1 โครงการสัมมนา กลยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหารและการบริการโรงแรมลำปำ รีสอร์ทในยุคดิจิทัล จัดทำโดย นักศึกษาแผนกวิชาอาหารและโภชนาการ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ ๑ รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาเทคนิคการสัมมนาและการนำเสนอผลงาน รหัสวิชา ๓๐๔๐๔ – ๒๐๐๒ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ สาขาอาหารและโภชนาการ วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง
2 คำนำ รายวิชาเทคนิคการสัมมนาและการนำเสนอผลงานรหัส 30404-2002 สัมมนาประเด็นปัญหาร่วม สมัยด้านการทำธุรกิจด้านอาหาร จัดการเรียนการสอนโดยมีการมุ่งหวังให้นักศึกษา วิเคราะห์สถานการณ์ ประเทศไทยที่กำลังเป็นประเด็นเพื่อเป็นประเด็นเพื่อใช้หลักทฤษฎี แนวคิด มาช่วยในการตัดสินใจแก้ไข ปัญหา การนำเทคโนโลยีทางด้านต่างๆ ทางด้านการประกอบธุรกิจอาหารให้มีความเข้มแข็งและได้รับ ความสนใจเป็นอย่างมาก แสดงให้เห็นว่าความรู้ด้านการประกอบธุรกิจอาหารใช้การพัฒนาของธุรกิจของ ชุมชนได้รับเป็นอย่างดี ทั้งในด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ การสร้างจุดขายในการดำเนินธุรกิจ เช่น ธุรกิจด้านอาหาร ธุรกิจด้านการบริการ เป็นต้นดังนั้น นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 1 จึงได้ดำเนินการจัดสัมมนาวิชาชีพ เรื่องกลยุทธ์การ ควบคุมคุณภาพอาหารและการบริการโรงแรมลำปำรีสอร์ทในยุคดิจิทัล‘‘Contro Strategy Food quality and service Lampam Resort Hotel in the digital age ’’ ซึ่งผลจากการจัดสัมมนาครั้งนี้ ได้รับข้อมูลในเชิงวิชาการวิธีคิดและการสังเคราะห์ข้อมูลที่เป็นจริงอย่างมีหลักการ คณะผู้จัดการสัมมนา จึงจัดทำเล่มรายงานการสรุปผลการสัมมนาเพื่อเป็นข้อมูลในการสืบค้นและเป็นตัวอย่างการจัดโครงการ สัมมนาขอขอบคุณท่านอาจารย์สุอาพร เส้งสุขที่ได้ให้คำปรึกษาและคำแนะนำในเรื่องการจัดทำรูปเล่ม สัมมนาวิชาชีพและขอขอบคุณสมาชิกทุกคนที่ให้ความร่วมมือในการจัดทำรูปเล่มฉบับนี้ จนสำเร็จลุล่วงไป ด้วยดี หากมีข้อผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย คณะนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ
3 สารบัญ คำนำ หน้า บทที่ ๑ ที่มาและความสำคัญ ๑ ๑.๑ ชื่อโครงการ ๑ ๑.๒ หลักการและเหตุผล ๑ ๑.๓ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย ๑ ๑.๔ ระยะเวลา / สถานที่ดำเนินการ ๑ ๑.๕ วิทยากร ๑ ๑.๖ กลุ่มเป้าหมาย ๑ ๑.๗ วิธีการดำเนินการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินการโครงการ) ๑ ๑.๘ ขั้นตอนการดำเนินการ ๒ ๑.๙ ขั้นสรุปและประเมิณผลการจัดกิจกรรม ๒ ๑.๑o งบประมาณและทรัพยากรที่ต้องใช้ ๒ ๑.๑๑ คณะกรรมการจัดโครงการสัมมนาวิชาการ ๓ ๑.๑๒ ตัวชี้วัดในการดำเนินการ ๔ ๑.๑๓ ประเมิณผลโครงการ ๔ ๑.๑๔ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๔ บทที่ ๒ คณะกรรมการดำเนินงาน ๖ - ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ๗ - ฝ่ายปฏิคม ๘ - ฝ่ายทะเบียน ๙ - ฝ่ายเหรัญญิก ๑๐ - ฝ่ายพิธีกร ๑๑ - ฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม ๑๒ - ฝ่ายอาคารสถานที่ ๑๓ - ฝ่ายเอกสาร ๑๔ - ฝ่ายประเมินผล ๑๕ - ฝ่ายโสตทัศนูปกรณ์ ๑๖ - ฝ่ายจัดหาผู้สนับสนุน ๑๗
4 สารบัญ(ต่อ ) หน้า ๒.๒ หน้าที่รับความผิดชอบ๑๘ - หน้าที่ความรับผิดชอบฝ่ายประชาสัมพันธ์ ๑๘ - หน้าที่ความรับผิดชอบของฝ่ายปฏิคม ๑๘ - หน้าที่ความรับผิดชอบฝ่ายลงทะเบียน ๑๘ - ฝ่ายลงทะเบียนติดต่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดสถานที่ ๑๘ - ฝ่ายลงทะเบียนติดต่อฝ่ายสวัสดิการอาหาร ๑๘ - ฝ่ายลงทเบียนติดต่อฝ่ายวิชาการ ๑๘ - ฝ่ายลงทะเบียนติดต่อฝ่ายประชาสัมพันธ์ ๑๙ - ฝ่ายลงทะเบียนติดต่อฝ่ายการเงิน ๑๙ - หน้าที่ความรับผิดชอบฝ่ายประชาสัมพันธ์ ๑๙ - หน้าที่ความรับผอดชอบฝ่ายอาคารสถานที่ ๑๙ - ฝ่ายอาคารสถานที่ติดต่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียน ๑๙ - ฝ่ายอาคารสถานที่ติดต่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิคม ๑๙ - หน้าที่ความรับผิดชอบฝ่ายพิธีกร ๑๙ - หน้าที่ความรับผิดชอบฝ่ายสวัสดิการอาหาร ๑๙ - หน้าที่ความรับผิดชอบฝ่ายนิทรรศการและกิจกรรม ๒๐ - หน้าที่ความรับผิดชอบฝ่ายการเงินและบัญชี ๒๐ - หน้าที่ความรับผิดชอบฝ่ายจดหาผู้สนับสนุน ๒๐ - หน้าที่ความรับผิดชอบของฝ่ายประเมิน ๒๐ ๒.๓ แผนการปฏิบัติงานการจัดโครงการสัมมนาวิชาการ ๒๐ - การวางแผนการปฏิบัติงานของฝ่ายปฏิคม ๒๐ - การวางแผนก่อนการปฏิบัติงานของฝ่ายทะเบียน ๒๑ - การวางแผนก่อนการปฏิบัติงานของฝ่ายประชาสัมพันธ์ ๒๑ - การวางแผนหลังการปฏิบัติงานของฝ่ายประชาสัมพันธ์ ๒๑ - การวางแผนก่อนการปฏิบัติงานของฝ่ายสถานที่ ๒๑ - การวางแผนหลังการปฏิบัติงานฝ่ายสถานที่ ๒๑ - การวางแผนก่อนการปฏิบัติงานของฝ่ายสวัสดิการอาหาร ๒๒ - การวางแผนหลังการปฏิบัติงานของฝ่ายสวัสดิการอาหาร ๒๒ - การวางแผนก่อนการปฏิบัติงานของฝ่ายสวัสดิการการเงินและบัญชี ๒๒
5 สารบัญ(ต่อ ) หน้า บทที่๓ เนื้อหาการสัมมนา ๒๓ ๓.๑. ความหมายและนิยามของ”กลยุทธ์การตลาด” ๒๓ ๓.๒. วิทยากร ๒๓ ๓.๔. เอกสารการประกอบการสัมมนา ๒๔ บทที่๔ ผลการดำเนินงานและการประเมินผล ๒๖ ๔.๑. การดำเนินงานและประเมินผลการจัดโครงการสัมมนาเชิงวิชาชีพ ๒๖ - ประเมินผลก่อนการดำเนินงานฝ่ายวิชาการ ๒๖ - ประเมินผลหลังการดำเนินงานฝ่ายวิชาการ ๒๖ - ประเมินผลก่อนการดำเนินงานฝ่ายปฏิคม ๒๗ - ประเมินผลหลังการดำเนินงานฝ่ายปฏิคม ๒๗ - การวางแผนก่อนการดำเนินงานของฝ่ายงานลงทะเบียน ๒๗ - การวางแผนหลังการดำเนินงานของฝ่ายงานลงทะเบียน ๒๗ - การประเมินผลก่อนการดำเนินงานฝ่ายประชาสัมพันธ์ ๒๘ - การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ ๒๘ - การประเมินผลหลังการดำเนินงานฝ่ายประชาสัมพันธ์ ๒๘ - การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ ๒๘ - การประเมินผลก่อนการดำเนินงานฝ่ายสถานที่ ๒๘ - การประเมินผลหลังการดำเนินงานฝ่ายสถานที่ ๒๙ - การวางแผนก่อนการดำเนินงานของฝ่ายอาหารและสวัสดิการ ๒๙ - การวางแผนหลังการดำเนินงานของฝ่ายอาหารและสวัสดิการ ๓๐ - การประเมินผลก่อนการดำเนินงานของฝ่ายนิทรรศการและกิจกรรม ๓๐ - การประเมินผลหลังการดำเนินงานของฝ่ายนิทรรศการและกิจกรรม ๓๑ - การประเมินผลหลังก่อนการดำเนินงานของฝ่ายจัดหาผู้สนับสนุน ๓๑ - การประเมินผลหลังการดำเนินงานของฝ่ายจัดหาผู้สนับสนุน ๓๑ ๔.๒. ผลการวิเคราะห์การประเมินผลการจัดสัมมนา ๓๒
6 สารบัญ(ต่อ ) หน้า บทที่๕ สรุปการสัมมนากลยุทธ์การตลาดยุค New Normal ของร้านปาดิโอ ๓๗ ๕.๑. สรุปการจัดโครงารสัมมนาการตลาดยุคNew Normalของร้านปาดิโอ ๓๗ - สรุปผลการดำเนินงานฝ่ายลงทะเบียน ๓๗ - สรุปผลการดำเนินงานฝ่ายเอกสาร ๓๗ - สรุปผลการทำงานฝ่ายสถานที่ ๓๘ - สรุปผลการดำเนินงานฝ่ายพิธีการ ๓๘ - สรุปผลการดำเนินงานฝ่ายประชาสัมพันธ์ ๓๘ - สรุปผลการดำเนินงานฝ่ายเหรัญญิก ๓๘ - สรุปผลการดำเนินงานฝ่ายปฏิคม (ต้อนรับ) ๓๘ - สรุปผลการดำเนินงานฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม ๓๙ - สรุปผลการดำเนินงานฝ่ายประเมินผล ๓๙ ๔.๒. ข้อเสนอแนะ ๓๙ เอกสารประกอบการสัมมนา ภาคผนวก ก ประวัติวิทยากร กำหนดการ คำกล่าวรายงาน ภาคผนวก ข หนังสือราชการ ภาคผนวก ค ประชาสัมพันธ์ ภาคผนวก ง ภาพกิจกรรมการสัมมนา ภาคผนวก จ เอกสารประกอบการบรรยาย ภาคผนวก ฉ ครูผู้สอน ภาคผนวก ช คณะกรรมการดำเนินงาน ภาคผนวก ซ แบบลงทะเบียนและแบบประเมินผล
7 สารบัญตาราง หน้า ตารางที่1 การวางแผนก่อนการดำเนินงานของฝ่ายอาหารและสวัสดิการ ๒๙ ตารางที่2 การวางแผนหลังการดำเนินงานของฝ่ายอาหารและสวัสดิการ ๓๐
8 บทที่ 1 โครงการสัมมนาเชิงวิชาการ แผนกอาหารและโภชนาการ วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง 1.1 ชื่อโครงการ สัมมนาวิชาชีพ เรื่อง “กลยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหารและการบริการ ของโรงแรม ลำปำรีสอร์ท ในยุคดิจิตอล” 1.2 หลักการและเหตุผล จากสถานการณ์ปัจจุบัน การประกอบธุรกิจยังมีความสำคัญอย่างมาก เนื่องจาก ประชากรยัง อุปโภค บริโภคผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายแต่การทำธุรกิจในปัจจุบันจะเห็นได้ว่าแนวโน้มของการ บริหารธุรกิจเป็นไปในทิศทางที่แตกต่างกัน เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้บริโภค เนื่องจากสถานการณ์ปัจจุบันเกิดสภาวะเศรษฐกิจถดถอยทำให้การทำธุรกิจเป็นไปได้ยาก ผลกระทบที่สำคัญที่สุดคือ รายได้จากการทำธุรกิจลดลง สังเกตได้จากสภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน ทำให้ ประชาชนส่วนใหญ่ พากันอาศัยอยู่ในอาคารหรือ ที่พักอาศัย ไม่ได้ออกเดินทางไปไหน จึงทำให้เกิดปัญหา ด้านเศรษฐกิจ โดยประชาชนออกมาจับจ่ายใช้สอยน้อยลง จากสถานการณ์ดังกล่าว จึงทำให้ผู้ประกอบธุรกิจ หากลยุทธ์เพื่อช่วยให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ในการบริการแก่ผู้รับบริการ จากข้อความดังกล่าว ทำให้ผลิตภัณฑ์เข้าถึงกลุ่มของผู้รับบริการมากยิ่งขึ้น 1.3 วัตถุประสงค์และเป้าหมาย 1.เพื่อช่วยกระตุ้นความมั่นคง ตั้งใจ ในการศึกษาหาความรู้ของสมาชิกชมรมวิชาชีพอาหารและ โภชนาการ 2.เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะวิชาชีพแก่สมาชิกอาหารและโภชนาการ 3.เพื่อให้สมาชิกชมรมฯ สามารถนำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารในยุดิจิตอลจาก โรงแรมลำปำรีสอร์ท ไปปรับใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคตได้ 4.เพื่อสร้างความตระหนักในความสำคัญของวิชาชีพในการประกอบอาชีพแก่สมาชิกชมรม วิชาชีพอาหารและโภชนาการ 5.เพื่อส่งเสริมและพัฒนาคนเก่งสู่สถานประกอบการจริง 1.4 ระยะเวลา/สถานที่ดำเนินการ วันพุธ ที่ 17 มกราคม 2567 เวลา 08.00 – 12.00 น. ณ. ห้องฤทธิ์ดี เสนะวงศ์ชั้น 3 อาคาร ระฆังทอง วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง 1.5 วิทยากร คุณ สิรินาถ กาญจโนภาส (ตำแหน่งเจ้าของกิจการโรงแรมลำปำรีสอร์ท) 1.6 กลุ่มเป้าหมาย คณะครูอาจารย์และนักเรียนนักศึกษา แผนกอาหารและโภชนาการ วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง จำนวน 109 คน 1.7 วิธีการดำเนินโครงการ(ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการ) 1.7.1 ขั้นวางแผนงาน 1.7.1.1 ประชุมวางแผนโครงการ
9 1.7.1.2 สรุปวันและสถานที่ 1.7.1.3 วางแผนตัวบุคคลในการปฏิบัติงานและกำหนดกิจกรรม 1.8 ขั้นตอนดำเนินงาน กำหนดการจัดสัมมนา เรื่อง “กลยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหารและการบริการ ของโรงแรมลำปำรีสอร์ท ในยุค ดิจิตอล” วัน พุธ ที่17 เดือน มกราคม 2567 ณ ห้องอินทนิล วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง 248 ถนนราเมศวร์ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมือง จังหวัด พัทลุง 93000 เวลา 08.00 – 08.20 น. - เตรียมความพร้อมที่จะลงทะเบียน ณ ห้องอินทนิล วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง248 ถนนราเมศวร์ ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง 93000 เวลา 08.30 – 08.50 น. - ลงทะเบียนและรับประทานอาหารว่าง เวลา 09.00 – 09.30 น. - พิธีเปิดโดย อาจารย์ สุอาพร เส้งสุข เวลา 09.30 – 10.30 น. - การบรรยายเรื่อง เรื่อง “กลยุทธ์การควบคุมคุณภาพ อาหารและการบริการ ของโรงแรมลำปำรีสอร์ท ในยุค ดิจิตอล” เวลา 10.30 -11.30 น . - ให้นักเรียนเยี่ยมชม สื่อวิดีทัศน์ โดยวิทยากรของโรงแรม ลำปำรีสอร์ท ในยุค ดิจิตอล” เวลา 11.30 – 12.00 น. - มอบของที่ระลึกให้แก่วิทยาการพิธีปิดสัมมนา หมายเหตุ กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม 1.9 ขั้นสรุปและประเมินผลการจัดกิจกรรม 1.9.1 สรุปโครงการสัมมนาเชิงวิชาการเรื่อง เรื่อง “กลยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหารและการบริการ ของโรงแรมลำปำรีสอร์ท ในยุคดิจิตอล” 1.9.2 จัดทำเล่มรายงานสรุปโครงการสัมมนาเชิงการเรื่องเรื่อง “กลยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหารและ การบริการ ของโรงแรมลำปำรีสอร์ท ในยุคดิจิตอล” 1.10 งบประมาณและทรัพยากรที่ต้องใช้ ใช้งบประมาณดำเนินการทั้งสินเป็นเงินทั้งหมด 4,770 บาท ประกอบด้วยรายจ่ายดังต่อไปนี้ 1.10.1 งบประมาณดำเนินงาน หมวดค่าใช้สอย 1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 3,270 บาท 2 ค่าดำเนินการประชาสัมพันธ์ - 3 ค่าตกแต่งอาหารและสถานที่ - 4 ค่าสัมมนาคุณวิทยากร 1‚500 บาท
10 5 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ - บาท รวมงบประมาณทั้งสิ้น 4‚770 บาท 1.10.2 สรุปร่วมรายรับ – และรายจ่าย ค่าใช้จ่ายในงานสัมมนาทั้งหมด 4‚770 บาท 1.11 คณะกรรมการจัดโครงการสัมมนาวิชาการ 1. ฝ่ายอำนวยการ นายธนิต แท่นปาน นายปรีชา เหมือนกู้ นายเอกไชย นวลยัง นายณัฐกร อาจทอง 2. คณะกรรมการฝ่ายดำเนินงาน นางทิพวรรณ อินทร์เกตุ นางจุฑามาศ คงเทพ นายวีรเดช มณีพงศ์ นางสาวสุอาพร เส้งสุข นายปฏิภาณ ทองแก้ว สมาชิกชมรมวิชาชีพอาหารและโภชนาการ 3. ฝ่ายประชาสัมพันธ์ นางสาวเมธิตา คำทอง นางสาวญาณิศา มุสิกวงค์ นางสาวมลินี ทองหยู่ 4. ฝ่ายปฎิคม นางสาวมลวิภา เปียคล้าย นายศักดิ์รินทร์ มานุ้ย 5. ฝ่ายทะเบียน นางสาวกันต์กนิษฐ์ บุญยรัตน์ นางสาวธัญชนก บุญรัตน์ นางสาวสถิตย์ภรณ์ หนูมาก 6. ฝ่ายพิธีกร นาวสาวสมชิตา เกื้อคลัง นายทิวากร ศรีเพชร 7. ฝ่ายเหรัญิก นางสาวณัจฉรียา เกื้อสุข
11 นางสาวณัฎฐกานต์ นุ่นปาน 8. ฝ่ายสถานที่ นางสาวชุติกาญจน์ บุญเพชรแก้ว นางสาวลีลาวดี ณ พัทลุง 9. ฝ่ายอาหาร นางสาวจันทรา อ้อบุตร นางสาวเสาวภาคย์ รักตลาด นางสาวณธิดา พูลเพิ่ม 10. ฝ่ายประเมินผล นางสาวมัชฌมา สุดจันทร์ นางสาวพุธิตา มากศรี 11. ฝ่ายเอกสาร นางสาวณัฐธยาน์ คงไหม นางสาวจรัสรวี อมะมูล นางสาวชมพูนุท ทองคำ 12. ฝ่ายจัดหาผู้สนับสนุน นางสาวขนิษฐา ลาวจันทร์ นางสาวชุตินันท์ ชัยจินดา 13. ฝ่ายโสตสื่อ/วัสดุ นายดลเฉลิม บุญวงศ์ นายฐปนวัฒน์ รัตนวัชรกุล 1.14. ตัวชี้วัดในการดำเนินโครงการ 1.14.1 ตัวชี้วัดเชิงประมาณ 1.14.1.1 ร้อยละจำนวนผู้เฃ้าร่วมโครงการสัมมนาเชิงวิชาการเป้าหมายร้อยละ 1.14.1.2 ร้อยละความสำเร็จตามแผนการดำเนินโครงการสัมมนาเชิงวิชาการ กิจกรรม ร้อยละ 100 1.14.1.3 ร้อยละความสำเร็จ 1.15 การประเมินผลโครงการ 1.15.1 แจกแบบประเมินผลโครงการ ในวันดำเนินงาน 1.15.2 สรุปและรายงายผลโครงการตามเเผนการดำเนินงาน 1.16 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.16.1 สมาชิกมีความมั่งมั่น ตั้งใจ ในการศึกษาหาความรู้ของสมาชิกชมรมวิชาชีพอาหาร และโภชนาการ 1.16.2 สมาชิกได้พัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะวิชาชีพแก่สมาชิกชมรมวิชาชีพ อาหารและโภชนาการ
12 1.16.3 สมาชิกชมรมฯ นำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารร้านและบริการของ โรงแรมลำปำรีสอร์ท ไปปรับใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคตได้ 1.16.4 สมาชิกมีความตระหนักในความสำคัญของวิชาชีพในการประกอบอาชีพแก่สมาชิก ชมรมวิชาชีพอาหารและโภชนาการ 1.16.5 สมาชิกมีแนวทาง และปรับตัวได้ก่อนออกสุ่สถานประกอบการจริง
13 บทที่2 คณะกรรมการดำเนินงาน โครงการสัมมนาเชิงวิชาการ เรื่อง กลยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหารและบริการ ของโรงแรมลำปำรีสอร์ทในยุคดิจิทัล ครูที่ปรึกษา คุณครูสุอาพร เส้งสุข
14 1. ฝ่ายประชาสัมพันธ์ นางสาวเมธิตา คำทอง นางสาวญาณิศา มุสิกวงศ์ ประธานฝ่ายประชาสัมพันธ์ นางสาวมลินี ทองหยู่
15 2. ฝ่ายปฏิคม นางสาวมลวิภา เปียกคล้าย นายศักดิ์รินทร์ มานุ้ย ประธานฝ่ายปฏิคม
16 3. ฝ่ายทะเบียน นางสาวกันต์กนิษฐ์ บุญยรัตน์ นางสาวธัญชนก บุญรัตน์ ประธานฝ่ายทะเบียน นางสาวสถิตภรณ์ หนูมาก
17 4. ฝ่ายเหรัญญิก นางสาวณัจฉรียา เกื้อสุข นางสาวณัฎฐกานต์ นุ่นปาน ประธานฝ่ายเหรัญญิก
18 5. ฝ่ายพิธีกร นางสาวสมชิตา เกื้อคลัง นายทิวากร ศรีเพชร ประธานฝ่ายพิธีกร
19 6. ฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม นางสาวเสาวภาคย์ รักตลาด นางสาวจันทรา ฮ้อบุตร ประธานฝ่ายสวัสดิการ นางสาวณธิดา พูลเพิ่ม
20 7. ฝ่ายอาคารและสถานที่ นางสาวชุติกาญจน์ บุญเพชรแก้ว นางสาวลีลาวดี ณ พัทลุง ประธานฝ่ายอาคารและสถานที่
21 8. ฝ่ายเอกสาร นางสาวจรัสรวี อมะมูล นางสาวชมพูนุท ทองคำ ประธานฝ่ายเอกสาร นางสาวณัฐธยาน์ คงไหม
22 9. ฝ่ายประเมินผล นางสาวมัชฌิมา สุดจันทร์ นางสาวพุธิตา มากศรี ประธานฝ่ายประเมินผล
23 10. ฝ่ายโสตทัศนูปกรณ์ นายดลเฉลิม บุญวงค์ นายฐปนวัฒน์ รัตนวัชรกุล ประธานฝ่ายโสตทัศนูปกรณ์
24 11. ฝ่ายจัดหาผู้สนับสนุน นางสาวขนิษฐา ลาวจันทร์ นางสาวชุตินันท์ ชัยจินดา ประธานฝ่ายจัดหาผู้สนับสนุน
25 2.2 หน้าที่ความรับผิดชอบ หน้าที่ความรับผิดชอบฝ่ายประชาสัมพันธ์ • การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ประกอบการลงทะเบียน • หนังสือเชิญและตอบรับเข้าร่วมงาน • สื่อต่างๆ ที่ใช้ในงาน หน้าที่ความรับผิดชอบของฝ่ายปฏิคม • การต้อนรับประธาน วิทยากร และคณาจารย์ ผู้เข้าร่วมสัมมนา • ประสานงานความเรียบร้อยภายในงาน • เอกสารงานทะเบียนและของที่ระลึก • ของที่ระลึกประธานและวิทยากร • เขียนแผนการดำเนินงานสัมมนา และบทพิธีกร หน้าที่ความรับผิดชอบฝ่ายลงทะเบียน • ตรวจสอบเอกสารการลงทะเบียนได้ครบหรือไม่ • ทำกล่องจับรางวัลคูปองและกล่องใส่แบบสอบถาม • ป้ายชื่อสถาบันและหน่วยงานในการลงนามการข้าร่วมโครงการ • ตรวจสอบสถานที่และจัดวางสถานที่จุดลงทะเบียน • ตรวจเช็ควัสดุอุปกรณ์ตรงตามที่ต้องการหรือไม่และจัดวางและตกแต่งสถานที่ • ตรวจสอบข้อมูลรายชื่อและจำนวนผู้เข้าร่วมงานและรวบรวมรายชื่อแจ้งกับฝ่ายสถานที่และ อาหารดำเนินการต่อไป • ลงมือจัดพิมพ์ใบตารางรายชื่อผู้เข้าร่วมงาน แยกประเภทกลุ่มหน่วยงานของผู้เข้าร่วม งาน • ติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่แต่ละฝ่าย • จัดหาของที่ระลึก เอกสารประกอบโครงการสัมมนาวิชาการสำหรับผู้เข้าร่วมงานสัมมนาวิชาการ ฝ่ายลงทะเบียนติดต่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดสถานที่ • เรื่องวัสดุ • อุปกรณ์ที่ต้องการใช้ • เรื่องจัดสถานที่และจัดตกแต่งสถานที่ ฝ่ายลงทะเบียนติดต่อฝ่ายสวัสดิการอาหาร • อาหารว่าง • อาหารกลางวัน ฝ่ายลงทะเบียนติดต่อฝ่ายวิชาการ • ใบแบบประเมินโครงการสัมมนาวิชาการ (กำหนดการ)
26 • เอกสารประกอบการบรรยายโครงการสัมมนาวิชาการ ฝ่ายลงทะเบียนติดต่อฝ่ายประชาสัมพันธ์ • ป้ายจุดรับลงทะเบียน • ป้ายชื่อวิทยากร • ติดตามรายชื่อผู้เข้าร่วมงานสัมมนา และ หนังสือตอบรับเข้าร่วมงานสัมมนา ฝ่ายลงทะเบียนติดต่อฝ่ายการเงิน • เบิกค่าใช้จ่ายทั้งหมด • รายการที่ใช้จ่ายไปทั้งหมด • คืนเงินคงเหลือกลับคืน หน้าที่ความรับผิดชอบฝ่ายประชาสัมพันธ์ • การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ประกอบการลงทะเบียน หน้าที่ความรับผิดชอบฝ่ายสถานที่ • ตรวจสอบความเรียบร้อยสถานที่ภายในงาน • ตรวจสอบความเรียบร้อยภายในห้องน้ำ • ประสานงานขอใช้ห้องประชุม • เขียนแผนการดำเดินงานการจัดสถานที่บริเวณหน้าห้องและภายในห้องประชุม • ติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่แต่ละฝ่าย • ฝ่ายสวัสดิการอาหาร • โต๊ะภายในห้องรับประทานอาหารสำหรับวิทยากรและคณะอาจารย์ ฝ่ายอาคารสถานที่ติดต่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียน • โต๊ะสำหรับลงทะเบียน • โต๊ะเก้าอี้สำหรับผู้เข้าร่วมงาน ฝ่ายอาคารสถานที่ติดต่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฎิคม • โต๊ะเก้าอี้สำหรับวิทยากรบรรยาย พาน ผ้ารองพานสำหรับมอบของที่ระลึก หน้าที่ความรับผิดชอบฝ่ายพิธีกร • พูดกับผู้มาร่วมสัมมนา สื่อสารกับผู้ร่วมสัมมนา • ทำหน้าที่ในการสร้างบรรยากาศในการประชุม หน้าที่ความรับผิดชอบฝ่ายสวัสดิการอาหาร • การดูแล ด้านอาหาร ของผู้เข้าร่วมสัมมนา และ คณะอาจารย์ • จัดอาหารว่างเช้าให้กับวิทยากร และคณะอาจารย์ • จัดอาหารว่างเช้าให้กับผู้เข้าร่วมสัมมนา
27 • จัดอาหารกลางวันให้กับวิทยากร และคณะอาจารย์ • จัดเตรียม-จัดเก็บ อุปกรณ์ ในการจัดสัมมนาและการบริการอาหารแต่ละมื้อ • วางแผนและกำหนดจำนวนอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการจัดสัมมนา • จัดเตรียมสถานที่สำหรับรับรองวิทยากรคณะอาจารย์ในการรับประทานอาหาร • จัดเตรียม – เสิร์ฟ ชุดอาหารว่าง และอาหารกลางวัน ในงานสัมมนา หน้าที่ความรับผิดชอบฝ่ายนิทรรศการและกิจกรรม • วางแผนดำเนินงานการจัดนิทรรศการและการแสดงทั้งหมดภายในงานสัมมนา • กำหนดกิจกรรมที่จะจัดให้สอดคล้องกับงาน หน้าที่ความรับผิดชอบฝ่ายการเงินและบัญชี • เก็บรวบรวมเงินจากสมาชิกในห้อง และจากผู้สนับสนุน • แบ่งเงินที่ต้องใช้ในแต่ละฝ่าย • จัดทำบัญชีรายจ่ายของแต่ละฝ่ายที่ใช้ในงาน • สรุปค่าใช้จ่ายของแต่ละฝ่าย และจัดทำรายงาน หน้าที่ความรับผิดชอบฝ่ายจัดหาผู้สนับสนุน • ประสานงานกับหน่วยงานเพื่อขอเงินสนับสนุน หน้าที่ความรับผิดชอบของฝ่ายประเมินผล • กำกับ ดูแล การวัดผลและการประเมินผลในการจักสัมมนาให้เป็นไปตามระเบียบ 2.3 แผนการปฏิบัติงานการจัดโครงการสัมมนาวิชาการ - จัดทำหนังสือขอบคุณ หนังสือขอขอบคุณผู้ที่มีความอนุเคราะห์ สนับสนุนงานสัมมนา หนังสือ ขอขอบคุณผู้ที่มีความอนุเคราะห์ หนังสือขอบคุณวิทยากร - จัดทำรูปเล่มสรุปงานสัมมนา รวบรวมข้อมูลจากทุกฝ่ายเพื่อสรุปและจัดทำรูปเล่มสรุปผลการ สัมมนา 2.3.3 การวางแผนก่อนการปฏิบัติงานของฝ่ายปฏิคม 2.3.3.1 การต้อนรับประธาน วิทยากร และคณะอาจารย์ ผู้เข้าร่วมสัมมนาประชุมภายใน คณะกรรมการฝ่ายเพื่อดำเนินการเตรียมการต้อนรับประธาน พิธีกร และคณะอาจารย์ ผู้เข้าร่วมสัมมนา เพื่อเป็นแนวทางการจัดสัมมนาดำเนินไปอย่างราบรื่น คณะกรรมการได้ปรึกษาหารือเกี่ยวกับการต้อนรับ โดยการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบให้คณะกรรมการฝ่ายดำเนินงาน 2.3.3.2 ประสานความเรียบร้อยภายในงานประชุมภายในคณะกรรมการฝ่ายและประสานงานทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการจัดงานสัมมนาเพื่อการดำเนินไปในทิศทางเดียวกันเพื่อให้การจัดงานสัมมนาดำเนิน ไปอย่างราบรื่นโดยบ่างหน้าที่ความรับผิดชอบให้คณะกรรมการเป็นผู้ดำเนินงาน และลำดับความสำคัญ มากและความสำคัญลองลงมา
28 2.3.4 การวางแผนก่อนการปฏิบัติงานของฝ่ายทะเบียน 2.3.4.1 เอกสารงานทะเบียนและของที่ระลึก คณะกรรมการฝ่ายประชุมหารือ และเสนอของที่ระลึกที่จะ มอบให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาที่ได้ทำการ ลงทะเบียนภายในงานให้เกิดความเหมาะสม โดยการแบ่ง หน้าที่ ความรับผิดชอบให้คณะกรรมการฝ่ายเป็นผู้ ดำเนินงาน และ หาราคาสิ่งของที่ระลึกที่จะมอบให้ผู้เข้าร่วม สัมมนา เพื่อเป็นการเทียบราคาที่ดีที่สุดและนำเสนอ เพื่อลงมติในที่ประชุมคณะกรรมการฝ่ายลงทะเบียน ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดำเนินงานและจัดชุดของที่ระลึกและ อุปกรณ์การเก็บ การจดบันทึกประกอบ งานสัมมนาที่จะมอบให้กับผู้เข้าร่วมงานสัมมนา 2.3.4.2 ของที่ระลึกประธานและวิทยากร เป็นกระเช้าน้ำผลไม้ดอยคำ 2.3.5 การวางแผนก่อนการปฏิบัติงานของฝ่ายประชาสัมพันธ์ - การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ประกอบการลงทะเบียน - ป้ายกิจกรรมต่างๆภายในงาน - ผลิตสื่อ 2.3.6 การวางแผนหลังการปฏิบัติงานของฝ่ายประชาสัมพันธ์ - รวบรวมสื่อต่างในงาน สัมมนา รวมสื่อต่างๆ ในงานสัมมนาส่งฝ่ายวิชาการ เพื่อจัดรวมเล่ม รายงาน - เก็บป้ายโฆษณางานสัมมนา เก็บป้ายโฆษณาต่างๆ ที่ได้ทำการติดไว้ 2.3.7 การวางแผนก่อนการปฏิบัติงานของฝ่ายสถานที่ 2.3.7.1 ประสานงานการขอใช้ห้องประชุมและการจัดตกแต่งสถานที่บริเวณภายในงานประชุม ภายใน คณะกรรมการฝ่ายสถานที่ประสานงานทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการจัดสถานที่สัมมนา โดยแบ่งหน้าที่ความ รับผิดชอบให้ฝ่ายติดต่อประสานงานภายในเป็นผู้ดำเนินงาน ทำหนังสือการขอใช้ห้องประชุม และอุปกรณ์ การจัดสถานที่ 2.3.7.2 บริเวณห้องน้ำและความสะอาดบริเวณสถานที่ภายในงาน คณะกรรมการฝ่ายประชุม หารือ ติดต่อแม่บ้านสำหรับทำความสะอาดบริเวณห้องน้ำและบริเวณห้องประชุมที่จัดสัมมนา เพื่ออำนวยความ สะดวกและดูแลความสะอาดเรียบร้อยบริเวณภายในงานให้ดำเนินการได้อย่างราบรื่น 2.3.8 การวางแผนหลังการปฏิบัติงานของฝ่ายสถานที่ 2.3.8.1 ประสานงานการขอใช้ห้องประชุมและการจัดตกแต่งสถานที่บริเวณภายในงานคณะ กรรมการ ฝ่ายดูแลความเรียบร้อยภายในงานการจัดซุ้มดอกไม้หน้างานจัดโต๊ะลงทะเบียนโต๊ะแสดงผลงานต่างๆ ใน การจัดสัมมนา 2.3.8.2 บริเวณห้องน้ำและความสะอาดบริเวณสถานที่ภายในงาน ประธาน วิทยากร และคณาจารย์ ผู้เข้าร่วมสัมมนา ได้ใช้บริการห้องน้ำสะอาดและสะดวก โดยมอบหมายให้ แม่บ้านดูแลความเรียบร้อย ทำ ความสะอาดทั้งในห้องน้ำและภายในงาน ตลอดงานสัมมนา เพื่ออำนวยความ สะดวก ภายในงานและ ความเรียบร้อยภายในงานให้ดำเนินงานอย่างราบรื่น
29 2.3.9 การวางแผนก่อนการปฏิบัติงานของฝ่ายสวัสดิการอาหาร - ประชุมวางแผนการปฏิบัติงาน - ติดต่อประสานงานร้านจำหน่ายอาหารว่าง และสอบถามราคาอาหาร - ติดต่อประสานงานร้านจำหน่ายอาหารกลางวัน และตรวจสอบราคาอาหารแต่ละรายการ - ติดต่อประสานงานร้านอาหารเพื่อจัดทำอาหารกลางวัน และตรวจสอบราคาอาหารแต่ละ รายการ - เสนองบประมาณในการจัดสัมมนาของอาหารแต่ละมื้อ - สำรวจความต้องการและเลือกรายการอาหารตามที่กำหนด - แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบตามรายการอาหารแต่ละมื้อ - ดำเนินการสั่งอาหารตามรายการที่กำหนด - คิดรูปแบบการจัดอาหารให้น่ารับประทานในแต่ละมื้อ - การจัดซื้ออาหารและเครื่องดื่มให้เพียงพอต่อผู้เข้าร่วมสัมมนาก่อน 1 วัน - จัดวางแก้วน้ำและน้ำดื่มในห้องจัดสัมมนาก่อน 1 วัน - แกะสลักผลไม้สำหรับจัดอาหารว่าง ให้กับวิทยากรและคณะอาจารย์ในงานสัมมนาก่อน 1 วัน - ตรวจสอบความเรียบร้อยก่อนการจัดงานสัมมนา - จัดอาหารว่างเช้า อาหารกลางวัน ให้กับวิทยากร คณะอาจารย์และผู้เข้าร่วมสัมมนา - จัดเสิร์ฟอาหารว่างและอาหารกลางวันให้กับวิทยากร คณะอาจารย์ และผู้เข้าร่วมสัมมนา – จัดเก็บและ ทำความสะอาดสถานที่ ที่ใช้ในการรับประทานอาหาร - ทำความสะอาดวัสดุ-อุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดสัมมนา 2.3.10 การวางแผนหลังการปฏิบัติงานของฝ่ายสวัสดิการอาหาร - จัดเก็บห้องเรียนและสถานที่ให้อยู่ในสภาพเดิม - เช็ดทำความสะอาด จำนวนวัสดุ-อุปกรณ์ - สรุปผลและตรวจสอบความเรียบร้อยหลังการจัดงานสัมมนา 2.3.11 การวางแผนก่อนการปฏิบัติงานของฝ่ายการเงินและบัญชี 2.3.11.1 รวบรวมเงินของจากนักศึกษาในรุ่น จำนวนเงิน 2,700 บาท 2.3.11.2 ประมาณการค่าใช้จ่ายเบื้องต้น ดังนี้ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 3,270 บาท ค่าดำเนินการประชาสัมพันธ์ จำนวน - ค่าตกแต่งอาหารและสถานที่ จำนวน - ค่าใช่จ่ายอื่นๆ จำนวน 1,500 บาท รวม จำนวน 4,770 บาท
30 บทที่ 3 เนื้อหาการสัมมนา 3.1 ความหมายและนิยามของ “Digital Era” ยุคดิจิทัล (Digital Era) คือ ยุคของอิเลคโทรนิคส์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีที่มีความรวดเร็ว ในการสื่อสารการส่งผ่านข้อมูลความรู้ต่างๆที่มีอยู่ในสังคมไม่ว่าจะเป็น ข่าวสาร ภาพหรือวิดีโอที่ทุกคน สามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็วทุกที่และทุกเวลาการดำเนินการทางธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ Online Business ด้วยพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลง จนส่งผลทำให้ระบบการสั่งซื้อสินค้าและบริการ ระบบการขนส่งระยะสั้นและการจัดส่งแบบรวดเร็ว จะเป็นที่ต้องการ และความสำคัญมากยิ่งขึ้น ซึ่ง หลังจากนี้ การขอรับบริการจากผู้บริโภคจะเริ่มหันมาให้ความสำคัญกับสุขภาพมากยิ่งขึ้น ระบบ บริการต้องสร้างความมั่นใจมากขึ้นว่าสินค้าหรือบริการจะต้องมีมาตรฐาน ปลอดภัย และมีความ สะอาด คาดว่า เราน่าจะเห็นการเปลี่ยนแปลงในเรื่องของการลงทุนของภาคเอกชน ห้างร้านต่างๆ หัน มาจริงจังกับการทำธุรกิจ online กันมากขึ้น “งานบริการ” ในปัจจุบันต้องบอกว่า งานบริการทำงานควบคู่ไปกับดิจิทัลมาโดยตลอด มากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับเนื้องานบริการนั้นๆ เพราะ digital platform เข้ามามีบทบาทในการช่วยยกระดับและ ส่งเสริมงานบริการให้มีความรวดเร็วแม่นยำสะดวกสบายมากขึ้น การก้าวเข้าสู่ยุคดิจิทัล “คน” ยังมี ส่วนสำคัญในงานบริการอยู่เพราะ “คน” ถือเป็น human touch point ที่สำคัญของลูกค้า ที่จะทำให้ customer experience ของลูกค้าที่มาใช้สินค้าและบริการ ผูกพันแน่นแฟ้น (engagement) กับเรา มากขึ้น โดยคนบริการก็จะอาศัยแพลตฟอร์มใหม่ๆ ในการเข้าถึงและเข้าใจลูกค้าเพื่อรองรับคนรุ่นใหม่ หัวใจดิจิทัล ผ่านการคิดวิเคราะห์ข้อมูลจาก big data ที่มาจากแหล่งต่างๆ ไม่ว่าข้อมูลจากคลาวด์หรือ ข้อมูลในโลกโซเชียลมีเดียอย่างเป็นระบบ โดยที่เราจะหยิบข้อมูลเหล่านี้มาใช้ออกแบบผลิตภัณฑ์และ บริการใหม่ๆ ให้กับลูกค้าตรงใจมากขึ้น การควบคุมคุณภาพอาหาร เป็นการควบคุมดูแลให้ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการผลิตแล้วได้รับการปฏิบัติ จากการขนส่งและเก็บรักษาก่อนส่งถึงมือผู้บริโภคโดยดำเนินไปอย่างถูกวิธีเหมาะสมกับคุณลักษณะ ของผลิตภัณฑ์ทั้งนี้เพื่อให้ผลิตภัณฑ์คงไว้ซึ่งคุณภาพตามข้อกำหนดและตามอายุของผลิตภัณฑ์และเป็น การปฏิบัติใดๆ ซึ่งก่อให้เกิดผลในการรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์สุดท้ายไม่ให้เปลี่ยนไปจาก มาตรฐานที่ได้ กำหนดไว้ ดังนั้นการควบคุมคุณภาพจึงต้องเริ่มตั้งแต่การจัดองค์กรและระบบการ ทำงานอย่างเหมาะสมลำ ดับต่อมาคือการเตรียมแผนและออกแบบก่อนการผลิตจริงการกำหนด มาตรฐานเพื่อการผลิต การควบคุมและการตรวจสอบในระหว่างการผลิตตลอดจนถึง การให้การศึกษา อบรมบุคคลกรทุกระดับชั้น ให้มีความรู้ความสามารถที่จะปฏิบัติงานของตนได้อย่างเหมาะสม 3.2 วิทยากร คุณสิรินาถ กาญจโนภาศ เจ้าของกิจการโรงแรมลำปำรีสอร์ท ประวัติการศึกษา คุณสิรินาถ กาญจโนภาศ ปริญญาตรีมหาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตภูเก็ต ปริญญาโท มหาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตภูเก็ต ประวัติการทำงาน Secreatary To General Manager Royal Phuket City Hotel ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งผู้บริหาร โรงแรมลำปำรีสอร์ท จ.พัทลุง
31 3.3 เอกสารประกอบการสัมมนา ๓.๓.๑ ข้อมูลทั่วไป ตั้งอยู่เลขที่ 88 หมู่ 6 ถนนอภัยบริรักษ์ ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง 93000, พัทลุงโรงแรมมีการจัดงานเลี้ยงบุฟเฟต์ ริมน้ำ เน้นกิน เน้นบรรยากาศ อาหารอร่อย ให้เยอะ สถาน ที่สุดอบอุ่นโรงแรมลำปำรีสอร์ท จังหวัดพัทลุงสถานที่จัดงานเลี้ยง งานประชุม ติดทะเลสาบ บรรยากาศสุดร่มรื่น 3 ห้องประชุมสามารถจุผู้เข้าร่วมตั้งแต่ 20-250 คน สถานที่จัดเลี้ยง Indoor Outdoor ได้มากกว่า 800 คน ที่พักบรรยากาศริมทะเลสาบ มีทั้งบ้านเดี่ยวเป็นหลัง บ้านแฝดสำหรับ ครอบครัว เพื่อความสะดวกและเป็นส่วนตัว ยามเช้า ออกกำลังกาย สูดอากาศบริสุทธิ์ ริมทะเลตกเย็น เดินเล่นชมพระอาทิตย์ตกบนสะพานสุดคลาสิก และโรงแรมลำปำรีสอร์ทยังมีการให้บริการจัดค่าย ต่างๆ บริการจัดงานแต่งงานหรืองานหมั้นแล้วยังมีให้เปิดจองเพื่อจัดงานเลี้ยงรุ่นสังสรรค์สำหรับทุก โรงเรียนและทุกช่วงอายุวัย การเดินทาง เมื่ออยู่ตรงตัวเมืองสถานีรถไฟพัทลุง ให้ตรงไปฝั่งโรงพยาบาลปิยารักษ์ ตรงไป 9 กิโลเมตร ผ่าน ถนนหมายเลข 4047 ระยะเวลาในการเดินทาง 15 นาที หลักการและเหตุผล จากสถานการณ์ปัจจุบัน การประกอบธุรกิจยังมีความสำคัญอย่างมาก เนื่องจาก ประชากรยัง อุปโภค บริโภคผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายแต่การทำธุรกิจในปัจจุบันจะเห็นได้ว่าแนวโน้มของการ บริหารธุรกิจเป็นไปในทิศทางที่แตกต่างกัน เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้บริโภคเนื่องจากสถานการณ์ ปัจจุบันเกิดสภาวเศรษฐกิจถดถอยทำให้การทำธุรกิจเป็นไปได้ยาก ผลกระทบที่สำคัญที่สุดคือ รายได้ จากการทำธุรกิจลดลง สังเกตได้จากสภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน ทำให้ประชาชนส่วนใหญ่ พากันอาศัยอยู่
32 ในอาคารหรือ ที่พักอาศัย ไม่ได้ออกเดินทางไปไหน จึงทำให้เกิดปัญหาด้านเศรษฐกิจ โดยประชาชน ออกมาจับจ่ายใช้สอยน้อยลงจาสถานการณ์ดังกล่าว จึงทำให้ผู้ประกอบธุรกิจ หากลยุทธ์เพื่อช่วยให้ เกิดความสะดวก รวดเร็ว ในการบริการแก่ผู้รับบริการ จากข้อความดังกล่าว ทำให้ผลิตภัณฑ์เข้าถึง กลุ่มของผู้รับบริการมากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ 1.สามารถนำไปใช้ในการทำธุระกิจใหญ่ๆ 2.เพื่อไปปรับใช้ต่อยอดกับธุระกิจหรือกิจการต่างๆได้ 3.เพื่อเป็นเเนวทางที่ทำไห้ธุรกิจอยู่รอดจากสถานการณ์เศรษฐกิจ ประโยชน์ที่ได้รับ 1.สมาชิกมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ ในการศึกษาความรู้ของสมาชิกชมรมวิชาชีพอาหารและโภชนาการ 2.สมาชิกได้พัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะวิชาชีพแก่สมาชิกชมรมวิชาชีพอาหารและ โภชนาการ 3.สมาชิกชมรมฯ นำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารร้านและบริการของโรงแรมลำปำรีสอร์ทไป ปรับใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคตได้ 4.สมาชิกมีความตระหนักในความสำคัญของวิชาชีพในการประกอบอาชีพแก่สมาชิกชมรมวิชาชีพ อาหารและโภชนาการ 5.สมาชิกมีแนวทาง และปรับตัวได้ก่อนออกสู่สถานประกอบการจริง
33 บทที่ 4 ผลการดำเนินงานและประเมินผล 4.1การดำเนินงานและประเมินผลการจัดโครงการสัมมนาวิชาการ 4.1.1 ประเมินผลก่อนการดำเนินงานฝ่ายวิชาการ การทำงานของฝ่ายวิชาการได้จัดทำการดำเนินการแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้ 4.1. 1. 1 จัดทำเสนอหัวข้อในการจัดสัมมนา, เสนอโครงการสัมมนา, วิทยากร, กำหนดการ สัมมนา,แบบสอบถาม ในการจัดสัมมนาจากที่ได้ประเมินผลการทำงานในด้านนี้พบว่า การจัดทำหัวข้อ มีความล่าข้าเล็กน้อยในการดำเนินงาน 4.1.1.2 จัดทำหนังสือขอความอนุเคราะห์จากฝ้ายต่าง ๆ 1) ฝ่ายจัดหาผู้สนับสนุน จัดทำหนังสือขอความอนุเคราะห์สนับสนุนโครงการจำนวน 3 ฉบับ 2) ฝ่ายประชาสัมพันธ์ จัดทำหนังสือเวียนประชาสัมพันธ์ 1 ฉบับ 3) ฝ้ายนิทรรศการและกิจกรรมจัดทำหนังสือขอความอนุเคราะห์เครื่องมือเพื่อใช้ในการจัด นิทรรศการ 2ฉบับ 4) ฝ่ายวิชาการ จัดทำหนังสือเรียนเชิญเป็นวิทยากร 1 ฉบับ ทั้งนี้ฝ่ายวิชาการได้มอบ จดหมายเรียนเชิญด้วยตนเอง เนื่องจากมีการอธิบายความเป็นมาของงานและกรอบแนวคิดในการจัด สัมมนาในครั้งนี้ 5) ฝ่ายสถานที่ จัดทำหนังสือขอความอนุเคราะห์เข้าใช้สถานที่เพื่อจัดงานสัมมนา 6) ฝ่ายสวัสดิการและการบริการอาหาร จัดทำหนังสือขอความอนุเคราะห์เครื่องมืออุปกรณ์ และครัว 1 ฉบับ 7) ฝ่ายเลขานุการจัดทำหนังสือเชิญครูและบุคลากรทางการศึกษา 10 ฉบับ 8) จัดทำหนังสือบันทึกข้อความต่าง ๆ ภายใน ที่แต่ละฝ่ายต้องการตรงตามที่กำหนด 9) เตรียมเอกสารประกอบการสัมมนาเสนอรูปแบบและเนื้อหาให้อาจารย์ประจำรายวิชา พิจารณาและตรวจสอบโดยได้จัดพิมพ์เอกสาร จำนวน 9 ชุด 4.1.2 ประเมินผลหลังการดำเนินงานฝ่ายวิชาการ 4.1.2.1 จัดทำหนังสือขอบคุณหน่วยงานต่าง ๆ ที่ให้ความอนุเคราะห์ 1) จัดทำหนังสือขอขอบคุณผู้สนับสนุนโครงการให้ฝ่ายงบประมาณ ในการจัดส่งให้ต้น สังกัด 2) จัดทำหนังสือขอขอบคุณหน่วยงานให้ฝ่ายประชาสัมพันธ์เพื่อจัดส่งให้หน่วยงานที่เข้าร่วม การสัมมนา 3) จัดทำหนังสือขอขอบคุณหน่วยงานให้ฝ่ายนิทรรศการและกิจกรรมเพื่อจัดส่งไปหน่วยงาน ที่ให้ความอนุเคราะห์เข้าร่วมงาน 4) จัดทำหนังสือขอขอบคุณวิทยากรให้ฝ่ายปฏิคม เพื่อนำส่งวิทยากร 5) จัดทำเล่มสรุปการดำเนินงานสัมมนาวิชาการชีพ
34 4.1.3 ประเมินผลก่อนการดำเนินงานฝ่ายปฏิคม 4 1.3 1 การต้อนรับประธาน วิทยากร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา นับเป็นเรื่องยากใน การนรับอย่างทั่วถึงและอำนวยความสะดวกได้ครบทุกท่านเท่าเทียมกัน แต่คณะกรรมการฝ่ายวาง ตำแหน่งได้งบหมายหน้าที่การต้อนรับผู้เข้าร่วมสัมมนา ให้เป็นไปอย่างเรียบร้อยพร้อมทั้งคอยอำนวย ความสะดวกตลอด สัมมนา 4.1.3.2 ประสานงานความเรียบร้อยภายในงาน การจัดงานสัมมนาดำเนินไปอย่างราบรื่นการ ประสานงานกับฝ่ายที่เกี่ยวข้องภายในงานเพื่อดำเนินการเตรียมความพร้อมต้อนรับและวับรองผู้เข้าร่วม สัมมนาให้เป็นไปอย่างเรียบร้อย การเตรียมพื้นที่จอดรถสำหรับประธานและวิทยากร เตรียมความพร้อม อุปกรณ์การแสดงสำหรับพิธีเปิด และดูแลอำนวยความสะดวกประธาน วิทยากรตลอดงานสัมมนา 4.1.4 ประเมินผลหลังการดำเนินงานฝ่ายปฏิคม 4.1.4.1 การต้อนรับประธาน วิทยากร และคณาจารย์ ผู้เข้าร่วมสัมมนา วิทยากรและ คณาจารย์ผู้เข้าร่วมสัมมนา ให้การตอบรับและเข้าร่วมฟังสัมมนาอย่างให้ความสนใจและร่วม กิจกรรมกับวิทยากรเป็นอย่างตี 4.1.4.2 ประสานงานความเรียบร้อยภายในงาน การจัดงานสัมมนาดำเนินไปอย่าง ราบรื่นการประสานงานกับฝ้ายที่เกี่ยวข้องภายในงานเพื่อดำเนินการเตรียมพร้อมต้อนรับและ รับรองผู้เข้าร่วมสัมมนาอุปกรณ์การแสดง ลำดับการเปิด พิธีการสำคัญ ต่าง ๆ 4.1.5 การวางแผนก่อนดำเนินงานของฝ่ายทะเบียน 4.1.5.1 เอกสารงานทะเบียนและของที่ระลึก คณะกรรมการทุกฝ่ายประชุมหารือและ เสนอของที่ระลึกที่จะมอบให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาที่ได้ลงทะเบียนภายในงานให้เกิดความเหมาะสม โดยการแบ่ง หน้าที่ความรับผิดชอบให้คณะกรรมการฝ้ายเป็นผู้ ดำเนินงานและหาราคาสิ่งของที่ ระลึกที่จะมอบให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาซึ่งได้การสนับสนุนกระเข้าตอบแทน จากนักศึกษาแผนก อาหารและโภชนาการ ชั้น ปวส.1และแบบสอบถามออนไลน์ในรูปแบบ คิวอาร์โค้ด ไว้ให้ ผู้เข้าร่วมงานสัมมนาได้ทำการบันทึกข้อมูล 4.1.6 การวางแผนหลังการดำเนินงานของฝ่ายทะเบียน 4.1.6.1 เอกสารงานทะเบียนและของที่ระลึก ประธาน วิทยากร และคณาจารย์ ผู้เข้าร่วมสัมมนา ให้การตอบรับและเข้าร่วมฟังสัมมนา อย่างให้ความสนใจและร่วมกิจกรรมดี พอควรโดยทางคณะกรรมการฝ่ายได้ดำเนินการและลดอัตราความเสี่ยง ลงได้เป็น 5%โดยความ เสี่ยงที่เกิดจากวิทยากรบางท่านไม่ได้ทำการส่งข้อมูลในการบรรยายตามหัวข้อมาให้ ก่อนวัน สัมมนาและอุปกรณ์ที่ท่านวิทยากรนำมาเป็นอุปกรณ์ที่ไม่เคยทดลองใช้กับเครื่องโปรเจคเตอร์ของ ทาง มหาวิทยาลัยฯแต่สามารถรับสัญญาณได้ดีพอควร 4.1.6.2 เอกสารงานทะเบียนและของที่ระลึก ประธาน วิทยากรและคณาจารย์ผู้เข้าร่วม สัมมนาลงทะเบียนรายชื่อ ด้านหน้างาน เรียบร้อยรับของที่ระลึกและอาหารว่างเข้าโดยทาง คณะกรรมการฝ้ายได้กำหนดจำนวนผู้เข้าร่วมสัมมนาไว้ 98 คนและได้ประเมินความเสี่ยงไว้อีก ประมาณ 10 คนสำหรับผู้เข้าร่วมสัมมนาที่มาในวันงานโดยของที่ระลึกในงานสัมมนาในครั้งนี้
35 ประกอบด้วยเอกสารและของชำร่วยซึ่งได้รับการสนับสนุนกระเช้าตอบแทน จาก นักศึกษาแผนก อาหารและโภชนาการ ชั้น ปวช รวมทั้งหมดเป็น62 ชุด ซึ่งเพียงพอกับผู้เข้าร่วมสัมมนาในครั้งนี้ จำนวน 98 คนการลงทะเบียนรายชื่อเกิดความล่าช้า เพราะผู้ร่วมสัมมนาบางกลุ่มลงทะเบียน ออนไลน์และบางกลุ่มมาเป็นห้องเรียน จึงทำให้มีปัญหาในการหารายชื่อ 4.1.6.3 ของที่ระลึกประธานและวิทยากร ของที่ระลึกประธาน เป็นกระเช้า จาก นักศึกษาแผนกอาหารและโภชนาการ ชั้น ปวช 4.1.7 ประเมินผลก่อนการดำเนินงานฝ้ายประชาสัมพันธ์ -การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ประกอบการ ลงทะเบียนโปสเตอร์ ขนาด A4 จำนวน 10 แผ่นเพื่อประชาสัมพันธ์ไปยัง 10 อาคารคิดเป็นร้อยละ 100 ดังนี้ 1. อาคารสุพรรณิการ์ 2. อาคารปาริชาติ 3. อาคารเทพทาโร 4. อาคารราชพฤกษ์ 5. อาคารบุญนาค 6. อาคารแผนกช่างไฟกำลัง 7. อาคารแผนกก่อสร้าง/โยธา 8. อาคารช่างอุตสาหกรรม 9. อาคารอิเล็กทรอนิกส์ 10. อาคารปัญญานันทะ เพจ Face book งานสัมมนา หนังสือเชิญและตอบรับเข้าร่วมงาน ส่งหนังสือเชิญด้วยตนเอง จำนวน 10 แผ่น เพื่อประชาสัมพันธ์ ไปยัง 10 อาคาร คิดเป็น ร้อยละ 100 ระบบออนไลน์ 4.1.8 ประเมินผลหลังการดำเนินงานฝ่ายประชาสัมพันธ์ การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ประกอบการลงทะเบียน โปสเตอร์ ขนาด A4 จำนวน 10 แผ่นเพื่อ ประชาสัมพันธ์ปยัง 10 อาคาร คิดเป็นร้อยละ 100 โดยพบว่ามีหน่วยงานที่เข้าร่วมงามสัมมนาคิดเป็นร้อย 90 มีอาคารที่เข้าร่วมดังนี้คือ ไวนิลประชาสัมพันธ์อาคารสุพรรณิการ์ อาคารปาริชาติ อาคราชพฤกษ์ อาคารบุญนาค อาคารแผ่นกช่างไฟกำลัง อาคารแผนกก่อสร้าง/โยธาอุตสาหกรรม อาคารอิเล็กทรอนิกส์ อาคารปัญญานันทะ บัตรเชิญ ขนาด 5x7 นิ้ว จำนวน 10 แผ่น เพื่อเรียนเชิญคณะครูและบุคลากรภายใน วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง มีจำนวน 10 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 100 4.1.9 ประเมินผลก่อนการดำเนินงานฝ่ายสถานที่ 4.1.9. 1 ประสานงานการขอใช้ห้องประชุมและการจัดตกแต่งสถานที่บริเวณภายในงาน การ สถานที่นับเป็นเรื่องยากในการจัดหาโต๊ะสำหรับวางอุปกรณ์ในการทำงานและจัดหาโต๊ะให้เพียงพอกับการ เสนอผลงาน โดยทางคณะกรรมการฝ้ายได้ประเมินความเสี่ยงไว้ที่ 70% 4 .1 .9.2 บริเวณห้องน้ำและความสะอาดบริเวณสถานที่ภายในงานบริเวณด้านหน้าและภายใน ห้องประชุมรวมถึงห้องน้ำ เตรียมพร้อมสำหรับผู้เข้าร่วมสัมมนาโดยทางคณะกรรมการฝ้ายได้ประเมิน
36 ความเสี่ยงไว้ที่ 309 โดยคิดจากความเสี่ยงความเป็นไปได้ จากมีผู้เข้าร่วมสัมมนามีจำนวนมาก การดูแล ความสะอาดภายในงานและความสะอาดภายในห้องน้ำในบางส่วนอาจดูแลความสะอาดได้ไม่ทั่วถึง ทั้ง ห้องน้ำและห้องประชุมสัมมนา 4.1.10 ประเมินผลหลังการดำเนินงานฝ่ายสถานที่ 4.1.10.1 ประสานงานการขอใช้ห้องประชุมและการจัดตกแต่งสถานที่บริเวณภายในงาน การ จัดเตรียมห้องประชุมสำหรับงานสัมมนาดำเนินการไปอย่างราบรื่น การประสานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ดำเนินงานไปได้ด้วยตี๋โดยทางคณะกรรมการฝ่ายได้ดำเนินการและลดอัตราความเสี่ยงลงได้เป็นที่ 5% โดยความเสี่ยงที่เกิดขึ้นเป็นความเสี่ยง จากความเป็นไปได้ของความเรียบร้อย เช่น ผ้าสำหรับปูโต๊ะ คณะกรรมการฝ่ายอุปกรณ์เสริมจากสถานที่อื่นเพื่อให้เพียงพอกับจำนวนที่ต้องการใช้ ภายในงานติดป้าย บนเวทีมีการติดบนเวทีก่อนเริ่มงานสัมมนาล่วงหน้าก่อนวันงาน โต๊ะและเก้าอี้ มีการจัดล่วงหน้างานก่อน หนึ่งวันแม้วันจัดงานมีจำนวนผู้เข้าร่วมงานเพิ่มเติมทางสถานที่ใด้มีการจัดเก้าอี้เสริมสำหรับผู้ร่วมงานที่มา เพิ่มเติมในวันงานได้อย่างเพียงพอ ด้านงาน การจัดเตรียมโต๊ะ สำหรับการจัดเสนอผลงานการตั้งดอกไม้ สดในบริเวณ หน้าโต๊ะลงส่วนกากสามารณดีรียมงานก่อนเริ่มงานส่วงหน้าหนึ่งวันจึงไม่มีปัญหาในการ เตรียมงาน หลังจากการจัดสัมมนา คณะกรรมการฝ้ายมีการแบ่งหน้าที่ในการจัดเก็บสถานที่ในแต่ละส่วน ทำความสะอาด และทำการส่งคืน อุปกรณ์ ที่ทำการยืมกับทางสถานที่ต่าง ๆ 4.1.10.2 บริเวณห้องน้ำและความสะอาดบริเวณสถานที่ภายในงาน การดูแลทำความสะอาดบริเวณค้านหน้าและภายในห้องประชุม รวมถึงห้องน้ำ เตรียมพร้อมสำหรับ ผู้เข้าร่วมสนมนา โดยรวมผู้เข้าร่วมงานมีความชื่นชอบการจัดตกแต่งสถานที่ แต่ภายในห้องน้ำเนื่องจาก ผู้เข้าร่วมงานเป็นจำนวนมากอาจมีการดูและทำความสะอาดได้ไม่ทั่วถึงจึงแบ่งหน้าที่กันค่อยดูแลเพื่อ รักษา ความสะอาดของห้องน้ำ 4.1.11 การวางแผนก่อนการดำเนินงานของฝ้ายอาหารและสวัสดิการ ลำดับ การดำเนินงาน การปฎิบัติงาน ผู้รับผิดชอบ 1. จัดเตรียมอาหารว่างสำหรับผู้เข้าฟัง สมมนา เข้าฟังสัมมนา -เตรียมอุปกรณ์การรับประทาน อาหาร -ชุดเบรกวิทยากร และคณะ อาจารย์ ประกอบด้วย ขนม,น้ำ จำนวน 6 ชุด -ชุดเบรกผู้เข้าสัมมนา จำนวน 98 คน นางสาวเสาวภาคย์ รัก ตลาด นางสาวจันทรา ฮ้อบุตร นางสาวณธิดา พูลเพิ่ม
37 2. บริการอาหารและเครื่องดื่ม ระหว่างดำเนินการสัมมนา -ปรำจำจุดแจกอาหารว่างให้แก่ ผู้เข้าร่วมสัมมนา บริเวณโต๊ะ ลงทะเบียน -จัดสรรหน้าที่ในฝ่ายบริการ อาหารว่างและอาหารกลางวัน ให้แก่วิทยากรและ คณะอาจารย์ ที่เข้าร่วมสัมมนา -จัดเตรียมน้ำเปล่า และกาแฟ ให้แก่วิทยากรขณะบรรยาย นางสาวเสาวภาคย์ รัก ตลาด นางสาวจันทรา ฮ้อบุตร นางสาวณธิดา พูลเพิ่ม 4.1.12 การวางแผนหลังการปฏิบัติงานของฝ้ายอาหารและสวัสดิการ ลำดับ การดำเนินงาน การปฎิบัติงาน ผู้รับผิดชอบ 1. อาหารว่าวสำหรับผู้เข้าร่วมสัมมนา -สรุปยอด และรวบรวมบิลค่าใช่ จ่าย ส่งฝ่าย บัญชีเพื่อประกอบ เข้าเล่มรายงานเรื่องงบประมาณ นางสาวเสาวภาคย์ รัก ตลาด นางสาวจันทรา ฮ้อบุตร นางสาวณธิดา พูลเพิ่ม 4.1.13 ประเมินผลก่อนการดำเนินงานฝ้ายนิทรรศการและกิจกรรม 4.1.13.1 วางแผนและสร้างรูปแบบในการจัดนิทรรศการการดำเนินการวางแผนและสร้าง รูปแบบนิทรรศการ คณะกรรมการผู้ที่รับหน้าที่ผิดชอบในส่วนของกิจกรรมภายในงาน ได้ติดต่อในส่วนของ กิจกรรมที่เป็นการจัดสถาบที่ โดยดำเนินการจัดและตกแต่งในส่วนของนิทรรศการที่จะนำมาจัดแสดง และ ติดต่อกับฝ่าย ประชาสัมพันธ์ช่วยคำเนินการทำป้ายนิทรรศการโดยในขั้นตอนแนวทางการ วางแผนประเมินความเสี่ยงไว้ ที่158 โดยคิดจากความเสี่ยงจากความเป็นไปใต้ของรูปแบบการจัดงานที่ต้องเป็นการสื่อในแนวทางของกล ยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหารและบริการ ของโรงแรมลำปำรีสอร์ท ในยุคดิจิตอล ในการจัดครั้งนี้ต้อง เสนอเกี่ยวกับกลยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหารและบริการ ของโรงแรมลำปำรีสอร์ท ในยุคดิจิตอล 4.1.13.2 กำหนดกิจกรรมที่จะจัดให้สอดคล้องกับงานกิจกรรมจะต้องมีความเป็นเนื้อหาที่เกี่ยวกลยุทธ์การ ควบคุมคุณภาพอาหารและบริการ ของโรงแรมลำปำรีสอร์ท ในยุคดิจิตอล การตลาดของโรงแรมลำปำรี สอร์ท ที่สามารถนำมาสร้างและนำมาพัฒนาเป็นธุรกิจ สร้างรายได้ให้ผู้ปกครองและเป็นการสนับสนุนกลุ่ม ชาวบ้านที่มีความสามารถในงานด้านการค้าขายให้เริ่มต้นทำธุรกิจได้โดยในขั้นตอนทางการวางแผน ประเมินความเสี่ยงไว้ที่ 159โดยคิดจากความเสี่ยงจากความเป็นไปได้ของกิจบำมาจัดในงาน ต้องเป็นเกี่ยว ช้องกับกลยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหารและบริการ ของโรงแรมลำปำรีสอร์ท ในยุคดิจิตอล
38 4.1.13.3 ติดต่อและประสานงานหน่วยงานต่าง ๆเพื่อนำผลงานมาจัดนำเสนอในการ จัดสัมมนา ผลงานที่นำมาจัดแสดงอาทิเช่น กลยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหารและบริการ ของโรงแรมลำปำรีสอร์ท ในยุคดิจิตอล 4.1.14 ประเมินผลหลังการดำเนินงานฝ่ายนิทรรศการและกิจกรรม 4.1.14.1 วางแผนและสร้างรูปแบบในการจัดสัมมนาในการดำเนินการวางแผนและสร้างรูปแบบ การสัมมนา คณะกรรมการผู้ที่รับหน้าที่ผิดชอบในส่วนของกิจกรรมภายในงาน ได้รับความอนุเคราะห์จาก ฝ่าย สัมมนา คณะกรรมการผู้ที่รับหน้าที่ผิดชอบในส่วนของกิจกรรมภายในงาน ได้รับความอนุเคราะห์จากฝ่าย ในส่วนของการจัดสัมมนาที่จะนำมาจัดแสดง ฝ้ายประชาสัมพันธ์ ช่วยดำเนินการทำป้ายการจัดโดยทาง คณะกรรมการฝ่ายได้ดำเนินการ และลดอัตราความเสี่ยงลงได้เป็น 0% 4.1.14. 2 กำหนดกิจกรมที่จะจัดให้สอดคล้องกับงานกิจกรรมมีการเสนอความรู้ต่าง ๆมาเผยแพร่ มาทำการประกอบทำให้บรรยากาศงานสัมมนาเป็นที่น่าสนใจทั้งทางด้านคหกรรมศาสตร์ที่การค้าขาย การอยู่รอดของธุรกิจ โดยทางคณะกรรมการฝ่ายได้ดำเนินการและลดอัตราความเสี่ยงลงได้ เป็นที่ 0% 4.1.14.3 ติดต่อและประสานงานหน่วยงานต่าง ๆเพื่อนำผลงานมาจัดนำเสนอในการจัดสัมมนา ผลงานที่นำมาจัดแสดง การติดต่อโรงแรมลำปำรีสอร์ท คณะกรรมการฝ้ายได้ดำเนินการและลดอัตราความ เสี่ยงลงได้เป็น ที่ 5%โดยความเสี่ยงที่เกิดขึ้นเป็นความเสี่ยงจากความเป็นไปใต้ในทางการติดต่อ ซึ่งทาง คณะกรรมฝ่ายได้ดำเนินการเป็นผู้จัดเก็บผลงานเองเพื่อลดอัตราความเสี่ยงและเสียหายลงได้ 4.1.15 ประเมินผลก่อนการดำเนินงานฝ่ายการจัดหาผู้สนับสนุน 4.1.15.1 ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ภายนอกการจัดส่งเอกสารภายในหน่วยงานต่าง ๆ ดำเนินไปอย่างราบรื่นการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการขอการสนับสนุนเพื่อเตรียมความ พร้อมส่งเอกสารไปยังหน่วยงาน และมีความเสี่ยงในการส่งเอกสาร 4.1.15.2 ประสานงานความเรียบร้อยภายหลังส่งเอกสาร การดำเนินงานครั้งนี้เป็นไปด้วยความราบรื่นในการตามเอกสารด้านการขอปัจจัยสนับสนุนจะมีปัญหา เล็กน้อยในกรณีของสนับสนุนเกิดการล่าช้าเพราะหน่วยงานไม่สามารถนำมาส่งได้เอง ทางผู้จัดสัมมนาต้อง เดินทางไปรับด้วยตัวเอง แต่ก็ผ่านไปได้ด้วยดีการดำเนินงานครั้งนี้มีอุปสรรคในการตามเอกสารเพราะ หน่วยงานต่าง ๆห่างกันและเป็นช่วงหยุดยาว ทำให้เอกสารต่าง ๆ หรือแบบตอบรับการสนับสนุนไม่ถึงและ มีความเสี่ยงสูง ในการขอของสนับสนุน 4.1.16 ประเมินผลหลังการดำเนินงานฝ่ายการจัดหาผู้สนับสนุน 4.1.16.1 ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆภายนอกในการขอการสนับสนุนเป็นไปตามที่คาดหวัง เพราะมีการดอบรับ 10 อาคาร ได้แก่ อาคารสุพรรณิการ์อาคารปาริชาติ อาคารเทพทาโร อาคารราช พฤกษ์ของโรงแรมลำปำรีสอร์ท อาคารบุญนาค อาคารแผ่นกช่างไฟกำสังอาคารแผนกก่อสร้าง/โยธา อาคารช่างอุดสาหกรรม อาคารอิเล็กทรอนิกส์ อาคารปัญญานันทะ 4.1.16.2 ประสานงนความเรียบร้อยภายหลังส่งเอกสารการดำเนินงานครั้งนี้เป็นไปด้วยความ ราบรื่นในการตามเอกสารด้านการขอปัจจัยสนับสนุนจะมีปัญหาเล็กน้อยในกรณีของสนับสนุนเกิดการลำ ในการตามเอกสารด้านการขอปัจจัยสนับสนุนจะมีปัญหาเล็กน้อยในกรณีของสนับสนุนเกิดการลำช้า
39 เพราะหน่วยงานไม่สามารถนำมาส่งได้เองทางผู้จัดสัมมนาต้องเดินทางไปรับด้วยตัวเองแต่ก็ผ่านไปใด้ ด้วยดี 4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินผลการจัดการสัมมนา การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลจาก "ประเมินผลการจัดสัมมนาวิชาการ" และแปลความหมาย เพื่อให้เกิดความเข้าใจในการสื่อสารที่ตรงกัน จึงได้กำหนดสัญลักษณ์และอักษรย่อในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล N แทน จำนวนกลุ่มตัวอย่าง X แทน ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง S.D. แทน ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการดำเนินจัดสัมมนาวิชาการในครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามเรื่องระดับความ พึงพอใจการประเมินผลการจัดสัมมนาวิชาชีพ เรื่อง โกลยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหารและบริการ ของ โรงแรมลำปำรีสอร์ท ในยุคดิจิตอลโดยลักษณะของ แบบสอบถามแบงออกเป็น 4 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจด้านกระบวนการ และขั้นตอนการจัดสัมมนาและด้านคุณภาพการจัดสัมมนา โดยคำถามในตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วน ประมาณตามแบบของลิเคิร์ท (Likert'sscale) ที่ มี 5 ระดับคือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด การกำหนดน้ำหนัก หรือคะแนนในการตอบแบบสอบถาม 5 ระดับ ดังนี้ ระดับมากที่สุด ให้น้ำหนักหรือคะแนนเป็น 5 ระดับมาก ให้น้ำหนักหรือคะแนนเป็น 4 ระดับปานกลาง ให้น้ำหนักหรือคะแนนเป็น 3 ระดับน้อย ให้น้ำหนักหรือคะแนนเป็น 2 ระดับน้อยที่สุด ให้น้ำหนักหรือคะแนนเป็น 1 ตอนที่ 3เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับคิดเห็นที่ใดรับจากการเข้าร่วม โครงการ ความรู้จากวิทยากรและกิจกรรมสัมมนาวิชาการ ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะนการวิเคราะห์ผลแบบ สำรวจการ วิเคราะห์ระดับความพึงพอใจ ด้านกระบวนการและขั้นตอนการจัดสัมมนาด้านคุณภาพการจัดสัมมนา วิทยากร เลือกใช้เกณฑ์การแปลความค่าเฉลี่ย 5 ระดับดังนี้เกณฑ์การแปล ความหมายคำเฉลี่ยดังนี้ 4.51 - 5,00แปลความหมายเป็น มากที่สุด 3.51 - 9.50แปลความหมายเป็นมาก 251 - 3.50 แปลความหมายเป็น ปานกลาง 1.51 - 2.50 แปลความหมายเป็น น้อย 1.00 -1.50 แปล ความหมายเป็น น้อยที่สุด4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบ แบบสอบถาม ตารางที่ 4.3. 1ตารางแสดงคำร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามเพศ ข้อมูลผู้เข้าร่วม โครงการ จำนวน ร้อยละ เพศชาย 21.4% หญิง 78.6%
40 ตารางที่ 4.3.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามโครงการสัมมนาวิชาการเรื่องกลยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหาร และบริการ ของโรงแรมลำปำรีสอร์ท ในยุคดิจิตอล จำนวนทั้งหมด 109 คน ตารางที่ 4.3.2 ตารางแสดงคู่ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามระดับการศึกษา ข้อมูลผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน ร้อยละ ระดับการศึกษา ปวช. 68.2 % ตารางที่ 4.3.3 ตารางแสดงคำร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามอาชีพ ข้อมูลผู้เข้าร้อยละ อาชีพ นักเรียน 37.2% นักศึกษา 62.8% กลยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหารและบริการ ของโรงแรมลำปำรีสอร์ท ในยุคดิจิตอล จำนวนทั้ง 109 คน ตารางที่4.3.4 ตารางแสดงค่าร้อยละของผู้ดอบแบบสอบถาม จำแนกตามการรับข้อมูลจากแหล่งเข้าร่วม โครงการ จำนวน ร้อยละ จำแนกตามการับข้อมูล จากแหล่งข้อมูลใด โปสเตอร์/ไวนิล 29.1% เว็บไซต์ 17.4 %หนังสือเชิญ 11.6 % โซเขียลมีเตีย/เฟคบุ๊ค 34.9 %อื่นๆ 7.2% ตอนที่ 2. การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการสัมมนาวิซาการเรื่องการกล ยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหารและบริการ ของโรงแรมลำปำรีสอร์ท ในยุคดิจิตอล วิเคราะห์ข้อมูล เกี่ยวกับความหึงพอใจในการเข้าร่วมรงการสัมมนาวิชาการเรื่องกลยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหารและ บริการ ของโรงแรมลำปำรีสอร์ท ในยุคดิจิตอล แต่ละหัวข้อให้ระดับ คือมากที่สุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) น้อยที่สุต (1นำมาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยส่วนเบียงเบนมาตรฐานโดยคะแนนเฉลี่ยนำมาแปล ความหมายตาม เกณฑ์ดังนี้คำเฉสีย ความหมาย 4.51 - 5.00 มากที่สุด 3.51 - 4,50 มาก 251 - 3,50 ปาน กลาง 1.51 - 2.50น้อย 1.00 - 1.50 น้อยที่สุด ตารางที่ 4.3.5 ตารางแสดงระดับความความพึงพอใจ จำแนกด้านกระบวนการและขั้นตอนการจัดสัมมนา ประเด็นความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ การแปลความหมาย 5 4 3 2 1 1. การประชาสัมพันธ์ การจัดสัมมนา 3.20 ความหมาย ปานกลาง 2. รูปแบบการจัดสัมมนา 3.37 ความหมาย มากที่สุด 3. ความเหมาะสมของช่วงเวลาใน การจัดสัมมนา 4.42 ความหมาย มากที่สุด จากตารางที่ 4.3.5 ความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามที่เข้าร่วมโครงการสัมมนาวิซาการ เรื่อง กลยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหารและบริการ ของโรงแรมลำปำรีสอร์ท ในยุคดิจิตอล ด้านกระบวนการ และขั้นตอนการจัดสัมมนา พบว่าผู้ตอยคำถามให้ความ พึงพอใจลำดับแรกคือ ความเหมาะสมของ ช่วงเวลาใน การจัดสัมมนา มีค่าเฉลี่ย4.42อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด ลำดับสอง คือรูปแบบการ จัดสัมมนา มีคำเฉลี่ย 3.37 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด สำดับสามคือการประชาสัมพันธ์การจัด สัมมนามีคำเฉลี่ย 3.20 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก มีค่าเฉลี่รวม 3.66 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานรวม 0.5 ตารางที่ 4.3.6 ตารางแสดงระดับความความพึงพอใจ จำแนกด้านคุณภาพการจัดสัมมนา ประเด็นความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ การแปลความหมาย 5 4 3 2 1 1. ความพร้อมของอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์4.40 ความหมาย มาก 2. สถานที่สะอาดและมีความเหมาะสม 4.52 ความหมาย มาก
41 3. วิทยากรถ่ายทอดความรู้ได้อย่างชัดเจน4.37 ความหมาย มากที่สุด 4. ความสามารถในการอธิบายเนื้อหา4.40 ความหมาย มาก 5. การเชื่อมโยงเนื้อหาในการฝึกการสัมมนา4.37 ความหมาย มาก 6. มีความครบถ้วนของเนื้อหาในการสัมมนา4.29 ความหมาย มาก 7. สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้21.5 ความหมาย มาก รวม 6.83 ความหมาย มากที่สุด จากตารางที่ 4.3.6 ความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามที่เข้าร่วมโครงการสันมนาวิชาชีพ เรื่อง กลยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหารและบริการ ของโรงแรมลำปำรีสอร์ท ในยุคดิจิตอล ด้านคุณภาพการจัด สันมนา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามให้ ความพึงพอใจ ลำดับแรกคือ เอกสารและสื่อมีความเหมาะสมเพียงใด มีค่าเฉลี่ย 4.51 อยู่ในระดับความพึง พอใจมากที่สุด ลำดับสอง คือ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการจัดกิจกรรมในครั้งนี้และความพึงพอใจใน การจัดนิทรรศการ วิชาการ มีค่าเฉลี่ย เท่ากัน 4.48 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก ลำตับสามคือความพึง พอใจในภาพรวมของการจัดสัมมนาในครั้งนี้ มีค่าเฉลี่ย 4.47 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก มีค่าเฉสียรวม ภาพรวมของการจัดสัมมนาในครั้งนี้ มีค่าเฉลี่ย 4.47 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก มีค่าเฉสียรวม4.45 อยู่ ในระดับความ พึงพอใจมาก และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานร่วม 0.54 ตารางที่ 4.3.7 ตารางการประเมินเกี่ยวกับความพึ่งพอใจในการเข้าร่วมโครงการสัมมนาเชิงวิชาการด้าน กระบวนการและขั้นตอนการจัดสัมมนาและด้านคุณภาพการจัดสัมมนา ระดับความพึงพอใจ การแปลความหมาย 5 4 3 2 1 ด้านกระบวนการและชั้นตอนการจัดสัมมนา 1. การประชาสัมพันธ์ การจัดสัมมนา 4.25 ความหมาย มาก 2. รูปแบบการจัดสัมมนา 4.46 ความหมาย มากที่สุด 3. ความเหมาะสมของช่วงเวลา ในกรจัดสัมมนา 4.84 ความหมาย มาก รวม 4.65 ความหมาย มาก ด้านคุณภาพการจัดสัมมนา 1. ความพร้อมของอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์4.40 ความหมาย มาก 2. สถานที่สะอาดและมีความเหมาะสม 4.52 ความหมาย มาก 3. วิทยากรถ่ายทอดความรู้ได้อย่างชัดเจน4.37 ความหมาย มากที่สุด 4. ความสามารถในการอธิบายเนื้อหา4.40 ความหมาย มาก 5. การเชื่อมโยงเนื้อหาในการฝึกการสัมมนา4.37 ความหมาย มาก 6. มีความครบถ้วนของเนื้อหาในการสัมมนา4.29 ความหมาย มาก 7. สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้21.5 ความหมาย มาก รวม 6.83 ความหมาย มากที่สุด จากตารางที่ 4.3.7 ประเมินระดับความพึงพอใจทางด้านกระบวนการและขั้นตอนการจัดสัมมนาของตอบ แบบสอบถามที่เข้าร่วมโครงการสัมมนวิชาการเรื่องกลยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหารและบริการ ของ โรงแรมลำปำรีสอร์ท ในยุคดิจิตอล ด้านกระบวนการ และขั้นตอนการจัดสัมมนา พบว่า ผู้ตอบคำถามให้ ความพึงพอใจเป็นค่าเฉลี่ยรวม 4.35
42 อยู่ในระดับความพึง พอใจมาก และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานรวม 0.57 ด้านคุณภาพการจัดสัมมนาพบว่า ผู้ตอบคำถามให้ความพึง พอใจเป็นค่าเฉลี่ยรวม 4.45 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากและส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 0.54 ตารางที่ 4.3.8 ตารางแสดงภาพรวมระดับความความพึงพอใจ ตอนที่ 2ด้านกระบวนการและขั้นตอนการ จัด สัมมนาและด้านคุณภาพการจัดสัมมนา ประเด็นความพึงพอใจ การแปลความหมาย S.D. ความหมาย 1. ด้านกระบวนการและขั้นตอนการจัดสัมมนา 4,35 ความหมาย มาก 2.ด้านคุณภาพการจัดสัมมนา 4.45 ความหมาย มาก รวม 4.40 ความหมาย มาก จากตารางที่ 4.3.8 ภาพรวมระดับความความพึ่งพอใจ ตอนที่ 2 ด้านกระบวนการและขั้นตอนการจัด ประเด็นความพึงพอใจ ตารางที่ 4.3.8ตารางแสดงภาพรวมระดับความความพึงพอใจ ตอนที่ 2ด้านกระบวนการและขั้นตอนการ จัดสัมมนาและด้านคุณภาพการจัดสัมมนา ประเด็นความพึงพอใจ การแปลความหมาย S.D. ความหมาย 1. ด้านกระบวนการและขั้นตอนการจัดสัมมนา 4,35 ความหมาย มาก 2.ด้านคุณภาพการจัดสัมมนา 4.45 ความหมาย มาก รวม 4.40 ความหมาย มาก จากตารางที่ 4.3.8 ภาพรวมระดับความความพีงพอใจ ตอนที่ 2 ด้านกระบวนการและขั้นตอนการจัด สัมมนาและค้านคุณภาพการจัดสัมมนา ของผู้ตอบแบบสอบถามที่เข้าร่วมโครงการสัมมนาวิชาชีพ เรื่องผู้กลยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหารและบริการ ของโรงแรมลำปำรีสอร์ท ในยุคดิจิตอล ตอบคำถาม ให้ความพืงพอใจเป็นค่าเฉลี่ยรวม 4.45 อยู่ในระดับความพึง พอใจมาก และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.56 ตอนที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลระดับคิดเห็นที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการ ความรู้จากวิทยากร และ กิจกรรมสัมมนาวิชาการ ตารางที่ 4.3.9 ตารางแสดงระดับความคิดเห็นที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการความรู้จากวิทยากร และ กิจกรรมสัมมนาวิชาชีพ ประเด็นความพึงพอใจระดับความพึงพอใจ การแปลความหมาย 5 4 3 2 1 1. วิทยาการถ่ายทอดเนื้อหา ได้ชัดเจนและตรงประเด็น 4.37 ความหมาย มาก 2. เอกสารประกอบการ บรรยายมีความเหมาะสม 4.37 ความหมาย มาก 3. การเปิดโอกาสให้ชักถาม และตอบข้อคำถาม 4.41 ความหมาย มากที่สุด รวม 4.38 ความหมาย มาก จากตารางที่ 4.3.9 ระดับความคิดเห็นที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการ ความรู้จากวิทยากร และ กิจกรรมสัมมนาวิชาการ โครงการสัมมนาวิซาการกลยุทธ์การควบคุมคุณภาพ อาหารและบริการ ของโรงแรมลำปำรีสอร์ท ในยุคดิจิตอล พบว่า ผู้ตอบคำถามให้ระดับความคิดเห็น ลำดับ แรกคือ การเปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อคำถาม มีค่าเฉลี่ย 4.55 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด
43 ลำดับสองคือ เอกสารประกอบการบรรยายมีความเหมาะสม มีค่าเฉลี่ย 4.46 อยู่ในระดับความพึงพอใจ มาก ลำดับสามคือวิทยาการถ่ายทอดเนื้อหาได้ชัดเจนและตรงประเด็น มีค่าเฉลี่ย 4.45อยู่ในระดับความพึง พอใจมาก มีค่าเฉลี่ยรวม 4.49 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.55 ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะ ที่ให้ข้อเสนอแนะ สรุปประเด็นได้ดังนี้ 1. ด้านการจัดงานสัมมนา การจัดงานสัมมนาทุกส่วนอยู่ในระดับดี ควรมีการจัดอย่างต่อเนื่อง ต่อเนื่อง 2. ด้านเนื้อหากิจกรรม เนื้อหาความรู้ในด้านธุรกิจ มีความสอดคล้องกับความต้องการของ ผู้เข้าร่วมงามสัมมนาควรเพิ่มกิจกรรมให้มีการร่วมกิจกรรมกันระหว่างผู้เข้าร่วมสัมมนาและวิทยาวิทยากร 3. ด้านฝ่ายโสตควรมีการเช็คความพร้อมของอุปกรณ์สำหรับการบรรยาย 4. ด้านอื่น ๆ ระยะเวลาในการจัดสัมมนานานเกินไป
44 บทที่ 5 สรุป กลยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหารและการบริการของโรงแรมลำปำ รีสอร์ท ในยุคดิจิทัล 5.1 สรุป กลยุทธ์การควบคุมคุณภาพอาหารและการบริการของโรงแรมลำปำ รีสอร์ท ใน ยุคดิจิทัล 5.1.1 สรุปผลการดำเนินงานฝ่ายทะเบียน ได้รับการช่วยเหลือจากคณะดำเนินงานแต่ล่ะฝ่ายทำให้การทำงาน งานออกมาเรียบร้อยและ เสร็จตามที่ระยะเวลาที่ตั้งไว้โดยได้ข้อสรุปผลของการจัดสัมมนาครั้งนี้ในหัวข้อเรื่อง กลยุทธ์การควบคุม คุณภาพอาหารและการบริการของโรงแรมลำปำ รีสอร์ท ในยุคดิจิทัล โดยมีผู้เข้าร่วมสัมมนาทั้งหมด 109 คนซึ่งกำหนดเป้าหมายผู้ที่มาร่วมงานสัมมนา สัมมนาจาก เป้าหมายที่ตั้งไว้ 109 คนและจากกการตอบแบบสอบถามที่รวบรวมได้เป็นจำนวนทั้งสิ้น 109 ชุด พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามจำนวนทั้งหมด 109 คน รับทราบการจัดโครงการสัมมนา กลยุทธ์การ ควบคุมคุณภาพอาหารและการบริการของโรงแรมลำปำ รีสอร์ท ในยุคดิจิทัลพบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม ทั้งหมด 109คน เพศหญิง 78.6 เพศชาย 21.4% คน รับทราบการจัดโครงการสัมมนากลยุทธ์การควบคุม คุณภาพอาหารและการบริการของโรงแรมลำปำ รีสอร์ท ในยุคดิจิทัล จาก โปสเตอร์ / ไวนิล คิดเป็นร้อย ล่ะ 29.1 % เว็บไซต์ คิดเป็นร้อยล่ะ 10 % Social media/ Facebook คิดเป็นร้อยล่ะ 34.9 % อื่น ๆ คิดเป็นร้อยล่ะ 25% ระดับความพึ่งพอใจในการเข้าร่วมโครงการสัมมนากลยุทธ์การควบคุมคุณภาพ อาหารและการบริการของโรงแรมลำปำ รีสอร์ท ในยุคดิจิทัลขั้นตอนการจัดสัมมนาพบว่าผู้ตอบคำถามให้ ความพึ่งใจลำดับแรก คือ ความคล่องแคล่วในการพูด มีค่าเฉลี่ย 4.37 อยู่ในระดับความพึ่งพอใจมากที่สุด ลำดับสอง คือ ความเชื่อมโยงเนื้อหาในการสัมมนาวิชาชีพ มีค่าเฉลี่ย 52.38 อยู่ในลำดับความพึ่งใจมาก ลำดับสาม คือ การถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ มีค่าเฉลี่ย 4.37 อยู่ในระดับความพอใจมาก ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่า ผู้ตอบคำถามให้ความพอใจลำดับแรก คือ ความคล่องแคล่วในการพูด มีค่าเฉลี่ย 2.62 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานรวม ลำดับสอง คือ ความเชื่อมโยงเนื้อหาในการสัมมนาวิชาชีพ มีค่าเฉลี่ย 2.62ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานรวม อยู่ในระดับสาม คือ การถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ มีค่าเฉลี่ย 4.37 อยู่ระดับความพึ่งใจมาก 5.1.2 สรุปผลการดำเนินงานฝ่ายเอกสาร การดำเนินงานฝ่ายเอกสาร มีความระเอียดรอบครบในการสืบค้นข้อมูลเอกสารในการ สัมมนาการดำเนินการเกี่ยวกับงานด้านเอกสารนั้นได้อย่างถูกต้องรวดเร็วและสรุปความต้องการเอกสาร ในเรื่องใดจำนวนเท่าไร ในการการจัดสัมมนา ไม่มีข้อผิดพลาดใดๆจนงานสัมมนาครั้งนี้สำเร็จลุล่วงไปได้ ด้วยดี
45 5.1.3 สรุปผลการดำเนินงานฝ่ายอาคารสถานที่ ในการปฏิบัติงานได้การรับช่วยเหลือจากนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.1) สาขาอาหารและโภชนาการ กลุ่ม 66 ปคอ. 1 และ66 ปคอ2 มีการแบ่งงานและปฏิบัติอย่างเต็มความรู้ความสามารถของแต่ล่ะคนจนงานสัมมนาครั้งนี้สำเร็จลุล่วงไปได้ ด้วยดี มีความเหมาะสม เป็นที่ชื่นชอบและชื่นชมของผู้เข้าร่วมสัมมนา 5.1.4 สรุปผลการดำเนินงานฝ่ายพิธีการ ดำเนินงานฝ่ายพิธีการ ประสานงานการจัดสัมมนาตลอดกระบวนการอำนวยความสะดวกในการ ดำเนินงาน เพื่อให้การประสานงานเป็นไปอย่างราบรื่นต้องใช้ทักษะหลากหลายด้าน มีการเตรียมความ พร้อม สามารถสื่อสารกับผู้เข้าร่วมสัมมนาด้วยการแนะข้อกำหนด เพื่อให้ทุกคนได้ทราบว่ารายละเอียดจะ เป็นอย่างไรสร้างบรรยากาศในการสัมมนาเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ 5.1.5 สรุปผลการดำเนินงานฝ่ายประชาสัมพันธ์ การดำเนินงานของฝ่ายประชาสัมพันธ์ เมื่อดำเนินงานประชาสัมพันธ์ไปยังที่ต่างๆภายใน วิทยาลัยมีจำนวนทั้งสิ้น 3 ที่ด้วยกัน คือ หน้าแผนกอาหารและโภชนาการ หน้าแผนกช่างไฟฟ้ากำลังหน้า แผนกแฟชั่นและสิ่งทอ รับทราบการจัดโครงการสัมมนาจาก จาก โปสเตอร์ / ไวนิล คิดเป็นร้อยล่ะ 22.5 % เว็บไซต์ คิดเป็นร้อยละ 10 % Social media/ Facedook คิดเป็นร้อยล่ะ 42.5 % อื่นๆ คิดเป็นร้อย ล่ะ25 % ดังนั้นจะเห็นได้ว่ารูปแบบการจัดสัมมนามีผู้เข้าร่วมในการจัดสัมมนาในจำนวนที่แตกต่างกันไป ตามที่จากประชาสัมพันธ์ได้ดีและเหมาะสมที่สุดคือการประชาสัมพันธ์ ปากต่อปากโดยตรง 5.1.6 สรุปผลการดำเนินงานฝ่ายเหรัญญิก รับผิดชอบการจัดทำงบประมาณในการจัดสัมมนาครั้งนี้ โดยมีผู้สนับสนุนงบประมาณ 4770 บาท มีความรอบครบ ควบคุมการเบิกจ่ายเงินของการจัดสัมมนาจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย และรายงาน การเบิกจ่ายให้กับคณะกรรมการจัดการสัมมนา ได้รับรู้รับผิดชอบการเงินทั้งในและนอกงบประมาณที่ใช้ ในการดำเนินการจัดสัมมนาครั้งนี้ 5.1.7 สรุปผลการดำเนินงานฝ่ายปฏิคม (ต้อนรับ) 1. การต้อนรับประธาน วิทยากร และคณะอาจารย์ ผู้เข้าร่วมจัดสัมมนา ประธาน วิทยากร และคณะอาจารย์ ผู้เข้าร่วมจัดสัมมนาให้การตอบรับและเข้าร่วมฟังสัมมนาให้ความ สนใจและร่วมกิจกรรมกับวิทยากรเป็นอย่างดี 2. ประสานงานความเรียบร้อยภายในงาน การจัดสัมมนาและพิธีเปิดงานดำเนินไปอย่างราบรื่น การประสานงานกับฝ่ายที่เกี่ยวข้องภายในงานเพื่อดำเนินการเตรียมพร้อมต้อนรับและรับรองผู้เข้าร่วม สัมมนาให้เป็นไปอย่างเรียบร้อยสมบูรณ์แบบ
46 5.1.8 สรุปผลการดำเนินงานฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม การดำเนินงานของฝ่ายอาหารและเครื่องดื่มพบว่ารูปแบบการจัดเตรียมอาหารพียงพอ เนื่องจากมีผู้สนใจเข้าร่วมการสัมมนามากกว่าที่ได้ลงทะเบียนและทำการประเมินไว้จากฝ่าย ประชาสัมพันธ์และฝ่ายลงทะเบียนทางฝ่ายอาหารและเครื่องดื่มได้มีการแผนสำรองคือมีหน่วยงานให้การ สนับสนุนอาหารว่างมาบางส่วนจึงได้นำอาหารว่างดังกล่าวมาใช้รับรองผู้เข้าร่วมสัมมนาและในส่วนการ ดูแล คณะอาจารย์ วิทยากรไม่ประสบปัญหาใดๆเพราะได้รับความร่วมมือจากคณะกรรมการในทุกฝ่าย ช่วยกันดูแลและประสานงานเป็นกันอย่างดี 5.1.9 สรุปผลการดำเนินงานฝ่ายประเมินผล เก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับผลของการดำเนินงานแต่ละฝ่าย มาเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้ว่าเป็นไปตามที่กำหนดไว้ รายงานความคืบหน้าในการจัดสัมมนาและจัดทำแบบประเมินความพึง พอใจของผู้เข้าสัมมนาสรุปข้อมูลเกี่ยวกับแบบประเมินที่ผู้เข้าสัมมนาได้ประเมินและรายงานการประเมิน พบว่าผู้ตอบคำถามให้ความพึ่งใจลำดับแรก คือ ความคล่องแคล่วในการพูด มีค่าเฉลี่ย 52.38 อยู่ใน ระดับ ความพึ่งพอใจมากที่สุดลำดับสอง คือ ความเชื่อมโยงเนื้อหาในการสัมมนาวิชาชีพ มีค่าเฉลี่ย 52.38 อยู่ใน ลำดับความพึ่งใจมากลำดับสาม คือ การถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ มีค่าเฉลี่ย 50.00 อยู่ในระดับความ พอใจมากส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่า ผู้ตอบคำถามให้ความพอใจลำดับแรก คือ ความ คล่องแคล่วใน การพูดมีค่าเฉลี่ย 2.62 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานรวม ลำดับสอง คือ ความเชื่อมโยงเนื้อหาในการสัมมนา วิชาชีพมีค่าเฉลี่ย 2.62 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานรวม อยู่ในระดับสาม คือ การถ่ายทอด ความรู้ความเข้าใจ มีค่าเฉลี่ย2.50 อยู่ระดับความพึ่งใจมาก 5.2 ข้อเสนอแนะ 1. การลงทะเบียนไม่ค่อยเป็นระเบียบเรียบร้อยเท่าไร เกิดการล่าช้าในการลงทะเบียน เนื่องจากผู้เข้าร่วมสัมมนามาช้า อาจไม่ได้ลงชื่อในการลงทะเบียน ต้องจัดระบบการจัดการให้ดีกว่านี้ 2. ข้อมูลในเอกสารมีครบตามหัวข้อการจัดการสัมมนาครั้งนี้ แต่การจัดหรือแจกเอกสาร ถ้าให้สะดวกควรแจกเอกสาร ระหว่างที่ผู้ลงทะเบียนลงชื่อเสร็จ เพื่อให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วมาก ขึ้น ทั้ง2 ฝ่าย 3. ฝ่ายพิธีการ มีการประสานงานจัดการสัมมนาได้เป็นอย่างดี ทำให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์ และควรพัฒนาต่อไปเรื่อยๆ 4. การประชาสัมพันธ์ โปสเตอร์ / ไวนิล เว็บไซต์ Social media / Facedook ดีแล้วควรพัฒนาต่อไป 5. ฝ่ายเหรัญญิกมีการจักการกันดีอยู่แล้ว ควรพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นไป 6. ต้อนรับไม่ค่อยเป็นระเบียบเรียบร้อย ผู้เข้าสัมมนามาช้า ทำให้วิทยากรรอนาน
47 7.อาหารจัดหรือแจกตอนลงทะเบียนเสร็จถ้าให้สะดวกควรแจกหลังลงทะเบียนเสร็จเพื่อให้เกิดความ สะดวกและรวดเร็วมากขึ้น 8. ในการทำแบบประเมินนั้นมีปัญหาเรื่อง อินเตอร์เน็ตและสัญญาณไม่มีจึงไม่สามารถเข้าทำแบบ ประเมินออนไลน์ได้
48
49
50