The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ไพรพนา จันทาพูน, 2020-02-18 23:06:02

สวนดอกไม้

สวนดอกไม้


 

บทท่ี 1

บทนํา

1 ความหมายและความสาํ คญั ของไม้ดอกไม้ประดับ

1.1 ความหมายของไมด้ อกไมป้ ระดับ

ไม้ดอกไมป้ ระดับ หมายถึงพรรณไมท้ ี่มคี วามสวยงามทัง้ ใบ ดอก ผล เมล็ด ราก ตลอดจนรูปทรงของ
ลาํ ต้น ซง่ึ นํามาใช้ประโยชนไ์ ด้ ไมว่ ่าจะเปน็ พชื ชนดิ ใด ท้งั พืชผัก ไม้ผล พชื สวน พชื ไร่ตา่ งๆ หากมคี วามสวยงาม
กน็ าํ มาใชป้ ระดบั ตกแต่งได้

1.2 ความสําคญั ของไมด้ อกไมป้ ระดบั มีความสําคัญ 2 ประการ คือ

1.2.1 ดา้ นสงั คม เน่ืองจากไมด้ อกไม้ประดับมคี วามสวยงาม จึงมคี วามเกี่ยวขอ้ งในชีวิตประจาํ วนั ของ
มนุษย์ในยุคปจั จบุ ัน สาํ หรับประเทศไทยมีการใชไ้ มด้ อกไม้ประดับในวัฒนธรรมประเพณี และพธิ ีกรรมทาง
ศาสนา มายาวนาน ใช้เนอ่ื งในโอกาสตา่ งๆ มกี ารนาํ พรรณไม้ท่ีมีชอ่ื เปน็ มงคล ใช้ในพธิ แี ตง่ งาน เช่น ใช้ใบเงนิ
ใบทอง สว่ นการใชด้ อกไม้ในพธิ ีกรรมทางพุทธศาสนา เราใชด้ อกบัว ดอกมะลิ ดอกไมท้ ี่มีสขี าวอ่ืนๆและดอกไม้
ทมี่ ีกลน่ิ หอม ส่วนงานสําคญอกี งานหนงึ่ ได้แก่ งานวาระสุดทา้ ยของชวี ติ ดอกไมก้ ม็ ีบทบาทช่วยทําใหง้ านมีสีสัน
คลายจากความโศกเศรา้ สะเทือนใจได้บ้าง ซ่ึงงานนี้ในสมยั ท่ีวิทยาการทางการแพทย์ยงั ไมเ่ จรญิ ก้าวหนา้ การ
ตง้ั ศพของชาวบ้านไม่มกี ารฉดี สารเคมปี ้องกันการเนา่ เปอ่ื ย ดอกไม้ทีม่ กี ลน่ิ หอมแรงจงึ มบี ทบาทเขา้ มาชว่ ยดบั
กลิน่ ทไ่ี มพ่ งึ ปรารถนา เชน่ ดอกซ่อนกลิน่ ไทย นิยมใช้ประดบั ในงานศพ แตป่ ัจจุบนั เราไม่มคี วามจาํ เปน็ ตอ้ งใช้
กลนิ่ ของดอกไม้มาชว่ ย จงึ สามารถจดั ตกแต่งดอกไม้ในงานได้อยา่ งสวยงามตามความพอใจและกําลงั ทรัพย์ของ
เจา้ ของงาน นอกจากนไ้ี ทยยังรบั วฒั นธรรมของชาติตะวันตกมาใชม้ ากมาย เช่น การเยย่ี มไข้ การเยีย่ มคลอด
การแสดงความยนิ ดใี นโอกาสต่างๆ เช่น งานขนึ้ บ้านใหม่ เปิดสํานักงานใหม่ วนั รับพระราชทานปรญิ ญา วันรับ
ปริญญา และมกี ารนาํ ไมด้ อกไมป้ ระดับไปตกแต่งอาคารสถานทต่ี ลอดจนบ้านพักอาศัย ทาํ ให้รม่ รนื่ สวยงาม
มองดแู ล้วสบายตาสบายใจอยา่ งย่งิ จึงถอื ว่าไม้ดอกไมป้ ระดบั เปน็ พรรณพืชที่มีคุณคา่ ทางใจอย่างหาทเ่ี ปรียบได้
ยาก ส่วนในประเทศท่ีพฒั นาแลว้ เชน่ สวิตเซอร์แลนด ์ เนเธอร์แลนด์ นอรเวย์ เดนมารค์ ออสเตรเลีย เบล
เย่ยี ม สหราชอาณาจักรองั กฤษ เยอรมนี ฟนิ ดแ์ ลนด์ สวเี ดน สหรฐั อเมริกา และญีป่ นุ่ มกี ารบริโภคไมต้ ัดดอก
เปน็ ปริมาณมาก ซ่งึ การใชไ้ มด้ อกไม้ประดบั ของประเทศเหลา่ นี้ นยิ มใช้ประดับตกแต่งบ้านเรอื นให้สวยงาม
และใช้ในโอกาสตา่ งๆ เชน่ การแสดงความยนิ ดี ความรกั ความระลึกถึง ความเคารพ และแสดงความอาลยั
สําหรับบคุ คลที่รักผู้จากไป

1.2.2 ดา้ นเศรษฐกิจ ไม้ดอกไมป้ ระดับจัดเป็นพืชทที่ าํ รายได้สงู ท่สี ุดตอ่ หน่วยพ้ืนที่ปลกู ประเทศไทย
เปน็ ประเทศในเขตร้อน ทม่ี คี วามหลากหลายทางชวี ภาพของพันธุ์พืชมากมาย นอกจากนีป้ ระเทศไทยยังมี
สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมกบั การเจรญิ เตบิ โตของไม้ดอกไมป้ ระดบั คือมแี สงแดดและอณุ หภมู ทิ ่ีเหมาะสม
อย่างยงิ่ โดยประเทศไทยมแี สงแดดตลอดปี มอี ุณหภมู ิในช่วงกลางวนั ระหวา่ ง 27 – 40 องศาเซลเซยี ส และใน

 


 

เขตพน้ื ทสี่ ูงมอี ุณหภูมกิ ลางคืน 10 – 20 องศาเซลเซยี ส ซงึ่ จากการทไี่ ทยมคี วามหลากหลายของพนั ธุพ์ ืช
ดงั กล่าว จึงมเี กษตรกรและนกั วชิ าการที่มีความรคู้ วามสามารถ ไดด้ ําเนินการพัฒนาพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดบั จาก
พนั ธุพ์ ้ืนเมอื ง จนได้พนั ธุท์ ี่ดเี หมาะสมทเ่ี ปน็ พันธเ์ุ พือ่ การส่งออก เช่น

1.2.2.1 ปทุมมา เปน็ ไมด้ อกทมี่ ีหวั อยู่ใต้ดนิ ผูท้ ร่ี ิเร่ิมนํามาปทมุ มาพฒั นาแล้วส่งออก คือ คุณอุดร คาํ
หอมหวาน แล้วนักวิชาการของไทย คอื รศ.สรุ วชิ สวุ รรณไกรโรจน์ (ประธานชมรมผู้พัฒนาพันธ์ไุ ม้ประดับ
2000) ไดว้ จิ ยั เรื่องการขยายพนั ธ์ุ การปลกู เลี้ยง การผสมพันธุ์ การบงั คับการออกดอกนอกฤดู การเร่งการพกั
ตวั และการทาํ ลายการพกั ตัว ตลอดจนการดแู ลหลังการเก็บเกย่ี วช่อดอกและหวั พนั ธุ์

1.2.2.2 อโกลนีมา ได้มีการศกึ ษาพชื พื้นเมืองของไทยชนดิ อนื่ ทม่ี ีความสามารถในการใชป้ ระโยชนแ์ ละ
ความเป็นไปได้ในการผสมพันธุ์ ผลการคัดเลอื ก คอื อโกลนมี า ซง่ึ อโกลนมี าสามารถใชป้ ระดบั ในอาคารใน
บรเิ วณทม่ี ีแสงแดดน้อยได้ทนเกือบ 1 เดอื น จึงได้มีการรวบรวมจากแหลง่ ตา่ งๆในประเทศไทย จาก
ต่างประเทศ เช่น สหรฐั อเมรกิ า ฟิลิปปินส์ และอนิ เดยี โดยมี รศ.ดร.สุรวชิ สุวรรณไกรโรจน์ เปน็ บคุ คลสาํ คญั ที่
ทําให้เกดิ การรว่ มแรงรว่ มใจระหวา่ งเกษตรกรและนกั วชิ าการชว่ ยกนั พัฒนาพนั ธ์ุ จนเกดิ ลูกผสมใหมๆ่ ท่ีมคี วาม
สวยงามของใบท่มี สี ีชมพู แผน่ ใบด้านบนมสี แี ดง จนเปน็ ทตี่ อ้ งการไปท่วั โลก เป็นทีช่ นื่ ชมของบุคคลท่วั ไปจน
ไดร้ บั สมญานามวา่ ราชาแหง่ ไม้ประดับเขตรอ้ น เน่ืองจากใบทม่ี ีหลากหลายสี ดแู ลง่าย ใชป้ ระโยชน์ได้เป็นนาน
วันทําให้เป็นพนั ธุ์ไม้ประดบั ทมี่ รี าคาสงู ท่ีสดุ ในประวตั ศิ าสตร์ไมป้ ระดับของภูมภิ าคอกี ด้วย และด้วยคณุ สมบัติ
ดังกลา่ วรศ.ดร.สรุ วชิ สวุ รรณไกรโรจน์ ได้ขอพระราชทานชื่อสามญั ภาษาไทยใหพ้ ชื สกลุ นี้ จากสมเดจ็ พระบรม
โอรสาธิราช สยามมกฎุ ราชกมุ าร ซงึ่ พระองค์ได้พระราชทานชอ่ื แกว้ กาญจนา เมอ่ื ปี พ.ศ. 2549 นอกจากนย้ี ัง
มพี นั ธ์ุไมป้ ระดบั ทพ่ี ัฒนาพนั ธ์ุในชว่ งเดียวกัน คอื โปย๊ เซียน หยก ชวนชม ล่ันทม(ลีลาวดี) และฟิโลเดนดรอน

1.2.2.3 กลว้ ยไม้ ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีส่งออกกล้วยไม้ในปรมิ าณสงู จนทาํ ใหค้ ณะรฐั มนตรไี ด้
กําหนดยุทธศาสตร์การแขง่ ขนั กลว้ ยไมไ้ ทยในตลาดโลก พ. ศ. 2554 – 2559 โดยมอบหมายให้กระทรวง
เกษตรและสหกรณเ์ ป็นหน่วยงานหลกั ดําเนินงาน โดยมเี ปา้ ประสงคเ์ พื่อเพิม่ มูลค่าการสง่ ออกกลว้ ยไม้ โดยมี
เป้าหมายอตั ราการเจริญเติบโตเฉลี่ยต่อปี ร้อยละ 19.24 และมีเป้าหมายการสง่ ออกมลู คา่ 1 หม่ืนลา้ นบาทใน
ปี 2559 ตลาดส่งออกท่ีสําคัญของไทย 5 อันดับแรก คอื ญป่ี ุ่น สหรัฐอเมรกิ า จนี อติ าลี และเนเธอรแ์ ลนด์
อนั ดบั ถดั ไปคือ อนิ เดยี ไต้หวัน เวียตนาม และเยอรมนี ปจั จบุ นั ประเทศไทยสง่ ออกกล้วยไม้เขตรอ้ นสูงเปน็
อนั ดับ 1 ของโลก รองลงมาไดแ้ ก่ สิงคโปร์ และมาเลเซีย นอกจากการส่งกลว้ ยไมซ้ ึ่งเป็นไม้ดอกส่งออกทีม่ ี
มลู คา่ ทางเศรษฐกจิ สูงแล้ว รองลงมา ได้แก่ ชวนชม เฟือ่ งฟ้า และยงั มไี มด้ อกไม้ประดบั อกี 4 ชนิด ทีไ่ ด้รบั
ความนยิ มและไดร้ ับการสง่ เสรมิ ใหเ้ ป็นไมเ้ ศรษฐกจิ ของประเทศไทยเพิม่ เติมคือ กุหลาบ เฟิร์น สับปะรดสี และ
แคคตสั

1.2.2.4 กุหลาบ ปัจจุบนั ประเทศไทยมพี ้ืนทปี่ ลูกหุ ลาบ 5,500 ไร่ แหล่งปลูกทส่ี าํ คญั ได้แก่ เชียงใหม่
เชยี งราย ตาก นครปฐม สมทุ รสาคร ราชบุรี และกาญจนบุรี กหุ ลาบของไทยแบง่ ไดเ้ ป็น 2 ลกั ษณะคอื การ
ผลิตเชิงปริมาณและการผลติ เชงิ คณุ ภาพ การผลิตเชงิ ปรมิ าณคือการผลติ ในพน้ื ทีข่ นาดใหญใ่ ห้ผลผลติ ปรมิ าณ

 


 

มากแต่ไม่ไดค้ ณุ ภาพ เชน่ ดอกและกา้ นมีขนาดเล็ก มตี าํ หนิจากโรคแมลง ฯลฯ ทาํ ใหไ้ ด้ราคาตา่ํ จงึ จําเป็นต้อง
ผลติ ปรมิ าณมากเพอื่ ใหเ้ กษตรกรอยไู่ ด้ ส่วนการผลิตเชงิ คณุ ภาพ นิยมปลกู ในภาคเหนอื และบนพ้ืนที่สงู ปลูก
ภายในโรงเรือนพลาสตกิ มกี ารผลิตและการเกบ็ เกย่ี วท่ีดี ใชแ้ รงงานทช่ี ํานาญ ทําใหไ้ ด้กุหลาบทมี่ คี ณุ ภาพดมี ี
อายกุ ารปกั แจกันนาน แต่ยงั ไม่เพยี งพอกบั ความต้องการในประเทศยงั ต้องมีการนําเข้ากุหลาบคณุ ภาพดี

1.2.2.5 เฟริ น์ ประเทศไทยมีสภาพภมู ิอากาศทีเ่ หมาะสมต่อการเจริญเติบโตและขยายพันธุเ์ ฟริ ์น และ
เกษตรกรไทยในปจั จบุ นั มีความสามารถในการเพาะและพฒั นาพนั ธ์จุ นทําใหเ้ กิดลูกผสมมากมายทม่ี เี พียงหนง่ึ
เดียวในประเทศไทยและหนง่ึ เดียวในโลกทําให้ต่างชาติใหค้ วามสนใจเฟิรน์ ของประเทศไทยเปน็ อยา่ งมาก เชน่
เฟริ ์นแววปกี แมลงทบั เป็นเฟิร์นชนดิ เดยี วในไทยและในโลกพบทจ่ี ังหวัดชุมพร ปัจจบุ นั อย่ใู นภาวะใกลส้ ญู พนั ธุ์
ลกั ษณะเดน่ ทสี่ วยงามคือ ใบมสี ีเขียวเคลอื บน้าํ เงินมนั วาวคลา้ ยปกี ของแมลงทบั ส่วนเฟริ น์ อีกชนดิ หนึ่งคือ
ชายผา้ สีดาลูกผสมคชิ กูฎ เปน็ เฟิร์นลกู ผสมของเฟริ ์นชายผ้าสีดาสายมา่ นกบั เขากวางตัง้ จึงตง้ั ช่ือวา่ ชายผ้าสดี า
ผสมคชิ กฎู ซง่ึ เปน็ ชนิดเดยี วในไทยและในโลก มลี กั ษณะเปน็ เกรด็ ใบยาวเรยี วแหลมเรียงตัวแคบๆชดิ เป็นทรง
สามเหลีย่ ม แกนเส้นเลก็ รูปทรงยาวได้ถึงเมตร พบมากในปา่ ธรรมชาติ ทีอ่ าํ เภอลานสกา จังหวัดนครสีธรรม
ราช ปจั จบุ ันมตี น้ แม่ตน้ เดียวในโลกมลู ค่า 350,000 บาท

1.2.2.6 สับปะรดสี เปน็ พืชลม้ ลุกท่ีมถี นิ่ กาํ เนดิ ในทวีปอเมรกิ าใต้ กลาง เหนือ ข้ึนกระจายตามป่า
ตามหน้าผาสงู ชัน หรือท่รี าบชายฝัง่ ทะเล ปลกู ง่ายโดย ฝงั กลบหนอ่ หรอื ส่วนยอดทีเ่ รียกว่าจกุ ลักษณะเด่นของ
สบั ปะรดสคี อื มชี ่อดอกยาวสูง สีกลีบดอก กลีบเลย้ี งและใบ สฉี ูดฉาด คงอยู่ได้นานหลายบสัปดาห์ ทนแลง้
เหมาะกับสวนทไี่ มต่ อ้ งการการดแู ลมาก

1.2.2.7 แคคตัส ปจั จุบันมผี ู้นิยมปลูกเล้ียงกนั อยา่ งกว้างขวาง เนอ่ื งจากลักษณะรปู รา่ งทรงตน้ ของ
แคคตสั ทแี่ ตกต่างไปจากพืชอ่ืน คือมหี นามขน้ึ อยู่โดยรอบต้น การเรียงตวั ของตุ่มหนามทเ่ี ปน็ ระเบยี บสวยงาม
เช่น Mammillaria หรอื Astrophytum ทม่ี ลี ักษณะตมุ่ หนามเป็นปุยนุ่นเรยี งตัวอย่างเปน็ ระเบยี บ นอกจากน้ี
แคคตัสยังมดี อกท่ีสวยงามสีสนั สดใสดึงดูดสายตา เชน่ สีเหลือง ชมพู เขยี ว มว่ ง และสม้ สร้างความเพลินตา
เพลนิ ใจแกผ่ ปู้ ลูกเลี้ยง

2 สถานการณ์การผลิตไม้ดอกไมป้ ระดบั แต่ละชนิดในปี 2550 – 2551

2.1 กลว้ ยไม้

ปี 2550 มีพื้นทป่ี ลูกกล้วยไมต้ ัดดอก 20,739 ไร่ ผลผลติ 45,937 ต้น โดยมีผลผลิตเฉลี่ย 2,215 กิดล
กรัมต่อไร่ กลว้ ยไมท้ ีม่ ีการปลูกมากทีส่ ุดคดิ เป็นร้อยละ 80 ของพน้ื ทป่ี ลูกทัง้ หมด คอื สกลุ หวาย รองลงมาคือ
สกุลมอ็ คคารา ออนซเิ ดยี มและแวนดา พื้นทปี่ ลูกหนาแนน่ ทอี่ ําเภอสามพราน จงั หวัดนครปฐม อาํ เภอกระทุ่ม
แบน จังหวัดสมทุ รสาคร จาํ นวนเกษตรกรประมาณ 2,000 ราย ส่วนการผลติ กล้วยไมจ้ าํ หน่ายตน้ มีพน้ื ทปี่ ลูก
ประมาณ 1,200 ไร่ ผลผลิต 48 ลา้ นต้น สกุลท่ีปลกู มากที่สดุ คือ สกุลหวาย รองลงมา เป็นสกลุ แวนดา ฟา

 


 

แลนอปซสิ และออนซิเดยี ม แหลง่ ผลติ สว่ นใหญ่อย่ทู ่ี กรงุ เทพมหานคร นครปฐม สมทุ รสาคร ราชบรุ ี
กาญจนบุรี นครราชสมี า และเชียงใหม่ มีจาํ นวนผู้ปลูกประมาณ 500 ราย

ส่วนการสง่ ออกในปี 2550 ช่วงเดือนมกราคมถงึ พฤศจกิ ายน สง่ ออกดอกกลว้ ยไมป้ ริมาณ 22,323 ตัน
มลู ค่า 2,322 ล้านบาท ซึ่งมปี ริมาณเพ่ิมขนึ้ แต่มูลคา่ ลดลงเนอื่ งจากค่าเงนิ บาทแขง็ ตวั ประเทศทสี่ ง่ ออกมาก
ท่ีสุดคอื ญป่ี นุ่ มลู ค่า 743.9 ล้านบาท รองลงมาคอื สหรฐั อเมริกา 528.3 ล้านบาท อิตาลี 212.3 ลา้ นบาท
สาธารณรัฐประชาชนจนี 205.6 ล้านบาท และอินเดยี 85.8 ล้านบาท ผ้สู ่งออกดอกกล้วยไมข้ องไทยมี
ประมาณ 100 ราย สว่ นการสง่ ออกต้นกลว้ ยไม้ในช่วงเดยี วกนั สง่ ออกปริมาณ 96 ลา้ นตน้ มลู ค่า 119 ลา้ นบาท
โดยส่งออกไปประเทศเนเธอร์แลนดม์ ากทสี่ ดุ รองลงมาคือ สหรฐั อเมริกา ญป่ี นุ่ และเกาหลี ผสู้ ง่ ออกมปี ระมาณ
30 ราย

ในปี 2553 มพี ื้นทีป่ ลูกกลว้ ยไม้ตดั ดอก 22,779 ไร่ ผลผลิต 54,692 ตน้ โดยมผี ลผลติ เฉลีย่ 2,401
กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ แหลง่ ผลิตที่สาํ คญั คือ นครปฐม 7,864 ไร่ สมทุ รสาคร 5,275 ไร่ กรงุ เทพมหานคร 2,611 ไร่
ราชบุรี 2,108 ไร่ และนนทบุรี 1,076 ไร่ ขณะท่กี ารสง่ ออกดอกกลว้ ยไมป้ รมิ าณ 25,369 ตนั มูลคา่ 2,302
ล้านบาท ซ่งึ มปี รมิ าณเพ่มิ ขน้ึ จากปี 2552 ร้อยละ 2.7 แตม่ ูลคา่ ลดลงรอ้ ยละ 2.5 เน่อื งจากค่าเงนิ บาทแขง็ ตัว
ประเทศท่สี ง่ ออกมากที่สดุ คอื ญี่ปุน่ มูลคา่ 777 ล้านบาท รองลงมาคือสหรฐั อเมรกิ า 410 ล้านบาท สาธารณรัฐ
ประชาชนจีน 243 ลา้ นบาท และอิตาลี 212.3 ล้านบาท

2.2 ไมด้ อกเมอื งร้อน

การนาํ เขา้ ดอกไม้สดปี 2549 เดอื นมกราคม ถึงเดือนพฤศจกิ ายน ปรมิ าณนําเขา้ ดอกไมส้ ด 1,596
ตัน มูลคา่ 65.6 ลา้ นบาท สว่ นปี 2550 .ในช่วงเวลาเดยี วกนั นําเข้าดอกไม้สดปริมาณ 3,314 ตัน มุลคา่ 65.75
ล้านบาท จะเหน็ ได้วา่ ปริมาณนําเข้าในปี 2550 เป็นสองเท่าของการนําเขา้ ปี 2549 แต่มูลคา่ ไมแ่ ตกตา่ งกนั
ทั้งนีเ้ นอ่ื งจากดอกไม้สดในตา่ งประเทศราคาถูกลง ประเทศหลักๆทไ่ี ทยนําเข้าคือ ประเทศมาเลเซีย และ
สาธารณรฐั ประชาชนจีน สว่ นการสง่ ออกดอกไมส้ ดในปี 2549 ในชว่ งเดือน มกราคมถึงพฤศจกิ ายนส่งออก
ดอกไม้สด 1,250 ตนั มลู ค่า 70.49 ลา้ นบาท ปี 2550 ในชว่ งเดยี วกนั ส่งออก 1.308 ตัน มูลคา่ 91.1 ล้าน
บาท ซง่ึ พบวา่ ปรมิ าณการส่งออกเพิ่มขน้ึ ร้อยละ 4.6 มูลคา่ เพ่ิมข้ึนร้อยละ 28.8 สาํ หรบั ไม้ดอกเมอื งร้อนที่
สง่ ออกได้แก่

2.2.1 ดาวเรอื ง

ดาวเรืองเป็นพืชเศรษฐกิจในตลาดโลกมานานแลว้ เนอื่ งจากมงี านวจิ ยั พบว่าในกลีบดอกดาวเรอื ง ท่ีมี
สีส้ม มสี ารธรรมชาตกิ ล่มุ แคโรทนี อยด์ (carotenoids) ทม่ี ีชือ่ วา่ แซนโทฟลิ (xanthophyll) สงู มากและเปน็
ประโยชน์ต่อเซลลร์ ่างกายของคนและสัตว์ การผลติ ดาวเรืองมที ั้งตดั ดอกและการผลติ แบบอตุ สาหกรรมแบบ
ครบวงจร ปัจจบุ ันมโี รงงานรบั ซ้อื ดอกดาวเรืองเพื่อนําไปอบแห้งและส่งออกไปประเทศอนิ เดยี เพอ่ื สกดั สารที่
เป็นประโยชน์หลงั จากนนั้ จงึ สง่ ไปบริษัททีส่ หรัฐอเมรกิ า พื้นทีป่ ลกู ดาวเรืองตัดดอก 9,500 ไร่ แหล่งผลิต

 


 

ดาวเรืองอยูใ่ นจงั หวัด กาญจนบรี สุพรรณบุรี ราชบรุ ี ปทุมธานี ศรสี ะเกษ บรุ ีรมั ย์ เชยี งใหม่ และสโุ ขทัย สว่ น
การผลติ ดาวเรืองเพื่ออุตสาหกรรมมีพนื้ ทปี่ ลูกประมาณ 18,500 ไร่ แหล่งผลติ ท่สี ําคัญ ได้แก่ เชียงใหม่
เชยี งราย ลาํ พนู ลาํ ปาง แพร่ นา่ น ตาก กาํ แพงเพชรและปราจนี บรุ ี ในปี 2549 ปริมาณการส่งออกดอก
ดาวเรอื ง 102,988 กิโลกรมั 23,907 ชิ้น มลู คา่ 7,210,185 บาท สว่ นตน้ ดาวเรืองมปี ริมาณการส่งออก 3,466
ตน้ มลู คา่ 35,720 บาท รวมมูลคา่ การส่งออก 7,245,905 บาท

2.2.2 มะลิ

มะลเิ ป็นไมด้ อกทผี่ ลิตได้ตลอดทง้ั ปี นยิ มบรโิ ภคภายในประเทศโดยนําดอกมาร้อยมาลยั ทําดอกไม้
แหง้ สกัดนํ้ามนั หอมระเหย มีบางส่วนสง่ ออกไปตา่ งประเทศ ไดแ้ ก่ สงิ คโปร์ มาเลเซยี และญ่ีป่นุ พน้ื ที่ปลกู
ประมาณ 6,000 ไร่ ในจงั หวดั นครสวรรค์ นครปฐม นครราชสีมา ขอนแกน่ ศรสี ะเกษ อุดรธานี เพชรบรุ ี
นครศรีธรรมราชและสงขลา ปี 2549 มปี ริมาณการส่งออกดอกมะลิ 3,001 กโิ ลกรมั มูลคา่ 240,707 บาท
สง่ ออกตน้ 88,835 ต้น มลู ค่า 1,629,699 บาท รวมมูลคา่ การสง่ ออก 1,870,376 บาท

2.2.3 หนา้ ววั

หนา้ ววั เปน็ ไม้ดอกที่ตลาดตา่ งประเทศและภายในประเทศตอ้ งการ นอกจากผลิตเพ่อื ตดั ดอกแล้วยัง
ผลติ เปน็ ไม้กระถางได้อีกด้วย ปจั จบุ ันมีการนําเข้าพนั ธ์หุ น้าวัวจากตา่ งประเทศทม่ี ีสสี นั และรูปร่างแปลกใหม่ มี
ความหลากหลาย การผลติ หน้าวัวตอ้ งใช้ต้นทุนสูง มีผลติ ที่จงั หวัดเชียงใหม่ นครราชสมี า ชมุ พร สุราษฎร์ธานี
ปี 2549 มีการส่งออกดอกหน้าววั 207,556 ชน้ิ มลู คา่ 2,220,383 บาท ใบหน้าวัว 47,508 ช้ิน มลู ค่า
262,552 บาท ต้นหนา้ ววั 1,466 ขวด 42,499 ต้น มูลค่า 972,133 บาท รวมมูลค่าการสง่ ออก 3,454,068
บาท

2.2.4.บัวหลวง

บัวหลวง เปน็ พชื ทส่ี ามารถใช้ประโยชน์ได้ทกุ สว่ น คือ ดอก ใบ เมล็ด ฝกั เหง้าและไหล มีพื้นทีปลกู
ประมาณ 5,500 ไร่ แหลง่ ปลกู ทีส่ ําคญั คอื นนทบุรี นครปฐม สพุ รรณบุรี อุบลราชธานี ขอนแก่น พจิ ติ ร
พะเยา นครสวรรค์ พษิ ณโุ ลก พทั ลุง สาํ หรบั บวั หลวงตดั ดอก คอื สัตบุษย์และสตั ตบงกช ตลาดจําหนา่ ยบัว
หลวงตัดดอก คอื ตลาดปากคลองตลาด ตลาดไท ตลาดสี่มมุ เมือง ตลาด อ.ต.ก.และตลาดดอกไม้ในท้องถ่นิ
ดอกบัวหลวงส่งออก 95,426 ชน้ิ มูลคา่ 742,223 บาท ตน้ บวั หลวงสง่ ออก 807 ต้น มลู ค่า 44,223 บาท รวม
มูลค่าการสง่ ออก 786,747 บาท

2.2.5 ธรรมรักษา ดาหลา ขิงแดง

เป็นไม้ตดั ดอกเมอื งรอ้ นท่ีนยิ มปลูกเพราะมสี ีสันสวยงาม รปู ทรงแปลกตา และดอกมอี ายุการใชง้ าน
นาน ปลูกในจงั หวดั กาญจนบุรี ภเู กต็ ปราจีนบุรี นนทบรุ ี นครปฐม เป็นตน้ ธรรมรกั ษามหี ลากหลายพันธ์ุ พนั ธุ์
ท่นี ยิ มปลูก คอื Peachy Pink, Kawauchi, Oriale Orange, Sexy Pink, Jacquinii, Lobster claw, Big

 


 

Bud, Bergundy และ Macas Pink ปี 2549 มกี ารสง่ ออกดอกธรรมรกั ษา 247,617 กา้ น มลู คา่ 1,990,865
บาท ส่งออกต้น 15,418 ตน้ มูลค่า 605,214 บาท และส่งออกส่วนขยายพันธุ์ 3,345 ช้ิน มลู คา่ 39,528 บาท
รวมมลู ค่า 2,635,607 บาท ตลาดนาํ เข้าธรรมรกั ษา ได้แก่ ฮ่องกง สาธารณรฐั ประชาชนจนี อิตาลี
เนเธอร์แลนด์และญ่ีปุน่ สว่ นขิงแดงพันธท์ุ ีน่ ิยมคอื ขงิ แดง ขิงชมพู ประเทศที่นาํ เขา้ ขงิ แดงคือ ประเทศใน
ตะวันออกกลาง ไดแ้ ก่ สหรฐั อาหรับเอมิเรต บาห์เรนและซาอุดอิ าระเบีย สว่ นดาหลา พันธุท์ ี่ปลูกคอื ดาหลา
แดง ดาหลาชมพู ประเทศทนี่ ําเข้าดาหลา ได้แก่ สหรฐั อเมริกา ตรินแิ ดดแอนด์โทบาโก เยอรมนี

2.2.6 ไม้ดอกเมืองรอ้ นอน่ื ๆท่สี ง่ ออกในรูปหัวพนั ธ์ไุ ดแ้ ก่ ปทุมมา ว่านแสงอาทติ ย์ บอนสี เปน็ ตน้ จาก
ขอ้ มูลของกรมศลุ กากร พบวา่ หัว หนอ่ แขนง เหงา้ ตุ่มตา และแง่ง สง่ ออกในปี 2550 ชว่ งเดือนมกราคม ถงึ
พฤศจิกายน มีปรมิ าณ 1,608,121 ชิ้น มลู ค่า 14,048,158 บาท ตํา่ กว่าปีที่ผ่านมาคิดเปน็ ร้อยละ 19.7
ประเทศทนี่ ําเขา้ หลกั ได้แก่ เยอรมนี ญปี่ นุ่ สหรฐั อเมรกิ า สําหรบั ปทมุ มา มีพ้นื ทป่ี ลูก 400 ไร่ ปลกู มากใน
จงั หวัดเชยี งใหม่ เชียงราย โดยปลกู เพอื่ ผลิตหวั พนั ธเุ์ พอ่ื ส่งออกไปตา่ งประเทศ ไดแ้ ก่ ประเทศญป่ี ุน่ ยุโรปและ
สหรัฐอเมริกา บอนสี แหลง่ ผลติ บอนสเี พือ่ การสง่ ออกมปี ระมาณ 80 ไร่ ทจ่ี งั หวดั ลําพูน เชยี งใหม่ ส่งออก
มูลคา่ ไมต่ า่ํ 3 ลา้ นบาท สว่ นกรผลิตบอนสกี ระถางมพี น้ื ที่ 50 ไร่ ผลิตได้ ไม่ตํา่ กว่า 300,000กระถางตอ่ ปี อยทู่ ่ี
กรุงเทพมหานคร ปทมุ ธานี นนทบุรี สมทุ รปราการ อยุธยา ฉะเชงิ เทรา

2.2.7 ไมด้ อกเมืองหนาวหรอื ไม้ดอกเขตหนาว

ไม้ดอกเขตหนาวหลายชนิด สามารถผลิตได้ในประเทศไทยตลอดท้ังปี เช่น กุหลาบ เบญจมาศ เยอบี
รา ลลิ ลี และแกลดิโอลสั

3 ตลาดดอกไม้ในประเทศตา่ งๆ ที่นาํ เขา้ จากประเทศไทย

3.1 ประเทศในภูมภิ าคอาเซียน อินโดนีเซียเป็นตลาดทีน่ ่าสนใจ ไทยไดเ้ ปรยี บดลุ การคา้ ไม้ดอกไม้
ประดบั ประเทศอนิ โดนเี ซีย โดยอินโดนเี ซยี นําเข้ากลา้ กล้วยไมส้ กลุ หวาย แวนด้า และคัทลยี า และไมด้ อกไม้
ประดับชนดิ อื่น ได้แก่ หนา้ ววั ชวนชม แกว้ กาญจนา ปาลม์ และลน้ิ มงั กร ในกลมุ่ ประเทศอาเซยี นดว้ ยกัน
ประเทศอินโดนีเซียเป็นประเทศท่นี าํ เข้าไมด้ อกไมป้ ระดับจากไทยมากทสี่ ุด

3.2 ประเทศญ่ีปนุ่ เป็นประเทศที่ผลิตดอกไมร้ ายใหญเ่ ปน็ อันดับ 3 ของโลกรองมาจากสหรัฐอเมริกา
และเนเธอรแ์ ลนด์ โดยมพี ้ืนท่ีปลูก 2.2 แสนไร่ แตญ่ ่ปี ุ่นก็เปน็ ตลาดทีม่ กี ารนาํ เข้าดอกไม้ทีน่ ่าสนใจตลาดหน่งึ
เนอื่ งจาก

1) ญีป่ ่นุ เป็นผบู้ รโิ ภคดอกไม้รายใหญข่ องโลก คือมีปริมาณความตอ้ งการบรโิ ภคดอกไม้เป็นอนั ดบั 2
ของโลก รองจากสหรัฐอเมรกิ า ทงั้ นีม้ ูลคา่ ตลาดดอกไมใ้ นญ่ปี ุ่นสงู ถึง 5 – 6 พันล้านดอลลาร์สหรฐั ฯต่อปี ซึง่ ท่ี
ผ่านมาปรมิ าณความต้องการใชด้ อกไมข้ องภาคธรุ กจิ จะลดลงตามสภาวะเศรษฐกิจ แต่ความต้องการใช้ดอกไม้
ในภาคครัวเรือนกลบั เพิม่ ข้นึ สว่ นหนึ่งมาจากชาวญี่ปนุ่ ลดการออกไปทํากจิ กรรมนอกบา้ นเพ่ือประหยัด
รายจ่าย จึงซื้อดอกไมแ้ ละตน้ ไมม้ ากขนึ้ แลว้ นาํ มาตกแตง่ บา้ นเพื่อเปน็ การสรา้ งบรรยากาศใหส้ ดชื่นสวยงาม

 


 

2) ผลผลิตดอกไม้ของญี่ปุ่นในช่วง 5 – 6 ปีท่ผี า่ นมาลดลงอย่างต่อเนือ่ งโดยสว่ นหน่ึงเป็นผลมาจาก
เกษตรกรผปู้ ลกู เขา้ สวู่ ัยชรา ประกอบกบั ภาวะเศรษฐกจิ ของญ่ีปุน่ ชะลอตวั ในช่วงหลายปีท่ีผ่านมา สง่ ผลให้
ผบู้ รโิ ภคเริม่ หนั มาเลือกซอ้ื ดอกไม้นาํ เขา้ ซงึ่ มีราคาถกู กว่าแทน

3) การนําเขา้ ดอกไมเ้ พ่มิ ขน้ึ ต่อเนื่องทงั้ ในด้านปริมาณและมลู ค่าทัง้ นญี้ ีป่ ่นุ เปน็ ผ้นู าํ เขา้ ดอกไมร้ ายใหญ่
อนั ดบั 4 ของโลกในปี 2551 มลู คา่ นําเข้า 536 ดอลลารส์ หรฐั ฯ และเปน็ ผนู้ าํ เขา้ ดอกกลว้ ยไมส้ ด (ดอกไมท้ ่ี
ไทยส่งออกมากทสี่ ุด) รายใหญท่ ่ีสดุ ของโลกโดยมสี ่วนแบง่ ตลาดประมาณรอ้ ยละ 20 ของมลู คา่ นาํ เข้าดอก
กลว้ ยไม้สดของโลก

4) ญี่ปุ่นเก็บภาษนี าํ เข้าดอกไมเ้ กอื บทกุ ชนิดในอตั รารอ้ ยละ 0 จึงเปน็ โอกาสของผู้สง่ ออกในการขยาย
ตลาดส่งออกดอกไม้ในญ่ีปนุ่ เนอ่ื งจากไม่เกดิ ความไดเ้ ปรียบเสียเปรียบในการแขง่ ขนั เมือ่ เปรียบเทยี บกับผู้
สง่ ออกดอกไมไ้ ปญ่ีปุ่นรายอ่นื ๆ

5) กลมุ่ ผูบ้ รโิ ภค ผลการสํารวจของ Ministry of Internal Affairs and Communications ระบวุ า่
ในปี 2550 ครอบครวั ญปี่ ่นุ มีคา่ ใช้จา่ ยในการซือ้ ดอกไมเ้ ฉล่ยี ปีละ 10,327 เยน แยกตามอายุ พบว่ากลุ่มอายุ
50 ปีขนึ้ ไป เปน็ กล่มุ ทีม่ คี า่ ใชจ้ า่ ยมากทีส่ ดุ คอื 11,000 – 14,000 เยนต่อปี ขณะท่ีกลุ่มอายตุ ํ่ากว่า 50 ปี ใช้
จ่ายตํ่ากว่ากลุ่มแรกเกือบครงึ่ หนึ่ง (ตารางที่ 1.1) สําหรับผหู้ ญงิ นยิ มซอ้ื ดอกไมส้ ดซงึ่ นาํ ไปจดั ตกแตง่ และทํา
ดอกไม้แห้งได้ ซือ้ เฉล่ยี แตล่ ะครงั้ ประมาณ 1,000 – 2,000 เยน สว่ นผู้ชายนิยมซ้อื ไม้กระถางขนาดเล็กเพราะ
ดแู ลงา่ ยราคาต้งั แต่ 100 – 2,000 เยน ทัง้ นี้กระทรวงเกษตรปา่ ไม้และประมงของญี่ป่นุ (Ministry of
Agriculture,Forestry and Fisheries : MAFF) มีแผนท่จี ะรณรงคใ์ หก้ ลุ่มผู้บรโิ ภควัยหนุม่ สาวหันมาซ้ือ
ดอกไมเ้ พม่ิ ข้ึน เพอ่ื กระตุ้นอตุ สาหกรรมการผลิตดอกไม้ในญี่ปุ่นโดยต้ังเปา้ เพ่มิ ความต้องการซือ้ ดอกไมใ้ นญ่ปี ุน่
ขึ้นจากปี 2551 ถงึ รอ้ ยละ 8 ภายในปี 2558

ช่วงอายุ ตารางท่ี 1.1 ค่าใชจ้ ่ายในการซ้ือไม้ตดั ดอกรายปขี องชาวญป่ี ุ่น
20 - 30 ปี
30 – 40 ปี คา่ ใชจ้ ่ายในการซือ้ ดอกไม้ (เยน/ปี)
40 – 50 ปี 2,263
50 – 60 ปี 4,174
60 – 70 ปี 5,950
70 ปีขน้ึ ไป 11,607
14,491
13,697

ทีม่ า Annual Survey of income and expenditure

(Ministry of Internal Affairs and Communications)

 


 

6) ช่องทางการจําหน่าย โดยทั่วไปดอกไมท้ ป่ี ลูกในประเทศและนาํ เขา้ จะรวบรวมมาซ้อื ขายใน
ลกั ษณะประมลู ทตี่ ลาดคา้ สง่ กอ่ นกระจายไปยังรา้ นคา้ ปลีกต่อไป ส่วนท่เี หลอื เปน็ การขายตรงระหวา่ งเกษตรกร
ในญ่ีปนุ่ /ผนู้ ําเข้ากับร้านค้าปลกี และเกษตรกรในญ่ีปนุ่ /ผ้นู ําเข้ากับผู้บริโภค นอกจากน้ีผูเ้ พาะปลกู ดอกไมใ้ น
ญ่ีป่นุ บางรายยังรับซอ้ื ไมด้ อกประเภทหัวหรอื หวั พนั ธ์ุมาจากผู้นําเข้าเพือ่ มาเพาะปลูก

6.1) ผู้นาํ เข้า ผนู้ ําเขา้ สว่ นใหญม่ ีสํานักงานอยู่ในกรงุ โตเกยี ว นอกน้ันกระจายอยูต่ ามเมือง
สาํ คัญอ่นื ๆ เช่น โอซากา ฟกู ูโอกะและนาโกยา่ ทั้งนก้ี ารส่งออกดอกไม้ของไทยไปญป่ี นุ่ เป็นดอกกล้วยไม้เกอื บ
ทั้งหมด ผู้นําเข้าดอกไม้ของญป่ี ่นุ มีวธิ ีรบั ซอ้ื จากไทย 2 ลักษณะ คือ ซอ้ื ขาด โดยกาํ หนดราคารบั ซื้อแน่นอน
กอ่ นรับสนิ ค้า และเมอ่ื ได้รบั สินคา้ แล้วจึงนําไปเข้าตลาดประมูล และรับฝากขายโดยผ้นู ําเขา้ เรียกเกบ็ ค่าฝาก
ขายรอ้ ยละ 8 – 10 ของราคาที่ขายได้ หากนาํ ไปขายท่ีตลาดประมูลอาจมกี ารคิดคา่ บริการขายในตลาด
ประมลู อกี ร้อยละ 10 ของราคาที่ประมูล

6.2) ตลาดประมลู ตลาดประมูลดอกไมใ้ นญ่ปี ุ่นมีประมาณ 200 แห่ง ตลาดประมลู ทสี่ ําคญั
ไดแ้ ก่ ตลาดประมลู โอตะ ณ กรุงโตเกียว ตลาดประมูลโอซากาและตลาดประมลู ฟูกโู อกะ สมาชิก ในตลาด
ประมูลได้แก่ เกษตรกร ผนู้ ําเข้า ผู้สง่ ออก ผขู้ ายส่งและร้านดอกไม้ ซง่ึ ตอ้ งจดทะเบยี นกบั ตลาดประมลู ก่อน

6.3) รา้ นค้าปลีก ร้านดอกไม้ยังเปน็ ชอ่ งทางการกระจายสนิ ค้าไปยังผู้บริโภคทส่ี าํ คญั ทสี่ ดุ
ครองส่วนแบง่ ตลาดราวรอ้ ยละ 60 รองลงมาไดแ้ ก่ ซูเปอรม์ ารเ์ กต็ (ร้อยละ 25) อย่างไรก็ตาม การสั่งดอกไม้
ทางไปรษณียแ์ ละทางอนิ เทอรเ์ นตมแี นวโนม้ ไดร้ บั ความนยิ มเพิ่มขนึ้

7) แหลง่ นาํ เขา้ ดอกไมท้ ญี่ ปี่ นุ่ นาํ เขา้ มากทีส่ ดุ ไดแ้ ก่ ดอกเบญจมาศ รองลงมา ไดแ้ ก่ดอกกล้วยไม้
คารเ์ นช่นั และกุหลาบ แหลง่ นําเขา้ สําคัญ ไดแ้ ก่ เนเธอร์แลนด์ (รอ้ ยละ 16.3 ของมูลคา่ นาํ เข้าดอกไม้ท้ังหมด
ของญปี่ ่นุ ปี 2552) รองลงมา ไดแ้ ก่จนี (ร้อยละ 15.2) มาเลเซยี (ร้อยละ 14.6) ส่วนไทยเปน็ แหลง่ นาํ เข้าอนั ดับ
6 (ร้อยละ 6.9)

8) แนวโนม้ ความนิยมของผู้บริโภค ชาวญี่ป่นุ นิยมดอกไม้สขี าว หรือสอี อ่ นๆ เช่น สีชมภอู ่อน มว่ งออ่ น
ส่วนดอกไมส้ ีเขม้ ๆยงั ได้รบั ความนยิ มไม่มากนกั ทง้ั นกี้ ระทรวงเกษตรฯของญปี่ ุ่น จัดทําการสํารวจความ
ต้องการดอกไม้จากผู้ประกอบการคา้ ส่งดอกไม้ท่ัวประเทศ พบวา่ ดอกไมท้ ี่มแี นวโน้มจะได้รับความนิยมเพม่ิ ข้นึ
ในชว่ ง 5 ปขี ้างหน้า ไดแ้ ก่ ลซิ ิแอนธัส และเบญจมาศ ชนดิ ช่อ (spray type) สว่ นหน่งึ เนอื่ งจากดอกไม้ชนิด
ดังกลา่ ว มีอายกุ ารใชง้ านนาน จงึ สอดคล้องกับความตอ้ งการของผู้บริโภคท่ีต้องการประหยัดรายจา่ ย และหาก
พิจารณาสีของดอกไมท้ ีค่ าดวา่ จะได้รับความนยิ ม โดยแบง่ ตามประเภทของดอกไม้ พบว่า กหุ ลาบสแี ดงจะ
ไดร้ บั ความนิยมสุงสุด เนอ่ื งจากแสดงถึงความหรูหรา คาร์เนชัน่ และเยอบรี า่ คาดว่าสชี มภจู ะได้รบั ความนิยม
มากทสี่ ดุ เน่ืองจากเป็นสีท่ีผู้หญิงชอบมากที่สุด ส่วนลซิ ิแอนธัส คาดว่าสที ่จี ะได้รบั ความนิยมที่สดุ คอื สีขาว

 


 

9) กฏระเบยี บนําเข้า ญีป่ ุ่นไมเ่ รยี กเก็บภาษนี ําเขา้ ดอกไม้ แตเ่ รียกเก็บ consumption tax รอ้ ยละ 5
ของราคานาํ เข้า ท้งั นดี้ อกไม้นาํ เข้าตอ้ งผา่ นการตรวจสอบเชอ้ื โรคและศตั รพู ชื และไดร้ บั ใบรบั รองตาม plant
quarantine law

3.3 ประเทศอินเดีย ประเทศอนิ เดยี เป็นอีกประเทศหนงึ่ ท่ใี ช้ดอกไมใ้ นชีวิตประจาํ วนั โดยตามหวั เมอื ง
ใหญม่ ีรา้ นขายดอกไม้ตามมมุ ถนน ขายดอกไม้ตั้งแตเ่ ทีย่ งวนั ไปจนดึก ดอกไมท้ ี่ขาย มดี อกไม้สด ช่อเลก็ ๆไป
จนถึงชอ่ ใหญ่ มีหลายอย่างทัง้ กุหลาบ หน้าวัว เยอบรี ่า ลลิ ลี่ คารเ์ นช่ัน ปักษาสวรรคแ์ ละดอกกล้วยไม้ ชาว
อนิ เดยี นําไปมอบแสดงความยินดใี หแ้ กก่ นั ในโอกาสต่างๆรวมถึงการตอ้ นรบั แขกผมู้ าเยือนด้วยความประทับใจ
คล้ายธรรมเนยี มการมอบพวงมาลัยของไทย แต่ช่อดอกไมข้ องอนิ เดียจะเน้นความสด และการจัดวางแบบเรยี บ
งา่ ยไมห่ รหู รามากเท่าไหร่ นอกจากมอบชอ่ ดอกไมใ้ ห้แกก่ นั แลว้ คนอนิ เดยี นิยมตกแต่งงานมงคลต่างๆด้วย
ดอกไมส้ ดใหเ้ ต็มงาน เพอื่ เพ่ิมความหรหู ราและความพิเศษของงาน โดยเฉพาะงานแตง่ งาน ที่คนอินเดียถอื ว่า
เปน็ เร่ืองใหญ่ในชวี ิต จะเฉลิมฉลองกัน 3 – 4 วัน และมกั จะจดั ในพืน้ ทโ่ี ลง่ กวา้ ง เช่น ตามฟาร์มชานเมอื ง ว่า
กนั วา่ งานแตง่ งานของผ้มู ฐี านะดีจะมีคา่ ใช้จา่ ยเป็นค่าดอกไมห้ ลายแสนรูปี สาํ หรับชอ่ื เสยี งของไทยในวงการ
ดอกไม้อนิ เดยี น้ัน ดอกไมไ้ ทยโดยเฉพาะดอกกล้วยไมท้ ี่มีความสวยงามอย่แู ลว้ ประกอบกบั มกี ารบรรจภุ ัณฑ์
ขนส่งทพี่ ถิ พี ถิ นั เร่ิมเขา้ มาตีตลาดอนิ เดียอย่างเงยี บๆ ผู้ประกอบการจัดดอกไมต้ ามงานมงคลต่างๆของอินเดีย
ยืนยันวา่ ตลาดอนิ เดยี ตอนนี้นิยมกลว้ ยไมอ้ ันดับหนง่ึ โดยในการนาํ เขา้ จากไทยกว่าร้อยละ 95 เปน็ กล้วยไม้
กล้วยไมท้ ีน่ ยิ มเป็นกล้วยไม้สกุลหวาย (Dendrobium) ออนซิเดยี ม (Oncidium) แวนดา (Vanda) และมอค
คารา(Mokara)

 

10 
 

บรรณานกุ รม
ศรปี ระไพ ธรรมแสง 2547 เอกสารประกอบการสอนวชิ าการผลิตไม้ดอกไม้ประดบั (1202 415) ภาควชิ า

พชื สวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี
เจาะตลาด“ไมด้ อกฯ”ไทยในต่างแดน“อนิ โดฯ”ตลาดใหญท่ ีไ่ มค่ วรมองขา้ ม

http://gms.oae.go.th/Z_Show.asp/article/376 30/11/2012
ตลาดดอกไม:้ อีกหน่งึ สินค้าทย่ี งั มีโอกาสในญี่ป่นุ ส่วนวจิ ยั ุรกิจ 1 ฝา่ ยวจิ ัยธุรกจิ ธนาคารเพือ่ การ่งออกและ

นําเข้าแห่งประเทศไทย www.exim.go.th/doc/newsCenter/10245.pdf 2/7/2013
ตลาดดอกไม้และโอกาสกลว้ ยไมไ้ ทยในอนิ เดยี http://www.thannews.th.com/index.php 23/11/2012
ส่งเสรมิ “ไมด้ อก 4 ชนดิ ” ของไทยขน้ึ แท่นพันธ์ไุ ม้เศรษฐกจิ โลก

http://www.dailynews.co.th/article/224/153260 30/11/1012
สถานการณ์การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 2550 – 2551

http://www.gardencenter.co.th/thai/love_suan/kasat 23/11/2012

 


 

บทที่ 2

ปัจจัยทม่ี ผี ลตอ่ ความงามของไมด้ อกไม้ประดบั

ความงามของไมด้ อกไม้ประดับ คอื ความสวยงามของสว่ นตา่ งๆของพชื ทใี่ ช้ในการประดบั นัน่ คอื ดอก
ใบ ผล ตลอดจนรปู ทรงของต้น ความงามเหลา่ นหี้ มายรวมถงึ รูปรา่ ง รูปทรงสีสนั และความสดใสของไม้ดอกไม้
ประดบั การทไ่ี ม้ดอกไมป้ ระดับจะมคี วามงามไดน้ ้นั ต้องอาศัยปจั จัยหลายอยา่ งมาช่วยสรา้ งสรรค์ แตก่ ่อนอนื่
จะตอ้ งทราบว่า การท่ีความสวยงามจะมีได้ต้องเกดิ จากการเจรญิ เติบโตของเหลา่ พรรณพืชนั้นๆ การ
เจรญิ เตบิ โตของพชื นน้ั มีปัจจัยตา่ งๆดงั นี้

1 ขบวนการทท่ี าํ ให้เกดิ การเจรญิ เตบิ โตของพืช

1.1 ขบวนการสงั เคราะหแ์ สง (photosynthesis) เป็นขบวนการทพ่ี ชื สร้างอาหาร (นา้ํ ตาล) จากนํ้า
และคาร์บอนไดออกไซด์ โดยมี chlorophyll (สีเขียว) และมแี สง (อาจเปน็ แสงจากธรรมชาติหรือแสงจาก
แหลง่ อ่นื ) ขับเคล่อื นขบวนการทางเคมี และปลดปล่อยออกซเจนออกมา โดยมีขบวนการดังนี้

6CO2 + 6H2O chlorophyll + light C6H12O6 + 6O2

ซึ่งขบวนการสงั เคราะหแ์ สงนี้แปรผนั ไปตามความเขม้ ของแสง อณุ หภมู ิ และความเขม้ ของออกซเิ จน
ในบรรยากาศที่พชื เจรญิ เติบโต และถา้ มกี ารสะสมอาหารมากในพืชจะทาํ ให้ขบวนการนีช้ ้าลง

1.2 ขบวนการหายใจ (respiration) การหายใจเป็นขบวนการท่ีสงิ่ มีชวี ิตใช้พลงั งานจากอาหาร
(glucose,sugar) การหายใจเปน็ ขบวนการทม่ี กี ารเผาไหมซ้ ่ึงแตกตา่ งจากขบวนการสังเคราะหแ์ สง การหายใจ
ได้พลังงาน คารบ์ อนไดออกไซด์ และนา้ํ ขบวนการมีดงั น้ี

C6H12O6 + 6O2 enzyme 6CO2 + 6H2O + energy

ขบวนการหายใจเป็นขบวนการท่ีเปลี่ยนผลท่ีได้จากการสังเคราะห์แสงไปเป็นพลังงานที่พืชนําไปใช้ในการ
เจริญเติบโตสืบพันธ์ุและบํารุงรักษาเซลล์ ขณะที่ขบวนการสังเคราะห์แสงเกิดข้ึนระหว่างช่ัวโมงที่มีแสงหรือ
ภายใต้แสงสังเคราะห์ ภายในเซลล์ท่ีประกอบด้วยคลอโรฟิลล์ (chlorophyll) ส่วนขบวนการหายใจเกิดข้ึนใน
ไมโตคอนเดรีย (mitochondria) ของเซลล์ของพืช พลังงานท่ีปลดปล่อยออกมาคือ adenosine
triphosphate (ATP)

การสังเคราะหแ์ สงเพอ่ื สรา้ งผลผลติ สาํ หรับการหายใจ และการสังเคราะหแ์ สงเกิดขึน้ ในไม่กชี่ ัว่ โมงต่อ
วนั แตก่ ารหายใจเกดิ ตลอดวนั ดงั น้ันจึงต้องมกี ารสมดลุ กนั การทาํ ใหส้ มดลุ เป็นไปได้โดยต้องมีการสังเคราะห์
แสงที่มีประสทิ ธิภาพ ในพชื ท่ีมีสุขภาพดอี ัตราการสงั เคราะหแ์ สงสูงกวา่ การหายใจ โดยมีการสรา้ งอาหาร
มากกวา่ ในช่วงกลางวันและมกี ารหายใจน้อยในชว่ งกลางคืน จึงทําใหม้ ีการสะสมอาหารในรูปของผลไมแ้ ละ

  2 

เมล็ดได้ แตห่ ากวา่ ไม่สมดุลคือมกี ารหายใจมากกว่าการสงั เคราะหแ์ สงจะทําใหพ้ ืชไมแ่ ขง็ แรงและไมม่ อี าหาร
สะสม

1.3 การคายน้ํา (transpiration) การคายนา้ํ หมายถึงการสูญเสียนํ้าในรปู ของแกส๊ จากต้นพชื นํ้าเขา้ สู่
พชื ได้ทางรากและเขา้ ไปเตมิ เตม็ ระหวา่ งชอ่ งว่างภายในเซลล์พืช และถ้าไอนาํ้ ในอากาศน้อยกว่าไอนา้ํ ใน
เน้ือเยอื่ พืช ไอน้ํากจ็ ะสูญเสยี จากพชื การคายนํ้าสว่ นใหญเ่ กิดข้นึ ท่ีปากใบที่อยดู่ า้ นล่างของใบรอ้ ยละ 90 การ
สญู เสยี นํ้าส่วนนอ้ ยสูญเสียทาง cuticle เมอ่ื การดูดนํา้ เกิดขน้ึ มากเกนิ อัตราการคายนา้ํ นาํ้ ก็จะสูญเสียออกมา
ในรปู ของหยดน้าํ ผ่านออกมาท่ีปากใบ เรยี กว่า hydrathodes การสูญเสยี นาํ้ แบบน้เี รยี กวา่ guttation อัตรา
การคายน้าํ ขึ้นอยู่กบั ความช้นื สัมพัทธ์ในอากาศ ถ้าหากวา่ ความชนื้ สมั พัทธใ์ นอากาศ เพ่ิมหรอื ลดกจ็ ะทําให้การ
คายนํา้ เพิ่มขึน้ หรือลดลงไปด้วย นอกจากนี้ปริมาณนาํ้ ในดนิ กม็ ผี ลตอ่ การคายนํ้า เมอื่ ดินแห้งพชื ไม่สามารถดดู
น้ําในดินมาทดแทนนาํ้ ที่สญู เสียไปจากการคายนา้ํ จะทําใหพืชเหีย่ วแตถ่ า้ หากมหี ารให้น้ําทนั พืชจะไมเ่ ห่ียว แต่
ถ้าหากว่าให้นาํ้ ไมท่ นั พชื จะเหีย่ วถาวรไม่สามารถฟ้นื คืนได้

1.4 การลาํ เลียง (translocation) การลําเลียงคอื การเคลือ่ นย้ายอินทรยี วัตถุจากสว่ นหนึ่งของพืชไป
ยงั อกี ส่วนหนึง่ ซึง่ เกิดขน้ึ ในท่ออาหาร การลําเลยี งผลผลิตท่ีได้จากการสังเคราะห์แสง มีความจําเป็นในการ
เจริญเตบิ โตของพชื และการขยายพันธ์ุ หรอื นําไปเกบ็ สะสมไวเ้ พอ่ื จะไดเ้ ป็นผลและเมลด็ ขน้ึ กับระยะการ
เจริญเตบิ โตของพชื การลาํ เลียงเกดิ ได้ทกุ ทิศทางภายในตน้ พืช

2 ปัจจัยทมี่ ผี ลต่อการเจรญิ เติบโตของพชื

พชื ต้องการอะไรในการเจริญเติบโต

สําหรบั การผลติ ไม้ดอกไมป้ ระดับเราต้องการทําใหม้ ีการเจริญเตบิ โตดที สี่ ดุ และมีคณุ ภาพดีทส่ี ุดด้วย

ศกั ยภาพการเจริญเตบิ โตของพืชขน้ึ อยกู่ บั 2 ปัจจัย คอื พนั ธุกรรมและสภาพแวดล้อมทพี่ ืช
เจรญิ เติบโต

2.1 พันธกุ รรม (genetic heritages) พนั ธกุ รรมดงั้ เดิมของพืชท่ปี ลูกไมส่ ามารถเปลี่ยนแปลงได้

2.2 สภาพแวดล้อมที่พชื เจริญเตบิ โต ผปู้ ลูกเลย้ี งสามารถควบคุมได้

ปจั จัยทม่ี ีผลตอ่ พชื นน้ั มี 2 ส่วน คือส่วนบนดิน และส่วนทอ่ี ยูใ่ ต้ดนิ ไดแ้ ก่

2.2.1 ดิน (soil)

2.2.1.1 ความสาํ คญั ของดนิ ดนิ เป็นสภาพแวดลอ้ มบรเิ วณราก ดนิ ใหแ้ รธ่ าตุทพี่ ชื ต้องการ
สําหรับใชใ้ นการสงั เคราะหแ์ สง และเปน็ แหล่งทีเ่ กบ็ นา้ํ ให้กบั พชื ดนิ จะตอ้ งมีชอ่ งว่างระหว่างเม็ดดิน
เพ่อื เก็บนาํ้ และอากาศซ่ึงจะต้องมีมากพอท่จี ะใหร้ ากพชื เจรญิ ได้ และยังเป็นตัวช่วยพยงุ ให้พชื ดํารงต้น
อยไู่ ด้ แร่ธาตุทีจ่ าํ เปน็ สาํ หรบั พืชอยู่ในดนิ ทกุ ชนดิ มที ง้ั หมด 17 ธาตุ (ตารางที่ 2.1) แรธ่ าตุเหลา่ นี้เปน็


 

ธาตุเดยี วกนั ในพชื ทุกชนิดได้แก่ ธาตุหลกั และธาตุรอง ขนึ้ อยู่กับปรมิ านท่พี ชื ตอ้ งการจะเปน็ ธาตหุ ลัก
หรือรองไมไ่ ด้ขึ้นอยู่กับจํานวน แตข่ ึน้ อยูก่ ับความจาํ เป็นต่อการเจรญิ เตบิ โต

ตารางที่ 2.1 ธาตทุ ีจ่ าํ เป็นต่อพืช

ธาตุหลกั (macronutrient) ธาตรุ อง (micronutrient)

Calcium (Ca) Boron (B)

Carbon (C) Chlorine (Cl)

Hydrogen (H) Copper (Cu)

Magnesium (Mg) Iron (Fe)

Nitrogen (N) Manganese (Mn)

Oxygen (O) Molybdenum (Mo)

Phosphorus (P) Nickle (N)

Potassium (K) Zinc (Zn)

Sulfur (S)

ดัดแปลงจาก Ingles,J,2001

2.2.1.2 การเปลีย่ นสภาพแวดล้อมของดิน

เมือ่ ดนิ ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช จะเกิดจากขาดธาตจุ าํ เป็น (N P K) หรือเกดิ จากมกี าร
ระบายอากาศไมด่ ี หรือเกดิ จากมีการระบายนํา้ ไมด่ ี อาจมากไปหรือน้อยไป

การเปลยี่ นสภาพแวดลอ้ มของดินเป็นหนทางทจ่ี ะชว่ ยปรบั ปรงุ การเจริญเติบโตของพืช เชน่ การใส่ป๋ยุ
เพอ่ื เพ่มิ ธาตุอาหาร สว่ นทรายและพที ชว่ ยเพิ่มช่องว่างในดนิ ดงั นนั้ ปจั จัยสาํ คัญทจี่ ะช่วยให้มกี ารปรบั สภาพ
ของดินใหเ้ หมาะสมกับการเจริญเตบิ โตของพชื กค็ ือวัสดุปลกู

วสั ดุปลูก หมายถงึ วสั ดุใดๆทน่ี ํามาผสมกบั ดินเพอื่ ใชใ้ นการปลูกพืช บางคร้งั อาจไม่ใชด้ นิ เลยก็ได้
คณุ สมบัติทดี่ ขี องวสั ดุปลูกก็คอื ต้องมคี วามโปรง่ สามารถระบายน้ําและอากาศไดด้ ี มธี าตอุ าหารเพียงพอท่ีพชื
ต้องการ สามารถทาํ ใหร้ ากพชื เจรญิ ได้ดี

วสั ดุปลูกในแปลงจะมีความแตกต่างจากวสั ดุปลกู ทอ่ี ยู่ในกระถาง พชื ท่ปี ลูกอยู่ในกระถางจะไดร้ ับนํ้า

และอาหารในจาํ นวนจาํ กดั และการระบายนํ้าและอากาศของวัสดุปลูกในกระถางมคี วามสําคญั มาก

โดยเฉพาะกระถางยิง่ ตืน้ กย็ ่ิงระบายนํา้ ได้น้อยมาก ดังน้นั การปลกู พชื ในกระถางจงึ มีความจําเปน็ ตอ้ งใช้วสั ดุ

ปลกู ทร่ี ะบายนํ้าและอากาศไดด้ ี

วัสดุปลกู มี 2 ชนิด ได้แก่


 

1) อนิ ทรยี ์วัตถุ เช่น แกลบดิบ แกลบเผา ขุยมะพรา้ ว เปลือกถั่ว พีท เป็นตน้

2) อนนิ ทรยี ว์ ตั ถุ เช่น ทราย เวอร์มิคไู ลท์ เพอรไ์ ลท์ โฟม เปน็ ตน้

2.2.2 บรรยากาศ

หมายถึงสภาพบรรยากาศรอบๆตน้ พชื เหนือดนิ จะใหอ้ ากาศทีม่ ี คาร์บอนไดออกไซด์ สําหรบั
สังเคราะห์แสง ออกซเิ จนสําหรับการหายใจ ในสภาพบรรยากาศปดิ เชน่ เรือนกระจก การให้
คารบ์ อนไดออกไซดเ์ ข้าไปในอากาศทําใหม้ ผี ลในการเพม่ิ ขึ้นของอัตราการสงั เคราะห์แสงในกุหลาบ คารเ์ นชั่น
การมีแกส๊ ท่มี มี ลพิษจะมผี ลไปทาํ อนั ตรายพชื ทาํ ใหพ้ ชื เกิดความเสยี หายและลดอตั ราการสงั เคราะหแ์ สงลง

ปจั จยั ของบรรยากาศท่ีมผี ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื ได้แก่

2.2.2.1 อุณหภูมิ

อณุ หภูมสิ ามารถควบคมุ อตั ราปฏกิ รยิ าเคมีท่เี กดิ ข้ึนในพชื ได้ เช่นการงอก การคายนํา้ การหายใจ และ
การออกดอก สามารถเรง่ ใหเ้ กิดขึ้นไดด้ ้วยการเพิม่ หรอื ลดอุณหภูมิ

อณุ หภมู ิทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การผลิตไมด้ อกไมป้ ระดบั มี 3 ชนิด คอื อณุ หภมู ิในสภาพท่ีพชื เจรญิ เตบิ โต
อณุ หภมู ขิ องใบและอุณหภมู ใิ นวัสดุปลูก ดังนี้ อณุ หภูมิของใบนนั้ ข้นึ กับสภาพแวดลอ้ ม เชน่ ถา้ อากาศอุน่ มลี ม
และความชน้ื ต่ํา อุณหภูมิของใบจะต่ํากวา่ ในบรรยากาศเพราะเกิดการคายนาํ้ ในทางกลับกันถา้ หากสภาพ
อากาศเย็นมแี สงแดดความชน้ื สูงและไม่ค่อยมีลม อุณหภมู ิของใบจะสูงกวา่ บรรยากาศเพราะวา่ แสงแดดและไม่
คายนา้ํ หรือคายนา้ํ นอ้ ย ดงั น้ันในปัจจบุ ันนจี้ งึ มกี ารสนใจเกย่ี วกับอณุ หภมู ใิ นบรรยากาศและอุณหภมู กิ ลางคืนที่
มผี ลต่อการออกดอกมากกวา่

อุณหภมู ขิ องอากาศ ไม้ดอกไมป้ ระดับแต่ละชนิดมีความตอ้ งการช่วงอุณหภูมทิ ีเ่ หมาะสมแตกตา่ งกนั
และมคี วามทนตอ่ ชว่ งอุณหภูมทิ ี่แตกตา่ งกันดว้ ย อุณหภูมทิ ีเ่ หมาะสมสามารถผลิตไม้ดอกไมป้ ระดบั ที่มีคณุ ภาพ
ดเี ยีย่ มและใชเ้ วลาผลิตสน้ั และช่วงอุณหภูมทิ ีไ่ มเ่ หมาะสมแต่พชื สามารถทนได้จะได้ผลผลิตทม่ี คี ณุ ภาพตาํ่ และ
ใช้เวลาผลติ นานข้นึ ท้ังน้ขี ้ึนอยู่กับชนดิ ของพืช พชื บางชนิดถา้ อณุ หภมู ิไมเ่ หมาะสมจะออกดอกช้าไป 2 -3 วัน
บางชนิดหยุดเจรญิ บางชนดิ เก็บเกยี่ วผลผลติ ไดช้ ้าและคณุ ภาพไม่ดี อุณหภูมิเฉล่ียแต่ละวันตอ้ งมีการควบคุม
ให้เหมาะสมจะทาํ สามารถควบคมุ การพฒั นาของพชื ได้ดี ทาํ ใหอ้ ตั ราการพฒั นาของดอกเร็วขึ้น ทาํ ให้เกบ็ เกยี่ ว
ผลผลติ ไดเ้ รว็ อณุ หภูมิกลางคนื ตอ้ งต่ํากว่าอณุ หภูมกิ ลางวนั จงึ จะทาํ ให้มผี ลต่อการออกดอก

อณุ หภูมิของวัสดุปลูก มีความสําคญั ต่อการขยายพันธโุ์ ดยใชเ้ มลด็ และการตัดชาํ

2.2.2.2 นา้ํ น้าํ เป็นสิ่งจาํ เป็นของสง่ิ มีชีวติ ทุกชีวิต สาํ หรบั พืชการเจริญเตบิ โตของพชื มคี วามต้องการ
น้าํ เพื่อสังเคราะหแ์ สงและในนาํ้ สามารถใหธ้ าตอุ าหารแก่พชื ได้ดว้ ย น้ําในรปู ของของเหลวจะเข้าสู่พชื ทางราก


 

สําหรบั นา้ํ ในรปู ไอนาํ้ มีบทบาทเปน็ ความช้ืนสมั พทั ธ์ในอากาศ ซึง่ มีผลทาํ ให้มีอทิ ธพิ ลต่อการคายนา้ํ ของพชื ถ้า
มคี วามชืน้ สมั พทั ธม์ ากเท่าไร ก็จะมอี ตั ราการหายใจของพืชช้าเท่านน้ั

การมีหรือการขาดนํ้าและสภาพธรรมชาติท่ีมคี วามชืน้ สัมพทั ธส์ ูงและต่าํ ไม่ใช่มผี ลทาํ ให้อตั ราการคาย
น้าํ ต่างกันเท่านัน้ แตย่ งั มผี ลทําให้พชื มคี วามแตกตา่ งกันด้วย เชน่ พชื ในปา่ ดงดบิ พืชในทะเลทราย ใบทีเ่ ขียว
ชอ่มุ และดกหนาของพืชในป่าฝน แตกตา่ งจากใบทเี่ ป็นลกั ษณะแหลมแขง็ มีจาํ นวนน้อยของพชื ในทะเลทราย ที่
ดัดแปลงเพอื่ ป้องกันการระเหยน้ํา

2.2.2.4 แสงสวา่ ง แสงเป็นพลังงานท่มี คี วามจาํ เป็นของทุกชวี ิต พระอาทติ ยส์ ่องแสงมายงั พน้ื ผิวโลก
และเป็นพลังแสงท่ีส่องมายงั พชื สเี ขียว พชื จับแสงและเปลีย่ นเปน็ พลังงานเพื่อใช้สาํ หรบั การเจริญเติบโตของ
พืชเอง และหลังจากน้ันก็จะเปน็ อาหารแกเ่ หลา่ สัตว์

พืชตอบสนองต่อแสงธรรมชาติและแสงที่สังเคราะห์ขึ้น ถ้าปราศจากแสงสีเขียวของพืชจะซีด และพืช
จะตาย การเจริญเติบโตของพืชมีอิทธิพลจากแหล่งของแสง เช่นพืชท่ีอยู่ในบ้านจะมีการเจริญเติบโตไปทาง
หน้าต่างบ้าน ซ่ึงทิศทางการเจริญเติบโตของพืชท่ีตอบสนองต่อแสงหรือการเจริญเข้าหาแสงเรียกว่า
phototropism

Phototropism เป็นผลมาจากสารควบคมุ การเจริญเตบิ โตในตน้ พืชที่เรียกวา่ auxin เคลอื่ นยา้ ยไป
บนด้านท่พี ืชไมถ่ ูกแสง (auxin มคี ณุ สมบัตไิ ปเร่งการยดื ตัวของเซลล์) ดงั น้นั ส่วนของต้นพืชทม่ี คี วามเข้มข้นของ
auxin มากจะเจรญิ เตบิ โตเรว็ กว่าส่วนทม่ี ี auxin น้อยทาํ ให้การเจริญเตบิ โตของพืชจะโคง้ งอเข้าหาแสง

แสงมสี ่วนสาํ คญั ในการเจญิ เติบโตของพืช ท้ังหมดมี 3 อย่าง คอื

1) สีของแสง หรือความยาวคลื่น คอื คุณภาพของแสง (light quality)

พืชตอบสนองตอ่ แสงสีแดง และสีนํ้าเงิน (ความยาวคล่นื 400 - 600 นาโนเมตร) สว่ นการตอบสนอง
ของพชื ที่เปน็ photoperiodism จะอยใู่ นช่วงแสงสแี ดง (ความยาวคลื่น 660 นาโนเมตร) แสงสแี ดงไกล (far
red) (ความยาวคล่นื 720 นาโนเมตร)

พชื ท่ไี ดร้ ับที่แสงสแี ดงไกล จะมีขนาดของปลอ้ งและใบท่ียาว ไม่แตกแขนงทาํ ใหใ้ บและดอกมีสจี างลง
สว่ นพืชทไ่ี ดร้ ับแสงสแี ดง จะมลี าํ ตน้ สัน้ กวา่ และมใี บสีเขียวเขม้ มกี ารแตกแขนงดี

ในแสงสังเคราะห์ จากหลอดไฟ incandescent มีแสงสแี ดงไกลมาก ส่วนหลอด fluorescent มีแสง
สแี ดงมาก แสงท่มี ีอตั รส่วนระหว่างแสงสแี ดง : แสงสแี ดงไกล สูงจะเกดิ ขึน้ กต็ อ่ เมือ่ มีการพรางแสงจากวสั ดุ
บางอย่าง เชน่ พลาสติกพรางแสง จะลดการยืดตัวของลาํ ตน้ ดังนัน้ ในการผลติ ไม้ดอกเมอ่ื ต้องการควบคมุ
ความสงู ของต้นและได้ไม้ตัดดอกทีม่ ีคุณภาพดี จึงมคี วามจาํ เป็นต้องควบคมุ คุณภาพของแสงดว้ ย

2) ความเขม้ ของแสง (light intensity)


 

การเจริญเติบโตของพืชมีความจาํ เปน็ ทใ่ี ชแ้ สงในการสงั เคราะหแ์ สง ช่วงความยาวคล่นื ทใ่ี ชใ้ นการ
สงั เคราะหแ์ สง คอื ชว่ งแสงสแี ดงและสนี า้ํ เงนิ (400 – 700 นาโนเมตร) ส่วนแสงทีค่ นมองเห็นไดด้ ี คอื แสงสี
เขียว และสเี หลอื ง (530 – 580 นาโนเมตร) การวดั แสงท่ีคนสามารถเห็นไดน้ ม้ี หี น่วยเป็น footcandle (1
footcandle (fc) = 10.8 Lux)

ยงั มีการวัดความเขม้ แสงอกี แบบหน่งึ คือ การวัดพลงั งานแสงในระบบ quantum

การวดั จะวดั จากอนุภาคเลก็ ๆเรียกวา่ photon หรอื quanta ซง่ึ เรยี กว่า photosynthesis photon
flux จํานวนของ photon วัดเป็น mole (mol) หรือ einsteins (E)

1 mole = 1 einstein = 6.023 x 1023

หน่วยวัดความเขม้ แสงนี้เป็นหนว่ ยในระบบ quantum ซง่ึ วัดจํานวนของ photon ซึง่ วดั ออกมาได้
เปน็ หนว่ ยดังน้ี μmol m-2 s-1

ความเขม้ ของแสงทีเ่ หมาะสมขนึ้ อยกู่ ับชนิดของพชื พืชในร่มมคี วามตอ้ งการแสงนอ้ ยกว่าพชื ที่ปลกู

ประดับแปลง เชน่ คลา้ (Calathea) เจรญิ เติบโตได้ดีท่ี ความเข้มของแสง 1,000 – 2,000 fc (200 - 400
μmol m-2 s-1) (ตารางที่ 2.2) ขณะท่ีไฮเดรนเยยี (Hydrangea macrophylla) ปลูกภายใต้แสง 7,500 fc
(1,500 μmol m-2 s-1) (ตารางท่ี 2.2)

ตารางท่ี 2.2 แสดงคา่ คงทีท่ ีใ่ ชใ้ นการเปล่ยี นจากหน่วย footcandle (fc) เปน็ μmol m-2 s-1

แหลง่ ของแสง คา่ คงที่

แสงอาทิตย์ 0.20

แสงจากหลอด warm white fluorescent 0.14

แสงจากหลอด cool white fluorescent 0.15

แสงจากหลอด incandescent 0.22

ดดั แปลงจาก Dole,J.M.and H.F.Wilkins,2005

3) ชว่ งเวลาท่ีมแี สง (light duration)

อทิ ธพิ ลของแสงอกี อย่างคอื photoperiodism ผลของช่วงแสงมีผลตอ่ การเจรญิ และพัฒนาการของ
พืช ซ่ึงแสงจะมีผลต่อความสามารถในการกระตุ้นหรือยืดเวลาในการบานของดอกไม้ ทาํ ใหม้ ีพชื ท่จี ัดเป็น
short day plant ซงึ่ หมายถึงพืชท่ีจะมดี อกหลังจากไดร้ บั ความยาววนั น้อยกว่า critical day length เช่น
เบญจมาศ จะมีดอกเมือ่ ช่วงแสงน้อยกวา่ 14 ชั่วโมง เฟื่องฟา้ จะมดี อกเมอ่ื ชว่ งแสงน้อยกวา่ 12 ชั่วโมง สว่ น
long day plant จะมดี อกต่อเมื่อมีสภาพวันมากกว่า critical day length และมพี ืชทีเ่ ปน็ day neutral
plant คือจะสามารถออกดอกได้ไม่ว่าจะมีช่วงวันส้ันหรือยาว

3 การควบคมุ การออกดอก


 

การควบคุมการออกดอกมคี วามสําคญั กับการผลิตไมด้ อกเป็นอยา่ งมาก การควบคมุ การออกดอก
หมายถงึ ขบวนการกระตนุ้ การออกดอก กระตุ้นการสร้างตาดอก การพัฒนาและสภาพแวดลอ้ มทก่ี ระตนุ้ การ
ออกดอก ซง่ึ เรียกว่าปจั จัยการกระตุ้นการออกดอก มี 3 ปัจจยั หลัก ทค่ี วบคมุ กลไกการออกดอก คือ
photoperiod (ช่วงแสง) light intensity (ความเข้มของแสง) และ temperature (อุณหภูม)ิ

สิ่งจาํ เปน็ สาํ หรบั พชื ดอก ก่อนทพ่ี ชื จะมคี วามพรอ้ มในการออกดอก ประการแรก กค็ ือพชื ต้องมีการ
เจรญิ เติบโตเต็มวัยก่อน เพราะถ้าพืชยงั เจริญไมเ่ ต็มทคี่ ือยงั อยู่ในระยะเยาวว์ ยั (juvenile period) จะไม่
สามารถออกดอกได้แม้วา่ จะไดร้ ับการกระตุ้น ในไม้ดอกสว่ นใหญ่ juvenile period จะส้นั และจะแตกตา่ งกัน
ในพืชแต่ละชนิด โดยลักษณะทีแ่ สดงสิ้นสุดช่วง juvenile period อาจเป็นจํานวนใบ ขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลาง
หรอื เส้นรอบวงของหัวในพชื ที่มีการสะสมอาหาร น้าํ หนกั สดและขนาดของพืชกใ็ ช้ในการพจิ ารณาวา่ พชื น้ันๆ
เจิญเตบิ โตเต็มวยั (mature) แลว้ เพราะจาํ นวนใบของพชื ท่ี mature จะชว่ ยใหไ้ ดด้ อกที่มคี ณุ ภาพดแี ละมี
ขนาดใหญ่ แต่ถา้ พชื ยงั อยใู่ นชว่ ง juvenile period แมจ้ ะใหด้ อกเร็วแตม่ คี ณุ ภาพตาํ่ นอกจากนั้นจะมีสิง่ ที่
พอจะสังเกตได้ในตน้ พืชวา่ ถึงช่วง mature แลว้ เชน่ ในพืชกลุม่ โฮย่า (Hedera helix) ในตน้ ทเี่ ปน็ juvenile
period จะมลี กั ษณะลําต้นโคง้ งอ ส่วนตน้ ที่ mature แล้วจะมลี าํ ตน้ ต้ังตรง และใบมลี กั ษณะแตกตา่ งออกไป
พร้อมท้งั มีดอก จงึ ทาํ การตัดชาํ ไดย้ าก พชื ชนดิ อน่ื อาจจะไมอ่ อกดอกแมว้ า่ จะ mature แลว้ และเจรญิ เติบโตใน
สภาพท่เี หมาะสม เพราะวา่ ไมไ่ ด้รบั การกระตุน้ ที่เหมาะสม เชน่ การผลติ อาเซเลยี กระถาง (Rhododendron)
เรม่ิ สรา้ งตาดอกในสภาพวนั สน้ั (Short day :SD) ในฤดฝู น (fall) และต้องการอากาศเย็น 35 – 45 ºF (2 –
7ºC) ประมาณ 4 – 6 สัปดาห์ ก่อนท่ีตาดอกจะเปิด

ระยะแรกของการชักนําดอกเรียกว่า flower induction ระยะนต้ี อ้ งมีขบวนการทางชีวเคมีเพื่อ
เรม่ิ ตน้ ขบวนการออกดอก เร่ิมจาก flower initiation จะเห็นสว่ น apical meristem เริ่มเปลีย่ นรูปรา่ งโดย
เร่ิมสรา้ งอวยั วะทีจ่ ะเปน็ ดอก ในพืชบางชนิดการพัฒนาดอก (flower development) จะยงั ไมพ่ ฒั นาจนกวา่
จะมขี บวนการ anthesis เรม่ิ ขึน้ ในพืชชนดิ อ่นื การพัฒนาของดอกจะเกิดต่อเนือ่ งภายใตส้ ภาพแวดลอ้ มเดมิ
แตก่ ารพฒั นาของดอกจะหยุดชงกั เนอื่ งจากสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลง อยา่ งไรกด็ ใี นพืช เช่น อาเซเลีย การ
เกดิ flower initiation และการพฒั นาบางสว่ นของดอกจะเกดิ ภายใตส้ ภาพวนั ส้นั และการพัฒนาของดอกจะ
เกิดต่อเนอ่ื งไปจนถงึ การบานได้นัน้ ตน้ จะตอ้ งไดร้ บั สภาพอากาศเย็น

ความหมายของ anthesis หรอื flowering จะขน้ึ อยู่กับชนดิ ของพืชแต่จะมสี ญั ญาณทีเ่ หมอื นกันคอื
การเห็นละอองเกสรตัวผู้ (pollen) คอื เม่ือดอกบานเตม็ ทพ่ี ร้อมท่ีจะเกบ็ เก่ยี วได้ ระยะสดุ ท้ายของการออกดอก
คือดอกหมดอายุซ่ึงเปน็ ระยะทกี่ ลบี ดอกเหี่ยวและหลุดร่วง และในกรณีทมี่ ีการตดิ ผลเมอื่ กลบี ดอกลว่ งหมดแลว้
ก็จะมีการพฒั นาของผล อยา่ งเชน่ พรกิ ประดบั (Capsicum annuum)

ช่วงแสง (photoperiod) ความเข้มของแสง (light intensity) ความเย็น จะมีผลตอ่ พืชไม่ใช่เฉพาะ
การสรา้ งดอก (flower initiation) การพัฒนาดอก (flower delvelopment) เทา่ นนั้ แต่ยังมีผลตอ่ การสรา้ ง
อวยั วะสะสมอาหาร (storage organ) การชกั นําหรือการทาํ ลายการพักตวั การยืดยาวของลาํ ต้น การสร้าง


 

จํานวนข้อกอ่ นการออกดอก การพัฒนาของตา (auxillary bud) และการออกราก ตวั อย่างเช่น ในต้นดาเลีย
หรือรักเร่ (Dahlia) หวั พันธ์ุ (tuberous root) จะสร้างเม่ือถูกชักนําโดยชว่ งแสง 11 – 12 ชวั่ โมงหรอื นอ้ ยกว่า
และหวั พันธุ์จะไมง่ อกจนกว่าจะได้รบั อุณหภมู ิ 32 – 50ºF (0 – 10ºC) เป็นเวลา 6 สัปดาห์ การยดื ของลาํ ตน้
และจาํ นวนข้อมคี วามสมั พนั ธก์ ันดงั เชน่ เกิดในทานตะวนั (Helianthus annuus) ปลกู อยู่ภายใต้สภาพวันส้นั
จะทาํ ให้ออกดอกเร็วขึ้นและลดจํานวนข้อและความสูงของตน้ เปรยี บเทยี บกับต้นที่ปลกู ในสภาพวันยาว ใน
กรณอี ืน่ การยดื ของลาํ ตน้ ไม่เกยี่ วกับผลจากจํานวนขอ้ เชน่ การทําลายการพักตัวดว้ ยความเย็นของทิวลิป คือ
การเพม่ิ ชว่ งเวลาให้ความเย็นจะเพ่ิมการยดื ตวั ของลําตน้ แตไ่ ม่มีผลต่อจํานวนขอ้

ลักษณะนสิ ยั การเจริญเติบโตของพืชกเ็ ป็นส่ิงท่ีควรพจิ ารณา เช่น พืชกล่มุ ทหี่ ยดุ เจรญิ เม่ือออกดอก
(determinate plants) เชน่ ครสิ มาสต์ (poinsettias) หรือพืชทีไ่ มห่ ยุดเจริญเมอื่ ออกดอก (indeterminate
plants) เช่น ชบา (Hibiscus rosasinensis) สรา้ งช่อดอกจากตาท่อี ยู่ท่ีซอกใบ ขณะทต่ี น้ กม็ กี ารเจรญิ เติบโต
ไปเรอ่ื ยๆ ไมห่ ยุด ส่วนในพชื กลุ่มท่หี ยดุ เจริญเม่ือมีดอก การสร้างดอกจะหยดุ สรา้ งใบและจะเปน็ ขอ้ สุดทา้ ย
ของต้น เช่น คริสมาสต์ ต้นทีป่ ลูกภายใต้สภาพวนั สั้น 4 สัปดาห์หลงั จากปกั ชาํ จะมีจาํ นวนข้อลดลงและจะเตี้ย
กวา่ ตน้ ท่ปี ลูกภายใตส้ ภาพวันสัน้ 8 สปั ดาห์หลังจากปกั ชํา ซ่ึงทําให้เกิดการชะลอการสรา้ งดอก (flower
initiation) การสร้างดอก (flower initiation) นั้นนอกจากมีผลตอ่ วันบานของดอกแลว้ ยงั มีผลต่อความสูง
และจาํ นวนใบบนต้นดว้ ย อย่างไรกต็ ามในพชื กล่มุ indeterminate การออกดอกจะเกดิ ขึน้ อยา่ งต่อเนอ่ื งและ
จะสร้างตาดอกดา้ นขา้ งก็ขน้ึ อยูก่ ับการเกดิ ใบ ขึ้นอยู่กบั ปจั จยั หลายอยา่ ง เชน่ แสงท่ีมีความเข้มตาํ่ หรือ
อณุ หภมู ทิ ี่ไมเ่ หมาะสมก็จะทาํ ให้การเจริญเตบิ โตของลาํ ต้นชา้ ทาํ ใหล้ ดจํานวนการเกดิ ดอกลง การสรา้ งดอก
ของพชื กลุม่ indeterminate จะไม่หยดุ การเจริญเตบิ โตของลําตน้ จงึ มีผลเพยี งเลก็ น้อยต่อจํานวนขอ้ และ
ความสงู ของต้น

พืชหลายชนดิ เชน่ ครสิ มาสตแ์ ละเบญจมาศ เป็นพนั ธ์ุพืชที่มกี ารตอบสนองต่อสภาพส่ิงแวดลอ้ ม เปน็
สภาพวนั สั้น

ปัจจยั ท่ีมีผลตอ่ การควบคมุ การออกดอก

3.1 Photoperiod

Photoperiodism เปน็ การตอบสนองของพชื ต่อช่วงความยาวของช่วงมืดซึ่งจะมผึ ลตอ่ พืชหลายอย่าง
เชน่ flower initiation และ flower development การพักตวั ของพืช การงอกของเมลด็ การสร้างอวยั วะ
สะสมอาหาร และการเจริญเติบโตของพืช ซ่งึ สามารถแบง่ พืชตามการตอบสนองไดเ้ ป็น 3 ประเภท คือ

Short Day plant (SD plant) พืชกลุม่ นีจ้ ะออกดอกเม่ือช่วงมืดยาวกว่า critical night length เช่น
คริสมาสต์และเบญจมาศ

Long day plant (LD plant) พชื กลมุ่ นจ้ี ะออกดอกเมื่อช่วงมืดสน้ั กว่า critical night length เชน่ บี
โกเนยี (tuberous begonia)


 

Day neutral plant (DN plant) พืชกลุ่มนจ้ี ะออกดอกไมข่ น้ึ อยู่กับสภาพช่วงมืดของวัน เชน่ เจอรา
เนียม (geranium)

พืชจาํ นวนมากจะออกดอกภายใต้ช่วงกวา้ งของช่วงแสง แตจ่ ะออกดอกเรว็ ขึน้ ท้งั ภายใตส้ ภาพวันสั้น
และวันยาว ซ่ึงเรยี กพชื กลุ่มนวี้ า่ facultative SD หรอื LD การเพิ่มจํานวนวงจร SD หรือ LD จะไปลดเวลา
ของการออกดอก ส่วนพชื กล่มุ obligate SD หรอื LD จะไม่พฒั นาดอกถ้าปลูกในสภาพวนั ส้ันหรือวันยาวทไี่ ม่
ถูกตอ้ ง เชน่ ซัลเวีย เป็นพืช facultative SD และครสิ มาสต์ เปน็ พืช obligate SD

ช่วงแสง (photoperiod) มผี ลตอ่ การพกั ตัวของพืชด้วย โดยมีผลเปน็ แบบ facultative และ
obligate

ชว่ งเวลาของ critical photoperiod จะแตกตา่ งกนั ในพชื แตล่ ะชนดิ เชน่ ดาวเรอื งหมอ้
(Calendura) มี critical day length (CDL)6.5 ช่ัวโมง ขณะที่ บานไมร่ ู้โรย (Campanula fragilis) มี CDL
ระหวา่ ง 14 – 16 ชัว่ โมง ซ่งึ พืชทั้งสองชนิดเป็นพืชวันยาว สว่ นผกั บุง้ ฝรงั่ (japanese morning glory :
Pharbilis nil) ต้องการ LD หรือ SD อย่างนอ้ ยหนึ่งวงจรก็เพยี งพอสาํ หรับการออกดอกและพัฒนาดอกเป็น
ดอกท่ีสมบรู ณ์ สว่ นคริสมาสต์ต้องการหลายสัปดาหใ์ นการออกดอกและพฒั นาดอก ถ้าคริสมาสตย์ ้ายจาก SD
ไป LD หลงั จากใบประดับเริ่มสรา้ ง ใบประดบั จะเป็นสเี ขียวและมลี กั ษณะคลา้ ยใบ ซ่ึงตามความเป็นจริง
จะตอ้ งใหต้ ้นได้รบั สภาพ SD อยา่ งต่อเนอื่ งจนกระทั่งถึงช่วงดอกบาน (anthesis) จึงจะไม่ทําใหใ้ บประดับเป็น
สีเขียว

ในพืชบางชนดิ ไม่สามารถจดั เปน็ พชื วนั สั้น วันยาว และวันกลางได้ เพราะวา่ มีการตอบสนองที่
ซบั ซอ้ นต่อชว่ งแสง เชน่ จาก LD ตามด้วย SD หรอื จาก LD ตามดว้ ย SD ตามดว้ ย LD

มีพืชจาํ นวนมากท่ีตอบสนองต่อช่วงแสงและอณหภมู ริ ว่ มกัน เช่น ในเบญจมาศ ถ้าอุณหภูมิกลางคนื
สูงกวา่ 85ºF (29ºC) จะเปน็ การชะลอการชักนาํ และการเร่มิ พัฒนาของดอก แตถ่ ้าอุณหภมู กิ ลางคนื เพ่ิมขนึ้ จาก
64 ไปเปน็ 75ºF (18 ไปเปน็ 24ºC) เบญจมาศจะตอ้ งการช่วงแสงท่ีสนั้ ลงและทาํ ให้ออกดอกเรว็ ข้ึน นนั่ คือ ชว่ ง
แสง 8 – 12 ชว่ั โมง จะมีผลต่อการออกดอกท่อี ุณหภมู ิ 64 ºF (18 ºC) ขณะทอี่ ณุ หภูมิ 75ºF (24 ºC) ตอ้ งการ
ช่วงแสง 8 – 10 ชวั่ โมง จึงจะมผี ลต่อการออกดอก

Photoperiodism เกดิ จากการตอบสนองของ phytochrome ตอ่ ชว่ งมืด phytochrome เป็นรงค
วัตถทุ ่ดี ดู ซับแสง ซง่ึ มอี ยู่ 2 รปู แบบ คือ Pfr และ Pr ซึง่ ทงั้ 2 รูปแบบนจ้ี ะเปลี่ยนกลับไปมาได้ โดย เม่ือ Pr ไดร้ ับ
แสงสแี ดงจะเปลีย่ นเป็น Pfr และเมอื่ Pfr ได้รบั แสงสแี ดงไกลจะเปล่ียนเป็น Pr ในเวลากลางคืน Pfr จะ
เปลยี่ นเป็น Pr อย่างช้าๆ ภายใต้สภาพเชน่ น้ี เมอื่ มีระดบั Pfr สงู จะไปยบั ย้ังการออกดอกในสภาพกลางคืนยาว
(SD) สําหรับพืชวนั สัน้ และจะไปสง่ เสรมิ การออกดอกในสภาพกลางคืนสนั้ (LD) สาํ หรบั พืชวนั ยาว ดังน้ันจึงได้
มีการใชต้ ัวกรองแสงเพื่อไม่ใหแ้ สงสแี ดงไกลสอ่ งผ่าน เมือ่ ปลูกเบญจมาศในสภาพวนั ยาวก็สามารถชกั นําให้
เบญจมาศเกดิ การออกดอกได้

10 
 

ในการผลิตไมด้ อกการควบคมุ ช่วงแสงมคี วามสําคัญมาก มวี ิธกี ารเปิดไฟในเวลากลางคืน หรอื
ใชผ้ า้ ดาํ คลมุ เพอื่ ลดเวลามีแสงลง การเปดิ ไฟตอนกลางคนื เรยี กว่า night interruption lighting จะเปิดเป็น
2 ชว่ ง เพือ่ แบ่งชว่ งมืดเปน็ 2 ชว่ ง เพ่ือปอ้ งกนั การออกดอกสาํ หรับพชื วันส้ัน และชกั นําใหเ้ กดิ ดอกในพชื วัน
ยาว ซง่ึ night interruption lighting มกี ารเรยี กว่า night breaks (NB) การเปดิ ไฟตอนกลางคืนอาจเริ่ม
ต้งั แต่ตอนเย็นหรอื ไปเปิดไฟใกลส้ ว่างกไ็ ด้ เป็นการเพม่ิ ความยาววนั ท่ีเรียกว่า day continuation และตอ้ ง
คาํ นงึ ถึงความเข้มของแสงทีใ่ ชด้ ว้ ยคือต้องไมน่ ้อยกว่า 10 fc (2 μmol m-2 s-1) โดยวัดทีย่ อดของต้นพชื ทงั้ นี้
การจะเปิดไฟเพิม่ ก่ีช่วั โมงต่อวันและความเขม้ ของแสงเทา่ ไรนั้นขึ้นอยูก่ ับชนิดของพชื

กรณีท่ตี อ้ งการเพม่ิ ความยาวของชว่ งมดื สามารถทาํ ไดโ้ ดยใช้ผ้าสดี ําคลุมแปลงปลูกพืช ซ่งึ การเพมิ่ ช่วง
มดื จะไปชักนําให้เกดิ การออกดอกของพืชวันส้นั และจะยบั ยงั้ การออกดอกของพืชวนั ยาว เวลาที่คลุมผา้ ให้
คลุมตง้ั แตเ่ วลาห้าโมงเย็นถงึ แปดโมงเชา้ หรือหนงึ่ ทุม่ จนถงึ เจด็ โมงเช้า ทาํ การคลมุ ผา้ ดาํ ทุกวัน ซงึ่ ขึ้นอยกู่ บั
ชนดิ ของพชื ว่าจะมีระยะเวลาในการคลุมผา้ ก่วี ัน การคลมุ ผ้าดําในพืชแตล่ ะชนิดมีความแตกต่างกัน บางชนดิ
จะเลิกคลุมเมอื่ เรมิ่ เห็นตาดอก เชน่ คริสมาสตจ์ ะคลุมจนกระทงั่ ตาดอกแรกเรม่ิ แตกออกมา

พืชบางชนิดจะสรา้ ง reproductive structure ภายใตส้ ภาพชว่ งแสงทเ่ี หมาะสมกบั การเจรญิ เตบิ โต
ทางตน้ (vegetative growth) เชน่ เบญจมาศจะสรา้ ง crown bud และคริสมาสต์จะสร้าง split (ดอกทไ่ี ม่
สมบรู ณ)์ ภายใต้สภาพวันยาว ในกรณที ั้งสองนจี้ ะเกิดการสร้างยอดไปเป็น reproductive structure ภายใต้
สภาพวนั ยาว คอื เกิดเปน็ crown bud และ split ซ่ึงอวัยวะทงั้ สองนจ้ี ะไม่สามารถพฒั นาไปเปน็ ดอกที่สมบรู ณ์
ได้เลย

3.2 Light Intensity ความเขม้ ของแสง

จํานวนแสงทงั้ หมดเป็นปัจจยั ควบคุมพชื ในกลุ่มพืชวันกลาง เชน่ เจอราเนยี ม ซึ่งจะออกดอกเร็วข้ึน
เมอื่ เพิม่ พลงั งานแสงให้ พชื วันกลางจะมีความสับสนกบั พชื กลมุ่ facultative LD เช่น ช่วงแสงในฤดูใบไมผ้ ลิ
เพิ่มข้นึ และอณุ หภมู ทิ เี่ พมิ่ ขน้ึ จะกระตุ้นใหพ้ ชื ออกดอกเร็วขน้ึ ดังนน้ั พชื วันกลางจะแสดงพฤติกรรมเป็นพืชวนั
ยาว อย่างไรก็ตามพชื วนั กลางสามารถแยกออกจากพชื วันยาวได้โดยใช้ความเขม้ ของแสงเหมือน แตใ่ ห้ช่วงแสง
ตา่ งกนั พบว่าพชื วนั ยาวจะออกดอกเรว็ ข้ึนภายใตส้ ภาพวันยาวขณะทพี่ ชื วนั กลางออกดอกเรว็ พอๆกนั ในทุก
ชว่ งแสงและพืชวนั กลางจะออกดอกเมื่อมสี ิง่ กระตนุ้ อ่นื เช่นความเย็น

3.3 Temperature อุณหภูมิ

อณุ หภูมติ ํ่าจะกระตนุ้ การสรา้ งและการพฒั นาดอกซ่ึงมีชอ่ื วา่ vernalization เชน่ เดียวกบั ช่วงแสง ก็
คอื การออกดอกตอ้ งการอณุ หภมู ิเยน็ (obligate) การสร้างดอกใหเ้ รว็ ขึน้ ตอ้ งการอุณหภูมเิ ย็น (facultative)
ชว่ งเวลาท่ไี ด้รบั ความเยน็ จะนานมากนอ้ ยเพียงใดขนึ้ อย่กู บั ชนดิ ของพืช

11 
 

บรรณานุกรม

สมเพียร เกษมทรพั ย์ 2522 การปลูกไมด้ อก คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์

Dole,J.M. and H.F.Wilkins.2005. Floriculture Principles and Species. 2nd Edition, Pearson
Prentice hall, Newjesy, USA.

Ingels,J. 2001. Ornamental Horticulture: Science,Operations & Management. 3rd Edition,

State University of New York College of Agriculture and Technology, Cobleskill, New
York, USA.

บทท่ี 3

คุณค่าทางวัฒนธรรมของไม้ดอกไม้ประดับ

1 วัฒนธรรม หมายถึง ความเจริญงอกงาม ซึ่งเป็นผลจากระบบความสัมพันธ์ระหวา่ งมนุษยก์ ับมนุษย์
มนุษยก์ ับสังคม และมนุษยก์ ับธรรมชาติ จําแนกออกเป็น 3 ด้าน คือ จิตใจ สังคม และวัตถุ มีการสั่งสมและ
สืบทอดจากคนรุน่ หนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง จากสังคมหนึ่งไปสู่อีกสังคมหน่ึง จนกลายเปน็ แบบแผนท่ีสามารถ
เรยี นรู้และกอ่ ใหเ้ กิดผลติ กรรมและผลติ ผล ท้งั ทีเ่ ป็นรปู ธรรมและนามธรรม อันควรคา่ แกก่ ารวิจัย อนุรักษฟ์ ื้นฟู
ถา่ ยทอด เสริมสรา้ งเอตทัคคะ และแลกเปล่ียน เพ่อื สร้างดลุ ยภาพแหง่ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ สังคม และ
ธรรมชาติ ซ่ึงจะช่วยให้มนุษย์สามารถดํารงชีวิตอย่างมีสุข สันติสุข และอิสรภาพ อันเป็นพ้ืนฐานแห่งอารย
ธรรมของมนุษยชาติ (สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาติ, 2535 อ้างใน สํานักงานเลขาธิการสภา
การศกึ ษา,2550)

มนุษยท์ ่ัวโลกทุกชนชาติ ตา่ งใชป้ ระโยชนจ์ ากพืชชนิดตา่ งๆเพ่ือการดํารงชีพ ซึ่งชนิดพืชที่ใช้ประโยชน์
เหลา่ น้ัน แต่ละท้องถ่ินอาจจะแตกตา่ งกัน ขึ้นอยู่กับชนิดพืชท่ีมีอยูใ่ นท้องถิ่นน้ันๆ และวัฒนธรรมในการใชพ้ ืช
ของมนุษยใ์ นแต่ละทอ้ งถ่ิน โดยพืชท่ีมีอยูใ่ นทอ้ งถ่ิน ส่วนหน่ึงเป็นพืชท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ตามสภาพ
แวดล้อมของท้องถ่นิ นั้นๆ เชน่ ในชนพ้นื เมอื งทอี่ าศัยในเขตทะเลทราย มักเปน็ พืชอวบนํ้า พืชทนแล้ง สว่ นทอ้ ง
ถ่ินท่ีอาศัยอยูบ่ ริเวณเขตรอ้ นชื้นสังคมพืชมักเปน็ ป่าดงดิบและมีความหลากหลายของพันธุพ์ ืชมากข้ึน เป็นตน้
ซึ่งพืชที่มีอยู่ในท้องถ่ินตา่ งๆน้ันอีกส่วนหน่ึงเปน็ พืชปลูก ซ่ึงพืชปลูกบางชนิดเป็นพืชท่ีคนในทอ้ งถ่ินนั้นๆ เก็บ
เมลด็ ปลกู ปตี ่อปี สืบทอดจากบรรพบรุ ุษ บางชนิดอาจนาํ มาจากท้องถน่ิ อน่ื (วิยดา, 2543)

ดังนั้น วัฒนธรรมของแต่ละท้องถ่ินและพันธุ์พืชที่มีอยู่ในทอ้ งถ่ินน้ันๆ จึงมีอิทธิพลต่อลักษณะและ
วธิ ีการใช้ประโยชนจ์ ากพชื ในด้านต่างๆ เช่น

1.1 วัฒนธรรมดา้ นอาหาร หมายถึง วิถีการดํารงชีวิตที่เก่ียวกับอาหารและการรับประทานอาหาร ซึ่ง
มีการสั่งสมและสืบทอดกันมาในแต่ละท้องถิ่นไดแ้ ก่ ชนิดของอาหาร ชาวไทยรับประทานขา้ วเป็นอาหารหลัก
ส่วนชาวยโุ รป รับประทานขนมปงั เปน็ ต้น และการประกอบอาหาร แตล่ ะทอ้ งถ่ิน เช่น อาหารไทยมีเคร่ืองเทศ
หรือเคร่ืองปรงุ มาก รสจัด สว่ นอาหารของชาวยโุ รป มีรสจดื กว่า เปน็ ต้น

1.2 วัฒนธรรมด้านท่ีอย่อู าศัย หมายถงึ วถิ กี ารดํารงชีวิตที่เก่ียวกับบ้านเรือนท่ีอยูอ่ าศัย ซ่ึงมีการส่ังสม
และสืบทอดกันมาในแตล่ ะท้องถ่ินได้แก่ การสร้างที่อยูอ่ าศัย ลักษณะรูปแบบของที่อยูอ่ าศัย การจัดและ
ตกแตง่ ทอ่ี ยอู่ าศัย และการอยู่อาศัย

1.3 วัฒนธรรมด้านเคร่ืองนุ่งหม่ หมายถึง วิถีการดํารงชีวิตท่ีเก่ียวกับเส้ือผ้าและสิ่งตา่ งๆท่ีใชน้ ุ่งห่ม
ปกปดิ ร่างกาย ตลอดจนการแต่งกายด้วยเส้ือผ้าและเคร่ืองประดับ เครื่องประทินโฉมต่างๆ ไดแ้ ก่ ชนิดและ
ลักษณะของเครอ่ื งนงุ่ หม่ การแตง่ กาย การดูแลรักษาเคร่ืองนุ่งห่ม


 

1.4 วฒั นธรรมการรกั ษาโรค หมายถึง วิถีการดํารงชีวิตท่ีเก่ียวกับยาและการบําบัดรักษาโรคภัยไขเ้ จ็บ
ซึ่งมีการสั่งสมและสืบทอดกันมาในแต่ละท้องถ่ิน เชน่ การแพทย์แผนไทย ใช้พืชหลายชนิดเป็นยา อาทิ ยาต้
มสมุนไพร ลกู ประคบสมุนไพร เป็นตน้

1.5 วัฒนธรรมการใชพ้ ืชในพิธีกรรม เปน็ การใชพ้ ืชในพิธีกรรมต่างๆ ของแตล่ ะท้องถ่ิน เช่น ในพิธีรด
น้ําดาํ หวั ประกอบด้วยพชื มงคล ไดแ้ ก่ ส้มป่อย ขมน้ิ หมาก พลู เป็นตน้

2 พืชพันธุ์ไม้ท่ีมีความหมายมงคลปรากฏในวิถีชีวิตวัฒนธรรมประเพณีไทย จุลภัสสร พนมวัน ณ
อยุธยา นักวิชาการวัฒนธรรม ประธานชมรมสยามทัศน์ให้ความรู้เล่าถึงความนัย ความหมายของพืชพันธุ์ไม้
มงคล ในความผกู พันระหว่างกันของคนกับต้นไม้ซ่ึงมีมายาวนานและไม่เพียงในวิถีชีวิตวัฒนธรรมประเพณีไทย
หลายประเทศตา่ งก็มเี รอื่ งราวทีก่ ล่าวถึงความผกู พันความเชอ่ื เก่ยี วกับต้นไม้ให้ศกึ ษาเชน่ เดียวกนั

ต้นไมห้ ลายชนิดนอกจากใหเ้ งาร่มรนื่ ยงั นาํ มาเปน็ อาหาร เคร่ืองนุ่งหม่ บางชนดิ ยังมีคณุ ประโยชน์ทาง
ยา รวมทง้ั ในความหมายของชอ่ื ที่เปน็ มงคลยงั นาํ มาใชก้ ่อสร้างในพิธตี ่าง ๆ ฯลฯ

ไม้มงคลไม่ว่าจะเป็น ขนุน ราชพฤกษ์ ชัยพฤกษ์ ไม้สัก ไม้พะยูง ฯลฯ ด้วยช่ือที่มีความเป็นสิริมงคลจึง
มีการนาํ มาใชน้ ํามาปลูกใช้ในพธิ กี รรมต่าง ๆ อย่างในพิธีก่อฤกษ์หรือวางศิลาฤกษ์ อย่างท่ีมีการกล่าวกันไว้จะมี
การใช้ไม้มงคล 9 ชนิดได้แก่ ไม้ชัยพฤกษ์ ซ่ึงจะหมายถึงความมีโชคชัย ไม้ราชพฤกษ์ หมายถึงการเป็นใหญ่มี
อํานาจ ไม้ทองหลาง หมายถึงมีเงินมีทองมาก ไม้ไผ่สีสุก ทําให้มีความสุขความเจริญ ไม้กันเกรา การป้องกัน
อนั ตรายต่าง ๆ

ขณะที่ไม้ทรงบาดาล หมายถึงความมั่นคง ไม้สักทอง มีความหมายถึงความศักดิ์สิทธิ์สมความ
ปรารถนา ไม้พะยูง หมายถึงการพยุงฐานะให้ดีขึ้นสูงขึ้น ส่วนไม้ขนุน หมายถึงหนุนให้แน่นให้ดีเด่นข้ึน
นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงการใช้ไม้มะยม การอธิบายความหมายท่ีมีความต่างกันออกไปแต่ยังคงด้วยความ
หมายความเปน็ มงคล

นอกจากชื่อท่ีมีความเป็นมงคล คุณสมบัติอีกด้านหนึ่งท่ีชวนศึกษาคือในทางเป็นพฤกษศาสตร์ซ่ึงไม้
เหล่าน้ีบางชนิดให้ดอกสวยเป็นสมุนไพร อีกท้ังยังมีประวัติเล่าขาน อย่างชัยพฤกษ์เป็นไม้ท่ีมีคุณสมบัติหลาย
อย่าง ทั้งความ สวยงามของดอกสีเหลอื งชอ่ ดอกยาว อีกทง้ั ยังมกี ารกล่าวถึงเป็นไมม้ งคลทางโขนละครฯลฯ

สว่ น ไม้กนั เกราเป็นไม้ยนื ตน้ ขนาดใหญ่ เนอ้ื แขง็ ดอกสวย มีประโยชน์ทางยา เช่นเดยี วกับ ไมข้ นุน ซ่ึง
สามารถนาํ มาใช้ทาํ เปน็ สยี ้อมผา้ เปน็ ยาได้ดว้ ย ฯลฯ และนอกจากไม้มงคลข้างต้น ในงานมงคลพิธีอยา่ งงาน
แต่งงานยงั มีการกล่าวถึงชือ่ ไมม้ งคลอยา่ ง ใบเงนิ ใบทอง ใบรัก ดอกบานไม่รโู้ รย กหุ ลาบ ฯลฯ ซึง่ มีความ
หมายถึงความรัก ความยั่งยนื รวมอยู่ดว้ ย


 

ขณะท่ีพืชพันธุ์ไม้อีกหลายชนิดปรากฏในงานวรรณกรรม วรรณคดี อีกท้ังในงานศิลปกรรม ฯลฯ
ผูกพันกบั วิถีชวี ิตวฒั นธรรมไทยมายาวนาน แตล่ ะชนิดครบพรอ้ มดว้ ยคุณคา่ ความหมายชวนศึกษาทําความรู้จัก
เขา้ ใจ กอ่ เกิดการอนุรักษ์พัฒนาให้พรรณไม้คงอยสู่ บื ไป (ธรี ะพงษ์, 2551)

3 วัฒนธรรมของภูมิภาคของประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับไม้ดอกไม้ประดับ ตัวอย่างเช่น ภาคอีสาน
ภาคอีสานเป็นภูมิภาคที่มีความหลากหลายทางศิลปวัฒนธรรมและประเพณี แตกต่างกันไปในแต่ละท้องถ่ินแต่
ละจังหวัด ศิลปวัฒนธรรมเหล่าน้ีเป็นตัวบ่งบอกถึงความเชื่อ ค่านิยม ศาสนาและรูปแบบการดําเนินชีวิต
ตลอดจนอาชพี ของคนในท้องถิ่นนั้นๆได้เป็นอย่างดี สาเหตุท่ีภาคอีสานมีความหลากหลายทางศิลปวัฒนธรรม
ประเพณีส่วนหนึ่งอาจจะเป็นผลมาจากการเป็นศูนย์รวมของประชากรหลากหลายเช้ือชาติ และมีการติดต่อ
สงั สรรคก์ บั ประชาชนในประเทศใกล้เคียง จนก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมข้ึน เช่น ประชาชนชาว
อีสานแถบจังหวัดเลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร อุบลราชธานี อํานาจเจริญ ท่ีมีพรมแดนติดต่อกับ
ประเทศลาว ประชาชนของท้งั สองประเทศมีการเดินทางไปมาหากัน ทําให้เกิดการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยน
ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีระหว่างกัน ซ่ึงเราจะพบว่าชาวไทยอีสานและชาวลาวแถบลุ่มแม่น้ําโขงมี
ศิลปวัฒนธรรมประเพณีท่ีคล้ายๆกัน และรูปแบบการดําเนินชีวิตก็มีความคล้ายคลึงกันด้วย จะเห็นได้อย่าง
ชัดเจนว่าภาคอีสานเป็นภูมิภาคที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและวัฒนธรรมต่างๆ ก็มีความแตกต่างกัน
ตามแต่ละท้องถิ่นและแตกต่างจากภูมิภาคอ่ืนๆของไทยอย่างเห็นได้ชัด ท้ังวัฒนธรรมทางด้านการดํารงชีวิต
และวัฒนธรรมท่ีเกี่ยวข้องกับศาสนาซึ่งเราสามารถสังเกตรูปแบบวัฒนธรรมท่ีดีงามของชาวอีสานผ่านทาง
ประเพณตี ่างๆทชี่ าวอีสานจัดขน้ึ ซึ่งสามารถถา่ ยทอดวฒั นธรรมอสี านได้เป็นอย่างดี

4 ประเพณีที่กลายเป็นวัฒนธรรม ประเพณีหมายถึง ระเบียบแบบแผนที่กําหนดพฤติกรรมใน
สถานการณ์ต่างๆ ท่ีคนในสังคมยึดถือปฏิบัติสืบกันมา ถ้าคนใดในสังคมน้ันๆฝ่าฝืนมักถูกตําหนิจากสังคม
ลักษณะประเพณีในสังคมระดับประเทศชาติ มีท้ังประสมกลมกลืนเป็นอย่างเดียวกัน และมีผิดแผกกันไปบ้าง
ตามความนิยมเฉพาะท้องถ่ิน แต่โดยมากย่อมมีจุดประสงค์ และวิธีการปฏิบัติเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน มีเฉพาะ
ส่วนปลีกย่อยท่ีเสริมเติมแต่งหรือตัดทอนไปในแต่ละท้องถิ่น สําหรับประเพณีไทยมักมีความเก่ียวข้องกับความ
เชอ่ื ในคติพระพุทธศาสนาและพราหมณม์ าแต่โบราณ

ประเพณี เป็นกิจกรรมที่มีการปฏิบัติสืบเน่ืองกันมา เป็นเอกลักษณ์และมีความสําคัญต่อสังคม เช่น
การแต่งกาย ภาษา วัฒนธรรม ศาสนา ศิลปกรรม กฎหมาย คุณธรรม ความเช่ือ ฯลฯ อันเป็นบ่อเกิดของ
วัฒนธรรมของสังคมเชื้อชาติต่างๆ กลายเป็นประเพณีประจําชาติและถ่ายทอดกันมาโดยลําดับ หากประเพณี
นั้นดีอยู่แล้วก็รักษาไว้เป็นวัฒนธรรมประจําชาติ หากไม่ดีก็แก้ไขเปล่ียนแปลงไปตามกาลเทศะ ประเพณีล้วน
ได้รับอิทธิพลมาจากสิ่งแวดล้อมภายนอกที่เข้าสู่สังคม รับเอาแบบปฏิบัติที่หลากหลายเข้ามาผสมผสานในการ
ดําเนินชีวิต ประเพณีจึงเรียกได้ว่าเป็น วิถีแห่งการดําเนินชีวิตของสังคม โดยเฉพาะศาสนาซ่ึงมีอิทธิพลต่อ
ประเพณีไทยมากที่สุด วัดวาอารามต่างๆ ในประเทศไทยสะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลของพุทธศาสนาท่ีมีต่อ
สังคมไทย และชี้ให้เห็นว่าชาวไทยให้ความสําคัญในการบํารุงพุทธศาสนาด้วยศิลปกรรมท่ีงดงามเพ่ือใช้ใน
พิธกี รรมทางศาสนาต้งั แต่โบราณกาล เปน็ ต้น (พระยาอนุมานราชธน. 2514) ยกตัวอยา่ ง เช่น ประเพณีอสี าน


 

ประเพณีอสี าน

ประเพณีของชาวอีสานมีความหลากหลายและมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่แตกต่างกันไปในแต่
ละท้องถ่ิน ประเพณีส่วนใหญ่จะเกิดจากความเชื่อ ค่านิยม และส่ิงที่มีอิทธิพลต่อการดํารงชีวิตและการ
ประกอบอาชีพของคนในท้องถ่ิน และอิทธิพลของศาสนาท่ีมีต่อคนในท้องถ่ิน ประเพณีต่างๆถูกจัดข้ึนเพ่ือให้
เกิดขวัญกําลังใจในการประกอบอาชีพและเพ่ือถ่ายทอดแนวความคิด ค่านิยมที่มีอยู่ในท้องถ่ินนั้นๆ เช่น
ประเพณบี ญุ บ้งั ไฟ จงั หวัดยโสธร เกิดจากการทคี่ นในทอ้ งถ่นิ นส้ี ่วนใหญ่เป็นเกษตรกร เชื่อวา่ การจดุ บ้ังไฟจะทํา
ให้ผญาแถนดลบนั ดาลใหฝ้ นตกต้องตามฤดูกาล ประเพณีไหลเรือไฟ จังหวัดนครพนม เพราะจังหวัดนี้ติดแม่น้ํา
โขงและใช้ประโยชน์จากแม่นํ้าโขงมาตลอด จึงอยากขอบคุณพระแม่คงคาประจําลําน้ําโขงท่ีได้ให้ความอุดม
สมบูรณ์แก่สังคมริมฝ่ังโขง ดังน้ันจึงจัดประเพณีไหลเรือไฟขึ้นมางานบุญงานประเพณีต่างๆท่ีชาวอีสานใน
ท้องถิ่นต่างๆจัดขึ้นนับว่าเป็นสื่อท่ีดีในการถ่ายถอดแนวความ ค่านิยม ความเชื่อ ศาสนา วิถีการดํารงชีวิตและ
การประกอบอาชีพของผู้คนในทอ้ งถิน่ นัน้ ๆ

5 พธิ ีกรรมทางศาสนาและพธิ กี รรมทางศาสนาทก่ี ลายเปน็ วัฒนธรรม

5.1 ความสําคัญของพธิ กี รรมและพิธกี รรมทางศาสนา

พิธีกรรมเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับประเพณีและวัฒนธรรม มนุษย์ในสังคมท่ีเจริญแล้วต่างก็มีประเพณี
และพธิ กี รรมทเ่ี ฉพาะของตน พธิ กี รรมเป็นเครื่องชี้ถึงความสามัคคีความกลมเกลียวเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของ
คนในชาติ สําหรับประเทศไทยซ่ึงคนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธนั้น พิธีกรรมส่วนใหญ่จึงเกี่ยวข้องอยู่กับเร่ือง
ของศาสนา เช่น การทําบุญตักบาตร การไหว้พระสวดมนต์ การทําบุญในเทศการต่าง ๆ ซ่ึงขึ้นอยู่กับความเชื่อ
และหลักการของพทุ ธศาสนาแทบทั้งสน้ิ พธิ กี รรมทเ่ี กีย่ วกบั ศาสนาน้ีเรียกวา่ ศาสนาพิธี ศาสนพิธี คือ พิธีกรรม
ทางศาสนา หมายถึง แบบอย่างหรือแบบแผนหรือรูปแบบที่พึงปฏิบัติในทางศาสนา ตามปกติในทุก ๆ ศาสนา
ย่อมมีพิธีหรือวิธีการปฏิบัติของศาสนา โดยเฉพาะพระพุทธศาสนา เช่น พิธีทําบุญ ถวายทาน รักษาศีล ฟัง
ธรรม และการเวียนเทียน เนื่องในวันสําคัญต่าง ๆ ทางพระพุทธศาสนา ทั้งน้ีเพ่ือให้การปฏิบัติในพิธีน้ัน ๆ ได้
ปฏบิ ัติ อย่างถูกต้องและเหมาะสม

ศาสนพิธเี ป็นพิธีทางศาสนาที่เกิดข้ึนภายหลังท่ีพระศาสนาทรงประกาศศาสนา กล่าวคือ เมื่อมีศาสนา
เกิดข้ึน แล้วจึงจัดให้มีพิธีหรือแบบแผนในการปฏิบัติในภายหลัง เหตุที่พระพุทธศาสนาต้องมีศาสนพิธี
เน่ืองมาจากหลักการทเ่ี ปน็ หัวใจ ของพุทธศาสนา คือ ละเวน้ ความช่วั ทาํ ความดี และทาํ จติ ใจใหบ้ รสิ ุทธิ์

ศาสนพิธีแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื

5.1.1 ศาสนพิธีสําหรับพระ หมายถึง ระเบียบพิธีท่ีพระสงฆ์จะต้องปฏิบัติตามพระธรรมวินัย เช่น พิธี
อุปสมบท พิธีสวดปาติโมกข์ เข้าพรรษา รับกฐิน เป็นต้น ซ่ึงแต่ละพิธีน้ันต้องอาศัยองค์ประกอบของคณะสงฆ์
เวลาและสถานที่ท่ีเฉพาะสําหรับพิธีนั้น ๆ ในส่วนที่เป็นระเบียบตามประเพณีนิยม เช่น กิจวัตรประจําวันท่ี


 

พระสงฆ์ในพระพุทธศาสนาต้องปฏิบัติอย่างสมํ่าเสมอ เช่น การออกบิณฑบาต การทําวัตรเช้า เย็น การศึกษา
พระธรรมวนิ ัย การสัง่ สอนพระธรรมให้กบั ประชาชนทัว่ ไป

5.1.2 ศาสนพิธีสําหรับชาวบ้าน เป็นระเบียบแบบแผนท่ีผู้นับถือพุทธศาสนาจะต้องปฏิบัติ ซ่ึงแบ่ง
ออกเปน็ หมวดตา่ ง ๆ คอื

5.1.2.1 กศุ ลพิธี เปน็ พิธีเกยี่ วกับการบําเพญ็ กศุ ลตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่

1) การแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ

2) การรักษาอุโบสถศีล

3) การเวียนเทียนในวันสําคัญของพระพุทธศาสนา ได้แก่ วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วัน
อาสาฬหบชู า

5.1.2.2 บุญพธิ ี เปน็ พธิ ที ําบุญตามประเพณนี ิยม มี 2 ประเภทคอื

1) การทําบุญเนื่องในงานมงคล คือ การทําบุญเพ่ือความสุขความเจริญ เช่น การทําบุญวัน
เกิด งานมงคลสมรส เปน็ ต้น

2) การทําบุญเน่ืองในงานอวมงคล คือ การทําบุญในงานศพ การทําบุญเน่ืองในวันครบวัน
ตาย 100 วัน เปน็ ตน้

5.1.2.3 ทานพิธี ได้แก่ การถวายทานโดยท่ัว ๆ ไป ซงึ่ มี 2 ประเภทคอื

1) ปาฏิบุคลิกทาน ได้แก่ ทานท่ีทําถวายเฉพาะเจาะจงบุคคล เลือกวัด เลือกพระสงฆ์ที่จะ
ถวาย

2) สังฆทาน ได้แก่ ทานที่ถวายแก่สงฆ์โดยส่วนรวม โดยไม่เลือกวัดและพระสงฆ์ที่รับทาน
เชน่ การถวายสงั ฆทาน การทําบุญตักบาตร เปน็ ตน้

5.1.2.4 ปกิณกพิธี เป็นพิธีเบ็ดเตล็ดท่ีเก่ียวข้องกับพิธีต่าง ๆ ท่ีกล่าวมาแล้วข้างต้น เช่น การแสดง
ความเคารพพระสงฆ์ การอาราธนา การประเคนของ การนิมนตพ์ ระ การกรวดน้ํา เป็นต้น

5.2 ประโยชนข์ องพิธีกรรม

คนเป็นจํานวนมากท่ีเห็นพิธีกรรมเป็นเร่ืองเหลวไหลไร้สาระและเสียเวลาโดยใช่เหตุ ทั้งนี้อาจเป็น
เพราะผู้ประกอบพิธีกรรมเหล่านั้นไม่ได้มีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงระเบียบวิธีและแก่นแท้ของพิธีกรรมน้ัน ๆ
จึงทําให้เห็นเป็นเรื่องท่ีไม่มีคุณค่าไม่มีเหตุผลและงมงาย แท้จริงแล้วพิธีกรรมทางศาสนามีประโยชน์มากมาย
เช่น


 

5.2.1 เปน็ เคร่อื งมอื สืบทอดพระพทุ ธศาสนา
5.2.2 ทําใหเ้ กิดความรกั และสามคั คขี องคนในสงั คมนน้ั ๆ
5.2.3 แสดงถึงความเจรญิ ทางจติ ใจของคนในสังคม
5.2.4 เป็นเครอ่ื งจงู ใจให้คนทาํ ความดี ละเว้นความชวั่
5.2.5 ทําใหเ้ กดิ ความอ่มิ เอบิ ใจ
6 พรรณไม้ท่ใี ชใ้ นพธิ ีกรรมทางศาสนา

กระถนิ
ช่ือวิทยาศาสตร์ Leucaena leucocephalade wit
ชอ่ื วงศ์ Leguminosae
ชอื่ ท้องถนิ่

• ภาคกลาง เรียก กระถนิ ไทย กระถนิ ดอกขาว กระถินหวั หงอก
• ภาคใต้ เรยี ก สะตอเทศ สะตอเบา สะตอบ้าน
• ทว่ั ไป เรียก กระถนิ กระถนิ นอ้ ย กระถินบา้ น ผกั ก้านถิน กะตง
สรรพคณุ ทางยา
• ดอก รสมัน บาํ รุงตับ
• ราก รสจดื เฝอ่ื น ขบั ลม ขบั ระดูขาว และเป็นยาอายวุ ัฒนะ
• เมล็ด ใชถ้ า่ ยพยาธติ วั กลม (ascariasis)
ความเช่อื ตามตาํ ราหลวงกลา่ วไว้ว่า กระถนิ เปน็ ไม้มงคลทีค่ วรปลกู ไวท้ างทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (อาคเนย)์ โดย
ปลูกรว่ มกับตน้ สารภี เชอ่ื ว่าจะปอ้ งกนั ส่งิ เลวรา้ ยได้


 

กระถินณรงค์
ชอ่ื สามัญ Acacia, Wattle, Miniosa
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Acacia auriculaeformis A. Cunn. ex Benth.
ชอ่ื วงศ์ Leguminosae, Mimosoideae
ชอ่ื พ้ืนเมอื ง กระถินณรงค.์
ประโยชน์
1) เนือ้ ไม้ ใช้ทาํ ฟนื ถ่าน เครื่องเรอื น กอ่ สรา้ ง เฟอร์นเิ จอร์ ปารเ์ ก้ เยือ่ กระดาษ
2) ปลูกเปน็ ไมป้ ระดับให้ร่มเงา มกี ลน่ิ หอม สเี หลืองสวยงาม
3) ปลกู เพื่อปรับสภาพดินทเี่ สอ่ื มโทรมใหด้ ขี น้ึ เพราะเป็นพชื ตระกลู ถ่ัว นิยมปลูก ผสมผสานกบั พืช
เกษตร เช่น ข้าว ถว่ั ลิสง ถว่ั เหลือเปลือกมสี ารแทนนนิ ใชฟ้ อกหนัง
ความเช่ือ เพ่อื ปอ้ งกนั โรคภยั ไข้เจ็บ ไม่ให้เบียดเบียนคนในครอบครวั สามารถปอ้ งกนั เสนยี ดจญั ไร

 
 

 


 

กนั เกรา
ชื่อสามัญ Anan, Tembusu
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Fagraea fragrans Roxb.
ชอื่ วงศ์ Loganiaceae
ช่อื อื่น กันเกรา (ภาคกลาง) ตะมะซู ตาํ มซู ู (มลายู ภาคใต้) ตาเตรา (เขมร ภาคตะวันออก) ตาํ เสา ทาํ เสา
(ภาคใต)้ มนั ปลา (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
สรรพคณุ ใช้แกน่ เปน็ ยาอายุวัฒนะ แก้ไขจ้ บั ส่นั และบาํ รงุ ธาตุ
ความเชือ่ กนั เกรา หรอื มณั ปา เปน็ ไมม้ งคล คนโบราณเช่ือว่า..... ปลูกไวจ้ ะชว่ ยป้องกันภยั อนั ตรายตา่ งๆ
ได้

 
 

 

 

 

 

กลว้ ย

ชอื่ สามัญ : Banana

ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Musa sapientum L.

ช่ือวงศ์ : Musaceae

ประโยชน์

- ยางกลว้ ยจากใบ ใช้ห้ามเลอื ด ผลดิบแก้โรคท้องเสีย ยาฝาดสมานแผลในกระเพาะอาหาร และอาหารไม่ยอ่ ย
ผลสุกใชเ้ ปน็ อาหารเปน็ ยาระบาย

- หวั ปลใี ช้ประกอบอาหาร นิยมกันทางภาคเหนือ

ความเช่ือ

ในพธิ ที างศาสนา เชน่ การเทศน์มหาชาติ และการทอดกฐนิ มกั ใช้ตน้ กล้วยประดบั ธรรมาสน์ และองคก์ ฐิน

ในพธิ ตี ง้ั ขนั ขา้ ว หรือค่าบูชาครูหมอตาํ แย สาํ หรับผู้หญิงทตี่ ้ังครรภ์ และไปขอให้หมอตําแยทําคลอด
ให้ จะต้องใช้กล้วย ๑ หวี พร้อมท้งั ข้าวสาร หมากพลู ธูปเทียนสาํ หรับการทําพิธีบูชาครกู อ่ นคลอด และเม่อื
คลอดแล้วจะตอ้ งอยไู่ ฟ กย็ งั ใช้ตน้ กล้วยทาํ เปน็ ท่อนลอ้ มเตาไฟ ปอ้ งกันการลามของไฟ

ในพิธที าํ ขวญั เดก็ เมอื่ เดก็ อายุได้ ๑ เดือน กบั ๑ วนั มีการทําขวัญเด็กและโกนผมไฟ จะมกี ลว้ ย ๑
หวี เป็นส่วนประกอบในพิธดี ้วย

ในพธิ แี ต่งงาน มักมตี ้นกลว้ ยและตน้ ออ้ ยในขบวนขนั หมาก พร้อมทง้ั มีขนมกล้วย และกลว้ ยทง้ั
หวี เป็นการเซ่นไหวเ้ ทวดาและบรรพบุรษุ

ในการปลกู บา้ น เม่อื มพี ธิ ที าํ ขวญั ยกเสาเอก จะใช้หนอ่ กล้วยผกู มดั ไวท้ ่ปี ลายเสาร่วมกับต้นอ้อย และ
เมื่อเสร็จพธิ ีก็จะมกี ารลาตน้ กลว้ ยและตน้ อ้อยนนั้ นาํ มาปลกู ไวใ้ นบริเวณบา้ น จากนนั้ ประมาณ ๑ ปี หรือเมือ่
ปลูกบ้านเสร็จแลว้ พร้อมอยู่อาศัย ก็มกี ลว้ ยไวก้ ินพอดี

ในงานศพ ในสมยั โบราณ มกี ารนาํ ใบตองมารองศพ กอ่ นนําศพวางลงในโลง
นอกจากนใ้ี บตองยังมีบทบาทสาํ คญั มากในพิธกี รรมตา่ งๆ โดยการนาํ มาทาํ กระทงใสข่ อง ใส่

ดอกไม้ และประดิษฐ์เป็นกระทงบายศรี


 

http://www.eebah.com/%e0%b8%81%e0%b8%a5%e0%b9%8
9%e0%b8%a7%e0%b8%a2%e0%b8%9b%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b8%ab%e0%b8%a5%e0%b8%

b2%e0%b8%94‐
%e0%b8%9b%e0%b8%a5%e0%b8%b5%e0%b8%81%e0%b8%a5%e0%b8%b2%e0%b8%87%e0%b8%

95%e0%b9%89%e0%b8%99.html    
ตน กลวย
ผลกลว ย
 

   
ใบกลวย                                    เครือกลว ย ผล

10 
 

 

กมุ่ นา้ํ หรอื กา่ ม

ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Crateva magna DC
ช่ือวงศ์ Capparicaceae
ชอื่ ทอ้ งถิ่น

• สุพรรณ เรยี ก อาํ เภอ
• กะเหรยี่ ง-ตะวันตก เรยี ก เหาะเถาะ
• พิจติ ร,ปราจนี บรุ ,ี อุดรธานี เรียก ผกั ก่มุ
• มหาสารคาม เรียก ผักก่าม
• ภาคกลาง-ภาคตะวนั ตก เรยี ก กุ่มนํา้
• ละว้า-เชยี งใหม่ เรียก รอถะ
• พังงา-ระนอง เรียก ผกั กมุ่
• สงขลา,ชมุ พร,ระนอง เรยี ก กุ่มน้าํ
สรรพคณุ ทางยา

ราก รสร้อน แก้ปวดทอ้ ง บํารงุ ธาตุ
ใบ รสขมหอม ขบั เหง่อื แก้ไข้ เจรญิ อาหาร ระบาย ขบั พยาธิ แก้ปวดเสน้ แก้โรคไขข้ออกั เสบ
ดอก รสเย็น แกเ้ จ็บตา และแก้เจ็บในคอ
ลูก รสขม แกไ้ ข้
เปลอื กตน้ รสร้อน แกส้ ะอึก ขับผายลม ขบั เหงื่อ แก้กระษยั
ความเชอื่ คนไทยสมัยก่อนปลูกต้นก่มุ ไวเ้ ปน็ อาหารและยารกั ษาโรคตน้ กุ่มนบั เป็นไม้มงคลชนดิ หนง่ึ ทีน่ ิยม
ปลูก เชื่อว่าจะทาํ ให้ครอบครวั มีฐานะ มีเงนิ เป็นกลุ่มเปน็ ก้อน ดังช่ือของต้นไม้

 

 

 

 

กหุ ลาบ

11 
 

ชอ่ื สามัญ: Rose
ชื่อวทิ ยาศาสตร:์ Rosa spp. & Hybird
ชือ่ วงศ์: Rosaceae
ความเช่ือ ควรเปน็ กหุ ลาบดอกสเี หลือง หรอื สม้ หากนาํ มาปลูกเล้ียงไวจ้ ะทาํ ใหเ้ กดิ ความสง่างาม ภาคภมู ิ

 
 
 

เกล็ดลน่ิ
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Phyllodium pulchellum (L.) Desv.
วงศ์ : Fabaceae,Leguminosae-Papilionoideae
ชอ่ื อน่ื ๆ : เกลด็ ปลาชอ่ น ล่นิ ตน้ หญา้ เกล็ดล่นิ
ความเชื่อ เพอื่ เพมิ่ ปริมาณผลผลิตให้มากขนึ้ นยิ มนาํ มาปกั บนยงุ้ ขา้ ง ลานขา้ ง (กอง) ในงานบุญคูณลาน

 

             

12 
 

 

 
 

 

ต้นแก(สะแกนา)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Combertum guadranglaer Kurz.
ช่อื ทอ้ งถิ่น สะแกนา (ภาคกลาง) แก (อสี าน) ขอยแข้ จองแข้ (แพร)่ แพรง่ (ภาคเหนอื )
ความเชื่อ เช่อื ว่าเป็นไม้มงคล ใชง้ านข้นึ บา้ นใหม่ งานยกเสาเอก-โท งานวางศลิ าฤกษ์ เนอื่ งจากแกน่
ของตน้ สะแกแขง็ มากจึงนิยมเอาไมส้ ะแกไปทาํ ฟืนกันมาก

 

 

ขนุน
ชื่อวิทยาศาสตร์ Artocarpus heterophyllus Lamk.
ชอ่ื วงศ์ Moraceae
ชื่อสามัญ Jack Fruit Tree
ชื่อท้องถน่ิ

13 
 

• ภาคเหนือ-ใต้ เรยี ก ขะหนนุ
• ภาคอีสาน เรียก หมกั หม,้ี บกั มี่
• จันทบรุ ี เรียก ขะนู
• มลายู-ปัตตานี เรยี ก นากอ
• ชาวบน-นครราชสีมา เรยี ก โนน
• เขมร เรียก ขนนุ , ขะเนอ
ความเชอ่ื ขนุนนบั ไดว้ ่าเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่งของคนไทย กาํ หนดปลกู ทางทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ (หรด)ี ตาม
โบราณเชื่อกนั ว่า การปลกู ตน้ ขนุนในบรเิ วณบา้ นจะหนนุ เน่ือง บุญบารมี เงนิ ทอง จะมคี นเกือ้ หนนุ และ
อดุ หนนุ จุนเจือ นอกจากนี้ชาวเหนอื ใช้ใบขนนุ ร่วมกบั ใบพุทรา ใบพิกุล นํามาซ้อนกนั แลว้ นาํ ไปไว้ใน ยุง้ ขา้ ว
ตอนเอาขา้ วข้ึนยงุ้ ใหมๆ่ เชื่อกันว่าจะทําให้หนุนนาํ และส่งผลใหม้ ีข้าวกินตลอดปีและตลอดไป

ขม้ิน
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Curcuma longa L.
ชอ่ื วงศ์ Zingeraceae
ช่อื สามัญ Turmeric
ช่อื พนื้ เมือง ขมน้ิ (ทั่วไป) ขมน้ิ แกง, ขมน้ิ หยอก, ขมิน้ หวั , ขมิน้ ชนั (ภาคกลาง, ภาคใต)้ ขม้ี น้ิ , หมิน้ (ภาคใต)้
ตายอ (กะเหร่ียง-กําแพงเพชร) สะยอ (กะเหรยี่ ง-แมฮ่ อ่ งสอน)
ความเชอ่ื เชอื่ ว่าเปน็ ตัวแทนของพระพทุ ธเจ้า

14 
 

ขา้ ว
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oryza sativa L.
ชอื่ วงศ์ : Poaceae
ชื่อสามัญ : Rice
ความเชื่อ เพราะว่าขา้ วเป็นผใู้ หช้ ีวติ แก่มนุษย์ ใชใ้ นงานบญุ ประเพณีทุกประเพณี

15 
 

เขม็

ชอื่ วิทยาศาสตร์ Ixora chinensis lamk.
ชอ่ื วงศ์ Rubiaceae

ความเช่ือ ดอกเข็ม เป็นพันธุ์ไม้มงคล ยืนต้น ขนาดเล็ก ลําต้นแตกกอเป็นพุ่ม ลักษณะใบเปราะสีเขียวสด เป็น
ใบเด่ียวออกเป็นคู่ สลับกับรอบต้นและกิ่ง ออกดอกตรงส่วนยอดของกิ่งเป็นช่อ ๆ และมีกานชูไว้ภายในช่อเป็น
ดอกเล็ก ๆ มกี ลีบแหลม ประมาณ 4 - 5 กลบี อย่สู ว่ นบน ตามความเชือ่ ทางเคหะศาสตร์

นอกจากใช้เป็นเครื่องบูชาส่ิงศักดิ์สิทธ์ิโดยเฉพาะงานพิธีไหว้ครูและพิธีกรรมทางศาสนาแล้ว หากปลูก
เอาไว้ในอาคารบ้านเรือนจะส่งผลให้สมาชิกในครอบครัวเป็นคนท่ีมีความฉลาด หลักแหลม เช่นเดียวกันกับ
ลักษณะของดอกเข็มที่มีความฉลาดแหลมคม และเพ่ือความเป็นสิริมงคลมากยิ่งขึ้น แนะนําว่าให้ปลูกในวันพุธ
ทางดา้ นทศิ ตะวนั ออกของบ้านคะ่

ความหมายหนึ่งที่เราต่างก็รู้กันสําหรับดอกเข็มก็คือ ความฉลาดหลักแหลมอันเปรียบเสมือน เข็มท่ีมี
ความแหลมคม เราจงึ ใช้ดอกเข็มในพธิ ีไหว้บูชาครกู นั ทกุ ปี

 

 
งา

ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Sesamum indicum L.
ช่อื สามญั : Sesame
ช่ือวงศ์ : Pedaliaceae
ชือ่ อื่น : งาขาว, งาดาํ (ภาคกลาง) ไอย่มู ั้ง (จนี )

16 
 

ความเช่อื ความเช่อื ว่าจะได้มคี วามเจรญิ รงุ่ เรอื ง ใช่ในงานบุญ ทีม่ ีขนม(เพราะนํามาทาํ ขนม)

       

         
งาขาว งาดํา 

ชวนชม
ชื่อวทิ ยาศาสตร:์ Adenium obesum Balf
ชอ่ื วงศ์
ชอ่ื สามญั : Desert Rose; Impala Lily; Mock Azalea
ความเช่ือ เป็นพันธุ์ไม้มงคลอีกประเภทที่พบเห็นกันได้ทั่วไปตามอาคารบ้านเรือน ร้านค้า ร้านอาหาร
ภัตตาคาร หรือแม้กระทั่งโรงแรมต่างๆ เพราะเป็นพันธ์ุไม้ท่ีมีสีสัน สวยงาม สร้างความสดใส มีชีวิต ชีวาให้กับ

17 
 

สถานที่ดังกล่าวครับ ชวนชม เป็นพันธ์ุไม้ลําต้นอวบน้ํา แตกกิ่งก้านสาขาน้อย รูปทรงโปร่ง มีลักษณะเด่นของ
ดอกเปน็ รปู แตร สีชมพู ออกดอกบรเิ วณยอดของกา้ นตน้ นิยมปลกู เพือ่ ความเป็นสิริมงคล

เพราะเช่ือว่า จะนํามาซ่ึงความนิยมชมชอบของผู้คนภายนอกกับสมาชิกในครอบครัว สร้างเสน่ห์ท่ี
งดงาม ชวนมอง ดึงดูดสายตาผู้คนที่ผ่านไป ผ่านมา จึงทําให้ชวนชมเป็นพันธ์ุไม้มงคลแสนสวย ที่มีเสน่ห์และมี
ความหมายท่ีดี เหมาะต่อการนํามาเพาะปลกู เพือ่ สร้างความเปน็ สริ ิมงคลเปน็ อย่างยงิ่

ตะโกนา
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Diospyros rhodcalyx Kurz
ชอ่ื วงศ์ Ebenaceae
ช่อื สามัญ Ebony
ชอื่ ท้องถนิ่

• ทวั่ ไป เรียก ตะโกนา
• ภาคอีสาน เรยี ก โก
• นครราชสมี า เรียก นมงวั
• ภาคเหนอื เรยี ก มะโก
• เชยี งใหม่ เรยี ก มะถ่าน ไฟผี พระยาชา้ งดาํ

สรรพคณุ ทางยา
• ลกู รสฝาดหวาน แกท้ อ้ งร่วง แก้ตกเลือด แกม้ วนท้อง ขับพยาธิ แกก้ ะษยั แก้ฝี และแผลเน่าเป่ือย
• เปลือกลูก รสฝาด เผาเป็นถ่านรสเย็น ขบั ระดูขาว และขับปัสสาวะ
• เปลอื กต้น, เน้ือไม้ รสเฝื่อนฝาดขม บํารงุ ธาตุ ชว่ ยยอ่ ยอาหาร แกม้ ุตกิต ระดูขาว แก้ราํ มะนาด ปวด
ฟัน และเป็นยาอายวุ ัฒนะ

18 
 

ความเช่อื บางตาํ ราวา่ เป็นต้นไม้ทคี่ วรปลกู ไว้ทางทศิ ใต้ (ทักษิณ) แตย่ งั หาหลักฐานยนื ยันไม่ไดแ้ นช่ ดั
สันนษิ ฐานวา่ คงเปน็ เพราะ ตะโกเป็นไม้ที่มอี ายุยืน ทนต่อความแห้งแลง้ ได้ดี จงึ อยากใหผ้ อู้ ยู่อาศัยในบ้านมี
ความอดทนตอ่ สิง่ แวดลอ้ มเหมอื นดังตะโก

ไผส่ สี ุก
ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Bambusa blumeana Schult
ช่อื วงศ์ Grmineae
ชื่อทอ้ งถ่นิ กะเหร่ยี ง-แมฮ่ อ่ งสอน เรยี ก ไผส่ ีสุก สีสุก
สรรพคณุ ทางยา

• ใบมรี สขื่น เฝอ่ื น ใช้ขบั และฟอกลา้ งโลหิตระดูท่เี สยี แกม้ ดลูกอกั เสบ และขบั ปัสสาวะ
• ตา มีรสเฝือ่ น แกร้ ้อนในกระหายนํ้า แก้ไขพ้ ิษ
• ราก มรี สกร่อยเอยี นเลก็ น้อยใช้ขบั ปสั สาวะ แกไ้ ตพิการ ขบั นิว่
ความเช่อื คนโบราณนยิ มปลกู ไผ่สสี ุกไว้ทางทศิ ตะวนั ออก (บูรพา) ถอื กนั เป็นเคล็ดจากช่อื ท่เี รยี กขานกันเอาวา่
เปน็ สริ มิ งคลแกต่ น ผู้เป็นเจ้าของและครอบครวั คอื สีสกุ เป็นมงคลนามเพอ่ื ให้เกิดความสขุ ความเจรญิ มี
ความสขุ กายสบายใจทกุ อยา่ งนัน้ เอง

19 
 

ถวั่ เขียว
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Vigna radiata (L.) R. Wilczek
ชื่อสามญั : ถั่วเขยี ว (mung been)
ช่ือวงศ์ : Fabaceae
ความเชอ่ื เป็นสิ่งมงคล หนมุ่ สาวทีร่ ักใครช่ อบพอกันใชใ้ นงานแต่งงาน งานบายศรตี า่ งๆ

ถว่ั เหลือง
ชอ่ื สามัญ : ถวั่ เหลอื ง (soybean)
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Glycine max, Glycine soja
ชอ่ื วงศ์ : Fabaceae

20 
 

ความเช่อื เป็นสง่ิ มงคล หนมุ่ สาวทร่ี กั ใครช่ อบพอกนั ใชใ้ นงานแต่งงาน งานบายศรีต่างๆ

ทุเรยี น
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Durio zibethinus Linn.
ชือ่ วงศ์ Bombaceae
ช่ือท้องถิน่

• ภาคเหนอื เรียก มะทุเรยี น
• ภาคใต้ เรียก เรยี น
• มาเลเซยี -ใต้ เรียก ดอื แย
ความเชื่อ บางตําราว่าเป็นต้นไมต้ ามทศิ ทค่ี วรปลกู ไว้ในบรเิ วณบ้านโดยใหป้ ลกู ทางทศิ ตะวันออกเฉียงเหนอื
(อีสาน) ถอื เป็นเคล็ดลบั ว่า “ความเปน็ ผู้คงแก่เรียน”

บวั สาย
ชอื่ สามัญ Water Lily
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Nymphaea lotos Linn.

21 
 

วงค์ Nymphaeaceae
บวั หลวง

ชื่อสามญั lotus
ชอื่ วิทยาศาสตร์ Nelumbo nucifera Linn.
วงค์ Nelumbonaceae
ความเชื่อ คนไทยโบราณเช่ือว่า บ้านใดปลูกต้นบัวไว้ประจําบ้าน จะทําให้เกิดความบริสุทธ์ิ ความเบิกบาน
เพราะการเปรยี บเทยี บดอกบวั ที่ชดู อกพน้ จากผิวน้ําวา่ เปน็ ผทู้ ี่หลดุ พ้นจากทุกข์ทง้ั ปวง เป็นผู้ต่ืน ผู้รู้ ผู้เบิกบาน
นอกจากน้ียังมีความเชื่ออีกว่าช่วยทําให้เกิดความห่วงใยความผูกพันธ์ของคนในครอบครัว เพราะสายใยบัวคือ
ความหว่ งใย ความผกู พันธ์

22 
 

ใบเงนิ

ชอื่ สามัญ Caricature Plant

ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Grapthophyllun pictum

ชอื่ วงศ์ Acanthaceae

ชอ่ื อน่ื ทองคาํ ขาว

ความเช่ือ เพือ่ ให้เกดิ ความเจริญรุ่งเรอื งในชีวติ ครอบครวั ใชใ้ นงานแต่งงาน

คนไทยโบราณเชือ่ ว่าบ้านใดปลูกตน้ ใบเงนิ ไว้ประจาํ บ้านจะทาํ ให้มีเงินมที องเพราะเปน็ ไมม้ งคลนาม
นอกจากนค้ี นไทยโบราณได้นาํ ใบเงนิ ใบทองมาประกอบพิธีสําคัญทางศาสนา เช่น การทาํ นํ้าพุทธมนต์ การข้นึ
บ้านใหม่ ดังนนั้ คนไทยโบราณจึงเชื่อว่า ต้นใบเงนิ เปน็ ไมท้ ีม่ คี วามศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ

ใบทอง

ชอ่ื สามญั Gold Leaves
ช่ือวิทยาศาสตร์ Grapthophyllun pictum
ตระกูล Acanthaceae
ชื่ออื่น ทองนพคณุ ทองลงยา

23 
 

ความเชื่อ คนไทยโบราณเชื่อว่าบ้านใดปลูกต้นใบทองไว้ประจําบ้านจะทําให้มีเงินมีทองเพราะเป็นไม้มงคล
นามนอกจากน้ีคนไทย โบราณได้นําใบเงินใบทองมาประกอบพิธีสําคัญทางศาสนาเช่นการทําน้ําพุทธมนต์การ
ขนึ้ บ้านใหม่ดังน้ันคนไทยโบราณ จงึ เช่อื วา่ ต้นใบทองเป็นไม้ท่ีมีความศักดส์ิ ทิ ธ์ิ

ใบนาค
ชื่อสามญั kewense
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Pseuderanthemum atropurpureum.
วงศ์ Acanthaceae
ชอื่ อนื่ นาคนอก ทองสัมฤทธิ์
ความเชื่อ คนไทยโบราณเช่ือว่าบ้านใดปลูกต้นใบนาคไว้ประจําบ้านจะทําให้มีเงินมีทองเพราะเป็นไม้มงคล
นามนอกจากน้ีคนไทยโบราณได้นําใบนาคมาประกอบพิธีสําคัญทางศาสนาเช่นการทําน้ําพุทธมนน์การขึ้นบ้าน
ใหมด่ ังนนั้ คนไทยโบราณจงึ เชอื่ ว่าตน้ ใบนาคเปน็ ไม้ท่มี ีความศกั ด์ิสทิ ธิ์

24 
 

ใบพลู
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Piper betle Linn.
ช่อื วงศ์ Piperaceae
ชื่อท้องถิ่น เปล้าอว้ น ซเี ก๊าะ (มลายู - นราธวิ าส) พลูจีน (ภาคกลาง)
ความเช่อื เปน็ ยา ใชใ้ นงานบุญทพ่ี ธิ ีกรรมเกยี่ วกบั การขอขมา เชน่ การบวช แตง่ งาน ขา้ วประดับดนิ

ใบยาสูบ
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Nicotiana tabacum Linn.
วงศ์ : Solanaceae
ชนิด : rustica ; tabacum.;

25 
 

พกิ ลุ
ชื่อวิทยาศาสตร์ Mimusops elengi L.
ชอ่ื วงศ์ Sapotaceae
ชอ่ื สามัญ Bullet Wood Tanjong Tree
ชอ่ื ทอ้ งถน่ิ

• ภาคกลาง เรยี ก พกิ ุล
• ภาคเหนือ เรยี ก มะเมา, แกว้
• ภาคอีสาน เรียก พิกุล
• ภาคใต้ เรยี ก พกิ ลุ ป่า, พกิ ลุ เขา, พิกลุ เถื่อน
สรรพคณุ ทางยา ดอกพิกุลมกี ล่นิ หอมเยน็ ๆ นิยมใชบ้ ชู าพระ เปลอื กต้นพิกุลใชย้ อ้ มผา้ ตม้ น้ําเกลืออมแก้ปวด
ฟันทาํ ใหฟ้ นั แน่น ดอกนาํ มากลั่นทาํ นาํ้ หอม นํา้ จากดอกและผลใช้ลา้ งคอลา้ งปาก
ความเชอื่ ในตาํ ราพรหมชาตฉิ บับหลวงกล่าวถึงพกิ ุลวา่ เป็นไมต้ ามทศิ ท่ีควรปลูกไวท้ างทิศตะวันตกเฉยี งใต้
(หรด)ี เพื่อป้องกันโทษรา้ ยต่างๆ นอกจากนี้ พกิ ลุ เปน็ พชื มีพุม่ ใบหนาแน่น เหมาะแกก่ ารปลกู ไวบ้ งั แดด แต่บาง
ท้องถน่ิ กเ็ ห็นว่าไมค่ วรปลูกไว้ในบริเวณบ้าน ควรปลูกไว้ตามวัดมากกว่า

26 
 

พุด
ชอื่ สามัญ Gerdenia Crape Jasmine
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Gardenia jasminoides.
ตระกลู RUBIACEAE
ความเช่ือ คนไทยโบราณเชอ่ื ว่า บา้ นใดปลกู ต้นพดุ ไวป้ ระจําบา้ นจะทาํ ให้มคี วามเจรญิ ความม่ันคง เพราะพุด
หรือ พุฒ หมายถึงความเข็งแรง สมบูรณ์ คือความเจริญม่ันคง น่ันเอง นอกจากนี้ยังมีความเช่ืออีกว่า จะทําให้
เกิดบริสุทธิ์ เพราะดอกพุดมีสีขาวสดใสมีกลับดอกใหญ่ท่ีขาวสะอาดดังนั้นแง่หนึ่งเช่นกันท้ังน้ีก็เพราะโบราณ
เชื่อวา่ เน้ือไมข้ องพยงุ เปน็ ไม้ทแ่ี ข็งแกรง่ และมอี ิทธิฤทธิพ์ อสมควร
ไม่ว่าจะเป็นพุดชนิดใดจะส่งผลใหม้ คี วามเจริญ มน่ั คง แข็งแรงสมบรู ณ์ ทงั้ สิ้น แตค่ วรเปน็ พุดชนดิ ท่ีดอกสขี าว

27 
 

พุทรา
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Zizyphus mauritiana Lamk.
ชือ่ วงศ์ RHAMNACEAE
ชื่อท้องถิน่

• ทั่วไป เรยี ก พทุ รา
• ภาคเหนือ เรียก มะตนั หลวง, มะทอ้ ง, มะตอง, มะตันต้น
• ภาคอีสาน เรยี ก หมากทัน
ความเช่อื พทุ ราเป็นไมต้ ามทิศท่ีปลกู ไว้ทางทศิ ตะวนั ตก (ประจิม) สว่ นใหญน่ ยิ มปลกู คกู่ ับมะยม คาดว่าคงเปน็
เพราะผูค้ นจะได้นยิ มไม่สร่างซา

แพรก
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Cynodon dactylon (L.) Pers.
ช่ือวงศ์ : GRAMINEAE
ชอ่ื สามัญ : Burmuda Grass , Wire Grass , Dub Grass

28 
 

ชื่อท้องถน่ิ : หญ้าแพรก (ภาคกลาง)., หญ้าแผด, หญา้ เปด็ (ภาคเหนอื )., หนอเกเ่ ด(กะเหร่ียง-แมฮ่ อ่ งสอน)

ความเชื่อ หญ้าแพรก เป็นหญ้าท่ีเจริญงอกงาม แพร่กระจายพันธ์ ไปได้อย่างรวดเร็วมาก หญ้าแพรกดอก
มะเขือจึงมีความหมายซ่อนเร้นอยู่ คนโบราณจึงถือเอาเป็นเคล็ดว่า ถ้าใช้หญ้าแพรกดอกมะเขือไหว้ครูแล้ว
สติปญั ญาของเด็กจะเจริญงอกงามเหมอื นหญา้ แพรกและ ดอกมะเขอื นนั่ เอง

มะกรูด

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Citrus hystrix DC.

ชอ่ื วงศ์ RUTACEAE

ชื่อสามญั Leech Lime, Mauritius Papeda, Kaffir Lime, Porcupine Orange

ชอ่ื ท้องถิน่

• ภาคเหนือ เรียก มะขูด, มะขุน โดยกําหนดปลกู ทางทศิ ตะวนั ตกเฉียง
• ภาคใต้ เรยี ก สม้ กรดู , สม้ มวั่ ผี
• เขมร เรียก โกรย้ เขยี ด
• กะเหรยี่ ง-แม่ฮอ่ งสอน เรยี ก มะขู
ความเช่ือ มะกรูดเปน็ ไมม้ งคลชนดิ หนึง่ ที่ควรปลกู ไว้ในบริเวณบา้ น

เหนอื (พายัพ) เพอ่ื ผู้อยอู่ าศัย จะไดม้ คี วามสุข และในบางตาํ ราวา่ เปน็ ความเชอื่ ของคนบ้านปา่ ทเ่ี ดนิ ทางด้วย

เกวียนเทียม โคหรือกระบือเมอ่ื ไดก้ ล่นิ สาบเสอื จะหยดุ เดิน เจา้ ของจะตอ้ งขดู ผวิ มะนาวหรอื มะกรูด ป้ายจมกู

ใหด้ บั กลิน่ สาบเสอื กอ่ น โค กระบอื จึงจะเดนิ ตอ่ ไป ดงั น้นั การเดิน ทางสมัยกอ่ นผา่ นป่า ผเู้ ดินทางจึงมักจะ

พกพามะนาว และมะกรูดติดตวั ไปด้วยเสมอ ในพิธกี รรมการทาํ นํ้ามนต์เพ่อื สะเดาะเคราะห์ สําหรบั พรมหรอื

อาบผปู้ ่วยใบมะกรดู เปน็ ส่วนประกอบสําคัญทจ่ี ะขาดไมไ่ ด้ โดยใชร้ ่วมกับใบสม้ ปอ่ ย ใบเงนิ ใบทอง ใบมะตูม

หญา้ แพรก หมากผ้หู มากเมีย ใบราชพฤกษ์ เช่อื กันว่าใบจากต้นไมม้ งคลเหล่านจ้ี ะช่วยปดั เป่าและบรรเทา

เคราะห์โศกลงไปได้

29 
 


Click to View FlipBook Version