The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ดาวอังคารเมืองแห่งความรู้ทางอวกาศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Patsachon Suwanruang, 2022-09-19 02:31:26

โครงงานวิทยาศาสตร์

ดาวอังคารเมืองแห่งความรู้ทางอวกาศ

Keywords: อาวกาศ

ดาวองั คารเมืองแห่งความรทู้ างอวกาศ
MARS KNOWLEDGE SPACE CITY

นงนุช งามศิริชยั กลุ
NONGNUCH NGAMSIRICHAIKUN

วิทยานิพนธท์ างสถาปัตยกรรม
หลกั สตู รสถาปัตยกรรมศาสตรบณั ฑิต
สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลยั ศรีปทุม
ปี การศึกษา 2561

ดาวองั คารเมอื งแหง่ ความรทู้ างอวกาศ
MARS KNOWLEDGE SPACE CITY

นงนุช งามศริ ชิ ยั กุล
NONGNUCH NGAMSIRICHAIKUN

วทิ ยานิพนธท์ างสถาปัตยกรรม
หลกั สตู รสถาปัตยกรรมศาสตรบณั ฑติ
สาขาวชิ าสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุม
ปีการศกึ ษา





หวั ขอ้ วทิ ยานิพนธ์ : ดาวองั คารเมอื งแหง่ ความรทู้ างอวกาศ

นกั ศกึ ษา : นงนุช งามศริ ชิ ยั กุล อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา : อาจารยจ์ รรยา ผลประเสรฐิ

หลกั สตู รสถาปัตยกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าสถาปัตยกรรมศาสตร์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2561

บทคดั ย่อ

มนุษยเ์ รม่ิ มกี าระประดษิ ฐค์ ดิ คน้ เทคโนโลยใี หมๆ่ ขน้ึ ทุกวนั ทาใหม้ นุษยส์ ามารถเดนิ ทางไป
ยงั ท่ีต่างๆบนโลกได้อย่างไรขดี จากดั ปัจจุบนั มีการพฒั นาเทคโนโลยีเหล่านัน้ อย่างไม่หยุดยัง้
จนกระทงั่ เราสามารถเดินทางออกนอกโลกไปศึกษาดาวเคราะห์ต่างๆในระบบสุรยิ ะได้ มนุษย์
สามารถขน้ึ ไปสารวจดวงจนั ทร์ คดิ คน้ พฒั นาเทคโนโลยที างดา้ นอวกาศจนสามารถตงั้ สถานีอย่บู น
อวกาศเพ่อื สงั เกตการเปลย่ี นแปลงของดวงดาวและโลกไดส้ าเรจ็ การสารวจเหล่าน้ีจะทาใหเ้ ราเหน็
สภาพแวดลอ้ มนอกโลก ทาใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นความคดิ และความเช่อื ทาใหม้ นุษยไ์ ด้
ตงั้ ความหวงั ว่าอนาคตจะเกดิ โลกใบใหมส่ าหรบั พวกเขา ซง่ึ เป็นจดุ เรมิ่ ตน้ ของการตงั้ อาณานิคมบน
ดวงดาวท่ชี ่อื ว่า”ดาวองั คาร” แรงบลั ดาลใจน้ีจงึ เกิดข้นึ เพ่ือเป็นการสนับสนุนมนุษย์มกี ารพฒั นา
เทคโนโลยที างดา้ นอวกาศ และนวตั กรรมใหมๆ่ เกดิ ขน้ึ ความสนใจของแตล่ ะชนชาตทิ าใหเ้ กดิ ความ
ร่วมมอื ทางธุรกจิ และการแข่งขนั เพ่อื นาไปส่คู วามเจรญิ ของชาติ ซง่ึ ประเทศไทยกม็ ผี ลกระทบจาก
การแข่งขนั ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละอวกาศ ซ่งึ ประเทศไทยประสบปัญหาการขาดแคลนบุคลากรท่มี ี
ฝีมอื ความชานาญดา้ นเทคโนโลยอี วกาศ การศกึ ษาและใหค้ วามรเู้ ร่อื งการตงั้ ถน่ิ ฐานบนดาวองั คาร
น้ีจะเป็นกรณีศกึ ษาใหก้ บั บคุ ลากรภายในประเทศไดม้ โี อกาสสรา้ งความรคู้ วามสามารถ และเกดิ แรง
บลั ดาลใจในการพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศขน้ึ

การศึกษาข้อมูลความเป็ นไปได้ของโครงการเพ่ือการสนับสนุ นการให้ความรู้ทางด้าน
อวกาศ เช่น ลายละเอียดท่ีตงั้ โครงการ องค์กรหรือภาครฐั ท่ีให้การสนับสนุนด้านอวกาศ เพ่ือ
ก่อใหเ้ กดิ โครงการ วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบตา่ งๆของอาคาร และศกึ ษารายเอยี ดพน้ื ทใ่ี ชส้ อย รปู แบบ
การใชป้ ระโยชน์ของพน้ื ทเ่ี พอ่ื ตอบสนองจุดประสงคห์ ลกั ของโครงการไดอ้ ยา่ งดที ส่ี ดุ

การออกแบบโครงการโคยคานึงถงึ บรบิ ทสภาพแวดลอ้ มของดาวองั คารมาเป็นตวั แปรใน
การออกแบบ และใชก้ ระบวนการเปล่ยี นแปลงสภาพแวดล้อมของดาวเพ่อื การดารงอยู่อาศยั ของ
มนุษยม์ าประกอบในการสรา้ งองคค์ วามรใู้ หก้ บั ผมู้ าใชโ้ ครงการเพ่อื รบั รไู้ ดถ้ ึงสภาพแวดลอ้ มความ
เป็นอยู่ สถาปัตยกรรมดาวองั คารทเ่ี กดิ จากการพฒั นาดา้ นเทคโนโลยอี วกาศ



กิตติกรรมประกาศ

ความสาเร็จของการศึกษาวิทยานิพนธ์ในครงั้ น้ี ข้าพเจ้าได้รบั การสนับสนุนและความ
ชว่ ยเหลอื ในการดาเนินงานวทิ ยานิพนธ์ ทงั้ ในสว่ นภาคการศกึ ษาขอ้ มลู และภาคออกแบบจากบุคคล
และหน่วยงานต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ซง่ึ ขา้ พเจา้ ขอขอบคุณในความเมตตากรุณา ความเสยี สละทม่ี ตี ่อ
ขา้ พเจา้ ตลอดเวลาในการศกึ ษาออกแบบวทิ ยานิพนธท์ างสถาปัตยกรรม จนสาเรจ็ ลุลว่ ง เป็นผลงาน
วทิ ยานิพนธก์ ารออกแบบทางสถาปัตยกรรมทส่ี มบรู ณ์ไดแ้ ก่

อาจารยจ์ รรยา ผลประเสรฐิ (อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา)

อาจารยฟ์ ้าประทาน บวั ออ่ น (กรรมการอาจารยท์ ป่ี รกึ ษา)

อาจารยพ์ รรณษษิ ฐ์ ตอ่ สวุ รรณ (กรรมการอาจารยท์ ป่ี รกึ ษา)

อาจารยก์ ฤษฏา อานโพธทิ ์ อง (กรรมการอาจารยท์ ป่ี รกึ ษา)

อาจารยก์ ศนิ ทร์ ศรศรี (กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ )ิ

อาจารยช์ นะ สมั พลงั (กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ )ิ

อาจารยจ์ นู เซคโิ น (กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ )ิ

อาจารยช์ ตุ ยาเวศ สนิ ธพุ นั ธุ์ (กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ )ิ

เรอื งลภสั คะเรรมั ย์ (ครอบครวั )

กติ ตศิ กั ดิ ์งามศริ ชิ ยั กุล (ครอบครวั )

ศวิ ภรณ์ งามศริ ชิ ยั กุล (ครอบครวั )

พมิ พช์ นก ออ่ งเภา (เพอ่ื นรนุ่ 22)

ณชิ าภทั ร. ชุมศริ วิ งษ์ (เพอ่ื นรนุ่ 22)

ปารชิ าด ศรเี มอื ง (เพอ่ื นรนุ่ 22)

สหรฐั พหลยทุ ธ์ (เพอ่ื นรนุ่ 22)

ฐาปนี คาคลา้ ย (เพอ่ื นรนุ่ 22)

ธดิ าพร อคุ า (เพอ่ื นรนุ่ 22)

นารรี ตั น์ ทโู มสกิ (เพอ่ื นรนุ่ 22)

วงศธร สขุ คั คานนท์ (เพอ่ื นรนุ่ 22)

ขอขอบคณุ น้องๆพๆ่ี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ

และบุคคลอ่นื ๆทม่ี สี ว่ นรว่ มในการจดั ทาวทิ ยานิพนธใ์ นครงั้ น้ี



สารบญั

หน้า
บทคดั ยอ่ .................................................................................................................................... ฉ
กติ ตกิ รรมประกาศ.......................................................................................................................ช
สารบญั ....................................................................................................................................... ซ
สารบญั ตาราง............................................................................................................................. ฎ
สารบญั รปู .................................................................................................................................. ฏ
บทท่ี 1 ........................................................................................................................................1
บทนา..........................................................................................................................................1

1. เหตุผลและความเป็นมา ..............................................................................................1
2. วตั ถุประสงค์...............................................................................................................2
3. ประโยชน์ทม่ี ตี อ่ งานสถาปัตยกรรม..............................................................................2
4. ขอบเขตของการศกึ ษาวทิ ยานิพนธ.์ .............................................................................3
5. แผนการดาเนินงานวทิ ยานิพนธท์ างสถาปัตยกรรม ......................................................3
6. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั ของการศกึ ษาวทิ ยานิพนธ์.............................................................3
บทท่ี 2 ........................................................................................................................................4
การศกึ ษาขอ้ มลู วรรณกรรมและทฤษฎที เ่ี กย่ี วขอ้ ง ........................................................................4
1. ดาวองั คาร (Mars) ......................................................................................................4

1.1. ขอ้ มลู ทวั่ ไปของดาวองั คาร....................................................................................4
1.2. ภารกจิ สารวจดาวองั คาร .......................................................................................9
2. ขอ้ มลู สนนั สนุนการสรา้ งอาณานิคมบนดาวองั คาร......................................................15
2.1. ทฤษฎี Maslow's Hierarchy of Needs ...............................................................15
3. การปรบั สภาพดาว Terraforming..............................................................................25
3.1. เกย่ี วกบั การปรบั สภาพดาว Terraforming...........................................................25



3.2. กระบวนการเกดิ Terraforming..........................................................................26
3.3. ความเปลย่ี นแปลงของดาวองั คาร........................................................................30
4. การรบั รู้ (Perception) ...............................................................................................34
4.1. รปู ทรง (Form) ...................................................................................................34
4.2. ลกั ษณะการกอ่ สรา้ ง (Construction)....................................................................37
4.3. วสั ดุ (Material)...................................................................................................44
4.4. พลงั งาน (Energy) ..............................................................................................49
4.5. ระบบตา่ งๆ (System) .........................................................................................50
4.6. แรงโน้มถ่วง (Gravity).........................................................................................51
5. เกย่ี วกบั เทคโนโลยวี ทิ ยาศาสตรแ์ ละอวกาศในประเทศไทย.........................................54
5.1. ตวั อยา่ งเกย่ี วกบั เทคโนโลยอี วกาศในประเทศไทย ...............................................54
บทท่ี 3 ......................................................................................................................................60
กระบวนการศกึ ษาขอ้ มลู วเิ คราะห์ สงั เคราะหข์ อ้ มลู ...................................................................60
1. ประเดน็ การศกึ ษาทางสถาปัตยกรรม.........................................................................60
1.1. แรงบนั ดาลใจ (Inspiration) .................................................................................60
1.2. ประเดน็ การศกึ ษาจากแนวคดิ ในการทางาน.........................................................61
2. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ....................................................................................................62
2.1. พน้ื ทก่ี ารสนบั สนุนเกย่ี วกบั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี วกาศ.............................62
3. การสงั เคราะหผ์ ล ......................................................................................................63
3.1. วเิ คราะหพ์ น้ื ทไ่ี ซตท์ เ่ี ลอื กศกึ ษา ..........................................................................63
บทท่ี 4 ......................................................................................................................................70
การประยกุ ตใ์ นงานออกแบบสถาปัตยกรรม................................................................................70
1. การศกึ ษาโปรแกรมกอ่ นการออกแบบ (Pre-Design Stage) .......................................70
1.1. โปรแกรมจากการศกึ ษา...........................................................................................70



1.2. Conceptual Design..........................................................................................74
2. การออกแบบรา่ ง(Schematic Design) .......................................................................76

2.1. แบบรา่ งครงั้ ท่ี 1..................................................................................................76
2.2. แบบรา่ งครงั้ ท่ี 2..................................................................................................77
2.3. แบบรา่ งครงั้ ท่ี 3..................................................................................................78
3. การออกแบบรา่ งขนั้ ตน้ (Preliminary Design) ............................................................79
3.1. แบบรา่ งแผนผงั ต่าง ๆ ........................................................................................79
3.2. แบบรา่ งตวั อาคาร...............................................................................................79
3.3. หนุ่ จาลอง...........................................................................................................80
3.4. ระบบโครงสรา้ งและงานระบบ .............................................................................81
4. การออกแบบรายละเอยี ด (Detail Design).................................................................82
5. ผลงานการออกแบบ (Architecture Presentation)............................................................83
บทท่ี 5 ......................................................................................................................................96
สรปุ ผลการประยกุ ตใ์ ชใ้ นการออกแบบ (Conclusions)................................................................96
1. สรปุ ผลการศกึ ษา......................................................................................................96
1.1. สรปุ แนวความคดิ ของโครงการ (Concept)...........................................................96
2. การนาไปประยกุ ตส์ าหรบั ภาคออกแบบ .....................................................................97
2.1. สรปแุ ผนภาพระบบการจดั ความสมพั นธั ต์ ่างๆ (Relation Diagram) .....................97
2.2. สรปุ แนวความคดิ ในการออกแบบวางผงั บนทด่ี นิ (Site & Zoning)........................98
3. ขอ้ เสนอแนะ จากคณะกรรมการ................................................................................99
บรรณานุกรม...........................................................................................................................104
ประวตั ผิ เู้ ขยี นวทิ ยานิพนธ์ .......................................................................................................106



สารบญั ตาราง

หน้า
ตารางท่ี 1 ลาดบั ภารกจิ สารวจดาวองั คาร ...................................................................................9
ตารางท่ี 2 Terraforming Time Level .......................................................................................33
ตารางท่ี 3 สรปุ รายละเอยี ดพน้ื ท่ี Site 1....................................................................................63
ตารางท่ี 4 สรปุ รายละเอยี ดพน้ื ท่ี Site 2....................................................................................65
ตารางท่ี 5 สรปุ รายละเอยี ดพน้ื ท่ี Site 3....................................................................................66
ตารางท่ี 6 สรปุ การใหค้ า่ น้าหนกั ไซต์ ........................................................................................67



สารบญั รปู

หน้า
ภาพท่ี 1 องคป์ ระกอบของดาวองั คารเปรยี บเทยี บกบั โลก (NASA’s Science Mission
Directorate., 2018).....................................................................................................................4
ภาพท่ี 2 เปรยี บเทยี บขนาดของดาวองั คารกบั โลก (NASA’s Science Mission Directorate.,
2018)..........................................................................................................................................5
ภาพท่ี 3 โครงสรา้ งดาวองั คาร (NASA’s Science Mission Directorate., 2018).........................6
ภาพท่ี 4 ลกั ษณะพน้ื ผวิ ของดาวองั คาร (NASA’s Science Mission Directorate., 2018)............6
ภาพท่ี 5 บนดาวองั คารทพ่ี บน้าในรปู น้าแขง็ (NASA’s Science Mission Directorate., 2018)....7
ภาพท่ี 6 เปรยี บเทยี บชนั้ บรรยากาศของดาวองั คารกบั โลก (NASA’s Science Mission
Directorate., 2018).....................................................................................................................7
ภาพท่ี 7 ดวงจทั รโ์ ฟบอส และ ดมี อส (NASA’s Science Mission Directorate., 2018)................8
ภาพท่ี 8 Mars 2020 Rover (Brown, 2014).............................................................................10
ภาพท่ี 9 การทางานของ Super Cam (Brown, 2014)...............................................................11
ภาพท่ี 10 เครอ่ื ง Moxie (Brown, 2014)...................................................................................12
ภาพท่ี 11 ยานอวกาศมงั คาลยาน (Mangalyaan) (Brown, 2014) .............................................13
ภาพท่ี 12 แสดงใหเ้ หน็ กระบวนการการเกดิ แก๊สมเี ทนบนดาวองั คาร (Brown, 2014).................14
ภาพท่ี 13 การสารวจทส่ี าคญั ของแต่ล่ะประเทศ ........................................................................14
ภาพท่ี 14 ทฤษฎี Maslow กบั ความตอ้ งการพน้ื ฐาน .................................................................15
ภาพท่ี 15 ความตอ้ งการพน้ื ฐานมนุษย์ .....................................................................................16
ภาพท่ี 16 การพบน้าบนดาวองั คาร (Petranek, 2015) ..............................................................17
ภาพท่ี 17 เครอ่ื ง Wavar (Petranek, 2015)..............................................................................18
ภาพท่ี 18 การทดลองปลกู ผกั กาดในอวกาศ (Petranek, 2015) .................................................19
ภาพท่ี 19 ปรมิ าณพชื ทป่ี ลกู ไดใ้ นชว่ งแรกต่อความตอ้ งการของมนุษย์ (Petranek, 2015) ..........19
ภาพท่ี 20 การปลกู มนั ฝรงั่ จากหนงั The Martian (Petranek, 2015)...........................................20
ภาพท่ี 21 โครงการปลกู มนั ฝรงั่ บนดาวองั คาร (Petranek, 2015) ..............................................21
ภาพท่ี 22 คารบ์ อนไดออกไซดถ์ งึ 96 เปอรเ์ ซน็ ต์ บนชนั้ ปรรยากาศดาวองั คาร (Petranek, 2015)
.................................................................................................................................................21
ภาพท่ี 23 เครอ่ื ง Moxie (Petranek, 2015)...............................................................................22



ภาพท่ี 24 บา้ นน้าแขง็ ดาวองั คาร (Peter Mountain, 2007)......................................................23
ภาพท่ี 25 บา้ นคอนกรตี ดาวองั คาร (Peter Mountain, 2007)...................................................23
ภาพท่ี 26 ชดุ อวกาศคดิ คน้ โดย ดาวา นวิ แมน นกั วทิ ยาศาสตรจ์ าก MIT (Coveney, 2007) .......24
ภาพท่ี 27 สมบตั ขิ องสภาวอากาศทม่ี นุษยน์ ่าจะอยไู่ ด้ (Pollack & Sagan, 1991) .....................25
ภาพท่ี 28 บรรยากาศของดาวองั คาร หลงั การ Terraforming (Pollack & Sagan, 1991) ..........26
ภาพท่ี 29 ความยาวคล่นื คล่นื ทแ่ี ผจ่ ากดวงอาทติ ยก์ บั คล่นื ทแ่ี ผจ่ ากความรอ้ นของผวิ ดาวองั คาร
(Pollack & Sagan, 1991) .........................................................................................................27
ภาพท่ี 30 Energy Budget กรณีทเ่ี ราดดู ซบั ความรอ้ นดว้ ย GHG ไดเ้ ตม็ ประสทิ ธภิ าพ (Pollack &
Sagan, 1991)...........................................................................................................................28
ภาพท่ี 31 แนวปะทะรงั สจี ากพายสุ รุ ยิ ะของดาวองั คาร (Darth Prin, 2013) ................................29
ภาพท่ี 32 Part 1 ชว่ งเรมิ่ ตน้ (nationalgeographic, 2006) ......................................................30
ภาพท่ี 33 Part 2 ชว่ งสรา้ งชนั้ บรรยากาศ (nationalgeographic, 2006) ...................................30
ภาพท่ี 34 Part 3 ชว่ งฝน ทาการสรา้ งน้า และชนั้ บรรยากาศ (nationalgeographic, 2006).......31
ภาพท่ี 35 Part 4 ชว่ งยคุ ดอกไมบ้ านหลงั จากมกี ล่มุ พชื คลุมดนิ (nationalgeographic, 2006) ...31
ภาพท่ี 36 Part 5 ชว่ งยคุ สรา้ งแหลง่ พลงั งาน (nationalgeographic, 2006)...............................32
ภาพท่ี 37 Part 6 ชว่ งตงั้ ถน่ิ ฐาน สรา้ งวฒั นธรรม (nationalgeographic, 2006).........................32
ภาพท่ี 38 การมองเหน็ ในแนวนอน ...........................................................................................34
ภาพท่ี 39 การมองเหน็ ในแนวตงั้ ..............................................................................................34
ภาพท่ี 40 ลกั ษณะทรงเหลย่ี ม ..................................................................................................35
ภาพท่ี 41 การมองเหน็ ของรปู ทรงสเ่ี หลย่ี ม ...............................................................................35
ภาพท่ี 42 ลกั ษณะกลม โคง้ .....................................................................................................36
ภาพท่ี 43 การมองเหน็ ของลกั ษณะทรงกลม (Christina Wang, 2558).....................................36
ภาพท่ี 44 สภาพแวดลอ้ มทส่ี าคญั ต่อการก่อสรา้ งบนดาวองั คาร.................................................37
ภาพท่ี 45 โครงสรา้ งทม่ี าจากโลหะแขง็ และพลาสตกิ (Europlanet Media Centre, 2017) .........38
ภาพท่ี 46 โครงสรา้ งแบบขยายได้ (Europlanet Media Centre, 2017) ....................................39
ภาพท่ี 47 โครงสรา้ งแบบอุโมคใ์ ตด้ นิ (Europlanet Media Centre, 2017) ................................40
ภาพท่ี 48 สถาปัตยกรรมฝ้าเพดานใชใ้ นแกว้ นาแสงผลติ ดว้ ยวสั ดบุ นดาวองั คารนาแสงสวา่ งมาสใู่ น
เมอื งใตพ้ ภิ พ (Dmitry Zhuikov, Arina Ageeva, Krassimir Krastev, 2013)...............................41
ภาพท่ี 49 โครงสรา้ งจากอฐิ และหนิ ธรรมชาติ (Europlanet Media Centre, 2017) ....................42



ภาพท่ี 50 การทดลองสรา้ งอฐิ จากดนิ ดาวองั คาร .......................................................................43
ภาพท่ี 51 วสั ดตุ ่างๆ ................................................................................................................44
ภาพท่ี 52 อฐิ มอญและอฐิ มวลเบา .............................................................................................49
ภาพท่ี 53 เครอ่ื งปฏกิ รณ์นิวเคลยี ร์ Kilopower (Anderson, 2018) ...........................................49
ภาพท่ี 54 ระบบอากาศ (Air System).......................................................................................50
ภาพท่ี 55 ระบบน้าด-ี น้าเสยี (Water System) ..........................................................................51
ภาพท่ี 56 Zero Gravity Flight (Peters, 2017)........................................................................51
ภาพท่ี 57 ตวั อยา่ งแรงโน้มถ่วงบนดาวองั คาร ...........................................................................53
ภาพท่ี 58 แรงโน้มถ่วงทม่ี ผี ลกระทบต่อสถาปัตยกรรม ..............................................................53
ภาพท่ี 59 ดาวเทยี มธอี อส (EADS Astrium, 2004)..................................................................54
ภาพท่ี 60 นโยบายเกย่ี วกบั เทคโนโลยอี วกาศ...........................................................................57
ภาพท่ี 61 แรงบนั ดาลใจ (Inspiration) ......................................................................................60
ภาพท่ี 62 ผงั แนวคดิ ในการทางาน 1 ........................................................................................61
ภาพท่ี 63 ผงั แนวคดิ ในการทางาน 2 ........................................................................................61
ภาพท่ี 64 ตาแหน่งทม่ี กี ารสนบั สนุนเกย่ี วกบั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี วกาศ........................62
ภาพท่ี 65 Site 1 .......................................................................................................................63
ภาพท่ี 66 บรเิ วณรอบขา้ ง Site 1 .............................................................................................64
ภาพท่ี 67 Site 2 .......................................................................................................................64
ภาพท่ี 68 บรเิ วณรอบขา้ ง Site 2...............................................................................................65
ภาพท่ี 69 Site 3 .......................................................................................................................66
ภาพท่ี 70 บรเิ วณรอบขา้ ง Site 3...............................................................................................67
ภาพท่ี 71 Site Access..............................................................................................................68
ภาพท่ี 72 Site และสดั สว่ นพน้ื ท่ี................................................................................................68
ภาพท่ี 73 มมุ มองออกบรเิ วณ Site ............................................................................................69
ภาพท่ี 74 มมุ มองเขา้ บรเิ วณ Site..............................................................................................69
ภาพท่ี 75 โปรแกรม ..................................................................................................................70
ภาพท่ี 76 ผใู้ ชส้ อยโครงการ ......................................................................................................71
ภาพท่ี 77 ลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์โครงการ ..............................................................................71
ภาพท่ี 78 องคป์ ระกอบโครงการ................................................................................................71



ภาพท่ี 79 การแบง่ สดั สว่ นโครงการ............................................................................................72
ภาพท่ี 80 ลาดบั กจิ กรรมในสว่ นนิทรรศการ ...............................................................................73
ภาพท่ี 81 ลาดบั กจิ กรรมในสว่ นเมอื งจาลอง...............................................................................73
ภาพท่ี 82 ลาดบั การเลอื กชว่ งเวลา.............................................................................................74
ภาพท่ี 83 การเกดิ สง่ิ มชี วี ติ หลงั เกดิ แหล่งน้า ..............................................................................74
ภาพท่ี 84 การขยายตวั ของกลุ่มสงิ่ มชี วี ติ ...................................................................................75
ภาพท่ี 85 การรวมกลุ่มขนาดใหญ่จานวนมาก............................................................................75
ภาพท่ี 86 Function Diagram....................................................................................................76
ภาพท่ี 87 Model แบบรา่ งครงั้ ท่ี 1 .............................................................................................76
ภาพท่ี 88 Model แบบรา่ งครงั้ ท่ี 2 .............................................................................................77
ภาพท่ี 89 Model แบบรา่ งครงั้ ท่ี 3 .............................................................................................78
ภาพท่ี 90 แบบรา่ งแผนผงั .........................................................................................................79
ภาพท่ี 91 แปลนแบบรา่ ง...........................................................................................................79
ภาพท่ี 92 Model Develop 1.....................................................................................................80
ภาพท่ี 93 Model Develop 2.....................................................................................................80
ภาพท่ี 94 Structure Diagram ...................................................................................................81
ภาพท่ี 95 Sun Direction Plan ..................................................................................................82
ภาพท่ี 96 Solar System Detail ................................................................................................82
ภาพท่ี 97 Ground Floor Plan...................................................................................................83
ภาพท่ี 98 Basement 1 .............................................................................................................84
ภาพท่ี 99 Basement 2...........................................................................................................85
ภาพท่ี 100 Basement 3..........................................................................................................86
ภาพท่ี 101 Basement 4..........................................................................................................87
ภาพท่ี 102 Elevation................................................................................................................88
ภาพท่ี 103 Section...................................................................................................................89
ภาพท่ี 104 Perspective Exterior 1...........................................................................................90
ภาพท่ี 105 Perspective Exterior 2...........................................................................................90
ภาพท่ี 106 Perspective Interior 1............................................................................................91
ภาพท่ี 107 Perspective Interior 2............................................................................................91



ภาพท่ี 108 Perspective Interior 3............................................................................................92
ภาพท่ี 109 Perspective Interior 4............................................................................................92
ภาพท่ี 110 Model 1..................................................................................................................93
ภาพท่ี 111 Model 2..................................................................................................................94
ภาพท่ี 112 Model 3..................................................................................................................95
ภาพท่ี 113 สรปุ แนวความคดิ ของโครงการ ................................................................................96
ภาพท่ี 114 Relation Diagram ..................................................................................................97
ภาพท่ี 115 Site & Zoning ........................................................................................................98

ภาพท่ี 116 ขอ้ เสนอแนะจากคณะกรรมการครงั้ ท่ี 1.1 ................................................................99
ภาพท่ี 117 ขอ้ เสนอแนะจากคณะกรรมการครงั้ ท่ี 1.2..............................................................100
ภาพท่ี 118 ขอ้ เสนอแนะจากคณะกรรมการครงั้ ท่ี 1.3 ..............................................................101
ภาพท่ี 119 ขอ้ เสนอแนะจากคณะกรรมการครงั้ ท่ี 2 .................................................................102
ภาพท่ี 120 ขอ้ เสนอแนะจากคณะกรรมการครงั้ ท่ี 3 .................................................................103

บทที่ 1
บทนา

1. เหตผุ ลและความเป็นมา

เทคโนโลยอี วกาศในปัจบุ นั เรม่ิ มผี ลกระทบต่อมนุษยเ์ ป็นอยา่ งมาก มนุษยเ์ รม่ิ จากการคดิ คน้
สง่ิ ประดษิ ฐต์ า่ งๆเพอ่ื อานวยความสะดวกในการใชช้ วี ติ ประจาวนั ตอ่ มามนุษยส์ ามารถใชเ้ ทคโนโลยี
เพอ่ื วจิ ยั สารวจทรพั ยากรต่างๆในโลก จากการทศ่ี กึ ษาเรมิ่ เหน็ การเปลย่ี นแปลงของทรพั ยากรของ
โลกทก่ี าลงั จะหมดไป มนุษยจ์ งึ มแี นวคดิ ทจ่ี ะขยายขอบเขตการศกึ ษาเพ่อื เตรยี มรบั มอื กบั ปัญหาท่ี
กาลงั จะเกิดข้นึ เม่อื มกี ารพฒั นาเทคโนโลยีบวกกบั จินตนาการของมนุษย์ มนุษย์จึงเริ่มศึกษา
เกย่ี วกบั การใชเ้ ทคโนโลยเี พอ่ื เดนิ ทางไปยงั อวกาศ และสารวจทรพั ยากรต่างๆภายนอกโลก

ความสาเรจ็ ทผ่ี ่านมามนุษยไ์ ดส้ ่งดาวเทยี มดวงแรกของโลกออกไปนอกโลกคอื สปุตนิก 1
เม่อื วนั ท่ี 4 ตุลาคม พ.ศ. 2500 โดยสาธารณโซเวยี ต-รสั เซยี (ปัจจุบนั คอื ประเทศรสั เซยี ) ทาการ
โคจรอยใู่ นวงโคจรของโลกอยจู่ นถงึ วนั ท่ี 4 มกราคม พ.ศ. 2501 จาการสง่ สปุตนิก 1 ขน้ึ ไปทาใหไ้ ด้
ขอ้ มลู เกย่ี วกบั สภาพบรรยากาศของโลกมากขน้ึ จากนนั้ มนุษยจ์ งึ ไดม้ กี ารพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศ
กนั อย่างรวดเรว็ จนปัจจุบนั มดี าวเทยี มโคจรอยรู่ อบๆ โลกราว 5,000 ดวง และมยี านอวกาศขน้ึ ลง
จานวนมาก เหตุการณ์สาคญั ในประวตั ศิ าสตรก์ ารเดนิ ทางส่อู วกาศของมนุษย์ เช่น ยรู ิ เอ กากา
รนิ ชาวรสั เซยี นักบนิ อวกาศคนแรกท่ขี น้ึ ไปสู่วงโคจร และเดนิ ทางรอยโลกด้วยยานวอสตอค 1
ต่อมาสหรฐั อเมรกิ ากป็ ระสบความสาเรจ็ ในการส่งมนุษยไ์ ปสารวจดวงจนั ทรเ์ ป็นครงั้ แรก เม่อื วนั ท่ี
16 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 ดว้ ยยานอพพอลโล 11 จากนนั้ มนุษยไ์ ดพ้ ฒั นาโครงการยานขนสง่ อวกาศ
มากขน้ึ และยงั มอี กี หลาย ๆ ประเทศ ต่างกต็ งั้ โครงการสารวจอวกาศ โดยไดส้ ง่ ดาวเทยี มและยาน
อวกาศขน้ึ ไปโครจรรอบโลกมากมาย รวมทงั้ การสง่ ยานอวกาศไปสารวจดาวเคราะหต์ ่าง ๆ และมี
การรว่ มมอื กนั ระหว่างประเทศ เพ่อื จดั ตงั้ โครงการสถานอวกาศเป็นสถานีทดลองทางวทิ ยาศาสตร์
บนหว้ งอวกาศ นอกจากน้ีมนุษยย์ งั มคี วามคดิ ทจ่ี ะขน้ึ ไปตงั้ ถน่ิ ฐานบนดาวเคราะหด์ วงอน่ื นายอลี อน
มสั ก์ (Elon Musk) ผู้นาด้านเทคโนโลยี CEO บรษิ ัทสเปซเอ็กซ์ (SpaceX) ได้ประกาศวสิ ยั ทศั น์
ล่าสุดท่จี ะขน้ึ ไปสร้างเมอื งบนดาวองั คารในงานประชุม International Astronautical Congress ท่ี
แมก็ ซโี ก ซง่ึ คาดการณ์ว่าโครงการจะสาเรจ็ ภายในปี ค.ศ.2024 ทาใหเ้ ป็นทส่ี นใจของนานาประเทศ
ในขณะน้ี

2

นอกจากความรว่ มมอื ทางนานาชาตใิ นการพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศ ในขณะน้ปี ระเทศไทยก็
ไดใ้ ชป้ ระโยชน์จากอวกาศในดา้ นต่าง ๆ มากมาย ทงั้ เพ่อื การสารวจ การแสวงหาทรพั ยากร การ
วจิ ยั และพฒั นาทางดา้ นการแพทย์ การตดิ ต่อสอ่ื สารและการถ่ายทอดรายการบนั เทงิ ผา่ นดาวเทยี ม
การใชง้ านดาวเทยี มสารวจและดาวเทยี มส่ือสารเพ่อื ภารกจิ ดา้ นความมนั่ คงและการทหาร การใช้
เทคโนโลยใี นอวกาศเพ่อื การป้องกนั และตดิ ตามสถานการณ์ภยั พบิ ตั ิ การศกึ ษาชนั้ บรรยากาศเพ่อื
รองรบั การและเตรยี มความพรอ้ มกบั การเปลย่ี นแปลงทอ่ี าจจะเกดิ ขน้ึ ไดใ้ นอนาคต ขณะน้ีประเทศ
ไทยกาลงั จะจดั สรา้ งดาวเทยี มขน้ึ ใหม่ โดยจะเป็นดาวเทยี มท่มี รี ะบบเทคโนโลยซี ่งึ ออกแบบมาดี
ทส่ี ุดในโลก เพ่อื ทดแทนดาวเทยี ม “ไทยโชต” คอื ดาวเทยี ม “ธอี อส-2” เป็นหน่ึงในมาตรการสาคญั
ของรฐั บาลทต่ี อ้ งการ การสง่ เสรมิ และพฒั นาขดี ความสามารถของภาคอตุ สาหกรรมและบรกิ ารดา้ น
เทคโนโลยอี วกาศ เพ่อื ให้ประเทศไทยเขา้ สู่อุตสาหกรรมอวกาศได้อย่างเต็ม รูปแบบ เน่ืองจาก
ปัจจุบนั หลายประเทศใหค้ วามสาคญั กบั การลงทุนในประเทศไทยเป็นอยา่ งมาก ประกอบกบั รฐั บาล
ไทยมเี ป้าหมายทช่ี ดั เจนในการพฒั นาธุรกจิ และอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยง่ิ อุตสาหกรรมทใ่ี ช้
เทคโนโลยขี นั้ สงู เพอ่ื ใหส้ ามารถตอบสนองกบั นโยบายไทยแลนด์ 4.0

จากการประเทศไทยมุ่งพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและสรา้ งนวตั กรรมทางเทคโนโลยใี หม่ๆ
ทาให้สถาปัตยกรรมเข้ามามีส่วนร่วมในการรองรบั กิจกรรมทางการศึกษาวิจยั และการพฒั นา
เศรษฐกจิ เกดิ ขน้ึ เพ่อื ตอบสนองการใชง้ านใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุดและการพฒั นาภาพลกั ษณ์ของ
วงการวทิ ยาศาสตรอ์ วกาศและเทคโนโลยขี องไทยใหเ้ ป็นทป่ี ระจกั ษแ์ กภ่ าคองคก์ รระดบั โลก

2. วตั ถปุ ระสงค์
2.1. เพ่ือการส่งเสริมศักยภาพความรู้ความสามารถและสร้างแรงบันดาลใจในการคิดค้น
เทคโนโลยใี หมๆ่ ใหก้ บั บคุ ลากรภายในประเทศ
2.2. เพอ่ื กระตุน้ เศรษฐกจิ ภายในประเทศและความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ
2.3. เพอ่ื กระตุน้ การศกึ ษาดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี วกาศของไทย
2.4. เพ่ือส่งเสริมนวตั กรรมสมยั ใหม่และกา้ วไปยงั Thailand 4.0 ตามนโยบาลของภาครัฐ

3. ประโยชน์ท่ีมีต่องานสถาปัตยกรรม
3.1. เป็นสถานทซ่ี ง่ึ ใหค้ วามรแู้ ละแรงบลั ดาลใจแกป่ ระชาชน
3.2. รองรบั การพฒั นานวตั กรรมและเทคโนโลยใี หมๆ่
3.3. อานวยความสะดวกสาหรบั ผทู้ เ่ี ขา้ มาลงทนุ ตดิ ต่องานภายในประเทศและต่างประเทศ

3

4. ขอบเขตของการศึกษาวิทยานิพนธ์
4.1. ศกึ ษาการความตอ้ งการการใชพ้ น้ื ทเ่ี กย่ี วกบั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี วกาศ
4.2. ศกึ ษาโครงการ ความเป็นไปได้ของโครงการและการเลอื กทาเลท่ตี งั้ ของโครงการ โดย
คานึงถงึ สภาพปัจจบุ นั
4.3. ศกึ ษาเกย่ี วกบั ขอ้ กาหนด กฎหมายต่างๆ ทม่ี ผี ลต่อโครงการ
4.4. ศกึ ษาการออกแบบสถาปัตยกรรมประเภทอาคารทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เพ่อื ตอบสนองความตอ้ งการ
แกผ่ ใู้ ชง้ านหลกั
4.5. ศกึ ษาลกั ษณะอาคารทม่ี คี วามสอดคลอ้ งคลา้ ยคลงึ กนั เช่น อาคารวทิ ยาศาสตร์ สถานีวจิ ยั
สารวจอวกาศ เป็นตน้

5. แผนการดาเนินงานวิทยานิพนธท์ างสถาปัตยกรรม
5.1. วางแผนการปฏบิ ตั งิ าน
5.2. รวบรวมขอ้ มลู ทส่ี นใจเพอ่ื เป็นประโยชน์แกก่ ารออกแบบ
5.3. นาเสนอขอ้ มูลท่สี นใจและเสนอประเดน็ ทส่ี นใจเก่ยี วกบั การออกแบบ และพฒั นาขอ้ มูลท่ี
ตอ้ งการจะนาเสนอ
5.4. รวบรวมขอ้ มูลประเดน็ ท่ตี ้องการนาเสนอ เพ่อื นาไปสู่โปรแกรมทางสถาปัตยกรรมท่จี ะ
เกดิ ขน้ึ
5.5. สรปุ โครงการและวเิ คราะหค์ วามเป็นไปไดข้ องโครงการตามกระบวนการออกแบบ
5.6. พฒั นาแบบรา่ งตามแนวคดิ ในการออกแบบ

6. ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั ของการศึกษาวิทยานิพนธ์
6.1. ไดร้ บั ความรแู้ ละประสบการณ์เกย่ี วกบั การคน้ ควา้ และพฒั นาความรดู้ า้ นเทคโนโลยอี วกาศ
6.2. เขา้ ใจถงึ ปัญหาเรอ่ื งการพฒั นาความรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละอวกาศของประเทศมากขน้ึ และ
สามารถนาไปปรบั ใชใ้ นการออกแบบเพอ่ื กระตุน้ การพฒั นาความรมู้ ากขน้ึ
6.3. สามารถเขา้ ใจการออกแบบและคานึงถึงประโยชน์ท่จี ะได้รบั ต่อผูใ้ ช้สอยอาคารได้อย่าง
สงู สดุ

บทที่ 2
การศึกษาข้อมูลวรรณกรรมและทฤษฎีที่เก่ียวข้อง

1. ดาวองั คาร (Mars)
1.1. ข้อมลู ทวั่ ไปของดาวองั คาร
ดาวเคราะห์ลาดบั ท่ีส่จี ากดวงอาทิตย์ดาวองั คารเต็มไปด้วยฝ่ ุนและเย็นในลกั ษณะเป็น

ทะเลทรายท่มี ชี นั้ บรรยากาศบางมาก ดาวองั คารเป็นหน่ึงในดาวท่มี กี ารสารวจมากทส่ี ุดในระบบ
สุริยะ ภารกิจขององค์การนาซาได้พบหลักฐานมากมายว่าดาวองั คารเคยช้ืนและอุ่นโดยมีชนั้
บรรยากาศหนาซง่ึ เกดิ ขน้ึ เมอ่ื พนั ลา้ นปีมาแลว้

ดาวองั คารไดร้ บั การยกยอ่ งจากชาวโรมนั ใหเ้ ป็นเทพเจา้ แหง่ สงครามเพราะมลี กั ษณะเป็นสี
แดง ตวั อยา่ งเช่น ชาวอยี ปิ ตเ์ รยี กวา่ "Desher" ซง่ึ หมายถงึ "สแี ดง" เหตุผลทค่ี นสว่ นมากจะเรยี กวา่
"ดาวเคราะหแ์ ดง" เพราะมแี ร่ธาตุเหลก็ เป็นองค์ประกอบในดาวองั คารทาใหเ้ กดิ สนิม หรอื “สนิม
เหลก็ ” ทาใหพ้ น้ื ผวิ ดแู ด (NASA’s Science Mission Directorate., 2018) ง

ภาพท่ี 1 องคป์ ระกอบของดาวองั คารเปรยี บเทยี บกบั โลก (NASA’s Science Mission Directorate., 2018)

5

1.1.1. ขนาดและระยะทาง
มรี ศั มี 2,106 ไมล์ (3,397 กโิ ลเมตร) ดาวองั คารมขี นาดประมาณคร่งึ หน่ึงของโลก จาก
ระยะทางเฉล่ยี 142 ล้านไมล์ (227.94 ล้านกโิ ลเมตร) ดาวองั คารห่างจากดวงอาทติ ย์ 1.5 หน่วย
ดาราศาสตร์ เป็นหน่วยดาราศาสตร์ (ย่อมาจาก AU) คือระยะทางจากดวงอาทิตย์สู่โลก จาก
ระยะไกลน้ีจะใชเ้ วลา 13 นาทใี นการเดนิ ทางจากดวงอาทติ ย์ไปยงั ดาวองั คาร (NASA’s Science
Mission Directorate., 2018)

ภาพท่ี 2 เปรยี บเทยี บขนาดของดาวองั คารกบั โลก (NASA’s Science Mission Directorate., 2018)

1.1.2. วงโคจรและการหมนุ
เม่อื ดาวองั คารโคจรรอบดวงอาทติ ยจ์ ะมกี ารหมุนหน่ึงครงั้ ทุก 24.6 ชวั่ โมงซง่ึ คลา้ ยกบั วนั
หน่ึงบนโลก (23.9 ชวั่ โมง) วนั องั คารเรยี กว่า Sols -ย่อมาจาก "solar day" ปีหน่ึงบนดาวองั คารมี
ระยะเวลาเทา่ กบั 687 วนั โลก
แกนหมุนของดาวองั คารมกี ารเอยี ง 25 องศาเทยี บกบั ระนาบของวงโคจรรอบดวงอาทติ ย์
ซง่ึ เป็นหน่ึงในความคลา้ ยคลงึ กนั กบั โลกซง่ึ มคี วามลาดเอยี ง 23.4 องศา ทาใหด้ าวองั คารมฤี ดกู าลท่ี
คลา้ ยกบั โลกแต่กม็ คี วามแตกต่างกนั ในเร่อื งของระยะเวลาในแต่ละฤดูกาลซ่งึ จะยาวนานกว่าโลก
เน่ืองจากดาวองั คารใช้เวลานานกว่าโลกในการโคจรรอบดวงอาทติ ย์ ในขณะท่โี ลกนัน้ มฤี ดูกาล
กระจายอยตู่ ลอดปีเป็นเวลา 3 เดอื น (หรอื หน่ึงในสข่ี องปี) บนดาวองั คารในแต่ละฤดูกาลจะมคี วาม
ยาวแตกตา่ งกนั ไป (NASA’s Science Mission Directorate., 2018)
1.1.3. การสรา้ ง
เม่อื ระบบสุรยิ ะเกดิ ขน้ึ มาในรูปแบบปัจจุบนั ประมาณ 4.5 พนั ลา้ นปีก่อนดาวองั คารเกดิ ขน้ึ
เม่อื แรงโน้มถ่วงดงึ ก๊าซและฝ่นุ หมุนเวยี นกลายเป็นดาวเคราะหด์ วงทส่ี จ่ี ากดวงอาทติ ย์ ดาวองั คารมี

6
ขนาดประมาณครง่ึ หน่ึงของโลกและคล้ายกบั ดาวเคราะหด์ วงอ่นื ๆ ซ่งึ มแี กนกลางปกคลุมดว้ ยหนิ
และเปลอื กแขง็ (NASA’s Science Mission Directorate., 2018)

1.1.4. โครงสรา้ ง
ดาวองั คารมแี กนหนาแน่นอย่ตู รงกลางระหว่างรศั มี 930 ถงึ 1,300 ไมล์ (1,500 ถงึ 2,100
กโิ ลเมตร) มสี ่วนประกอบมาจากเหลก็ นิกเกลิ และกามะถนั ลอ้ มรอบแกนเป็นชนั้ หนิ ทม่ี คี วามหนา
ระหว่าง 770 ถงึ 1,170 ไมล์ (1,240 ถงึ 1,880 กโิ ลเมตร) หนาและสูงกว่านัน้ เป็นเปลอื กโลกท่ที า
จากเหลก็ แมกนีเซยี ม อลมู เิ นียม แคลเซยี ม และโพแทสเซยี ม เปลอื กดาวองั คารมคี วามลกึ ประมาณ
6 ถงึ 30 ไมล์ (10 ถงึ 50 กโิ ลเมตร) (NASA’s Science Mission Directorate., 2018)

ภาพท่ี 3 โครงสรา้ งดาวองั คาร (NASA’s Science Mission Directorate., 2018)

1.1.5. พืน้ ผิว
ดาวองั คารเป็นดาวเคราะหห์ นิ (Terrestrial planet) พน้ื ผวิ แขง็ มเี ปลอื กเช่นโลก โดยมกี าร
เปลย่ี นแปลงจากภูเขาไฟในในอดตี การชนปะทะจากอุกกาบาต และจากพายุพดั หอบ หนิ ฝ่นุ ทราย
(Dust storm) นอกจากนัน้ ยงั มแี ผ่นดนิ ไหวทร่ี ุนแรงมากว่าโลก เน่ืองจากเปลอื กดาวองั คารมคี วาม
อ่อนแอกว่าโลก ฉายาของดาวอังคารคือ ดาวเคราะห์สีแดง (Red Planet) เน่ืองจากพ้ืนผิว
ประกอบด้วยแร่เหล็ก (Iron minerals) เกิดสนิม (Oxidize) เหนือผิวดินเต็มไปด้วยฝ่ ุนเล็กๆจึง
มองเหน็ เป็นสแี ดง (NASA’s Science Mission Directorate., 2018)

ภาพท่ี 4 ลกั ษณะพน้ื ผวิ ของดาวองั คาร (NASA’s Science Mission Directorate., 2018)

7
นักวทิ ยาศาสตรเ์ ช่อื วา่ ดาวองั คารประสบอุทกภยั ครงั้ ใหญ่ เม่อื ประมาณ 3.5 พนั ลา้ นปีก่อน
แมว้ ่าจะไม่ทราบว่าน้าท่วมยุคโบราณบนดาวองั คาร เกดิ มาจากไหน นานแค่ไหน หรอื เม่อื ใดกต็ าม
การสารวจพบแหล่งทอ่ี ดุ มดว้ ยไฮโดรเจน บนขวั้ ดา้ นเหนือแสดงใหเ้ หน็ น้าแขง็ ขนาดใหญ่ใกลพ้ น้ื ผวิ
ถา้ น้าแขง็ ทเ่ี ป็นน้าแทรกซมึ ไปทวั่ ดาวองั คารในชนั้ ใตด้ นิ กค็ งอาจยงั คงฝังตวั อยเู่ ป็นจานวนไมน่ ้อยท่ี
จะสามารถนาขน้ึ มาใชไ้ ด้ (NASA’s Science Mission Directorate., 2018)

ภาพท่ี 5 บนดาวองั คารทพ่ี บน้าในรปู น้าแขง็ (NASA’s Science Mission Directorate., 2018)

1.1.6. บรรยากาศ
ดาวองั คารมบี รรยากาศบางซ่ึงประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจน และ
อารก์ อน ดวงตาของเราจะเหน็ ทอ้ งฟ้าบนดาวองั คารมดื และเป็นสแี ดงเน่ืองจากฝ่นุ ละอองลอยอยใู่ น
ชนั้ บรรยากาศซง่ึ ต่างจากโลกทเ่ี หน็ เป็นสนี ้าเงนิ (NASA’s Science Mission Directorate., 2018)

ภาพท่ี 6 เปรยี บเทยี บชนั้ บรรยากาศของดาวองั คารกบั โลก (NASA’s Science Mission Directorate., 2018)

8
อุณหภูมบิ นดาวองั คารอาจสูงถึง 70 องศาฟาเรนไฮต์ (20 องศาเซลเซียส) หรือต่าสุด
ประมาณ -225 องศาฟาเรนไฮต์ (-153 องศาเซลเซยี ส) เน่ืองจากบรรยากาศมคี วามบางมากทาให้
ความรอ้ นจากดวงอาทติ ยส์ ะทอ้ นกลบั ออกไปจากดาวไดอ้ ยา่ งงา่ ยดาย
1.1.7. ดวงจนั ทร์
เดอื นสงิ หาคมปี ค.ศ. 1877 ดวงจนั ทร์ดมี อส (Deimos) และดวงจนั ทรโ์ ฟบอส (Phobos)
ของดาวองั คารถูกพบโดย Asaph Hall และอกี 94 ปีต่อมายานอวกาศ Mariner 9 ไดม้ โี อกาสเขา้
ใกลส้ งั เกตการณ์ดวงจนั ทรท์ งั้ สองขณะโคจรรอบดาวองั คาร นักวทิ ยาศาสตรต์ งั้ ขอ้ สงั เกตว่าอาจจะ
เป็นดาวเคราะหน์ ้อยถูกแรงดงึ ดูดดาวองั คารดงึ เขา้ มาและมี มวลน้อยเกนิ ไปสาหรบั แรงโน้มถ่วง
ลกั ษณะไมก่ ลมนกั แตค่ ลา้ ยกบั หวั มนั ฝรงั่ (NASA’s Science Mission Directorate., 2018)

ภาพท่ี 7 ดวงจทั รโ์ ฟบอส และ ดมี อส (NASA’s Science Mission Directorate., 2018)

1.1.8. สนามแม่เหลก็
ดาวองั คารไม่มสี นามแม่เหลก็ โลกในวันน้ี แต่พน้ื ท่ขี องเปลอื กดาวองั คารในซกี โลกใต้เป็น
แม่เหล็กสูงแสดงใหเ้ หน็ ร่องรอยของสนามแม่เหล็กจาก 4 พนั ล้านปีท่ผี ่านมา (NASA’s Science
Mission Directorate., 2018)

9

1.2. ภารกิจสารวจดาวองั คาร
การเดนิ ทางของนักบนิ อวกาศเกดิ ขน้ึ อย่างต่อเน่ืองเป็นเวลาหลายทศวรรษ ความ

สนใจเก่ยี วกบั ดาวองั คารเกดิ ข้นึ ครงั้ แรกเม่อื มคี ้นพบของนักดาราศาสตร์ในราว 200 ปีท่ผี ่านมา
ตงั้ แต่

ตารางท่ี 1 ลาดบั ภารกจิ สารวจดาวองั คาร

ช่วงเวลาปี ค.ศ. เหตกุ ารณ์
1609 โจฮนั เนส เคปเลอร์ สารวจพบวา่ ดาวองั คารมวี งโคจรเป็นรปู วงรี

1700 มกี ารรา่ งภาพพน้ื ผวิ ดาวองั คารโดย ครสิ เตยี น ไฮเกนส์

1877 จีโอวานนี เชพพาเรลล่ี ได้ส่องกล้องเห็นแนวคลองบนดาวองั คารหรอื ท่ี
เรยี กว่า canal หรอื เสน้ ทางคล้ายร่องน้า การคน้ พบครงั้ น้ีจุดประกายใหแ้ ก่
นกั ดาราศาสตรอ์ น่ื ๆ

1894 เพอร์ซวิ าล โลเวลล์ ได้สร้างหอดูดาวท่รี ฐั อรโิ ซนา สหรฐั อเมรกิ า เพ่อื เฝ้า
สงั เกตการณ์ดาวองั คาร นอกจากน้ียงั สามารถสรา้ งแผนทพ่ี น้ื ผวิ ดาวองั คาร
เพม่ิ เติมจากท่มี อี ยู่เดมิ ด้วย โลเวลล์น้ีเองคอื ผูท้ ่พี ยายามพสิ ูจน์ว่ามคี ลอง
ชลประทานหรอื แนวคลองขดุ บนดาวองั คาร

1965 องคก์ ารนาซาของสหรฐั ฯ ไดส้ ง่ ยานอวกาศ มารเิ นอร์ 4 ไปสารวจดาวองั คาร
เป็นครงั้ แรก และสง่ ภาพพน้ื ผวิ ดาวองั คารกลบั มายงั โลก 21 ภาพ

1976 ยานมาร(์ องคก์ ารอวกาศแหง่ อดตี สหภาพโซเวยี ต) / ยานไวกง้ิ 1 และ 2

1997 ยานพาธไฟเดอร์ พยายามคน้ หาร่องรอยสง่ิ มชี วี ติ บนดาวองั คาร / ยานโก
ลบอลเซเวอรเ์ ยอร์ / ยานโนโซมขิ องญป่ี ่นุ / ยานมารเ์ อก็ เพรส / ยานบเี กลิ 2
/ ยานสปิรติ / ยานออพพอรท์ นู ิต้ี

2003 โครงการขององค์กรอวกาศยุโรป (European Space Agency-ESA) ได้ส่ง
ยานอวกาศช่อื “ ด่วนส่ดู าวองั คาร ” ( Mars Express ) ไปทาการสารวจซ่งึ
วตั ถุประสงคห์ ลกั ของปฏบิ ตั กิ าร คอื การสารวจหาน้าใตพ้ น้ื ผวิ (subsurface

10

water) รวมทงั้ ท้ิงยานแลนเดอร์ลงบนพ้นื ผวิ ดาวองั คารเพ่อื สารวจสภาพ
บรรยากาศ โครงสรา้ งและลกั ษณะทางธรณวี ทิ ยา

2004 มี 6 ปฏบิ ตั กิ ารบนดาวองั คาร ประกอบดว้ ยยานแลนเดอร์ 3 ลาและยานโคจร
อกี 3 ลา รวมทงั้ ยานมารส์ โอดสิ ซี และ มารส์ โกลบอล เซอรเ์ วเยอรท์ โ่ี คจร
อยู่รอบดาวองั คาร การส่อื สารและส่งขอ้ มูลระหว่างยานโคจรสู่ศูนยบ์ นโลก
อาจเกดิ การตดิ ขดั ไดเ้ น่ืองจากช่องทางการส่อื สารทจ่ี ากดั นาซ่าเตรยี มสรา้ ง
สถานีเครอื ขา่ ยอวกาศหว้ งลกึ (Deep Space Network) ใกลก้ รุงแคนเบอรร์ า
ในออสเตรเลยี กรงุ แมดรดิ ในสเปน และโกลดส์ โตนในแคลฟิ อรเ์ นีย ทงั้ น้ีเพอ่ื
รบั มอื กบั สภาพตดิ ขดั น้ี

1.2.1. โครงการตวั อย่างภารกิจสารวจดาวองั คารระดบั นานาชาติ
1.2.1.1. โครงการ Mars 2020
โครงการ Mars 2020 อยู่ภายใต้ความรบั ผดิ ชอบขององคก์ ารนาซา (NASA) โดย
โครงการไดร้ บั จดั สรรงบประมาณทงั้ สน้ิ 130 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั โดยยานสารวจ Mars
2020 น้ีถูกออกแบบมาคลา้ ยๆ กบั ยานสารวจควิ รอิ อสซติ ้ี เพยี งแต่ตวั ยานสารวจ Mars
2020 น้ีจะถูกบรรจุเครอ่ื งมอื วทิ ยาศาสตรท์ ม่ี วี ตั ถุประสงคใ์ นการทางานต่างกนั (Brown,
2014)

ภาพท่ี 8 Mars 2020 Rover (Brown, 2014)

11
เครอ่ื งมอื วทิ ยาศาสตรห์ ลกั ๆ ทจ่ี ะถกู นาไปบรรจุบนยานสารวจ Mars 2020 มที งั้ สน้ิ
7 ชดุ เครอ่ื งมอื ดว้ ยกนั ซง่ึ แต่ละตวั มหี น้าทแ่ี ละเป้าหมายวทิ ยาศาสตรด์ งั ตอ่ ไปน้ี
(1.) Mast cam-Z เป็นกลอ้ งถ่ายภาพพาโนรามาแบบสามมติ ิ ทม่ี กี าลงั ซมู สงู ทาให้
สามารถมองเหน็ พ้นื ผวิ ดาวองั คารในมุมกวา้ ง และสามารถมองเหน็ สภาพของพน้ื ผวิ
ดาวองั คารในระยะไกลได้ ซ่งึ จะมปี ระโยชน์อย่างมากกบั การเคล่อื นท่ขี องยาน Mars
2020 ในขณะปฏบิ ตั ภิ ารกจิ
(2.) Super Cam เป็ นเคร่ืองมือท่ีจะทาหน้าท่ีวิเคราะห์ธาตุองค์ประกอบ
สารประกอบอินทรีย์ของหินและดินบนดาวอังคาร โดยความพิเศษของเคร่ืองมือ
วทิ ยาศาสตรช์ ุดน้ีคอื สามารถวเิ คราะหข์ อ้ มลู ขา้ งตน้ ไดใ้ นระยะไกล

ภาพท่ี 9 การทางานของ Super Cam (Brown, 2014)

(3.) Planetary Instrument for X-ray Lithochemistry (PIXL) คอื สเปกโตรมเิ ตอรท์ ่ี
มคี วามละเอยี ดสูง จะทาหน้าท่ตี รวจวดั คุณสมบตั ิของสเปกตรมั คล่นื แม่เหล็กไฟฟ้า
ในช่วงความยาวคล่นื รงั สเี อก็ ซเ์ พ่อื ระบุชนิดของสสาร จากกลุ่มตวั อย่างบนพ้ืนผวิ ดาว
องั คาร

( 4 . ) Scanning Habitable Environments with Raman and Luminescence for
Organics and Chemicals (SHERLOC) คอื สเปกโตรมเิ ตอรค์ วามละเอยี ดสูงทาหน้าท่ี
ตรวจวัดคุณสมบัติของสเปกตรัมคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้ าในช่วงความยาวคล่ืนรังสี

12

อลั ตราไวโอเลต เป้าหมายเพ่อื วเิ คราะหห์ าร่องรอยของสงิ่ มชี วี ติ บนพน้ื ผวิ ดาวองั คาร
โดยการวิเคราะห์หาอะตอมของคาร์บอนไดออกไซด์ รวมถึงสภาพแวดท่ีมีน้าเป็น
องคป์ ระกอบในอดตี

(5.) Mars Oxygen ISRU Experiment (MOXIE) เป็นเคร่อื งแยกออกซเิ จนบนดาว
อังคาร ด้วยวิธีการนาพลังงานเข้าไปแยกออกซิเจนออกมาจากอะตอมของ
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO 2) ซ่งึ มปี รมิ าณมากท่สี ุดในชนั้ บรรยากาศของดาวองั คาร
หากเคร่อื งมอื ชุดน้ีปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ไดต้ ามทน่ี ักวทิ ยาศาสตรว์ างไวน้ ัน่ กเ็ ป็นสญั ญาณท่ดี ี
ไม่แน่ว่าเคร่อื งมอื ชุดน้ีอาจจะมปี ระโยชน์กบั มนุษย์ท่จี ะเดินทางไปสารวจหรอื สร้าง
อาณานิคมบนดาวองั คารต่อไปในอนาคต

ภาพท่ี 10 เครอ่ื ง Moxie (Brown, 2014)

(6.) Mars Environmental Dynamics Analyzer (MEDA) เป็ นชุดเคร่ืองมือท่ีใช้
ตรวจวัดความเร็วและทิศทางลม ความดัน ความช้ืน ผลสุดท้ายอาจจะทาให้
นักวทิ ยาศาสตร์มคี วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั อุตุนิยมวทิ ยาบนดาวองั คาร รวมถึงวเิ คราะห์
ขนาดและรปู รา่ งของฝ่นุ บนดาวองั คาร

(7.) Radar Imager for Mars' Subsurface Exploration (RIMFAX) เป็นชุดเครอ่ื งมอื
ท่ีตรวจสอบโครงสร้างทางธรณีวิทยาบนดาวอังคาร ด้วยเรดาร์ซ่ึงจะส่งคล่ืน
แม่เหลก็ ไฟฟ้าออกไปยงั วตั ถุท่เี ป็นเป้าหมายและวดั ความถ่ขี องคล่นื แม่เหลก็ ไฟฟ้าท่ี
สะทอ้ นกลบั มาจากพน้ื ทเ่ี ป้าหมาย เทา่ นี้นกั วทิ ยาศาสตรก์ จ็ ะสามารถเขา้ ใจลกั ษณะทาง
ธรณวี ทิ ยาของพน้ื ผวิ ดาวองั คารได้

13
1.2.1.2. Mars Orbiter Mission

ภารกจิ มาร์สออร์บิเตอร์ (Mars Orbiter Mission) ท่เี รยี กสนั้ ๆ ว่า “มอม” (MOM)
หรือท่ีรู้จักกันในนาม “ยานอวกาศมังคาลยาน (Mangalyaan)” ของชาวอินเดีย ยาน
อวกาศมงั คาลยาน ถูกสง่ ขน้ึ ไปปฏบิ ตั ภิ ารกจิ เม่อื วนั ท่ี 5 พ.ย. 2556 นบั เป็นยานอวกาศลา
แรกของอนิ เดยี และเอเชยี ท่ขี น้ึ ไปศึกษาดาวองั คารโดยการโคจรรอบดาวองั คารเป็นวงรี
(ระยะทางทโ่ี คจรใกลด้ าวองั คารมากทส่ี ุดคอื 337 กโิ ลเมตร และโคจรอยหู่ า่ งดาวองั คารมาก
ท่ีสุด 80,000 กิโลเมตร) ตามแผนภารกิจแล้วยานจะเดินทางถึงวงโคจรของดาวองั คาร
ประมาณวนั ท่ี 24 กนั ยายน 2557 (ใชเ้ วลาในการเดนิ ทางประมาณ 300 วนั )

ภาพท่ี 11 ยานอวกาศมงั คาลยาน (Mangalyaan) (Brown, 2014)

มเี ป้าหมายในการศกึ ษาสาคญั ๆ อยู่ 3 อยา่ งไดแ้ ก่
(1.) เพ่อื ตรวจวดั ปรมิ าณแก๊สมเี ทน (CH4) และไอโซโทปของไฮโดรเจน (ดวิ เทอ
เรยี ม)
(2.) ศกึ ษาสภาพแวดลอ้ มของชนั้ บรรยากาศชนั้ นอกของดาวองั คาร
(3.) บนั ทึกภาพของพ้นื ผวิ ของดาวดาวองั คารในช่วงความยามคล่ืนท่ตี ามนุษย์
มองเหน็ ได้

14

ภาพท่ี 12 แสดงใหเ้ หน็ กระบวนการการเกดิ แก๊สมเี ทนบนดาวองั คาร (Brown, 2014)

ยานอวกาศมงั คาลยานอยู่ภายใต้ความรบั ผดิ ชอบขององค์การวจิ ยั ด้านอวกาศ
ประเทศอนิ เดยี (Indian Space Research Organization : ISRO) ตวั ยานถูกออกแบบใหม้ ี
ลกั ษณะเป็นสเ่ี หลย่ี มลูกบาศกค์ ลา้ ยๆ กบั ยานอวกาศจนั ทรา -1 (Chandrayaan-1) ทถ่ี ูกสง่
ขน้ึ ไปโคจรรอบดวงจนั ทรเ์ พอ่ื ทาแผนทพ่ี น้ื ผวิ ของดวงจนั ทรแ์ บบสามมติ ิ รวมถงึ วสั ดทุ ใ่ี ชใ้ น
การสรา้ งยานอวกาศทงั้ สองนัน้ ก็เหมอื นกนั ส่งผลใหอ้ นิ เดยี ใชง้ บประมาณในการดาเนิน
โครงการน้อยมาก

ภาพท่ี 13 การสารวจทส่ี าคญั ของแต่ล่ะประเทศ

15

2. ข้อมลู สนันสนุนการสร้างอาณานิคมบนดาวองั คาร

2.1. ทฤษฎี Maslow's Hierarchy of Needs

ความตอ้ งการพน้ื ฐาน เป็นปัจจยั ทส่ี าคญั มากอย่างหน่ึงของความแตกต่างระหว่าง
บุคคล มาสโลว์ (Maslow) กล่าววา่ ความตอ้ งการพน้ื ฐานของมนุษย์ เป็นสญั ชาตญาณทต่ี ดิ
ตวั มนุษยม์ าแต่กาเนิดมอี ยู่ 5 ขนั้ ตอน เรมิ่ จากต่าสดุ ไปสงู สดุ โดยทม่ี นุษยจ์ าเป็นตอ้ งไดร้ บั
การตอบสนองความต้องการขนั้ ต่าสุดจนเป็นท่ีพอใจก่อนท่ีความต้องการขนั้ สูงความ
ตอ้ งการของมนุษยแ์ ตล่ ะคนจะแตกต่างกนั ไป และพฤตกิ รรมหน่ึงกส็ ามารถตอบสนองความ
ตอ้ งการหลายๆอยา่ งไดใ้ นเวลาเดยี วกนั

ภาพท่ี 14 ทฤษฎี Maslow กบั ความตอ้ งการพน้ื ฐาน

1. ความต้องการทางด้านร่างกาย (Basic Physiological Need) เป็นความ
ตอ้ งการเกย่ี วกบั ปัจจยั พน้ื ฐานทส่ี าคญั ต่อการดารงชวี ติ เช่น อากาศ อาหาร เคร่อื งนุ่งห่ม
การพกั ผอ่ น การขบั ถ่ายเป็นตน้

2. ความต้องการความปลอดภัย (Safe and Security Need) เป็ นความ
ต้องการความปลอดภยั มนั่ คง ความคุม้ ครองปกป้อง ความต้องการความมนั่ คงทางวตั ถุ

16
ปัจจยั ภายนอก ความปลอดภยั จากการคุกคาม ปลอดภยั จากความวติ กกงั วล อนั ตรายและ
ความเจบ็ ปวดต่างๆ

3. ความตอ้ งการความรกั และความเป็นเจา้ ของ (Love and Belonging Need)
หมายถงึ ความตอ้ งการทางสงั คม เชน่ ความตอ้ งการความรกั อยากใหต้ นเป็นทร่ี กั ไดร้ บั การ
ยอมรบั จากกลุ่ม ตอ้ งการสว่ นรว่ มในกล่มุ

4. ความต้องการการยอมรบั นับถอื (Esteem Need) หมายถงึ ความต้องการ
ความเคารพนบั ถอื จากผอู้ ่นื (respect from others) บางทเ่ี รยี กวา่ Self Esteem

5. ความต้องการบรรลุศักยภาพสูงสุดแห่งตน (Self -Actualization Need)
เป็นความตอ้ งการสงู สุดของบุคคล ทจ่ี ะตอ้ งพยายามทาทุกสงิ่ ทุกอยา่ งตามความเหมาะสม
และความสามารถของตนเองในทางทส่ี รา้ งสรรคด์ งี าม

ภาพท่ี 15 ความตอ้ งการพน้ื ฐานมนุษย์

17
2.1.1. น้า (Water)

ดนิ บนดาวองั คารมนี ้าเป็นส่วนประกอบ ถงึ 60 เปอรเ์ ซน็ ต์ หุบเหวจานวนมากบน
ดาวองั คาร มแี ผน่ น้าแขง็ อยภู่ ายใน มนั จงึ ไมใ่ ช่ทท่ี เ่ี ลวรา้ ยนักทเ่ี ราจะไปตงั้ อาณานิคม การ
ขุดเจาะโดยยานฟีนิกซ์ ในปี ค.ศ. 2008 ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ว่าใต้พน้ื ผวิ ดนิ นัน้ เป็นน้าแขง็ กาลงั
ระเหยอยู่ ขอ้ มูลจากยานโคจรทาใหพ้ บว่ามนี ้าใตด้ นิ ปรมิ าณมากบนดาวองั คาร มากพอ ๆ
กบั ธารน้าแขง็ หากนาน้าแขง็ ทงั้ หมดทข่ี วั้ โลกทงั้ สองของดาวองั คารละลาย พน้ื ทส่ี ว่ นใหญ่
ของดาวจะจมอยู่ใต้น้า 30 ฟุต ดงั นัน้ ท่ีนัน่ มีน้าอยู่เยอะมาก แต่เกือบทงั้ หมดนัน้ เป็น
น้าแขง็ และอยใู่ ตด้ นิ (Petranek, 2015)

ภาพท่ี 16 การพบน้าบนดาวองั คาร (Petranek, 2015)

2.1.1.1เครอื่ ง Wavar
อุปกรณ์ท่ีประดษิ ฐ์ข้นึ โดย มหาวิทยาลยั แห่งวอชงิ ตนั เม่อื ปี ค.ศ. 1998 มนั คือ

เคร่อื งลดความช้นื แบบโบราณ และบรรยากาศของดาวองั คาร ก็มกั จะมคี วามช้นื ถงึ 100
เปอร์เซ็น ดังนัน้ เจ้าเคร่ืองน้ีจะสามารถสกัดน้า ได้เพียงพอกับท่ีมนุษย์ต้องการ จาก
บรรยากาศของดาวองั คารไดโ้ ดยงา่ ย

18

ภาพท่ี 17 เครอ่ื ง Wavar (Petranek, 2015)

2.1.2. อาหาร (Food)
2.1.2.1. ปลกู พืชแบบไม่ใช้ดิน (hydroponics)

การทดลองปลูกผกั กาดในอวกาศ ลูกเรอื Expedition 44 ทป่ี ระจาการอย่บู นสถานี
อวกาศนานาชาติ หรอื International Space Station ไดท้ าการทดลองปลูกผกั กาดขน้ึ ในใน
โรงปลูกผกั Veg-01 ซง่ึ เป็นตูท้ อ่ี ยสู่ ถานีอวกาศโดยจะมไี ฟทม่ี ไี ฟ LED สแี ดง สเี ขยี ว และสี
น้าเงินประกอบอยู่ โดยไฟสีแดงและสีน้าเงินนัน้ เป็ นส่วนท่ีสาคัญท่ีสุดสองส่วนของ
spectrum แสงท่ีใช้ในกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสง ส่วนไฟสีเขยี วนัน้ จริงๆแล้วไม่มี
ประโยชน์อะไร แต่เพราะว่าความสวยงามของอาหารนัน้ ก็เป็นเร่อื งจาในอวกาศเช่นกนั
วศิ วกรท่สี รา้ งเจา้ Veg-01 ขน้ึ มาจงึ ตดั สนิ ใจเพมิ่ แสงสเี ขยี วเขา้ ไปดว้ ยเพ่อื ไม่ใหผ้ กั นัน้ มสี ี
มว่ งประหลาดๆเหมอื นพชื นอกโลก ซง่ึ ความสาเรจ็ ของ Veg-01 นนั้ เป็นกา้ วสาคญั กา้ วใหม่
ส่รู ะบบอาหารหมุนเวยี นทเ่ี ป็นสง่ิ จาเป็นถ้าหากเราจะออกเดนิ ทางไปสอู่ วกาศโดยมมี นุษย์
ประจายานไปดว้ ย หรอื พยายามทจ่ี ะตงั้ ศนู ยป์ ระจาการถาวรบนดาวองั คาร ในทส่ี ดุ แลว้ สวน
อวกาศเองก็อาจจะถูกรวมเป็นส่วนหน่ึงของระบบควบคุมสงิ่ แวดล้อมท่อี ยู่อาศยั ดูดซบั
คารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละทาการรไี ซเคลิ ออกซเิ จนและน้าไดด้ ว้ ย (สารวจโลก, 2015)

19

ภาพท่ี 18 การทดลองปลกู ผกั กาดในอวกาศ (Petranek, 2015)

แต่การปลูกพืชไร้ดินจะไม่สามารถปลูกพืช ได้มากเกินกว่า 15 ถึง 20
เปอรเ์ ซน็ ต์ ของอาหารทเ่ี ราตอ้ งการ อย่างน้อยกจ็ นกว่าจะมนี ้าไหลบนผวิ ดนิ บน
ดาวองั คาร และจนกว่าเราจะมโี อกาส และสามารถปลูกพชื ไร่ไดจ้ รงิ ๆ ในระหว่าง
นนั้ อาหารสว่ นใหญ่จะมาจากโลก และมนั จะเป็นอาหารแหง้

ภาพท่ี 19 ปรมิ าณพชื ทป่ี ลกู ไดใ้ นช่วงแรกต่อความตอ้ งการของมนุษย์ (Petranek, 2015)

2.1.2.2. การปลกู พืชที่ใช้ดินแห้งแล้ง
NASA ผดุ โครงการปลกู มนั ฝรงั่ บนดาวองั คารตามรอยหนงั The Martian นาซา

จบั มอื กบั ศูนยพ์ ฒั นามนั ฝรงั่ นานาชาติ ผุดโครงการทดลองปลูกมนั ฝรงั่ ในสภาพแหง้
แลง้ สุดขดี เพ่อื เฟ้นหามนั ฝรงั่ ทเ่ี หมาะสมท่สี ุดสาหรบั ปลูกบนดาวองั คาร ตามรอยตวั
เอกในหนงั ดงั The Martian

20

ภาพท่ี 20 การปลกู มนั ฝรงั่ จากหนงั The Martian (Petranek, 2015)

องคก์ ารบรหิ ารการบนิ และอวกาศแห่งชาตสิ หรฐั ฯ (นาซา) ไดร้ ่วมมอื กบั ศูนย์
พฒั นามนั ฝรงั่ นานาชาติ (International Potato Center / CIP) ในการริเริ่มโครงการ
ปลูกมันฝรงั่ บนดาวอังคาร โดยเร่ิมทดลองปลูกในดินของภูมิประเทศแห้งแล้งซ่ึง
ใกลเ้ คยี งกบั ดนิ ของดาวองั คาร เพ่อื เฟ้นหาสายพนั ธุม์ นั ฝรงั่ ทเ่ี หมาะสมทส่ี ุดต่อไปการ
ทดลองน้ีเร่ิมต้นข้ึนเม่ือเดือนมกราคมท่ีผ่านมา ณ ศูนย์พฒั นามนั ฝรงั่ นานาชาติ
(International Potato Center / CIP) แห่งกรุงลมิ า ประเทศเปรู ซง่ึ เป็นองคก์ รการกุศล
ทไ่ี มแ่ สวงหากาไร มจี ุดประสงคเ์ พอ่ื พฒั นาสายพนั ธุม์ นั ฝรงั่ และพชื อาหารอ่นื ๆ สาหรบั
มนุษย์ นกั วจิ ยั กาลงั ทดลองปลูกมนั ฝรงั่ มากกว่า 100 สายพนั ธุ์ โดยปลูกบนดนิ ทน่ี ามา
จากทะเลทราย จากนนั้ จะคน้ หาสายพนั ธุท์ ด่ี แี ละเหมาะสาหรบั ปลกู บนแผน่ ดนิ ของดาว
องั คาร ก่อนจะพฒั นาใหม้ นั มคี ณุ ค่าทางอาหารเพม่ิ มากขน้ึ ดว้ ย

ส่วนดินท่ีนามาจากทะเลทรายอาตากามา ประเทศชิลี เป็ นดินท่ีมีความ
คลา้ ยคลงึ กบั ดนิ บนพน้ื ผวิ ของดาวองั คารมากทส่ี ดุ เม่อื มนั ฝรงั่ เหล่าน้ีสามารถเจรญิ งอก
งามไดบ้ นดนิ ทแ่ี หง้ แลง้ น้ี ขนั้ ตอนต่อไปคอื การทดลองปลูกในระบบแอโรโพนิกส์ หรอื
การปลกู แบบไรด้ นิ (เมอ่ื วนั ท่ี 22 กุมภาพนั ธ์ 2559 เวบ็ ไซต์ Popular Science)

สาเหตุทท่ี ดลองปลกู มนั ฝรงั่ เน่ืองจากมนั ฝรงั่ 1 หวั มปี รมิ าณพลงั งานสงู ถงึ 10
เปอรเ์ ซน็ ต์ จากจานวนพลงั งานทงั้ หมดทม่ี นุษย์ 1 คนตอ้ งการตอ่ วนั นอกจากน้ี มนั ฝรงั่
ยังสามารถเจริญเติบโตได้ดีในดินท่ีแห้งแล้งและหยาบกระด้าง ซ่ึงคล้ายคลึงกับ
สภาพแวดลอ้ มบนดาวองั คารทแ่ี หง้ แลง้ สุดขดี

21

ภาพท่ี 21 โครงการปลกู มนั ฝรงั่ บนดาวองั คาร (Petranek, 2015)

2.1.3. อากาศ (Weather)
ชนั้ บรรยากาศของดาวองั คารนนั้ บางมาก บางกวา่ โลกถงึ 100 เท่า และไมส่ ามารถ

ใชห้ ายใจได้ มนั ประกอบดว้ ย คารบ์ อนไดออกไซดถ์ งึ 96 เปอรเ์ ซน็ ต์

ภาพท่ี 22 คารบ์ อนไดออกไซดถ์ งึ 96 เปอรเ์ ซน็ ต์ บนชนั้ ปรรยากาศดาวองั คาร (Petranek, 2015)

2.1.3.1. เครอื่ ง Moxie
นกั วทิ ยาศาสตรท์ ส่ี ถาบนั เอม็ ไอที ช่อื ไมเคลิ เฮคท์ เขาไดพ้ ฒั นาเคร่อื งจกั รทช่ี ่อื ม๊

อกซ่ี โดยหลกั แลว้ มนั คอื เซลลเ์ ชอ้ื เพลงิ แบบยอ้ นกลบั ทด่ี ดู บรรยากาศบนดาวองั คาร และ
ปล่อยออกซิเจนออกมา (CO2 )คาร์บอนไดออกไซด์ ซ่ึงมีอยู่ 96 เปอร์เซ็นต์ของชัน้
บรรยากาศดาวองั คาร มอี อกซเิ จนอยถู่ งึ 78 เปอรเ์ ซน็ ต์

22
ยานสารวจพ้นื ผวิ ดาวลาถดั ไปท่นี าซ่า จะส่งไปดาวองั คารในปี ค.ศ. 2020 จะมี
อุปกรณ์แบบน้ีตดิ ไปดว้ ย และมนั จะสามารถสรา้ งออกซเิ จนไดเ้ พยี งพอ ใหม้ นุษยห์ น่ึงคนมี
ชวี ติ รอดไดไ้ ปตลอด แต่ความพเิ ศษของเจา้ เคร่อื งน้ี จากการทดสอบ กค็ อื มนั ถูกออกแบบ
มาตงั้ แต่แรก ใหถ้ กู ปรบั เพม่ิ ความสามารถไดถ้ งึ 100 เทา่

ภาพท่ี 23 เครอ่ื ง Moxie (Petranek, 2015)

2.1.4. ที่อย่อู าศยั (Shelter)
2.1.4.1 บา้ นน้าแขง็ ดาวองั คาร
บนดาวองั คารขาดแคลนชนั้ โอโซน (Ozone Layer) เมอ่ื แสงแดดฉายสอ่ งมาพรอ้ มรงั สี

อลั ตราไวโอเลตจงึ ไมถ่ ูกกรอง มคี วามอนั ตรายต่อร่างกายมนุษย์ แนวคดิ การสรา้ ง ทอ่ี ยอู่ าศยั
แบบตน้ ทุนต่าบนดาวองั คาร คอื บา้ นน้าแขง็ (Mars Ice House) เพ่อื ช่วยปกป้องรงั สดี งั กล่าว
จากน้าแขง็ ซง่ึ มจี านวนมากบนดาวองั คาร ดว้ ยวธิ อี อกแบบโครงสรา้ ง วสั ดุน้าหนกั เบายดึ เกาะ
เป็นมา่ นดว้ ยน้าแขง็ เพราะน้าจะสามารถกรองป้องกนั อนั ตรายจากรงั สไี ดแ้ ละแสงบางส่วนยงั
สามารถส่องผ่านเข้ามาได้ ทาให้รู้สกึ ปลอดโปร่งมผี ลดี ในเชิงจิตวทิ ยา (Peter Mountain,
2007)

23

ภาพท่ี 24 บา้ นน้าแขง็ ดาวองั คาร (Peter Mountain, 2007)

2.1.4.2 บา้ นคอนกรีตดาวองั คาร
การอยู่อาศยั ของมนุษย์ยงั มอี กี แนวคดิ คอื ใช้โครงสร้างวสั ดุท่มี คี วามยดื หยุ่นจาก
แหล่งทม่ี อี ยบู่ นดาวองั คารเอง แนวคดิ น้ีคอื การใชค้ อนกรตี โดยไมต่ อ้ งใชน้ ้า โดยเฉพาะน้า เป็น
ทรพั ยากรทม่ี คี ่าบนดาวเคราะหน์ ้ี วสั ดุสาคญั ในการก่อสรา้ งบนดาวองั คารคอื กามะถนั เพราะ
ในอดตี ดาวองั คารมภี ูเขาไฟเป็นจานวนมาก จงึ มแี หล่งกามะถนั มากมาย โดยนามาใหค้ วาม
รอ้ น 240 °C เพ่อื ใหก้ ลายเป็นของเหลวผสมกบั ดนิ บนดาวองั คารแลว้ ทง้ิ ไวใ้ หเ้ ยน็ กามะถนั ก็
จะแข็งตัวมีคุณสมบัติเป็นคอนกรีตดาวองั คาร (Martian Concrete) และความแข็งแรงยงั
สามารถป้องกนั อกุ กาบาตได้ แต่มจี ุดออ่ นในเรอ่ื งป้องกนั รงั สี (Peter Mountain, 2007)

ภาพท่ี 25 บา้ นคอนกรตี ดาวองั คาร (Peter Mountain, 2007)

24

2.1.5. เครอ่ื งนุ่งห่ม (Clothing)
บนโลก มชี นั้ บรรยากาศหนาหลายไมลป์ กคลุมอยู่ ซง่ึ ทาใหเ้ กดิ ความดนั 15 ปอนด์

กดทบั ร่างกายเราตลอดเวลา และร่างกายเราออกแรงต้านมนั อย่ตู ลอดเวลา แต่สาหรบั บน
ดาวองั คารแทบจะไมม่ คี วามดนั บรรยากาศเลย ดาวา นิวแมน นกั วทิ ยาศาสตรจ์ ากเอม็ ไอที
ไดส้ รา้ งชดุ อวกาศน้ีขน้ึ เพอ่ื มนั จะชว่ ยปกป้องเรา ป้องกนั รงั สแี ละชว่ ยใหเ้ ราอบอนุ่ ดว้ ย
ประเภทของชดุ อวกาศมี 2 แบบ คอื

(1) ชดุ อวกาศสาหรบั ใชส้ วมใสข่ ณะเดนิ ทางออกหรอื เขา้ สโู่ ลก
(2) ชุดอวกาศสาหรบั ใชส้ วมใสข่ ณะปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ในอวกาศ
สว่ นประกอบของชุดอวกาศ
ชุดอวกาศ ประกอบด้วย ถุงมือ รองเท้าบู๊ท หมวกเล็ก ซ่ึงมีอุปกรณ์ดารงชีพ
ออกซิเจนสาหรบั หายใจ น้าด่ืม อุปกรณ์ควบคุมความดัน เฮดโฟน ไมโครโฟน เพ่ือ
ตดิ ต่อส่อื สารกบั เพอ่ื นๆ นกั บนิ หากไมส่ วมชุดอวกาศขณะเคล่อื นทใ่ี นอวกาศมนุษยอ์ วกาศ
จะสลบภายใน 15 วินาที ของเหลวในร่างกายจะเกิดฟองและแข็งตัวถึงจุดเยือกแข็ง
(Coveney, 2007)

ภาพท่ี 26 ชดุ อวกาศคดิ คน้ โดย ดาวา นวิ แมน นกั วทิ ยาศาสตรจ์ าก MIT (Coveney, 2007)

25
3. การปรบั สภาพดาว Terraforming

3.1. เกี่ยวกบั การปรบั สภาพดาว Terraforming
Terraforming เป็นการปรบั สภาพดวงดาวใหม้ ลี กั ษณะทม่ี นุษยห์ รอื สงิ่ มชี วี ติ จะอาศยั อย่ไู ดด้ ว้ ย
การปรบั บรรยากาศ อุณหภูมิ สภาพพน้ื ผวิ ระบบนิเวศน์ ใหม้ ลี กั ษณะคลา้ ยโลก สาหรบั สมบตั ขิ อง
การปรบั สภาพน้ี อ้างองิ จากบทความ Planetary Engineering โดย James B. Pollack และ Carl
Sagan นัก Astrophysics ชาวอเมรกิ นั ไดม้ สี รุปสภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะกบั การดารงอย่ขู องมนุษย์
ไวด้ งั น้ี (Pollack & Sagan, 1991)

ภาพท่ี 27 สมบตั ขิ องสภาวอากาศทม่ี นุษยน์ ่าจะอยไู่ ด้ (Pollack & Sagan, 1991)

26

3.2. กระบวนการเกิด Terraforming
3.2.1. เติมอากาศให้ดาวองั คาร
ดาวองั คารมมี วลน้อยกว่าโลกมาก โดยมนี ้าหนักดาวเพยี ง 10% และมแี รงโน้มถ่วงแค่ 3.7

m/s2 แรงโน้มถ่วงน้ี สมมุตวิ ่าเรากระโดดไดส้ งู 30 เซนตเิ มตรบนพน้ื โลก เรากจ็ ะกระโดดไดส้ งู 80
เซนตเิ มตรบนดาวองั คาร ความดนั บรรยากาศคอื น้าหนกั ของมวลอากาศทก่ี ดมาบนพน้ื ในกรณีของ
โลก ปรมิ าณอากาศทท่ี าใหเ้ กดิ ความดนั บรรยากาศ 101.3 kPa บนพน้ื โลกคอื 5 x 1018 กโิ ลกรมั
คานวณได้จาก m = P.A/g ในกรณีของดาวองั คาร ดาวองั คารมพี ้นื ท่ี 144 ล้านตารางกิโลเมตร
(โลก 510 ล้านตารางกโิ ลเมตร) ถ้าต้องการความดนั บรรยากาศเท่าโลก จะต้องใชม้ วลอากาศคอื
4 x 1018 กิโลกรมั ซ่งึ เป็นมวลเพยี ง 0.0006 % ของน้าหนักดาวองั คาร ลึกลงไปภายใต้ผวิ ดาว
องั คาร ในธารแมกม่าซ่งึ อยู่ลกึ ลงไป อาจมธี าตุออกซเิ จน ไนโตรเจน และไฮโดรเจน เพยี งพอจะ
นามาสรา้ งบรรยากาศได้ (Pollack & Sagan, 1991)

ภาพท่ี 28 บรรยากาศของดาวองั คาร หลงั การ Terraforming (Pollack & Sagan, 1991)

สว่ นต่างของบรรยากาศของดาวองั คารกบั โลก คอื ความหนาของบรรยากาศของดาวองั คาร
จะสูงกว่าโลกประมาณเกือบ 3 เท่า ตามสดั ส่วนของขนาดดาว และการออกอวกาศ หรอื เข้าสู่
บรรยากาศของดาวองั คารจะมปี ระเดน็ เร่อื งแรงเสยี ดทานอากาศมากกว่า แต่ ณ ตอนนนั้ อาจขน้ึ ลงสู่
อวกาศไดด้ ว้ ยการใชล้ ฟิ ทอ์ วกาศแลว้ สงิ่ ทน่ี ่าสนใจคอื กรณที เ่ี ราใชบ้ อลลนู ฮเี ลยี มในการออกอวกาศ
จากโลก กรณีของดาวองั คาร บอลลูนฮเี ลยี มอยา่ ง Operation Stratos ของกระทงิ แดง ความสงู ของ
บอลลูนอาจไปไดถ้ งึ 120 กโิ ลเมตรจากพน้ื ดาว ซง่ึ เป็นระยะทางประมาณ 1 ใน 3 ถงึ 1 ใน 4 ของ
ระยะโคจรของ ISS

27
3.2.2. เพ่ิมอณุ หภมู ิของดาวองั คาร
อุณหภูมขิ องดาวองั คารปัจจุบนั มคี า่ เฉลย่ี อยทู่ ่ี – 65 องศา โดยเป็นผลจาก Albedo ของดาว
องั คารเอง (ดาวองั คารมคี ่าการสะทอ้ นแสงออกจากผวิ ดาวท่ี 25% ของแสงตกกระทบ) ดาวองั คาร
โคจรรอบดวงอาทติ ยท์ ร่ี ะยะ 228 ลา้ นกโิ ลเมตร (โลกอย่ทู ่ี 150 ลา้ นกโิ ลเมตร บ/ล ) ความเขม้ ของ
รงั สจี ากดวงอาทติ ย์ ณ วงโคจรของดาวองั คารมเี พยี ง 600 W/m2 (โลก 1400 W/m2) ซง่ึ เป็นความ
ต่างท่ีย่ิงใหญ่มาก อุณหภูมิของดาวองั คารแทบจะเรียกได้ว่าเป็นอุณหภูมิ Black body เพราะ
บรรยากาศของดาวองั คาร ณ ปัจจุบนั มอี ยู่ 0.6 kPa หรอื 0.6% ของโลก ในกรณีทเ่ี ราใส่น้าเขา้ ไป
น้ามสี ่วนต่างการดูดซบั รงั สจี ากดวงอาทติ ยก์ บั การดูดซบั รงั สที แ่ี ผ่ออกจากโลกไดส้ งู ซง่ึ ถา้ เราใหม้ ี
น้าในบรรยากาศของดาวองั คารใกลเ้ คยี งกบั โลกท่ี 30000 ppm เราจะสามารถดงึ อุณหภมู เิ ฉลย่ี ของ
ดาวองั คารขน้ึ ไดป้ ระมาณ 30 องศา แตด่ าวองั คารกจ็ ะยงั มอี ณุ หภมู เิ ฉลย่ี ทป่ี ระมาณ -35 องศา อยู่
แมว้ ่าอุณหภูมดิ าวเฉล่ยี จะต่าตดิ ลบ แต่กใ็ ช่ว่าเราจะมชี วี ติ อยู่ไม่ได้ เพราะ ณ บรเิ วณเสน้
ศูนยส์ ูตร ดาวองั คารจะมชี ่วงการรบั แสงอาทติ ยส์ ูงกว่าช่วงบรเิ วณขวั้ โลก ซ่งึ ประเมนิ ว่า อุณหภูมิ
เฉลย่ี บรเิ วณเสน้ ศนู ยส์ ตู รจะอยทู่ ่ี 4 องศาเซลเซยี ส ตลอดช่วงกลางวนั กลางคนื ซง่ึ ถา้ มนี ้าเป็นตวั ดดู
ซบั มากพอ (เชน่ การสรา้ งทะเลไว้ โดยมเี กลอื เป็นตวั Antifreeze) อุณหภูมชิ ว่ งกลางวนั กบั กลางคนื
กจ็ ะยงั ไมต่ ่างกนั มากนกั แต่มนั กจ็ ะน่าสงสยั ว่า ทอ่ี ุณหภูมเิ ฉลย่ี 4 องศาเซลเซยี ส บรเิ วณเสน้ ศูนย์
สตู รน้ี จะทาใหเ้ กดิ การเคล่อื นไหวของ Water Cycle หรอื ไม่ (Pollack & Sagan, 1991)

ภาพท่ี 29 ความยาวคลน่ื คล่นื ทแ่ี ผจ่ ากดวงอาทติ ยก์ บั คลน่ื ทแ่ี ผจ่ ากความรอ้ นของผวิ ดาวองั คาร (Pollack & Sagan, 1991)

28
สาหรบั อุณหภูมิในทางทฤษฎีท่ีเราจะทาให้อุณหภูมิของดาวองั คารสูงข้ึนนัน้ เราสามารถ
ประเมินสภาพสูงสุดท่ี Green House Gases สามารถทาให้อุณหภูมิสูงข้นึ ได้ โดยเราสมมุติให้
GHG นนั้ ๆ โปรง่ ใสต่อรงั สใี นชว่ ง Visible Light ขน้ึ ไปทงั้ หมด ซง่ึ ในกรณีนนั้ อณุ หภมู เิ ฉลย่ี ของดาว
อาจอย่ทู ป่ี ระมาณ -23 องศา อุณหภูมบิ รเิ วณจุดเสน้ ศูนยส์ ตู รอาจสงู ขน้ึ มาถงึ เฉล่ยี 24 องศา แต่ก็
อาจเป็ นปัญหาว่า แล้วอากาศท่ีมีก๊าซ สุดยอด GHG ท่ีโปร่งแสงต่อแสงอาทิตย์ ทึบแสงต่อ
อนิ ฟราเรดอยา่ งสมบรู ณ์นนั้ มนั จะเป็นอากาศทม่ี นุษยจ์ ะหายใจไดห้ รอื ไม่ หรอื บางที แทนจะใชก้ ๊าซ
เราอาจใชผ้ ลกึ น้าแขง็ หรอื ผลกึ ละอองแอมโมเนียโปรยอย่ใู นชนั้ บรรยากาศในระดบั เกอื บสดุ วงโคจร
เพอ่ื เป็นตวั ป้องกนั การสญู เสยี ความรอ้ นจากการแผร่ งั สกี อ็ าจทาได้ (Pollack & Sagan, 1991)

ภาพท่ี 30 Energy Budget กรณที เ่ี ราดดู ซบั ความรอ้ นดว้ ย GHG ไดเ้ ตม็ ประสทิ ธภิ าพ (Pollack & Sagan, 1991)

3.2.3. การป้องกนั พายสุ รุ ิยะ
พายุสรุ ยิ ะคอื ตวั แปรสาคญั ทท่ี าใหด้ าวเลก็ ๆแรงโน้มถ่วงน้อย สญู เสยี บรรยากาศไดอ้ ยา่ งรวดเรว็
ทโ่ี ลกความเรว็ หลดุ พน้ วงโคจรจะอยทู่ ่ี 11.2 กโิ ลเมตรต่อวนิ าที แตท่ ด่ี าวองั คารความเรว็ หลุดพน้ นนั้
จะอยแู่ ค่ 5 กโิ ลเมตรต่อวนิ าที นนั่ คอื การถูกกระแทก พาหลุด ของอากาศเม่อื ปะทะกบั อนุภาคทม่ี ี
ความเรว็ ถงึ 500 กโิ ลเมตรต่อวนิ าทเี ฉลย่ี นนั้ มคี ่าสงู มาก เกราะป้องกนั พายสุ ุรยิ ะน้ี สาหรบั โลกของ
เรา มีสนามแม่เหล็กปกป้องอยู่ ซ่ึงสนามแม่เหล็กของโลกน้ีมีความเข้มถึง 25,000nT (Nano –
Tesla) โดยทค่ี วามเขม้ ของสนามแม่เหลก็ จากดวงอาทติ ยม์ เี พยี ง 50nT หรอื สูงสุด 250nT ในกรณี
ของ Super Flare ถา้ เราใช้ Inverse Square Law คานวณ สนามแมเ่ หลก็ ของโลกจะอ่อนกาลงั เทา่

29
สนามแมเ่ หลก็ ของดวงอาทติ ยก์ ต็ อ้ งทร่ี ะยะ 6,000 ถงึ 12,000 กโิ ลเมตร (แนวคดิ สนามแมเ่ หลก็ จาก
ดวงอาทติ ยส์ ง่ ผลถงึ แผน่ ดนิ ไหว และพายไุ ซโคลน ทร่ี ะดบั ความสงู ไมเ่ กนิ 10 กโิ ลเมตรจากพน้ื โลก)

แต่ในกรณีของดาวองั คาร สนามแม่เหลก็ ของดาวองั คารมอี ย่เู พยี ง 1% ของโลก (หรอื อาจน้อย
กวา่ ) ซง่ึ คานวณตาม Inverse square law แลว้ ความเขม้ ของสนามแมเ่ หลก็ ดาวองั คารจะอยทู่ ร่ี ะยะ
เพยี ง 1,000 กโิ ลเมตร แมว้ ่าจะชดเชยการลดลงของความเขม้ สนามแม่เหลก็ จากดวงอาทติ ยต์ าม
ระยะวงโคจรของดาวอังคารแล้วก็ตาม ถ้าเป็ นช่วงการเกิด Magnetic Storm ความเข้มของ
สนามแมเ่ หลก็ ของดวงอาทติ ยก์ จ็ ะเทา่ กบั ความเขม้ สนามแมเ่ หลก็ ณ ผวิ ดาวองั คารไดเ้ ลยทเี ดยี ว น่ี
จงึ เป็นเหตุผลใหบ้ รรยากาศของดาวองั คาร ไม่มอี ะไรปกป้องจากพายุสุรยิ ะ หรอื แมแ้ ต่ปกป้องจาก
กระแสลมสุรยิ ะตามปรกตไิ ด้ ไดม้ กี ารประเมนิ วา่ ความตอ้ งการของสนามแมเ่ หลก็ ของดาวองั คาร ก็
คงจะต้องไม่ต่าไปกว่าระดับของโลกท่ี 25,000 nT ณ เส้นศูนย์สูตร เพ่ือท่ีจะปกป้องการพัด
บรรยากาศออกโดยพายสุ รุ ยิ ะ (Darth Prin, 2013)

ภาพท่ี 31 แนวปะทะรงั สจี ากพายสุ รุ ยิ ะของดาวองั คาร (Darth Prin, 2013)

30
3.3. ความเปลี่ยนแปลงของดาวองั คาร

3.3.1. Part 1 ช่วงเร่ิมต้น เรมิ่ ต้นดว้ ยภาระกจิ สารวจ เรม่ิ แรกเป็นการเดนิ ทางจาก โลก
มายังดาวอังคารเม่ือถึงดาวอังคาร ก่อดาเนินการสร้างท่ีพักอาศัยขนาดเล็ก
(Habitation Module) เพอ่ิื ใชเ้ ป็นฐานปฏบิ ตั ภิ าระกจิ ขนั้ ต่อไป โดยช่วงน้ีดาว องั คารมี
อณุ หภมู ิ -60 องศาเซลเซยี ส (nationalgeographic, 2006)

ภาพท่ี 32 Part 1 ชว่ งเรม่ิ ตน้ (nationalgeographic, 2006)

3.3.2. Part 2 ช่วงสร้างชัน้ บรรยากาศ เป็ นการเพิ่มอุณหภูมิดาวอังคาร โดย การ
ปลดปล่อยจากก๊าซเรอื นกระจก จาก โรงงานผลติ ก๊าซซุปเปอรเ์ รอื นกระจก เพ่อื ทาให้
ดาวองั คาร เกดิ ปรากฏการณ์เรอื นกระจกอย่างรวดเรว็ เป็นการเพมิ่ อุณหภูมขิ องดาว
องั คาร ให้เหมาะสม กบั การดารงณ์ชวี ติ ของ มนุษย์ (nationalgeographic, 2006)

ภาพท่ี 33 Part 2 ชว่ งสรา้ งชนั้ บรรยากาศ (nationalgeographic, 2006)

31
3.3.3. Part 3 ช่วงฝน ทาการสร้างน้า และชนั้ บรรยากาศ โดย ดาวเทียมท่ี สะท้อน

พลงั งานแสงอาทติ ยก์ าลงั สงู มายงั น้าแขง็ บนดาวองั คาร เพ่อื ผลติ น้า และปลดปล่อย
ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซค์ ท่นี ้าแขง็ กกั เอาไวอ้ อกมาเพ่อื เป็นการสรา้ งชนั้ บรรยากาศ
ฝนจะตก น้าจะมกี ารไหล เพยี งพอต่อการหล่อเล้ียง จุลชพี สาหร่าย ตะไคร่ ก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซค์ (CO2) จะยังคงดาเนินการเพิ่ม ความดันบรรยากาศ และ
อณุ หภมู ิ อยา่ งต่อเน่ือง (nationalgeographic, 2006)

ภาพท่ี 34 Part 3 ชว่ งฝน ทาการสรา้ งน้า และชนั้ บรรยากาศ (nationalgeographic, 2006)

3.3.4. Part 4 ช่วงยคุ ดอกไม้บานหลงั จากมีกล่มุ พืชคลุมดิน เช่น สาหรา่ ย และตะไคร่
ปกคลุมทะเลทราย และหนิ พวกมนั จะปลดปล่อยออกซเิ จน ส่ชู นั้ บรรยากาศ พวกมนั
ทาการยอ่ ยสลาย หนิ และทราย เป็น ดนิ เม่อื กาเนิด ดนิ ขน้ึ กจ็ ะเป็นการกุยทางสกู่ าร
ก่อกาเนิกป่าสนเขตหนาว จนถงึ ป่าเขตรอ้ น ไดห้ ยงั่ รากสแู่ ผน่ ดนิ พรอ้ มทงั้ เรม่ิ ทดลอง
ปลกู พชื จากโลกบนดาวองั คาร (nationalgeographic, 2006)

ภาพท่ี 35 Part 4 ชว่ งยคุ ดอกไมบ้ านหลงั จากมกี ลุ่มพชื คลุมดนิ (nationalgeographic, 2006)

32
3.3.5. Part 5 ช่วงยุคสร้างแหล่งพลงั งาน เพ่อื เป็นการรองรบั การขยายตวั ของ เมอื ง

และประชาชนท่ีจะเพิ่มข้ึน ในช่วงแรกอาจจะมีการผลิตพลังงานจาก พลังงาน
นิวเคลียร์ หรือ พลังงานจากกังหันลม สาหรับในระยะยาวพลังงานท่ีดีท่ี สุดคือ
พลงั งานจากเตาปฏกิ รณ์นิวเคลยี ร์ (Fusion reactor) ในขณะเดยี วกนั กท็ าการสารวจ
แหลง่ พลงั งานในดาวองั คารดว้ ย (nationalgeographic, 2006)

ภาพท่ี 36 Part 5 ชว่ งยุคสรา้ งแหล่งพลงั งาน (nationalgeographic, 2006)

3.3.6. Part 6 ช่วงตงั้ ถิ่นฐาน สร้างวฒั นธรรม มนุษยส์ ามารถยา่ งกา้ วออกมาเดนิ บนผนื
ดนิ ดาวองั คาร ดาวองั คารอาจจะเป็นโลกใบใหม่สาหรมั นุษยชาติ ในระยะน้ี บนดาว
องั คารจะมกี ๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ 50% ก๊าซไนโตรเจน 40% (ปรมิ าณไนโตเจนใน
บรรยากาศโลกอย่ทู ่ี 78%) ก๊าซออกซเิ จน 5%( ปรมิ าณออกซเิ จนในบรรยากาศโลก
อยู่ท่ี 21%) ความดนั บรรยากาศ 500 มลิ ลิบาร์ (ความดนั บรรยากาศบนโลกอยู่ท่ี
1,013 มลิ ลบิ าร)์ (nationalgeographic, 2006)

ภาพท่ี 37 Part 6 ชว่ งตงั้ ถนิ่ ฐาน สรา้ งวฒั นธรรม (nationalgeographic, 2006)

33

ตารางท่ี 2 Terraforming Time Level

Time Level conclude food Residential activity

Begin character
Year Zero
ชว่ งสรา้ งท่ี
พกั อาศยั
ยานอวกาศ
(แบบงา่ ยๆ)

Atmosphere ชว่ งสรา้ ง
100 Years อุตสาหกรรม

Rain สรา้ ง
200 Years บรรยากาศ

Flowers ชว่ ง
Plants เกษตรกรรม
600 Years
เรมิ่ ตน้
Energy
900 Years ชว่ งสรา้ งท่ี
อยอู่ าศยั
Martians ตามลุม่
1000 Years แมน่ ้า

ชว่ งสรา้ ง
พลงั งานเพอ่ื
ใชส้ าหรบั
การใชง้ าน
ในดา้ นตา่ งๆ

ชว่ งการ
รวมตวั เป็น
เมอื ง การ
หลายหลาย
ทางกจิ กรรม

34

4. การรบั รู้ (Perception)
4.1. รปู ทรง (Form)
4.1.1. การมองเหน็ ของสายตามนุษย์

ภาพท่ี 38 การมองเหน็ ในแนวนอน

4.1.1.1. การมองเหน็ ในแนวนอน (Visual Field Horizontal Plane)
มุมมองการมองเหน็ ในแนวนอนในขณะมองตรงของมนุษยน์ ัน้ มรี ะยะของมุมมอง

เหน็ ภาพประมาณ 62 องศา และมรี ะยะของมุมมองในการอ่านตวั อกั ษรประมาณ 10-20
องศา สว่ นระยะในการมองเหน็ ของตาทงั้ ขา้ งซา้ ยและขา้ งขวาประมาณ 94-04 องศา

ภาพท่ี 39 การมองเหน็ ในแนวตงั้

4.1.1.2. การมองเหน็ ในแนวตงั้ (Visual Field Vertical Plane)
ในขณะมองตรงนนั้ มุมมองการเหน็ ในแนวตงั้ มรี ะยะของมุมมองในการมองเหน็ ภาพ

ด้านบนประมาณ 50 องศา ด้านล่างประมาณ 70 องศา ขณะเดยี วกนั จะมแี นวสายตาใน
ระดบั ยนื ประมาณ 10 องศา และในระดบั นงั่ ประมาณ 15 องศา

35

4.1.2. ลกั ษณะแต่ล่ะรปู ทรงกบั การมองเหน็
4.1.2.1. ลกั ษณะทรงเหลี่ยม

ภาพท่ี 40 ลกั ษณะทรงเหลย่ี ม

ทางดา้ นอารมณ์ ความรูส้ กึ ดว้ ยลกั ษณะรูปทรงส่เี หล่ยี มแสดงใหเ้ หน็ ความเรยี บ
ของเส้นตรง และมุมท่ีสมบูรณ์แบบทาให้รูปทรงส่ีเหล่ียมได้ความรู้สึกของความมี
เสถยี รภาพ และเป็นทางการ จดุ สจ่ี ุดไดใ้ หค้ วามรสู้ กึ ทม่ี นั่ คง รปู ทรงเหลา่ น้ีเป็นรปู ทรงทท่ี า
ใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ ทเ่ี ช่อื ถอื ไดแ้ ละปลอดภยั แต่ในดา้ นการมองเหน็ เมอ่ื เกดิ ขอบมุมต่างๆ ทา
ใหล้ ดทศั นการมองเหน็ รอบดา้ นดว้ ย (Christina Wang, 2558)

ภาพท่ี 41 การมองเหน็ ของรปู ทรงสเ่ี หลย่ี ม

36

4.1.2.2. ลกั ษณะกลม โค้ง

ภาพท่ี 42 ลกั ษณะกลม โคง้

มคี วามแตกต่างจากรูปส่เี หล่ียมมากมาย วงกลมมีอยู่รอบๆตวั เราในธรรมชาติ
เพราะความสมั พนั ธข์ องดวงอาทติ ย์ ดวงจนั ทร์ และโลกมกี ารเชอ่ื มโยงจกั รวาล อาจเปรยี บ
ไดเ้ หมอื นกนั ความรสู้ กึ อสิ ระ ไม่จากดั เพราะวงกลมไม่มจี ุดเรมิ่ ต้นหรอื สน้ิ สุด มนั เช่อื มต่อ
ความคดิ ดว้ ยกนั มนั ทาใหร้ สู้ กึ ถงึ ความสมบรู ณ์แบบและครบวงจร
เหตุทว่ี งกลมหรอื ลกั ษณะโคง้ มนถูกใชใ้ นการออกแบบเกย่ี วกบั อวกาศหรอื พน้ื ท่ี ทต่ี อ้ งการ
มองเหน็ รอบๆ เพราะวงกลมไม่มจี ุดขอบมุมทาใหท้ ศั นการมองเหน็ ภาพ มองเหน็ ไดโ้ ดย
กวา้ ง ไรข้ ดี จากดั (Christina Wang, 2558)

Visual

ภาพท่ี 43 การมองเหน็ ของลกั ษณะทรงกลม (Christina Wang, 2558)


Click to View FlipBook Version