่เข้ ามาตั้งรกรากในเมืองปากแม่ น้�า เจาพระยาแห้ งนี้ เป็ นเรี่ยวแรงส� ่าคัญในการบุกเบิกเมือง นับรอยกว้ ่ าปี ที่แล้ ว ก่ อนจะผสานเข้ ากับวัฒนธรรมของ คนต่ างเชื้อชาติในพื้นที่ จนท�าให้ เมืองเล็กๆ แหงนี้ กลาย ่ เป็ นจังหวัดที่มีความพรอมในการพัฒนาหลากหลายมิติ ้ และเพื่อให้ เห็นรูปธรรมของความร่ วมมือดังกล่ าว ไม่ มี อะไรจะเป็ นหลักฐานเชิงประจักษ์ ไดดีไปกว ้ ่ าเทศกาลตรุษ จีน หรืองานประเพณีแห่ เจาพ้ ่ อ-เจาแม้ ่ ปากน้�าโพ งาน ตรุษจีนประจ�าปี ที่ยิ่ งใหญ่ ที่สุดของประเทศไทย งานที่มี จุดเริมต่ ้ นจากความรวมแรง ร่ วมใจ และร ่วมทุนจากคน่ ปากน้�าโพ FEATURE ฉบับเมืองแหงการเรียนรู ่นครสวรรค้ ฉบับนี้ ์ จะพาไปส�ารวจภาพสะท้ อนการพัฒนาเมืองแบบคน นครสวรรค์ ผ่ านเทศกาลที่กลายเป็ นหน้ าเป็ นตาของ เมือง เทศกาลที่ไม่ เฉพาะคนจีน หากคนทุกเชื้อชาติใน เมืองเมืองนี้ ล้ วนมีส่ วนขับเคลื่อนให้ เกิดตอเนื่องมากว ่ ่ า 107 ปี จนถึงปั จจุบัน Feature
12 Feature
13 Feature ปากน้ � าโพมาจากไหน ก่ อนไปท�าความรู้ จักตรุษจีนปากน้�าโพ เราอยากชวนทุกคน ท�าความเขาใจชื่อเรียกของสถานที่จัดงาน นั ้ นก็คือเมืองปาก ่น้า� โพ จังหวัดนครสวรรค์ ‘ปากน้า�โพ’ คือจุดที่แมน้่า�ปิ ง (ที่รวมกับแมน้่า�วัง) และแมน้่า�นาน ่ (ที่รวมกับแม่ น้�ายม) ไหลมาสบรวมกัน จนเกิดเป็ นต้ นแม่ น้�า เจาพระยาไหลลงสู ้ ่ ภาคกลางผ่ านกรุงเทพฯ ก่ อนจะออกสู่ อ่ าว ไทยที่สมุทรปราการ มีขอสันนิษฐานถึงชื่อปาก ้น้า�โพหลายขอ ไม ้ ่ ว่ าจะเป็ นชื่อที่เพี้ยนมาจากค�าว่ า ปากน้�าโผล่ หรือจุดที่ปากน้�า หรือต้ นแม่ น้�าปรากฏ หรือมาจากปากน้�าโพธิ์ เนื่องจากแต่ เดิม มีต้ นโพธิ์ขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ บริเวณปากน้�า สุจิตต์ วงษ์เทศ นักเขียนและผู้ ก่ อตั้งนิตยสารศิลปวัฒนธรรม ยังตั้งข้ อสังเกตอีกว่ า ชื่อ ‘โพ’ มาจากชื่อคลองโพในจังหวัด อุตรดิตถ์ ที่ไหลลงแม่ น้�าน่ าน แต่ เดิมคนเรียกแม่ น้�าน่ านทั้งสาย ที่ไหลจากอุตรดิตถลงนครสวรรค์ว์ ่ าแมน้่า�โพ และเรียกบริเวณ ที่เป็ นปากน้�าที่ไหลมาบรรจบกับแม่ น้�าปิ งว่ า ‘ปากน้�าโพ’ ทั้งนี้ ไม่ ว่ าที่มาที่แท้ จริงคืออะไร หากผู้ คนก็จดจ�าชื่อปากน้�าโพ ในฐานะศูนย์ กลางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของเมือง นครสวรรค รวมถึงจุดที่แม ์น้่า�ส�าคัญ 4 สายในภาคเหนือมารวม กัน กอนจะทอดยาวหล่ อเลี้ยงชีวิตผู ่ คนในที่ราบลุ ้มภาคกลางมา่ นานหลายศตวรรษ เมืองแม่ น้ � าสองสี หากเราขึ้นไปบนพาสาน แลนด์ มารคใหม ์ ่ ของเมืองที่อยู่ บริเวณปากแม่ น้�าเจาพระยา ้ จะเห็นความแตกต่ างของ สายน้�าทั้งสองสายได้ อย่ าง ชัดเจน โดยแมน้่า�นานจะมีสีค ่อน่ ข้ างแดง ส่ วนแม่ น้�าปิ งจะมีสี คอนข่ างเขียว นั ้ นท� ่าใหนอกจาก้ นครสวรรค์ จะถูกขนานนามว่ า ‘เมืองสี่แคว’ จากการมีแม่ น้�า 4 สายไหลผาน ยังเป็ นที่รู ่ จักในอีก ้ ชื่อว่ า ‘เมืองแม่ น้�าสองสี’ ด้ วย
14 ค�าว่ า ‘ปั่กน่�าโพโหวงซก’ เป็ นภาษาจีน แปลว่ า เมืองคนจีน 5 ภาษาในปากน้�าโพ ต้ นก�าเนิดของ เรื่องนี้ต้ องย้ อนกลับไปช่ วงปลายสมัยอยุธยา ใน ขณะนันประเทศจีนเกิดสงครามกลางเมือง ประสบ้ ภาวะขาวยากหมากแพง ชาวจีนในมณฑลต ้ างๆ จึง ่ มองหาอนาคตใหม่ ด้ วยการแสวงโชคหอบเสื่อผืน หมอนใบออกเรือเดินทางจากแผ่ นดินแม่ ล่ องไป ตามเส้ นทางการค้ า จนมาหยุดที่ดินแดนที่ปั จจุบัน กลายเป็ นประเทศไทย นันคือยุคสมัยที่ชาวจีนเข ่ามาตั ้ งรกรากในเมืองท้า่ หลายแห่ งในบ้ านเรา รวมถึงปากน้�าโพ ชัยภูมิ ส�าคัญที่เป็ นเสมือนศูนยกลางการขนส์ งทางเรือใน ่ สมัยก่ อน ที่เชื่อมภาคเหนือและกลางไว้ ด้ วยกัน ในบรรดาคนจีนทั้งหมดที่อพยพเข้ ามาใน นครสวรรค์ คนจีนไหหล�าได้ เข้ ามาตั้งถิ่ นฐานอยู่ ก่ อนที่อ�าเภอเก้ าเลี้ยว และต�าบลบ้ านมะเกลือ อ�าเภอเมืองนครสวรรค ต์ อมา คนจีนแต ่ จิ้ ว จีนแคะ ๋ จีนกวางตุง และจีนฮกเกี้ยน ก็ทยอยตามกันมา โดย ้ เลือกอาศัยอยู่ ฝั่งตะวันตกของแม่ น้�าปิ ง รวมถึง ใกล้ กับบริเวณปากแม่ น้�าเจ้ าพระยา อ�าเภอเมือง นครสวรรค์ ซึ่งเป็ นชัยภูมิส�าคัญของการเดินเรือ นับแต่ นั้นคนจีนทั้ง 5 ภาษา ก็ได้ เริมบุกเบิกการค่ ้ า ในพื้นที่ จนเกิดเป็ นตลาดปากน้�าโพ พร้ อมกับน�า อัตลักษณทางวัฒนธรรมและความเชื่อของตนเอง ์ มาหลอมรวมเข้ ากับวิถีชีวิตพื้นถิ่ นจนเกิดเป็ นรูป แบบทางวัฒนธรรมที่เป็ นเอกลักษณ์ และถูกเรียก ขานว่ า ‘ปากน้�าโพโหงวซก’ ในที่สุด ปั ่ กน่ � าโพโหงวซก – คนจีน 5 ภาษา ผู้ บุกเบิกปากน้ � าโพ Feature
15 Feature
16 Feature แม้ คนจีนที่เข้ ามาตั้งรกรากในปากน้�าโพจะมีพื้นเพทาง ภาษาและวัฒนธรรมที่แตกต่ างกัน แต่ สิ่ งหนึ่งที่เหมือน กันคือการนับถือบรรพบุรุษและเทพเจา ซึ่งเมื่อพวกเขา ้ ไปถึงหรืออาศัยอยูที่ไหน ก็จะอัญเชิญเทพเจ ่ าที่ตนนับถือ ้ มาดวย ที่ตลาดปาก ้น้า�โพก็เชนกัน ชาวจีนที่นับถือเจ ่าพ้ ่ อ เทพารักษ์ เจาแม้ ่ ทับทิม เจาพ้ ่ อกวนอู และเจาแม้ ่ สวรรค์ ก็ไดอัญเชิญเทพเจ ้ามาพร้ อมกับการตั ้ งศาลเป็ นที่ประทับ ้ โดยมีการตังอยู้สองศาลหลักๆ คือ ศาลเจ ่าพ้ ่ อเทพารักษ์ ริมปากแม่ น้�าเจาพระยา ฝั ้่งตะวันออกของตลาดปากน้�า โพ และศาลเจ้ าแม่ หน้ าผา ริมแม่ น้�าปิ ง ที่บ้ านหน้ าผา บริเวณทิศเหนือของตลาดปากน้�าโพ นอกจากนี้ เนื่องจากคนเชื้อสายจีนตั้งรกรากกระจายไป ทั่วเมือง จึงมีการตั้งศาลเจาตามมาอีกหลายแห ้ ่ ง อาทิ ศาลเจาพ้ ่ อกวนอู บริเวณถนนมาตุลี หรือศาลเจาพ้ ่ อ-เจา้ แม่ ศูนยการค์านครสวรรค้ บริเวณสถานีขนส ์งผู่ ้ โดยสาร จังหวัดนครสวรรค์ อันเป็ นย่ านเศรษฐกิจใหม่ ของเมือง เป็ นต้ น ศาลเจาพ้ ่ อ เจาแม้ ่ ศูนย์ กลางความศรัทธา ชาวปากน้ � าโพ
17 เมื่อมีศาลเจาสถิตเป็ นศูนย ้ ์ กลางความศรัทธาของคนจีนในพื้นที่ นั่นท�าให้ ในทุกๆ วันตรุษจีน ชาวปากน้�าโพจะจัดพิธีเฉลิมฉลองด้ วยการแห่ เจาพ้ ่ อเจาแม้ ทางเรือล ่องแม่น้่า�เจาพระยา (เนื่องจากสมัยก ้ อนยังไม ่ มีการตัดถนน ่ ครอบคลุมเมืองเชนทุกวันนี้) โดยจะจัดพิธีกันสองวัน วันแรกจะอัญเชิญเจ ่า้ พ่ อเทพารักษ์ เจาพ้ ่ อกวนอู และเจาแม้ ทับทิม ประทับบนเกี้ยวและน� ่าลงเรือ บรรทุกข้ าวหรือเรือบรรทุกไม้ ล่ องไปทางตลาดใต้ (ทิศใต้ ของปากแม่ น้�า เจาพระยา) ก ้ อนอัญเชิญกลับศาล ส ่ วนวันที่สองจะแห ่ ขึ้นทางเหนือ ฝั ่ ่งแมน้่า� น่ าน (ที่รวมกับแม่ น้�ายม) ไปทางสถานีรถไฟปากน้�าโพ Feature
18 Feature ไม่ มีการบันทึกว่ าประเพณีแห่ เจาพ้ ่ อ-เจาแม้ ่ ทางเรือเริมขึ้นตั ่ ้งแต่ เมื่อไหร่ กระนั้นจุดเปลี่ยนส�าคัญ ซึ่งน�ามาสู่ การเริมต่ ้ นประเพณีนี้อย่ างเป็ นทางการ คือราวปี พ.ศ.2460 เกิดโรคอหิวาตกโรคระบาดและคราชีวิตชาวปาก ่น้�าโพ ไปจ�านวนมาก ในสมัยนันการแพทย้ยังไม ์ มีการพัฒนาเช ่ นทุกวันนี้ ที่พึ่งเดียว ่ ส�าหรับการรอดพ้ นวิกฤตของผู้ คนที่นี่คือการขอพรเจาพ้ ่ อและเจาแม้ ่ ที่ศาลเจาพ้ ่ อเทพารักษ์ มีการน�ายันต (ฮู ์ ้ ) ของเจาพ้ ่ อเทพารักษ์ มาจุดไฟเผา เพื่อน�าเถ้ ากระดาษามาชงกับน้�าให้ ชาวบ้ านได้ จิบ ด้ วยความเชื่อว่ าสิ่ งนี้จะ ชวยปั ดเป ่ ่ าสิงชั ่วร่ายออกไปได ้ ้ ทังนี้ ในบันทึกจากเอกสารโบราณระบุว ้าผู่คน้ ที่จิบน้า�จากยันตดังกล ์ าวได ่รอดพ้ ้ นจากโรคระบาดจริง นันท� ่าใหคนปาก ้น้า�โพ จัดพิธีอัญเชิญเจาพ้ ่ อ-เจาแม้ จากทุกศาลในเมืองมาจัดพิธีแห ่ รอบตลาด เพื่อ ่ เป็ นการแสดงความขอบคุณ พรอมกับเป็ นนัยของการปั ดเป ้ ่ าสิงชั ่วร่ายออก้ ไปจากเมือง รวมถึงมีการเชิญคนทรงเจามาท� ้าพิธีรักษาโรค กอนจะมีการน� ่า ศิลปวัฒนธรรมของคนจีนแต่ ละเผ่ า อาทิ การแห่ เสือ สิงโต และมังกร มารวมแสดงในขบวนในเวลาต ่ ่ อมา นับแต่ นั้น ควบคู่ ไปกับการแห่ เจ้ าพ่ อ-เจ้ าแม่ ทางเรือ คนปากน้�าโพจึงจัด ขบวนแหรอบตลาด เพื่อเป็ นสิริมงคล ก ่ ่ อนที่ราวปี พ.ศ. 2493 จะมีการเปิ ด ใช้ สะพานเดชาติวงศ์ บริเวณทิศใต้ ของตลาดปากน้�าโพ สะพานแหงส� ่าคัญ ที่เชื่อมเมืองเข้ ากับภาคกลาง และเป็ นสัญลักษณ์ อันเป็ นจุดเริ่ มต้ นของยุค สมัยแหงท่องถนน ขบวนแห้ ่ เจาพ้ ่ อ-เจาแม้ ทางเรือจึงยุติลง เหลือเพียงการ ่ แหบนถนนรอบตลาดอย่ ่ างเดียวมาจนถึงปั จจุบัน เหตุเกิดเพราะอหิวาตกโรค
19 Feature ตรุษจีนที่ไม่ ใช่ แค ่ ของคนจีน แม้ นครสวรรค์ จะเป็ นเมืองที่มีชาวไทยเชื้อ สายจีนอาศัยมากที่สุดเป็ นอันดับ 3 รองจาก กรุงเทพฯ และภูเก็ต หากตรุษจีนปากน้า�โพก็ เป็ นประเพณีที่จัดใหญ่ ที่สุดในประเทศไทย โดยทุกปี จะมีการจัดถึง 12 วัน 12 คืน บริเวณ ถนนริมน้�าในย่ านตลาดปากน้�าโพ (ถนนริม ปากแม่ น้�าเจาพระยา) โดยในวันงานจะมีการ ้ อัญเชิญเทพเจาจากทุกศาลในตลาดมาประทับ ้ อยู่ ณ ศาลเจาชั ้่วคราว 2 ศาลในงาน ได้ แก่ ศาลเหนือชัวคราว ซึ่งอัญเชิญมาจากศาลเจ ่า้ แม่ หน้ าผา และศาลใต้ ชั่วคราว ซึ่งอัญเชิญ เจาพ้ ่ อเทพารักษ์ เจาแม้ ่ ทับทิม เจาพ้ ่ อกวนอู และเจ้ าแม่ สวรรค์ มาจากศาลเจ้ าพ่ อ เทพารักษ์ บริเวณปากแม่ น้�าเจาพระยา เพื่อ ้ ให้ ผู้ คนได้ สะดวกต่ อการสักการะ รวมถึง สะดวกตอการอัญเชิญเข ่าร้วมขบวนแห่ ่ ทังนี้ ้ นอกจากศาลเจาชั ้วคราวแล่ว ภายในงานยัง ้ มีโรงงิว การออกร้าน และการแสดงบริเวณ ้ ชายหาดที่หันหนาเข้าหาศาลเจ้าพ้ ่ อเทพารักษ์ ต้ นแม่ น้�าเจาพระยา้ ไฮไลทที่ส� ์าคัญของประเพณีนี้คือขบวนแห่ เจา้ พ่ อ-เจาแม้ รอบตลาดที่จะจัดขึ้น 2 วันสุดท ่าย้ ของเทศกาล โดยจะมีการแห่ 2 รอบ นั่นคือ รอบกลางคืนในวันชิวซา (วันที่ 3 เดือน 1 ตาม ปฏิทินของจีน) เริ่ มตั้งแต่ เวลาประมาณ 18.00 น. ไปจนถึง เวลา 22.00 น. และรอบ กลางวัน ในวันชิวสี่ (วันที่ 4 เดือน 1 ตาม ปฏิทินของจีน) ทั้งนี้ ในขบวนแหนอกจากจะมีเกี้ยวเจ ่าพ้ ่ อ เจ้ าแม่ องค์ ต่ างๆ ยังมีขบวนแห่ สิงโต 5 ชาติพันธุ์ ได้ แก่ เสือโตไหหล�า สิงโตทอง ฮากกา สิงโตปั กกิ่ ง สิงโตกว่ องสิว (สิงโต กวางตุ้ ง) และสิงโตฮกเกี้ยน ขบวนนางฟ้ า ขบวนเด็กร�าถวย ขบวนเอ็งกอ-พะบู ้ ขบวน๊ องคสมมติเจ ์าแม้ กวนอิม ขบวนนักแสดงที่ ่ เล่ าต�านานปกรณัมของจีน และขบวนแห่ มังกรทอง เป็ นต้ น โดยผู้ รวมขบวนก็ล ่ ้ วนเป็ นคนรุนใหม ่ ่ ที่เข้ า มาเป็ นอาสาสมัคร และได้ รับการคัดเลือก จากพิธีเสี่ยงทาย (องคสมมติเจ ์าแม้ กวนอิม) ่ รวมถึงเป็ นตัวแทนจากหน่ วยงานต่ างๆ ของจังหวัด อาทิ ส�านักงานจังหวัด เทศบาล และสถาบันการศึกษา โดยผูร้วมขบวนกว่ ่ า ครึ่ง ก็หาได้ เป็ นชาวไทยเชื้อสายจีนทังหมด้ แต่ อย่ างใด กล่ าวคือในขบวนเชิดสิงโตกว่ องสิว ผู้ เชิด อาจจะเป็ นคนไทยเชื้อสายมอญ คนแห่ มังกรอาจเป็ นคนพื้นเพนครสวรรค์ มาแต่ ก�าเนิด คณะนักดนตรีในวงดุริยางค์ อาจ นับถือศาสนาคริสต์ (นอกจากนี้ยังมีรถแห่ ที่จัดโดยโรงเรียนคริสตมาร์วมขบวนด่ ้ วย) ไปจนถึงผู้ ชมและผู้ ร่ วมท�าบุญเป็ นพ่ อค้ า ขายผ้ าที่มีบรรพบุรุษมาจากอินเดียหรือ ปากีสถาน เหล่ านี้ชี้ให้ เห็นว่ า แม้ ประเพณีนี้จะเป็ น ประเพณีดั้งเดิมของชาวจีน แต่ ก็ได้ รับ ความรวมมือจากคนทุกเชื้อชาติในจังหวัด ่ เนื่องจากนี่คือประเพณีที่เป็ นหน้ าเป็ นตา และสะทอนความเป็ น ้น้า�หนึ่งใจเดียวของคน นครสวรรค์ สืบเนื่องมากว่ าศตวรรษ
20
21
22 Feature แม้ ในหลายทศวรรษหลัง ตรุษจีนปากน้�าโพจะกลายเป็ นงานประจ�าจังหวัด ที่ได้ รับงบ สนับสนุนจากภาครัฐในการด�าเนินงาน กระนันหัวเรี่ยวหัวแรงส� ้าคัญในการขับเคลื่อน รวมถึงงบประมาณในการจัดงานก็ยังมาจากการรวบรวมเงินของผูคนในตลาดปาก ้น้า�โพ เป็ นหลัก และผูที่เป็ นเหมือนตัวกลางหรือแม ้ งานในการจัดงานแต ่ ละครั ่ งก็คือคณะบุคคลที่ผ ้าน่ การคัดเลือกมาจากหางร้านต้ ่ างๆ และชาวบ้ านในตลาด ซึ่งรูจักกันในชื่อ ‘เถ ้ ่ านั้ง’ ค�าว่ า “เถ่ านั้ง” เป็ นภาษาจีนแต้ จิว “เถ๋ ่ า” แปลว่ า หัว “นั้ง” แปลว่ าคน รวมกันแล้ วก็ คือ ผูที่เป็ นหัวหน ้ าในการจัดงาน โดยในทุกปี จะมีการเสี่ยงทายต ้อหน่าองค้เจ์าพ้ ่ อ-เจา้ แม่ เลือก “คณะกรรมการจัดงานประเพณีแห่ เจาพ้ ่ อ-เจาแม้ ่ ประจ�าปี ” ชุดใหม่ โดย เสี่ยงทายจากรายชื่อรานค้ ้ าและประชาชนที่รวมท� ่าบุญกับเจาพ้ ่ อ-เจาแม้ ่ เถ ่ านั้ ง นักบริหารจัดการ จากผู้ ประกอบการ และชาวบ้ านในตลาด
23 Feature วิธีการเสี่ยงทายจะเป็ นการโยนไม้ เสี่ยงทายแบบของ จีน 2 อัน หรือไม้ ปวย ผู้ ใดที่สามารถเสี่ยงทายได้ จะ ต้ องได้ คว่�าหงาย 2 ครัง และค้ว่�าทั้งสองอัน 1 ครัง้ ติดต่ อกัน ทุกรานค้ ้ าจะมีสิทธิ์เข้ าเสี่ยงทายได้ 1 ชื่อ เท่ านั้น ไม่ ว่ าใครคนนั้นจะท�าบุญด้ วยเงินมากน้ อย เพียงใด ก็มีสิทธิ์เสี่ยงทายได้ เป็ นคณะกรรมการ เหมือนกัน และนั่นท�าให้ คณะกรรมการฯ ในแต่ ละปี ผสมผสาน ไปด้ วยผู้ คนที่หลายหลายอาชีพ หลายวัย และฐานะ ทางสังคม ทั้งนี้ ผู้ ที่ได้ เป็ นเถ่ านั้งจะมีวาระการ ท�างานอยู่ ที่ 1 ปี โดยจะไม่ สามารถรับต�าแหน่ งนี้ได้ อีกตลอด 5 ปี ข้ างหน้ า ท�าใหส้ ่ วนผสมของเถ่ านั้งมี การเปลี่ยนแปลงตลอดทุกปี เถ่ านั้ง จะเป็ นผู้ รับผิดชอบการท�างานหลักในปี นั้นๆ โดยต้ องด�าเนินการประกอบกิจกรรมประเพณี ทั้งหมด 8 งานตลอดปี ได้ แก่ งานสมโภช ศาลหลักเมือง งานแห่ สรงน้�าเจ้ าพ่ อ เจ้ าแม่ งาน เฉลิมฉลองวันเกิดเจ้ าพ่ อกวนอู งานสารทจีนและ งานเทกระจาด งานคัดเลือกองคสมมุติเจ ์าแม้ กวนอิม ่ งานวันเกิดเจาแม้ ทับทิม งานแห ่ ่ เจาพ้ ่ อ-เจาแม้ ปาก ่น้า�โพ สรุปลงดวยงานฉลองเลี้ยงขอบคุณในช ้วงเทศกาล่ โคมไฟงวนเซียว ่ และนี่เป็ นเพียงองคประกอบส ์ วนหนึ่งของงานตรุษ ่ จีนปากน้า�โพ ยังไมนับรวมอาสาสมัครจากภาคส ่วน่ ต่ างๆ ที่เข้ ามาช่ วยสนับสนุนให้ งานทุกปี ลุล่ วงไป ด้ วยดี และเพราะเหตุนี้ ท่ ามกลางยุคสมัยที่สังคม เมืองมีความเป็ นปั จเจกมากขึ้นทุกขณะ แต่ ไม่ ใชกับ่ เมืองปากน้�าโพ จังหวัดนครสวรรค์ ที่ทุกภาคส่ วน ต่ างร่ วมแรงร่ วมใจกันแข็งขัน ซึ่งแน่ ล่ ะ ในราย ละเอียดของงานยอมมีความขัดแย ่ งหรือไม ้ลงรอย่ กันบ้ างเป็ นธรรมดา แต่ เมื่อเป้ าหมายคือการต้ อง ท�างานระดับเมืองรวมกันในทุกปี มาตลอดร ่อยกว้ าปี ่ ปากน้�าโพแหงนี้จะไม ่ ่ สามัคคีกันได้ อย่ างไร? ข้ อมูลประกอบการเขียน ข้ อมูลจากคณะกรรมการจัดงานประเพณีแห่ เจาพ้ ่ อ-เจาแม้ ่ ประจ�าปี https://www.facebook.com/paknamphochinesenewyear https://www.matichon.co.th/entertainment/arts-culture/news_23180 ข้ อมูลจากงานวิจัย การพัฒนาแพลตฟอรมต์ ้ นแบบกฎบัตรเมืองอัจฉริยะ เพื่อยกระดับขีดความสามารถทางเศรษฐกิจและสังคม สู่ นครสวรรค์เมืองแหงการเรียนรู ่ ้ (มิ.ย. 2564 - พ.ค. 2565)
24
25
26
27
28 Interview อาจารยฐาปนา บุณยประวิตร เป็ นนายกสมาคมการผังเมืองไทย หนึ่งในคณะท� ์างาน ผู้ บุกเบิกและก่ อตั้ง ‘กฎบัตรไทย’ หนึ่งในกลไกการพัฒนาเมืองอย่ างยั่งยืนและ ชาญฉลาดรูปแบบใหม่ ที่เพิ่งถูกน�ามาใช้ ในประเทศไทยตลอด 4 ปี ที่ผ่ านมา โดยผ่ าน สมาคมการผังเมืองไทย อาจารย์ ฐาปนาได้ ประสานความร่ วมมือกับหน่ วยงานต่ างๆ ทัวประเทศ เพื่อขับเคลื่อนเครื่องมือนี้เข ่าสู้ กลไกการพัฒนาเมือง โดยน� ่ารองที่จังหวัด ่ เชียงใหม่ ระยอง อุดรธานี ภูเก็ต และนครสวรรค์ เมื่อปี พ.ศ. 2562 “ตอนแรกยังไม่ มีค�าว่ า กฎบัตร หรือ charter ครับ เราเริมจากการคุยกันว ่ ่ าน่ าจะมี กลไกการพัฒนาเมืองรูปแบบใหมที่มาช ่ วยขับเคลื่อนเมืองได ่ ้ แลวพวกเราก็ไปเจอสิ ้ ่ ง ที่เรียกว่ าแนวทางการพัฒนาเมืองอย่ างชาญฉลาด หรือ smart growth ของ สหรัฐอเมริกา ศ.นพ. สุทธิพันธ์ จิตพิมลมาศ ผู้ อ�านวยการ สกสว. ในขณะนั้นท่ านก็ เห็นด้ วย จึงอนุมัติงบประมาณในการศึกษากลไกนี้เมื่อปี 2562 ใน 5 เมืองหลัก หลังจากนั้นเราก็พบว่ าแนวคิดนี้ รวมถึงเกณฑ์ การออกแบบด้ านพลังงานและสิ่ ง แวดล้ อมหรือ LEED (Leadership in Energy and Environment Design) มีความ เหมาะสมที่จะน�ามาประยุกต์เข้ ากับบริบทการพัฒนาเมืองในประเทศไทย จนน�ามาสู่ กระบวนการออกแบบการท�างาน และก็มาเจอค�าว่ า ‘กฎบัตร’ นี่แหละ ศ.นพ. สุทธิพันธ์ ท่ านจึงประกาศใช้ ก่ อนจะมีการจัดตั้ง ‘กฎบัตรไทย’ หรือ National Charter โดยมี การจัดตั้งคณะกรรมการอย่ างเป็ นทางการในที่สุด” อาจารย์ ฐาปนา กล่ าว หลังการก่ อตั้ง ‘กฎบัตรไทย’ ทางคณะกรรมการได้ ร่ วมกับภาคส่ วนต่ างๆ ในหลาย เมืองทั่วประเทศ จัดตั้งบริษัทพัฒนาเมืองจ�ากัด อาทิ เชียงใหม่ พัฒนาเมือง ภูเก็ต พัฒนาเมือง อุดรธานีพัฒนาเมือง เป็ นต้ น อย่ างไรก็ดี ในจ�านวนเมืองที่ท�างานมา ทั้งหมด อาจารย์ ฐาปนาบอกว่ า ‘นครสวรรค์’ ถือเป็ นเมืองที่มีความล้�าหน้ ากว่ าใคร ถึงขนาดมีการจัดตั้งคณะกรรมการกฎบัตรนครสวรรค์ ไม่ เพียงเท่ านั้น เลขานุการ กฎบัตรไทยผู้ นี้ ยังยกสถานะเมืองนี้ให้ เป็ น ‘เมืองหลวงแหงกฎบัตรไทย’ อีกด ่ ้ วย อะไรท�าให้ เขามันใจถึงขนาดนั่น WeCitizens สนทนากับอาจารย้ฐาปนา บุณยประวิตร ์ นักผังเมืองที่ได้ รับการสนับสนุนงบประมาณจาก บพท. ในการท�างานวิจัย โครงการ การพัฒนาแพลตฟอรมต์ นแบบกฎบัตรเมืองอัจฉริยะเพื่อยกระดับขีดความสามารถ ้ ทางเศรษฐกิจและสังคม สูนครสวรรค่ เมืองแห ์ งการเรียนรู ่ ้ (มิ.ย. 2564 - พ.ค. 2565) เกี่ยวกับโครงการวิจัยดังกลาว และศักยภาพของเมืองเมืองนี้ที่จะกลายมาเป็ นโมเดล ่ ส�าคัญของการพัฒนาประเทศในอนาคต สนทนากับ ฐาปนา บุณยประวิตร นายกสมาคมการผังเมืองไทย และเลขานุการกฎบัตรไทย นครสวรรค์: เมืองหลวงแห่งกฎบัตรไทย
29 Interview ก่ อนอื่นเลย ท�ำไมอาจารย์ ถึงมองว่ านครสวรรค์เป็ นเมือง หลวงของกฎบัตรไทยครับ? ต้ องขอย้ อนกลับไปที่การขับเคลื่อนรวมกับบริษัทพัฒนา ่ เมืองในเมืองตางๆ ที่เราท� ่าถึง 17 แหงด่ วยกันก ้ อนครับ เรา ่ ท�าบริษัทพัฒนาเมืองเพราะเห็นว่ าภาคเอกชนเป็ นผู้ เลนหลัก ่ ในการก�าหนดทิศทางของเมือง อย่ างไรก็ดี โมเดลนี้ก็ไม่ ได้ ถูกขับเคลื่อนอยางมีประสิทธิภาพนักในหลายเมือง เนื่องจาก ่ เครือขายภาคเอกชนและภาคประชาสังคมยังขาดความร ่วม่ มือกับหนวยงานรัฐ ที่เป็ นส ่ วนส� ่าคัญในการวางนโยบายและ ท�าใหการพัฒนาเกิดเป็ นรูปธรรม ้ แตกับนครสวรรค ่ นี่ต์ างออกไป เราได ่ รับความร ้ วมมืออย ่าง่ ดีจากนายกเทศมนตรีนครนครสวรรค์ ท่ านจิตตเกษมณ์ นิโรจนธนรัฐ และประธานสภาเทศบาลฯ ท ์ านสมศักดิ์ อรุณสุรัตน ่ ์ ทั้งสองเป็ นแกนน�าส�าคัญในการขับเคลื่อนเมือง เปิ ดรับฟัง ทุกๆ แนวทางที่มีส่ วนในการพัฒนาเมืองได้ และอ�านวย ความสะดวกให้ มีการจัดตั้งกฎบัตรนครสวรรค์ ขึ้น โดย ท่ านสมศักดิ์ก็ด�ารงต�าแหน่ งรองประธานกฎบัตรไทยด้ วย พอมีผู้ บริหารเมืองมาขับเคลื่อนหน่ วยงานพัฒนาเมือง โดยตรง รวมกับภาคเอกชน และเครือข ่ ายภาคประชาชนแล ่ว ้ การขับเคลื่อนกิจกรรมหรือโครงการอะไรต่ างๆ จึงรวดเร็ว มีงบประมาณที่พอจะท�าให้ โครงการเกิดเป็ นรูปราง ภาพของ่ การออกแบบกฎบัตรเพื่อก�าหนดทิศทางการพัฒนาเมืองจึง เกิดเป็ นรูปธรรมได้ งาย ผมจึงมองว ่ ่ านครสวรรค์ ก้ าวหน้ า กว่ าเมืองอื่นๆ ครับ และถ้ าไม่ ได้ มองในแง่ มุมของการมีเครือข่ ายที่พร้ อม ส�ำหรับการท�ำงาน เมืองนครสวรรค์ มีศักยภาพอย่ างไร บ้ างครับ นครสวรรค์เป็ นเมืองที่มีศักยภาพในด้ านการขนส่ งอยู่ แล้ ว ครับ เพราะอยางที่ทราบกันว ่ าพื้นที่ตรงนี้คือจุดตัดของแม ่น้่า� 4 สาย เกิดเป็ นตนทางของแม้น้่า�เจาพระยาไหลลงภาคกลาง ้ จึงเป็ นชุมทางของการเดินเรือมาตังแต้ อดีต ขณะเดียวกันก็ ่ เป็น hub ของการเดินทางดวยรถที่เป็นประตูสู ้ ภาคเหนือ รวม ่ ถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือมานับตังแต้มีการตัดทางหลวง ่ ที่ส�าคัญ ในอนาคตอันใกล้ เมืองแห่ งนี้จะกลายเป็ นจุดตัด ส�าคัญของการเดินทางทางราง เพราะการรถไฟแห่ ง ประเทศไทย (รฟท.) มีแผนจะยกระดับใหสถานีปาก ้น้า�โพ ซึ่ง อยู่ ไม่ ไกลจากปากแม่ น้�าเจ้ าพระยา เป็ นสถานีรถไฟรางคู่ ส่ วนพื้นที่สถานีรถไฟนครสวรรค์ ซึ่งเป็ นสถานีหลัก ก็หาง่ จากตัวเมืองออกไปราว 10 กว่ ากิโลเมตรที่บ้ านหนองปลิง จะกลายมาเป็ นสถานีรถไฟความเร็วสูง
30 นอกจากนี้ รฟท. มีแผนการตัดเส้ นทางรถไฟรางคู่ เส้ นใหม่ จากอ�าเภอแม่ สอด (ตาก) ผ่ านก�าแพงเพชร สู่ นครสวรรค์ ซึ่งเสนทางนี้จะเชื่อมไปยังชัยภูมิ ขอนแก ้ น ไปจนถึงมุกดาหาร ่ ซึ่งตอนแรก รฟท. มีแผนจะใช้ สถานีนครสวรรค์เป็ นสถานีที่ เส้ นทางนี้ผ่ าน แต่ ทางคณะกรรมการกฎบัตรนครสวรรค์ รวมถึงภาคสวนต่ างๆ ก็เข ่ าไปคุยกับ รฟท. เพื่อขอให ้ ้ เสนทาง้ นี้ผานสถานีปาก ่น้า�โพ ซึ่งอยู่ ใกลตัวเมืองมากกว ้ ่ า จนเป็ นผล ส�าเร็จ ไม่ นับรวมการลงทุนของศูนย์ การค้ าขนาดใหญ่ ในเครือ เซ็นทรัล และโรงพยาบาลสินแพทย ที่ก� ์าลังจะขึ้นบริเวณศูนย์ ขนส่ งผู้ โดยสาร จังหวัดนครสวรรค์ ด้ วย เมืองแห่ งนี้จึงมี ความพรอมรองรับการลงทุนมหาศาลอย ้ ่ างที่ไม่ เคยเป็ นมา ก่ อน สาเหตุที่อาจารย์ ได้ เลือกใช้ พื้นที่บริเวณสถานีขนส่ งผู้ โดยสาร จังหวัดนครสวรรค์ (ศูนย์ ท่ ารถ) เป็ นพื้นที่ศึกษา วิจัยในโครงการเมืองแหงก่ารเรียนรู้ สวนหนึ่งม ่าจากการ ที่พื้นที่ก�ำลังมีการกอสร่ ้ างศูนยก์ารคา้ขนาดใหญด่ วยหรือ ้ เปล่ าครับ จะกล่ าวเช่ นนั้นก็ได้ ครับ จากการพูดคุยกับคนนครสวรรค์ และหน่ วยงานรัฐ เราเห็นตรงกันว่ าพื้นที่ดังกล่ าวเป็ นพื้นที่ เศรษฐกิจใหม่ ของเมือง ขณะเดียวกัน พื้นที่ก็ไม่ ใหญ่ เกินไป มีขนาดไม่ เกิน 1 ตารางกิโลเมตร เหมาะที่จะท�า Smart Block เป็ นพื้นที่น�ารอง Smart City ท� ่าใหพื้นที่ดังกล ้ าวเอื้อต ่อการ่ เดินเท้ า มีพื้นที่สาธารณะและพื้นที่สีเขียวที่ครอบคลุม และมี พื้นที่ส�าหรับธุรกิจขนาดย่ อมที่ครบครัน เราใช้ คอนเซปต์ แบบเดียวกับที่บาร์เซโลนาท�า ที่นั่นเขามีค�า ว่ า Super Block ซึ่งพัฒนามาจากแนวคิด ‘เมือง 15 นาที’ ของรองศาสตราจารย์ คารลอส โมเรโน (Carlos Moreno) ์ แหงมหาวิทยาลัยซอร ่บอนน์ ์ ปารีส อีกทีหนึ่ง เรามองว่ าถ้ า ท�าในพื้นที่ศูนย์ ท่ ารถตรงนี้ส�าเร็จได้ มันจะเป็ นต้ นแบบไปยัง พื้นที่อื่นๆ ขยายไปทังเมืองต้อไป อย ่ างไรก็ตาม ก ่ อนที่เราจะ ่ เริมโครงการวิจัยนี้ ทางกลุ ่ ่ มทุนขนาดใหญ่ เขายังไม่ ตัดสิน ใจจะพัฒนาพื้นที่เป็ นศูนยการค์ าหรือโรงพยาบาลเลยนะครับ ้ เพราะติดปั ญหาทางข้ อจ�ากัดของผังเมืองอยู่ แต่ เราเห็นว่ า พื้นที่นี้มีศักยภาพ จึงเริ่ มขับเคลื่อนก่ อน และเราก็มีส่ วนใน การแก้ ผังเมือง จนเกิดการลงทุนครังส�้าคัญนี้ด้ วย Interview
31 Interview อะไรคือข้ อจ�ำกัดของผังเมืองที่ว่ าครับ เรื่องการใชพื้นที่ ผังเมืองในเขตเทศบาลนครนครสวรรค ้ เป็ นผังเมือง ์ รวมที่ส่ วนกลางเป็ นฝ่ ายท�าขึ้น และไม่ ได้ มีการรับฟังความเห็นจากคน นครสวรรค์ ผังเมืองดังกล่ าวมีการก�าหนดความสูงใหอาคารที่สร ้ ้ าง ใหม่ ในพื้นที่เทศบาลใหสูงได ้ ้ ไม่ เกิน 23 เมตร หรือ 7 ชั้น รวมถึงขนาด ของพื้นที่ส�าหรับการท�าการค้ าด้ วย ซึ่งตรงนี้เป็ นปั ญหาส�าคัญที่ท�าให้ เมืองนครสวรรค์ ไม่ มีการลงทุนขนาดใหญ่ มาเป็ นเวลานาน ผมในฐานะนายกสมาคมนักการผังเมืองก็เลยได้ สอบถามหน่ วยงานที่ เกี่ยวข้ องว่ า วิธีการคิดแบบนี้มาจากไหน เพราะในหลักการผังเมือง แล้ ว กระบวนการก�าหนดอาคารเศรษฐกิจ ซึ่งถือเป็ นต้ นทางที่ก่ อให้ เกิดการพัฒนาต่ างๆ จ�าเป็ นต้ องมีข้ อจ�ากัดที่ระบุชัดเจนอย่ างเช่ นว่ า พื้นที่นั้นไม่ มีน้�าเพียงพอ ขาดไฟฟ้ า ต้ องการจ�ากัดปริมาณของ ประชากร ปรากฏว่ าสิงเหล่ านี้ไม ่ ่ ได้ เป็ นอุปสรรคใดๆ ในพื้นที่ของเมือง นครสวรรค์ และปรากฏว่ าไม่ มีหน่ วยงานใดๆ สามารถอธิบายได้ จาก นั้น ผมในฐานะนักวิจัยที่ได้ ทุนจาก บพท. มา ก็ร่ วมกับเทศบาลในการ แก้ ไขผังเมืองนี้ ผมว่ านครสวรรค์เป็ นเมือง ที่แปลกจากเมืองอื่น ในขณะที่เมืองอื่นๆ อาจมีความขัดแย้ ง ระหว่ างรัฐกับเอกชน หรือหน่ วยงานรัฐด้ วยกันเอง แต่ สิ่ งนี้ไม่ เกิดในนครสวรรค์ เพราะเมืองนี้มีการท�ำงาน ร่ วมกันเป็ นทีมที่สามัคคีกันมากๆ
32 เราแก้ ได้ เองเลยหรือครับ เนื่องจากเทศบาลได้ รับการถ่ ายโอนอ�านาจและภารกิจการ จัดท�าผังเมืองรวมนครสวรรคไว์ ้ จึงเป็ นอ�านาจของเทศบาล ร่ วมกับกรมโยธาธิการและผังเมือง ทางทีมกฎบัตรของเรา ก็เสนอกับทางเทศบาล ด�าเนินการปรับปรุงผังเมืองรวม เฉพาะบริเวณกอน ซึ่งกฎหมายเอื้อให ่ ้ เราปรับปรุงได้ โดยเริม่ จากขอปรับปรุงพื้นที่ไม่ เกิน 1 ตารางกิโลเมตร ที่มีศูนยท์ารถ่ เป็ นศูนย์ กลางก่ อน ซึ่งผมเป็ นหัวหน้ าโครงการปรับปรุง ผังเมืองรวมเอง ผมต้ องขอขอบคุณท่ านอธิบดีกรมโยธาฯ ท่ านที่แล้ วมากๆ รวมถึงคณะกรรมาธิการผังเมือง และภาคส่ วนต่ างๆ ที่เอื้อ อ�านวยใหมีการปรับผังเมืองรวมเฉพาะบริเวณแล ้ วเสร็จ จน ้ พื้นที่ดังกล่ าวสามารถสรางอาคารที่มีความสูงและขนาดไม ้ ่ จ�ากัด รวมถึงสามารถประกอบกิจการในการคาปลีก กิจการ ้ ทางด้ านที่อยู่ อาศัยรวม และกิจกรรมต่ างๆ ที่เป็ นอาคาร ขนาดใหญ่ พิเศษได้ และพอเราแก้ ผังเมืองรวมเสร็จ ปรากฏ ว่ าศูนย์ การค้ าเซ็นทรัลและโรงพยาบาลสินแพทย์ ก็มาซื้อ ที่ดินขยายเพิ่ ม จนน�ามาสูการก่อสร่ างทั ้งศูนย้การค์ าและโรง ้ พยาบาล น�ามาสู่ การลงทุนมหาศาลภายในจังหวัด Interview แล้ วในด้ านของการท�ำโครงการวิจัยเมืองแหงก่ารเรียนรู้ ล่ ะครับ อาจารย์ ได้ ท�ำกิจกรรมอะไรบ้ าง ก่ อนการปรับปรุงผังเมือง ทางทีมวิจัยก็ได้ ใช้ กระบวนการ ศึกษาและการมีสวนร่ วมกับชาวบ ่ านในการแสวงหาความคิด ้ เห็นส�าหรับก�าหนดทิศทางการพัฒนายานอยู่ หลายครั ่ งครับ ้ พร้ อมกันนั้น เราก็ได้ ท�าการออกแบบรายละเอียดพื้นที่โดย อ้ างอิงกับ Super Block ของบารเซโลนา ว ์ ่ าลักษณะอาคาร กิจกรรมการใชประโยชน ้ และกลุ์ มประชากร เพื่อเป็ นไกด ่ ไลน ์ ์ ในการพัฒนาย่ าน ซึ่งต้ องขอขอบคุณทางศาลเจ้ าพ่ อ ศูนยการค์ า ซึ่งเป็ นเหมือนศูนย ้ รวมจิตใจของผู ์ คนในย ้ านดัง ่ กลาว รวมถึงพี่น ่ องรอบสถานีขนส ้งผู่ ้ โดยสารที่ใหความร้วม่ มือและแชรความคิดเห็นกับเราเป็ นอย ์ ่ างดี นอกจากนี้ เรายังน�าโมเดลที่เราเคยท�าที่สี่แยกทองใหญ่ ใจกลางเมืองอุดรธานี ที่ใชกระบวนการ Tactical Urbanism ้ จนน�ามาสูการตีเส ่ นจราจรและสตรีทอาร ้ ท เสริมภาพลักษณ ์ ์ ให้ พื้นที่เอื้อต่ อการเดินเท้ า มาใช้ กับย่ านศูนย์ ท่ ารถของ จังหวัดนครสวรรค (ปั จจุบันด ์ วยกระบวนการดังกล ้ าว ท� ่าให้ สี่แยกทองใหญ่ ในทุกวันนี้ถูกจดจ�าในชื่อ ‘สี่แยกชิบูย่ า’ - ผู้ เรียบเรียง) ถ้ าท�ำในพื้นที่ศูนย์ ท่ ารถตรงนี้ ให้ เป็ น Smart Block ได้ ส�ำเร็จ มันจะเป็ นต้ นแบบไปยังพื้นที่อื่นๆ ขยายไปสู่ Smart City ได้ ต่ อไป
33 Interview อยากใหอ้าจารยเล์า่สภาพของพื้นที่ที่เจอ กอนและหลังก ่ารท�ำงาน วิจัยปี แรกหน่ อยครับ ผมว่ านครสวรรคเป็ นเมืองที่แปลกจากเมืองอื่น ในขณะที่เมืองอื่นๆ ์ อาจมีความขัดแย้ งระหว่ างรัฐกับเอกชน หรือหน่ วยงานรัฐด้ วย กันเอง แตสิ่ งนี้ไม ่ ่ เกิดในนครสวรรค เพราะเมืองนี้มีการท� ์างานรวม่ กันเป็ นทีมที่สามัคคีกันมากๆ แน่ นอนในเทศบาลเองก็อาจมีฝ่ ายที่มี ความคิดแตกต่ างหลากหลาย แต่ ภาพรวมก็ยังเป็ นเอกภาพ ขณะ เดียวกันผู้ น�าทางเศรษฐกิจ ประธานหอการค้ า สภาอุตสาหกรรม และสถาบันการศึกษา ก็มีความเป็ นหนึ่งเดียวกัน ซึ่งสามารถสื่อสาร ให้ เห็นภาพในทิศทางเดียวกันได้ อยางไรก็ตาม ภายใต ่ข้อเด้นเหล่ านี้ นครสวรรค ่ ก็ยังมีสภาพเหมือน ์ เมืองอื่น กล่ าวคือมีการกระจายเมืองที่เป็ น urban spawn ค่ อน ข้ างสูง ตัวอย่ างที่เห็นได้ ชัด เรามีสถานีขนส่ งของเมืองอยู่ แล้ ว แต่ ว่ าในทางปฏิบัติ รถประจ�าทางที่มาจอดบางสาย ไมมาจอดที่สถานี ไป ่ จอดตามมุมตางๆ รถตู่ ้ โดยสารระหวางเมือง ระหว ่ างภาค แทนที่จะไป ่ จอดสถานีขนสง ก็ไปจอดกระจายกันหมด ่ เพราะฉะนั้นรูปแบบที่ไม่ มีการควบคุมหรือบริหารจัดการเดินทาง แบบนี้ จะเป็ นตัวกระตุ้ นให้ เกิดการกระจายการเดินทาง และขาด ศูนยกลางของการพัฒนา ภารกิจเราคือเราพยายามพูดคุยกับทุก ์ ภาคสวนบอกว่ ่ า ทานควรมาอยู่ ซักจุดนึง เพื่อให ่ท้ านสามารถไปจุด ่ นั้นแล้ วสามารถกระจายไปจุดอื่นได้ และเราก็มีสถานีขนส่ งผู้ โดยสารอยูแล่ ว ก็ชี้ให ้ผู้ ประกอบการเดินรถเห็นว ้ ่ า หลังจากนี้ตรงนี้ จะกลายเป็ นศูนย์ กลางเมืองแหงใหม ่ ่ แล้ วนะ จะเป็ นศูนย์ กลางการ คมนาคมที่ส�าคัญดวย เราก็ได ้ รับความร ้ วมมือที่ดีประมาณหนึ่งครับ ่ แล้ วการโครงการใน ปี ที่ 2 (2564-2565) ล่ ะครับ เราก็ขับเคลื่อนเรื่องการออกแบบ Smart Block ผ่ านกระบวนการ การมีส่ วนรวมของคนในพื้นที่เช ่ ่ นเดิม แต่ ในภาพใหญ่ เราสามารถ ออกแบบเสนทางระบบขนส้ งมวลชนภายในเขตเทศบาล เป็ น road ่- map ได้ อย่ างชัดแจ้ ง โดยยึดโยงศูนย์ ท่ ารถเป็ นศูนย์ กลาง และ กระจายเส้ นทางให้ ครอบคลุมทั้งย่ านเมืองเก่ า สถานีรถไฟ และ สถานศึกษา ซึ่ง roadmap นี้ก็พรอมเปิ ดให ้ ทั ้้งกระทรวงคมนาคม หรือ สนข. มาพัฒนาเป็ นเส้ นทางอย่ างเป็ นรูปธรรม ขณะเดียวกัน เราก็ได้ ประสานกับทางเทศบาลในการปรับปรุงพื้นที่ของสถานี ขนส่ งผู้ โดยสารใหดีขึ้นด ้ ้ วย อยางไรก็ตาม นี่เป็ นปี สุดท ่ ายที่ทางผมของบประมาณในการท� ้าวิจัย แลว เพราะคิดว ้ าทางเราได ่ ฝังกลไกที่พร ้ อมให ้ ้ เทศบาลน�าไปเดินตอได ่ ้ แลว ก็อยากจะทดลองว ้ าหลังจากเราไม ่อยู่แล่ ว หรือเราอยู ้ ่ แต่ ไมมี ่ งบประมาณอะไรตางๆ แล่ ว เขาจะเคลื่อนต ้ออย่ างไร เป็นเหมือนการ ่ ทดสอบกลไกไดอย้ างดีว ่าถ่ าไม้ มีอะไรมาสนับสนุนแล ่ ว มันไปได ้ ้ ไหม
34 Interview เชื่อวา่อาจารยค์อนข่า้งพอใจกับโครงการวิจัยนี้ โดยเฉพาะ อยา่ งยิงก่ารได้ เทศบาลมารวมเป็ นหัวเรี่ยวหัวแรงกับเร ่าดวย ้ แตอย่ากถามวา่ ตลอด 2 ปี ที่ผา่นมา อาจารยยังพบข ์อท้า้ทาย ขอไหนที่ยังคงกังวลอยู ้ ่ ไหมครับ ในภาคส่ วนข้ างบน ในฐานะที่ผมเป็ นกรรมการกฎบัตร นครสวรรค กับกฎบัตร Smart City ผมคิดว ์ าการด� ่าเนินการ ประสบความส�าเร็จเป็ นอยางดี แต ่ กับภาคประชาชนที่อาจไม ่ ่ ได้ อยู่ ในพื้นที่โครงการ ผมวาเรายังขาดการสื่อสารให ่ ้ เขาเขาใจ ้ มากกวานี้ และเมื่อเขาไม ่รู่ ้ ภาพใหญของเมืองมันก็ยังไม ่อาจ่ ขยับไปได้ อยางไรก็ดี เรื่องนี้จ� ่าเป็ นตองอาศัยเวลา ซึ่งไม ้ ่ ไดหมายความ้ ว่ าคนนครสวรรค์ ทุกคนต้ องรับรู้ ขอแค่ ผู้ น�าธุรกิจ คนท�า นโยบาย และผู้ น�าชุมชนต้ องทราบและเข้ าใจถึงรูปแบบการ พัฒนาเมือง ผมคิดวาส่ วนนี้เป็ นส ่ วนส� ่าคัญของกระบวนการ เรียนรู้ ถาส้ วนนี้เดินได ่ ้ สวนข่ างหลังตามมามันเป็ นก� ้าไร ทางทีมกฎบัตรของเราก็เสนอกับ ทางเทศบาล ด�ำเนินการปรับปรุง ผังเมืองรวมเฉพาะบริเวณก่ อน ซึ่งกฎหมายเอื้อให้ เราปรับปรุงได้
35 Interview 4 องค์ ประกอบสู่ ครสวรรค์เมืองแหงการเรียนรู ่ ้ถอดบทเรียนจาก Smart Block สู ่ Learning City จากอาจารย์ ฐาปนา 1) Social Collaboration “Social Collaboration หรือการ สรางความร้ วมมือ จะเกิดขึ้นได ่ ้ หา ใช่ แค่ การชวนผู้ มีส่ วนได้ ส่ วนเสีย มาพูดคุยหรือสะท้ อนปั ญหาซึ่งกัน และกัน แต่ ต้ องเป็ นการชวนกันมา แสวงหาขอคิดเห็นเพื่อน� ้ามาสู่ การ สร้ างความร่ วมมือ และให้ แต่ ละ ภาคส่ วนรับผิดชอบต่ อข้ อเสนอ ของตัวเอง จะเห็นได้ ว่ าตลอด 2 ปี ที่ผ่ านมา เราชวนภาคส่ วนต่ างๆ มาคุยกันที่เทศบาลฯ หลายครั้ง มาก อย่ างไรก็ตาม เราก�าหนด ใหการประชุมแต ้ ละครั ่ งมีสัดส้วนใน ่ การสะทอนปั ญหาไม ้ ่ เกิน 20% ของ เวลาทั้งหมด ที่เหลือคือการหาวิธี ประสานงานกับภาคสวนต่ างๆ เพื่อ ่ แกปั ญหาหรือหาทางออกร ้ วมกัน” ่ 2) Smart Growth Principle “Smart Growth Principles หรือ เกณฑ์ การเติบโตอย่ างชาญฉลาด ไม่ ว่ าจะเป็ น Form-base Code, LEED หรือ LEED เวอรชั ์่น 4.1 ซึ่ง เป็ นเกณฑ์ วัดการเติบโตของเมือง จากสหรัฐอเมริกา เราจ�าเป็ นต้ อง ท�าใหทุกภาคส้ ่ วนเข้ าใจในเกณฑ์ เหล่ านี้ เพื่อให้ เห็นถึงศักยภาพและ ขอจ� ้ากัดในการพัฒนาเมือง เพราะ การเรียนรูอันน� ้ามาซึ่งความเข้ าใจ ในข้ อจ�ากัดต่ างๆ ว่ ารัฐท�าได้ เท่ านี้ เอกชนลงทุนร่ วมท�าได้ เท่ านี้ หรือ เงื่อนไขต่ างๆ ก่ อให้ เกิดผลลัพธ์ แบบนี้ จะท�าให้ ผู้ คนร่ วมกันหา solution ที่ดีที่สุดภายใตบริบทของ ้ เมืองที่เป็ นอยู่ ” 3) City Manager “City Manager หรือผู้ จัดการ เมือง เป็ นปั จจัยส�าคัญอย่ างมาก เมืองที่สามารถขับเคลื่อนได้ มันตอง้ มีผูน� ้า อาจจะเป็นผูน� ้าที่เป็นทางการ หรือไม่ เป็ นทางการก็ได้ ดีที่ นครสวรรคมีท์ านสมศักดิ์ อรุณรัตน ่ ์ ประธานสภาเทศบาล ที่เป็ นเหมือน ผู้ ประสานสิบทิศ มีบทบาทแบบ เดียวกับผู้ จัดการเมืองจริงๆ และความที่ทีมวิจัยตระหนักดีใน ศักยภาพของท่ านสมศักดิ์ เราจึง น�าองค์ ความรู้ เกี่ยวกับเกณฑ์ การ พัฒนาเมืองใดๆ ก็ตามแต่ ให้ ท่ าน สมศักดิ์ศึกษา เพื่อตระหนักใน เงื่อนไขหรือข้ อจ�ากัดต่ างๆ และ สามารถจัดสรรงบประมาณเพื่อ แก้ ปั ญหาใดๆ ก็ตามในแต่ ละเมือง ได้ ฉะนั้นแล้ วการมีผู้ จัดการเมือง คือสิ่ งส�าคัญ แต่ ส�าคัญกว่ านั้นคือ การมีผูจัดการเมืองที่เข ้ าใจทั ้ งบริบท้ ของเมืองตัวเอง และบริบทของ การพัฒนาเมืองระดับสากล และ พรอมจะท� ้างานรวมกับหน ่ ่ วยงาน ทุกภาคส่ วนของเมือง” 4) กลไกระดับนโยบาย “สุดท้ ายแล้ ว ไม่ ว่ าเราจะสกัดอะไร จากกระบวนการมีส่ วนร่ วมทาง สังคมและเกณฑ์ การพัฒนาเมือง อย่ างชาญฉลาด หรือมีผู้ จัดการ เมืองที่มีประสิทธิภาพ สิ่ งส�าคัญ คือการฝั งเครื่องมือการพัฒนา เมืองให้ อยู่ ในกลไกระดับนโยบาย จะเห็นได้ ว่ าทางกฎบัตรไทยได้ รวม่ ท�างานกับหนวยงานพัฒนาเศรษฐกิจ ่ และสังคมแหงชาติในเชิงพฤตินัย ่ เพื่อน�าโมเดลการพัฒนาของกฎบัตร เข้ าไปอยู่ ในแผนพัฒนาระดับชาติ (ปัจจุบันกฎบัตรไทยไดรับการบรรจุ ้ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติฉบับที่ 13 – ผู ่ ้ เรียบเรียง) เพราะเมื่อกลไกมันถูกฝั งลงใน นโยบาย ต่ อให้ มีการเปลี่ยนผู้ บริหารเมืองกี่คนก็ตาม การพัฒนา ก็จะไดรับการสานต ้ออย่ างมีทิศทาง ่ และมีเสถียรภาพต่ อไป”
36
37
38 People “นครสวรรค์จะเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมส�ำหรับผู้มาเยือน และเป็นเมืองน่าอยู่ที่เป็นมิตรกับคนเดินเท้าส�ำหรับคนในเมือง” “เพราะชาวปากน้า�โพเห็นตรงกันว่ าเราไม่ อยากให้ นครสวรรค์เป็ นแค่ เมืองผ่ าน จึงมา หารือรวมกันกับเทศบาลนครนครสวรรค ่ว์าเรา่ ควรจะก�าหนดทิศทางให้ เมืองของเราเป็ นไปใน ทางไหน ตอนที่คุยกันตอนนัน เทศบาลได้ร้วมกับเครือข ่าย่ ผูประกอบการในเมืองและภาคส ้วนต่ างๆ จัดตั ่ง้ กฎบัตรนครสวรรค์ เพื่อเป็ นหนึ่งในกลไกการ พัฒนาเมืองแลว เราได ้สร้ างพาสานเป็ นแลนด ้ ์ มารคใหม ์ ่ บริเวณต้ นแม่ น้�าเจาพระยาแล้ ้ ว และ ไดฟื้นฟูพื้นที่บริเวณเกาะญวนให ้ กลายเป็ นสวน ้ สาธารณะในชื่อคลองญวนชวนรักษ์ แล้ ว ก็มา พิจารณาจากต้ นทุนและศักยภาพที่เรามี จนได้ ค�าตอบวาเมืองของเราที่ส ่ วนหนึ่งขับเคลื่อนด ่วย้ ชาวไทยเชื้อสายจีน และอีกส่ วนก็มีความเป็ น จิตตเกษมณ์ นิโรจน์ ธนรัฐ นายกเทศมนตรีนครนครสวรรค์ พหุวัฒนธรรมค่ อนข้ างสูง ก็ควรจะเป็ นเมือง ท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เมื่อตกลงกันได้ แบบนั้น ทุกคนก็เห็นตรงกันว่ า เรามีที่ดินราว 3 ไร่ เศษด้ านหลังพาสาน ที่ผู้ ประกอบการปากน้า�โพรวมลงขันกันซื้อที่ดินไว ่ ้ และยกให้ เทศบาล ก็ประชุมกันแล้ วตกลงจะท�า ‘อุทยานวัฒนธรรมตน้น้า�เจาพระยา’ ซึ่งเป็ นทั ้ง้ แหล่ งท่ องเที่ยว แลนด์ มาร์ ค สวนสาธารณะ และพื้นที่การเรียนรูด้ ้ านวัฒนธรรมของเมือง นครสวรรค์ ในแห่ งเดียว พร้ อมกันนั้นด้ วย เงื่อนไขของเจาของที่ดินคนก ้ ่ อน ที่ยกพื้นที่ให้ เทศบาลโดยขอใหทางเราจัดสร ้ างรูปปั ้้นเจาแม้ ่ กวนอิมไว้ เป็ นที่ยึดเหนี่ยวบูชา ซึ่งภาคประชาชน ก็ไดระดมทุนจัดสร ้างองค้เจ์าแม้ จากหินแกรนิต ่ ขาวสูง 26 เมตร ไว้ ด้ านหลังพาสาน ปั จจุบัน อยู่ ระหว่ างการแกะสลักองค์เจาแม้ ่ ที่เมืองจีน องคเจ์าแม้ จะประดิษฐานอยู ่บนอาคารความสูง ่ 4 ชั้น มีความสูงรวม 45 เมตร ตั้งอยู่ ด้ านหลัง พาสาน สิ่ งนี้ไม่ เพียงเป็ นแลนด์ มาร์ คใหม่ ของ เมือง แต่ ยังเป็ นอนุสรณ์ สถานของความร่ วม แรงรวมใจของชาวปาก ่น้า�โพ ในการรวมลงขัน ่ เงินไดมากถึง 38 ล ้ านบาท โดยเทศบาลไม ้ ่ ได้ ใช้ เงินตัวเองเลยสักบาท เพียงแค่ ช่ วยอ�านวย ความสะดวกให้ โปรเจกต์ ขนาดใหญ่ นี้ลุล่ วง แต่ เทศบาลได้ จัดสรรงบประมาณส�าหรับท�า สะพานข้ ามแม่ น้�าในรูปแบบของสะพานคนเดิน เชื่อมย่ านตลาดเก่ าข้ ามแม่ น้�าปิ งไปสู่ อุทยาน วัฒนธรรมแหงนี้ รวมถึงสร ่างสะพานจากเกาะยม ้ (ที่ตั้งของพาสาน) เชื่อมไปยังวัดปากน้�าโพใต้
39 People กลายเป็ นการเชื่อมเส้ นทางเดินเท้ าจากย่ านตลาดเก่ าของปากน้�าโพสู่ อีกฝั่งแม่ น้�า ซึ่งอยู่ ใกล้ กับบึง บอระเพ็ดด้ วย นี่จะเป็ นโครงการน�าร่ องของเทศบาล ที่จะท�าให้ นครสวรรค์เป็ นเมืองที่เป็ นมิตรกับ คนเดินเท้ าให้ ได้ มากที่สุด และดวยความตั ้ งใจให้นครสวรรค้ เป็ นเมืองท ์ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมส� ่าหรับผูมาเยือน และเป็ นเมือง ้ น่ าอยู่ ที่เป็ นมิตรกับคนเดินเท้ าส�าหรับคนในเมือง เราจึงมีแผนเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมือง เพื่อชักจูงให้ คนในตลาดหรือคนที่มาจับจ่ ายในตลาดได้ เดินเท้ ามากขึ้น ถ้ าคนออกมาเดิน การค้ าขายก็จะดีขึ้น ปั ญหาที่จอดรถก็ลดลง และที่ส�าคัญคือสุขภาพของคนในเมืองจะดียิ่ งขึ้น เรื่องสุขภาวะของคนในเมือง เป็ นอีกประเด็น ที่ทางเทศบาลให้ ความส�าคัญ เพราะต้ อง ยอมรับว่ าปั จจุบันเทศบาลนครนครสวรรค์ มีผู้ สูงอายุค่ อนข้ างมาก ตรงนี้อาจเป็ นข้ อ เสียเปรียบ แต่ ถ้ ามองอีกมุม เรามีสถาบัน ทางการแพทย์ ที่ได้ มาตรฐานสูงหลายแหง ่ รวมถึงการมีท�าเลที่เป็ นศูนยกลางเศรษฐกิจ ์ ของพื้นที่ภาคเหนือตอนลาง จึงสามารถยก ่ ระดับให้ เมืองเป็ น wellness hub ในระดับ ภูมิภาคได้ โดยอาจจะเริ่ มจากการประสาน กับโรงพยาบาลเอกชนท�าโปรแกรมดูแล สุขภาพผู้ สูงอายุ รวมถึงแผนการออกแบบ คอร์ สสุขภาพต่ างๆ ที่ดึงดูดให้ คนจาก จังหวัดใกล้ เคียงเข้ ามาใช้ บริการ ทั้งนี้ ด้ วยเส้ นทางรถไฟรางคู่ สายใหม่ ที่มา จากอ�าเภอแม่ สอด จังหวัดตาก ซึ่งจะผ่ าน มาที่นครสวรรค์ ถ้ าเมืองของเราพัฒนา บริการด้ านสุขภาพให้ พร้ อม นั่นหมายถึง เม็ดเงินของการลงทุนและการจับจายใช ่สอย้ จะเข้ ามาในเมืองของเรามากกว่ านี้อีกเยอะ นอกจากนี้ ด้ วยแผนการพัฒนาเมืองใน กรอบของสมารทซิตี้ เราก็หวังสร ์างแพลท้ ฟอรมที่พร ์ อมให ้คนรุ้ นใหม ่ ่ ที่เป็ นลูกหลาน ชาวปากน้�าโพกลับบ้ านเกิดมาสานต่ อ กิจการของครอบครัว หรือลงทุนท�าธุรกิจ ใหมๆ มาช่ วยพัฒนาบ ่ านเกิดของเรา อย ้าง่ ผมเองถึงจะด�ารงต�าแหน่ งนายกเทศมนตรี มาหลายสมัย แต่ ผมก็ท�างานรวมกับคนรุ ่น่ ใหม่ ที่เป็ นสมาชิกสภาเทศบาลทั้งนั้น เพราะ หลายเรื่องผมก็ไม่ ทันความเปลี่ยนแปลง ใหม่ ๆ ก็ต้ องปรึกษาและพึ่งพามุมมองของ พวกเขา ซึ่งตรงนี้แหละที่เป็ นเหมือนภาพแทนของ การพัฒนาเมือง การท�างานรวมกันของคน ่ สองรุน ผู่ ้ ใหญ่ ที่มีประสบการณ์ และคนรุน่ ใหมที่มาพร ่ อมเทคโนโลยีและโลกทัศน ้ ใหม ์ๆ ่ เมืองเราจะยั่งยืนได้ ก็เพราะการร่ วมแรง รวมใจของคนทุกรุ ่นเช่ ่ นที่ว่ านี้”
40 Interview
41
42 “นครสวรรค์หลังจากนี้น่าจะมีการพัฒนาไปอีกมาก สิ่งส�ำคัญคือเราจะน�ำประโยชน์ จากการพัฒนา ให้กระจายไปยังพี่น้องประชาชนทุกหย่อมย่านอย่างทั่วถึง” สมศักดิ์ อรุณสุรัตน์ประธานสภาเทศบาลนครนครสวรรค์ รองประธานกฎบัตรไทย “กอน่จะมีการจัดตัง บพท. หน้ วยงานที่สนับสนุน ่ การจัดท�ากฎบัตรคือ สกสว. เขาใหงบการท� ้าวิจัยกับ 6 เมืองน�าร่ อง ได้ แก่ ขอนแก่ น ระยอง เชียงใหม่ ป่ าตอง (ภูเก็ต) สระบุรี และอุดรธานี ส่ วนเมือง นครสวรรค์ ไม่ ได้ อยู่ ในแผนนี้ตั้งแต่ แรก อย่ างไรก็ตาม เมื่อผมทราบข่ าวถึงเครื่องมือการ พัฒนาเมืองรูปแบบใหม่ นี้ ผมก็ติดตามอย่ างต่ อ เนื่อง เพราะตองการน� ้าองคความรู์ นี้มาช ้ วยก� ่าหนด ทิศทางการพัฒนาเมืองอยางเป็ นระบบ ผมมีโอกาส ่ ได้ อ่ านบทความของอาจารย์ ฐาปนา บุณยประวิตร เกี่ยวกับกฎบัตรและการพัฒนาเมืองสู่ สมารทซิตี้ ์ เลยเชิญอาจารยฐาปนามาเป็นวิทยากรที่นครสวรรค ์ ์ จากนั้นพอมีสัมมนาเกี่ยวกับการพัฒนาเมืองที่ไหน ผมก็ตามเขาไปหมด เพราะอยากเรียนรู้ กระทังขอนแก่ น หนึ่งในเมืองที่ได ่ รับทุนงานวิจัยและ ้ มีการวางรากฐานการพัฒนาเมืองอยางเข่ มแข็งแล ้ว ้ เขาขอไมรับทุนต ่ อ โดยอยากเปิ ดโอกาสให ่ ้ เมืองอื่นๆ ที่ต้ องการเครื่องมือหนุนเสริมนี้ อาจารย์ ฐาปนาจึง โทรหาผม ผมก็บอกว่ าดีเลย กฎบัตรนครสวรรค์ จึง เริมต่ ้ นขึ้นในปี 2562 ในขณะที่เมืองอื่นๆ เขาอาจจะมีกลุ่ มนักวิจัย หรือ บริษัทพัฒนาเมืองเป็นเจาภาพขับเคลื่อน นครสวรรค ้ ์ เป็ นเมืองที่มีภาครัฐอย่ างเทศบาลนครนครสวรรค์ เป็นเจาภาพ แต้ นั ่นล่ ่ ะ จะบอกวาเทศบาลฯ เราขับเคลื่อน ่ เองก็ไม่ ถูกนัก เพราะเราร่ วมมือกับนักวิจัยและ ชาวนครสวรรค์ ในทุกภาคส่ วนมาท�าตรงนี้ People
43 รวมงานกันอย ่ างไร? สิ ่ งแรกที่เราคุยคือเรา ่ จะท�าอะไรกอน ผมก็ให ่ ตัวแทนทุกฝ ้ ่ ายมาคุย กันให้ ได้ มากที่สุด มาสะท้ อนปั ญหาของ เมือง ความต้ องการ และทิศทางที่แต่ ละคน มองไปยังอนาคต รวมถึงการน�าเสนอ โมเดลการพัฒนาเมืองจากที่ต่ างๆ ทั้งใน และต่ างประเทศให้ ทุกคนเข้ าใจ เพื่อน�ามา ปรับใช้ กับบริบทของเมืองเรา แนนอน คนนครสวรรค่ มีหลายภาคส ์วนมาก ่ กอนอื่นเราต ่ องท� ้าใหทุกคนเห็นภาพตรงกัน ้ ว่ ากฎบัตรคืออะไร และมันช่ วยพวกเราได้ อยางไร รวมถึงเกณฑ ่ การชี้วัดต ์ างๆ ศัพท ่ ์ แสงดานการพัฒนาเมือง ผมก็ร ้ วมเรียนรู ่ ้ ไป กับพี่นองประชาชนนี่แหละ ตลอด 2 ปี แรก ้ เราชวนภาคสวนต่ างๆ มาประชุมกันกว ่ า 40 ่ ครัง แต้ละครั ่ งคนฟังไม้ต่่า�กวา 200 คน ่ พอประชุมกันจนคิดวาเรากระจายข่ อมูลไป ้ ได้ ทั่วแล้ ว ก็เริ่ มขับเคลื่อน ซึ่งจริงๆ แล้ ว นายกเทศมนตรี (จิตตเกษมณ นิโรจน ์ ธนรัฐ) ์ เขาวางพื้นฐานไว้ ดีแล้ วนะ มีการก่ อสร้ าง ‘พาสาน’ มีการท�าคลองบ�าบัดน้า�เสีย ‘คลอง ญวนชวนรักษ์’ หรือการที่เทศบาลผลิตน้�า ประปาเองจ�าหนายในราคาย ่ อมเยา เพื่อลด ่ ตนทุนค้ าครองชีพให ่ผู้ คนในเขตเทศบาล จน ้ เราได้ รางวัลชนะเลิศการจัดการระบบน้�า สะอาดและน้า�ประปาของอาเซียน (โครงการ รางวัลอาเซียนด้ านสิ่ งแวดล้ อมเมืองที่ ยั่งยืน) เราก็ตอยอดจากสิ ่ ่ งที่มีอยู่ โดยเริมจากการ่ ฟื้นฟูย่ านเมืองเก่ าบริเวณถนนโกสีย์ ซึ่งมัน ซบเซาลงไปมากใหกลายเป็นย ้ านที่เอื้ออ� ่านวย ตอการเดินเท ่า อ้ ้ างอิงโมเดลมาจาก Smart Block ของบารเซโลนา ด ์ ้ วยเชื่อว่ าถ้ าเมือง มันเอื้อใหคนเดิน ลดการใช ้รถส้ วนตัว มีขนส ่ง่ มวลชนที่ไดประสิทธิภาพและมีราคาย ้อมเยา ่ รวมถึงการน�าเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาเอื้อ อ�านวยความสะดวกแกผู่คน ร้านค้ าก็จะขาย ้ ของได้ มากขึ้น เศรษฐกิจก็จะฟื้นตัว ทั้งนี้ เมื่อ บพท. ได้ มอบทุนสนับสนุน โครงการวิจัยเมืองแห่ งการเรียนรู้ แก่ อาจารย์ ฐาปนา จึงมีการต่ อยอดแนวคิด Smart Block ในพื้นที่บริเวณศูนย์ ท่ ารถให้ กลายเป็ นยานนวัตกรรม รองรับการลงทุน ่ ของศูนยการค์ าและโรงพยาบาลที่จะเกิดขึ้น ้ ในพื้นที่ และท�าใหผู้ ้ ประกอบการเดิมในย่ าน ได้ ประโยชน์ สูงสุดด้ วย นอกจากการฟื้นฟูย่ านด้ วยสมาร์ ทซิตี้ เรา ยังตังคณะกรรมการกฎบัตรนครสวรรค้ ขึ้น ์ โดยครอบคลุมกรอบการพัฒนาเมือง 10 สาขา อาทิ MICE และเศรษฐกิจสีเขียว, อุตสาหกรรมสีเขียว, เกษตรและอาหาร ปลอดภัย, ที่อยู่ อาศัย, สวนสาธารณะ, สุขภาพและสุขภาวะ ฯลฯ แตละสาขาก็มีการ ่ ตั้งกลุ่ มเพื่อขับเคลื่อนไปยังเป้ าหมายของ สาขานันๆ ซึ่งพอมีกรอบที่ชัดเจนแบบนี้ เวลา ้ จะขับเคลื่อนมันก็ง่ าย ผู้ ประกอบการหรือ บุคคลที่สนใจเรื่องใดเป็นพิเศษก็สามารถหา แนวรวมช่ วยกันขับเคลื่อนต ่ อไปได ่ ้ และถึงแม้ เทศบาลจะเป็ นหัวเรี่ยวหัวแรง ของกฎบัตร แต่ สุดท้ าย การขับเคลื่อน กรอบของทั้ง 10 สาขา จะเป็ นหน้ าที่ของ สมาชิกในกรอบนั้นๆ ซึ่งก็คือตัวแทนจาก ภาคประชาชนในนครสวรรค์เอง เพราะ บทบาทของเทศบาลคือการอ�านวยความ สะดวกใหภาคประชาชน พร ้ อมไปกับการหา ้ วิธีลดความเหลื่อมล้�าและแก้ ปั ญหาเมือง สวนการก� ่าหนดทิศทางหรือวาง Roadmap ของเมือง คือหน้ าที่ของพวกเราทุกคน ผมท�างานเทศบาลมาหลายสิบปี และปี นี้ผม อายุ 70 แล้ ว ไม่ แน่ ใจเหมือนกันว่ าพอ รถไฟฟ้ าสายใหมตัดผ ่านนครสวรรค่ อีก 10 ์ ปี ข้ างหน้ า จะทันเห็นหรือเปล่ า แต่ นั่นแหละ สิ่ งที่พอจะท�าได้ คือการวางรากฐานและ เตรียมเมืองใหพร้ อมรับการเปลี่ยนแปลงให ้ ้ มากที่สุด นครสวรรคหลังจากนี้น ์ าจะมีการ ่ พัฒนาไปอีกมาก แต่ สิ่ งส�าคัญคือเราจะน�า ประโยชนจากการพัฒนาให ์ กระจายไปยังพี่ ้ น้ องประชาชนทุกหย่ อมย่ านอย่ างทั่วถึง ไม่ ใช่ แค่ การกระจุกอยู่ แค่ กลุ่ มคนหรือกลุ่ ม ทุนไม่ กี่กลุ่ ม” People
44 Interview
45 Interview
46 “ผมเป็ นเจาของคณะสิงโต เห็นลูกหลานชอบ ้ ดูและอยากเชิดสิงโต ผมเลยท�าหัวสิงโตขนาด เล็กใหพวกเขาได ้ ้ เลน ต่ อมาก็มีคนมาขอซื้อ แล ่ว้ เสียงตอบรับดีมาก จึงกลายเป็ นธุ รกิจ ครอบครัวไปเลย ตอนนี้ท�ามาได้ 4-5 ปี แล้ ว สิงโตที่ผมท�าเรียกสิงโตกวางตุงของคณะกว้อง๋ สิว คนปากน้�าโพจะไม่ คุ้ นค�าว่ าสิงโตกวางตุ้ ง เทากับค� ่าวาสิงโตกว ่ องสิว ต ๋ นฉบับเป็ นหัวสิงโต ้ ที่ชาวจีนกวางตุ้ งที่ก่ อตั้งสมาคมกว๋ องสิว ใน เมืองนครสวรรค์ ประดิษฐ์ ขึ้น ใช้ แห่ ในงาน “เด็กๆ นครสวรรค์เติบโตมากับมังกร สิงโต และเอ็งกอ ซึ่งไม่ใช่จากพิธีกรรม แต่ เป็นจินตนาการ และการอยากมีส่วนร่วม ซึ่งสิ่งนี้เป็นอีกหนึ่งหัวใจส�ำคัญว่า ท�ำไมประเพณีแห่เจ้าพ่อเจ้าแม่จึงได้รับการสืบสานมาเป็นร้อยปี” นิกร ศรีนิล และวิพารัตน์ เทียมจันทร์คนท�าหัวสิงโตกวางตุ้ ง ประเพณีตรุษจีนมา 100 กว่ าปี แล้ ว เชื่อกันว่ า นี่คือหัวสิงโตกวนกง หรือหัวสิงโตของเทพเจา้ กวนอู ใบหน้ าของสิงโตจึงมีสีแดง เป็ น สัญลักษณ์ ของความจงรักภักดี ความเที่ยง ธรรม และความกล้ าหาญของเทพเจากวนอู ้ เด็กๆ นครสวรรคเติบโตมากับมังกร สิงโต และ ์ เอ็งกอ ซึ่งไม่ ใชจากพิธีกรรม แต ่ ่ เป็นจินตนาการ ท�าใหพวกเขาอยากเข้ ามามีส ้วนร่ วม หรืออยาก ่ เป็ นคนเชิด ซึ่งสิ่ งนี้เป็ นอีกหนึ่งหัวใจส�าคัญว่ า ท�าไมประเพณีแห่ เจาพ้ ่ อเจาแม้ ่ จึงได้ รับการ สืบสานมาเป็ นรอยปี ้ ตอนผมท�าหัวสิงโตขนาดเล็กใหลูกหลานเล้ ่ น ก็ ไม่ ได้ คิดหรอกว่ าจะต้ องท�าขาย เหมือนเราเคย ท�าหัวใหญ่ มาก่ อน ก็ลองท�าเล็กๆ สัก 9 หัวดู มี คนมาเห็นลูกหลานเราเชิด เขาก็เลยมาขอซื้อให้ ลูกเขาไปเลนด่ วย ไปๆ มาๆ ครูที่โรงเรียนมาเห็น ้ เขาก็ขอซื้อไปเป็ นสื่อประกอบการเรียน มีการ แขงขันเชิดสิงโตเยาวชนชิงรางวัลด ่ วย เขาก็มา ้ รับจากเราไป People
47 ผมไมรู่ว้่ าเขาไปเรียนการเชิดสิงโตจากไหนนะ ก็นาจะดูจาก่ ขบวนแห่ หรือไม่ ก็ดูจากยูทูปกันมากกว่ า อย่ างคณะสิงโต เขาไม่ มีกิจกรรมเปิ ดคอร์ สการสอนหรอก เพราะคนเชิด ส่ วนใหญ่ เขาก็ประกอบอาชีพอื่นกัน จะมารวมตัวกันซ้ อม ก่ อนมีพิธีแห่ เท่ านั้น แต่ ถึงบอกว่ าผมท�าสิงโตกว๋ องสิวจ�าลอง แต่ หลายๆ ตัวก็ ไม่ ได้ เหมือนต้ นฉบับหมดหรอกครับ ก็ปรับไปตามความ ต้ องการของลูกค้ า หรือวัตถุดิบที่เรามี มีสีเขียว เหลือง ขาว ด�า แดง บางตัวก็ทาสองสี บางตัวก็สามสี ขาวล้ วนก็ มีครับ แต่ ไม่ แนะน�า เพราะเชิดไปไม่ นานแล้ วจะเปื้ อน (หัวเราะ) ภูมิใจไหมที่เป็ นส่ วนหนึ่งที่ช่ วยสืบสานวัฒนธรรมส่ งต่ อไป ถึงเด็กๆ ผมอาจจะไม่ ได้ คิดถึงขนาดนั้น แค่ คิดว่ าท�าของ เล่ นใหพวกเขาได ้ ้ เล่ นสนุกและได้ เรียนรู้ ไปพรอมกัน แค ้ ่ นั้น ก็ดีใจแล้ ว และขณะเดียวกันสิ่ งนี้ก็กลายเป็ นธุรกิจที่เลี้ยง ครอบครัวเราได้ ด้ วย” People
48 “ความลับของลูกชิ้นปลากรายหรือคะ ความจริงแล้วเราไม่ใช้แค่เนื้อปลากรายอย่างเดียว” รุ ่ งรัตน์ สุวิทยารักษ์ และนายตี๋ คมสันต์ สุวิทยารักษ์เจาของร้ ้ านตี๋ ก๋ วยเตี๋ยวลูกชิ้ นปลากราย นครสวรรค์ People
49 “ชื่อนายตี๋ ลูกชิ้ นปลากราย มาจากชื่อเตี่ยค่ ะ เตี่ยชื่อเล่ นชื่อตี๋ ชื่อจริง ชื่อคมสันต์ สุวิทยารักษ์ เปิ ดรานนี้มาเกือบ 30 ปี แล ้ ้ ว แรกเริ่ มเลย ต้ องย้ อนไปสมัยอากง อากงเป็ นคนจีนมาตั้งรกรากที่ นครสวรรค และท� ์ากวยเตี๋ยวเป็ดขายเป็นหลัก พร ๋ อมกับขายลูกชิ ้ นปลากราย้ เสริมด้ วย หลังอากงเสียชีวิต เตี่ยก็มารับช่ วงต่ อ โดยขายลูกชิ้ นปลากราย อย่ างเดียว เพราะสมัยนั้นลูกชิ้ นปลากรายเริ่ มเป็ นของฝากของจังหวัด นครสวรรค์ แล้ ว โดยท�าส่ งร้ านค้ าในตลาดก่ อน พวกแผงปลา หรือร้ าน ก๋ วยเตี๋ยวอื่นๆ ความที่ลูกชินเราไม ้ ่ ใสสารกันบูด เวลาฝากร ่านเขาขาย แล้วร้ านขายไม ้หมด ่ เขาก็จะตีสินค้ าคืนมา เราก็ขาดทุน เตี่ยก็เลยคิดว่ างั้นท�ารถเข็นขาย ก๋ วยเตี๋ยวลูกชิ้ นปลาของเราเองดีกว่ า เพราะแต่ ไหนแต่ ไร เวลามีงานบุญ อะไร เราก็ท�ากวยเตี๋ยวอยู ๋แล่ว ้น้า�ซุปเราก็มีสูตรของเรา เตี่ยก็เลยเปิ ดราน้ กวยเตี๋ยวเมื่อราว 30 ปี ที่แล ๋ ว ขายชามละ 10 บาท ขายอยู ้ ่ ในหองไม ้ ฝั ้่งตรง ขามนี้ร ้ วมกับร ่านหมูสะเต้ะของน๊ องชายเตี่ย ก ้อนย่ ายมาขายในรถเข็นของ ้ ตัวเอง จนเก็บเงินซื้อตึกตรงนี้ได้ และขยายสาขาเพิ่มอีก 2 สาขาในปั จจุบัน เราเป็ นรุนที่ 2 ค ่ ่ ะ มาชวยตอนที่ก ่ วยเตี๋ยวนาย ๋ ตี๋ติดตลาดแล้ ว ซึ่งก่ อนหน้ านี้ก็ช่ วยที่บ้ าน ตังแต้ตอนท� ่าลูกชินส้ งขายเลย พอมาถึงรุ ่นเรา ่ เราก็หาเมนูอื่นๆ มาเสริม มีอาหารจานเดียว ของกินเล่ น ของหวานให้ ครบวงจร เพราะ ลูกคาบางคนอาจไม ้ ่ ไดอยากกินก ้ วยเตี๋ยว แต ๋ ่ ตามเพื่อนมา เขาจะได้ มีทางเลือก โดยสาขา หลักสาขานี้มีเรากับน้ องชายบริหาร แต่ เตี่ยก็ ยังมาคุมอยู่ หน้ าราน ส้ ่ วนอีกสองสาขา (หน้ า วัดยางโทน ทางไปอ�าเภอโกรกพระ และสาขา เส้ นเลี่ยงเมือง ตรงข้ ามบุญทวีวัสดุ) จะมี น้ องสาว และน้ องชายดูแล เป็ นธุรกิจ ครอบครัวอย่ างแท้ จริง (ยิ้ ม) ความลับของลูกชินปลากรายหรือคะ ความจริง ้ แล้ วเราไม่ ใช้ แค่ เนื้อปลากรายอย่ างเดียว แต่ เราจะผสมเนื้อปลากรายกับเนื้อปลาฉลาดดวย ้ รสสัมผัสจะออกมาพอดี เมื่อก่ อนเราหาปลา เอง ไปซื้อจากพิจิตร รังสิต และเรานี่แหละ รับจางแม้ ขูดเกล็ดปลาได ่ค้ าแรงตัวละ 3 บาท ่ แต่ เดี๋ยวนี้ พอลูกชิ้ นปลากรายได้ รับความ นิยม ก็มีแม่ ค้ ามาเสนอขายให้ เลย เราก็จะเช็ค เนื้อปลาก่ อนแปรรูปทุกครั้ง ทุกวันนี้แม่ ก็ยัง เป็ นคนคุมสูตรไม่ ให้ เพี้ยน ความที่พอมีสื่อหรือโซเชียลมีเดียมาท�าคอนเทนต์ ร้ านเราบ่ อยๆ มาก ตี๋ลูกชิ้ นปลากรายเลยได้ รับความสนใจเป็ นหนึ่งในจุดเช็คอิน หรือเป็ น หน้ าเป็ นตาของเมืองนครสวรรค์ ไปกลายๆ เราตระหนักเรื่องนี้ดี จึงต้ องพยายามรักษา มาตรฐานของรสชาติและการบริการใหดีอยู ้ ่ ตลอด เราก็หวังให้ ร้ านก๋ วยเตี๋ยวร้ านนี้เป็ น รานคู้ ่ เมืองต่ อไปอีกหลายๆ รุน” ่ People
50 Interview