The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินตนเอง โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่บ้านไผ่ย้อย ปีการศึกษา 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iClass, 2021-11-13 02:16:56

รายงานการประเมินตนเอง โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่บ้านไผ่ย้อย ปีการศึกษา 2562

รายงานการประเมินตนเอง โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่บ้านไผ่ย้อย ปีการศึกษา 2562

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 47

16.3 การพฒั นาปรบั ปรุงระบบสารสนเทศใหมีประสทิ ธิภาพและทันสมยั
1) พฒั นาระบบขอมูลสารสนเทศใหทันสมยั มีขอมลู ชดั เจน และสามารถนํามาใชไดทนั ที
ที่ตองการ
๒) พฒั นาระบบการทํางานใหเปhนสารสนเทศ และมกี ารจดั เก็บขอมูลที่เปhนป†จจบุ นั
๓) พัฒนาการจดั เกบ็ ขอมูลสารสนเทศโดยลดการใชงานเอกสาร และจัดเก็บขอมูลใหเปhนดิจติ อล

16.๔ สง1 เสริมการนาํ เทคโนโลยีมาใชในการจัดการเรียนการสอน
1) จดั ใหมีอุปกรณ Computer และระบบ Internet ใหเพียงพอและสะดวกต"อการจัดการเรียน
การสอน การสบื คน การสนบั สนุนการสอน และงานธรุ การ
2) ส"งเสริมและสนับสนนุ ใหมีการนาํ เทคโนโลยมี าใชประกอบ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน

16.๕ สนับสนนุ ใหชุมชนมีส1วนรว1 มในการจัดการศกึ ษา
1) จดั หลกั สตู รทไ่ี ดรบั การเสนอแนะปรบั ปรุงและมคี วามความเหน็ ชอบจากชุมชน
2) สง" เสริมการใหบริการแกช" ุมชนดานตา" งๆ ตามความตองการ
3) มีการนําภูมิปญ† ญาทองถ่ินมาชว" ยสอน หรือเรยี นรูจากสภาพจรงิ ในชุมชน
4) มเี อกสารสรปุ เผยแพรข" า" วสารประชาสมั พนั ธระหวา" งโรงเรียนกับชุมชน

16.๖ การพัฒนาผูเรยี นเพอื่ ปลกู ผงั คุณธรรม จรยิ ธรรม และค1านิยมท่พี ึงประสงค#
1) มีระบบการคัดกรองนักเรยี นทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ
2) สง" เสรมิ ความผูกพนั ระหว"างบานกบั โรงเรยี น เชน" การเยี่ยมบาน
3) เผาระวังการเผยแพรข" องสารเสพตดิ เพ่ือใหนกั เรยี นทกุ คนปลอดสารเสพติด
4) การพฒั นาครูท่ปี รกึ ษาในระบบดแู ลชว" ยเหลือนักเรยี น ใหสามารถป•องกัน แกไขปญ† หา
พฤติกรรมของนักเรยี น
5) จัดกจิ กรรมพัฒนาผเู รยี นอย"างหลากหลายตามความถนัดและความสนใจ
6) จัดกิจกรรม/โครงการคุณธรรม จริยธรรม และคา" นิยมท่ีพงึ ประสงค

๑7. การพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษาตามแผนปฏิบตั ิการประจาํ ปOของสถานศกึ ษา
17.๑ การบริหารจดั การศึกษา
1) จัดแบ"งโครงสรางการบริหารงานเปhน 4 ฝ‡าย โดยแบ"งเปhน ฝ‡ายวิชาการ ฝ‡ายแผนและงบประมาณ

ฝ‡ายบุคลากร และฝ‡ายบริหารท่ัวไป ผูบริหารยึดหลักการบริหารโรงเรียนโดยใชโรงเรียนเปhนฐานในการพัฒนา
ทองถิ่น School Based Management for Local Development :SBMLD, PDCA ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง เปhนการบริหารจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพของคนในทองถิ่น โดยใชโรงเรียนเปhนฐานในการพัฒนา
ทองถนิ่ จดั การศกึ ษาตลอดชีวิต เพ่อื ใหประชาชนในทองถน่ิ ไดมีโอกาสการเรียนรตู ลอดชวี ติ และอยา" งมคี วามสุข

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 48

โครงสรางการบรหิ ารงานโรงเรียนองคก# ารบริหารสว1 นจงั หวัดแพร1บานไผย1 อย

นายกองค#การบริหารส1วนจงั หวดั แพร1
ดร.อนวุ ัธ วงศ#วรรณ

ผูอาํ นวยการกองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
จา1 เอกพรต ทบั ทมิ ทอง

คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและวิชาการ ผูอํานวยการสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
นายกองธรรม นวเลิศเมธี

รองผอู าํ นวยการสถานศกึ ษา รองผอู ํานวยการสถานศึกษา
นายนัฐพงษ# แกวสมนึก นายวนิ ยั ทองสขุ

ฝtายวิชาการ ฝาt ยแผนและงบประมาณ ฝtายบคุ ลากร ฝtายบริหารทั่วไป
นางสาวแอนจุลี สารสิทธยิ ศ นายอุเทน ละอินทร# นางเบญจา โชคอาํ นวยพร นายสุขสนั ต# สวุ รรณโคตร

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 49

17.2 วิสัยทัศน# พนั ธกิจ ยุทธศาสตร# แนวทางการพัฒนา จดุ ม1งุ หมายเพ่ือการพัฒนา อตั ลกั ษณ# และ
เอกลักษณ#ของสถานศึกษา

วสิ ัยทศั น#
โรงเรียนองคการบริหารส"วนจังหวัดแพร"บานไผ"ยอย บริหารจัดการศึกษาไดมาตรฐาน ประสาน
สัมพันธภาคเี ครอื ข"าย นอมนําแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ใชในการจัดการศึกษาอย"างยง่ั ยนื
พนั ธกิจ
1. จดั กจิ กรรมการเรียนรู สง" เสรมิ และพัฒนาผูเรยี นใหมคี วามรู ความสามารถ มีคุณลกั ษณะอันพึง
ประสงค มีค"านิยมที่ดี มีทักษะชีวิตเหมาะสมตามศักยภาพ
2. สรรหา และพฒั นา ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษาเพยี งพอ ตรงตามมาตรฐานตาํ แหนง"
3. ประสานสมั พันธ สรางและยกระดบั การมสี "วนร"วมทางการศกึ ษา ผูปกครอง ชุมชนอยา" งย่งั ยืน
4. จัดหา และพฒั นาป†จจยั เทคโนโลยี และทรัพยากรทางการศึกษาเพยี งพอ มีคณุ ภาพ ไดมาตรฐาน
5. บริหารจดั การศึกษา โดยใชโรงเรยี นเปhนฐาน มีคณุ ภาพไดมาตรฐาน สอดคลองกับนโยบายของรัฐ
6. นอมนําแนวทางหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ใชในการจดั การเรียนการสอน

ยุทธศาสตร#และกลยุทธ#

ยุทธศาสตร# แนวทางการพฒั นา หน1วยงานท่ี
รับผิดชอบ

1. การจัดใหนักเรียนมีโอกาสไดรับ ๑. พฒั นาและสง" เสริมครใู นการจดั การเรยี นการสอน ฝ‡ายวชิ าการ/หวั หนา

การศกึ ษาทเ่ี ท"าเทียมกนั และเรียน ทเ่ี นนผเู รียนเปนh สาํ คญั กลุ"มสาระการเรยี นรู

จบหลกั สูตรการศึกษาข้นั พื้นฐาน ๒. นักเรยี นมโี อกาศไดรับการศึกษาท่เี ท"าเทยี มกัน

๓. มกี ารจัดการศึกษาใหกับผูเรียนทีม่ คี วามบกพร"อง

ทางการเรียนรู ทุกประเภท

๔. จดั การศกึ ษาโดยไม"เลือก สัญชาตแิ ละเชอ้ื ชาติ

๕. จัดการศกึ ษาโดยมุ"งเนนใหนักเรียนทกุ คนเรยี นจบ

หลักสูตรในแตล" ะระดับ

2. การพฒั นาการเรียนการสอน ๖. จัดกจิ กรรมการเรียนรูโดยใชหองปฏบิ ตั กิ าร หอง ฝา‡ ยวชิ าการ/

ใชส่อื เทคโนโลยที างการศกึ ษา ICT และสือ่ เทคโนโลยี ครปู ระจําชั้น/

ชว" ยเหลอื นักเรยี นทีข่ าดแคลน และ ๗. การจัดทนุ ป†จจยั พน้ื ฐาน และทนุ สนบั สนุนสําหรบั ฝา‡ ยกิจการนักเรยี น

เสริมสรางสุขภาพ คุณธรรม นักเรียนทขี่ าดแคลน

จรยิ ธรรมและคณุ ลักษณะที่พึง ๘. จดั กจิ กรรมตามโครงการโรงเรยี นส"งเสรมิ สขุ ภาพ

ประสงค ๙. จดั กจิ กรรมตามโครงการพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม

และคณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค

3. การพฒั นาระบบบรหิ ารโดยยึด ๑๐. พัฒนาระบบบรหิ ารโดยยดึ หลักธรรมาภิบาล ฝา‡ ยบริหาร

หลักธรรมาภิบาล ในดานหลกั นิตธิ รรม คณุ ธรรม ความโปรง" ใส

การมสี ว" นรว" ม ความรับผดิ ชอบ และมีความ

คมุ คา" ในการทํางานเพื่อให การบริหารงาน

เกดิ ประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 50

ยทุ ธศาสตร# แนวทางการพัฒนา หน1วยงานท่ี
รบั ผดิ ชอบ
4.การพฒั นาครแู ละบุคลากร ๑๑. ส"งเสริมสนบั สนุนใหครใู ชเทคโนโลยสี ารสนเทศ ฝ‡ายบุคคลากร
ทางการศกึ ษา ใหมคี ุณภาพ ใช ในการจดั การเรียนการสอน
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการ ฝา‡ ยบุคลากร/
จัดการเรยี นการสอน ๑๒. สง" เสริมใหชุมชนเขามามีสว" นรว" มโดยใชโรงเรยี น ฝ‡ายบริหารทว่ั ไป/
5. การสง" เสรมิ การใชโรงเรียนเปนh เปนh ฐานมกี ารกระจายอาํ นาจหนาที่ ความรับผดิ ชอบ ครูทกุ คน
ฐานตามความตองการของผเู รยี น มคี วามอิสระคล"องตัวครบตามความตองการของ
ผปู กครอง และชมุ ชน ผูเรียน ผปู กครอง และชมุ ชนใหมากท่ีสุด

จุดมุง1 หมายเพื่อการพฒั นา
1. จดั การศกึ ษาโดยม"ุงเนนใหนกั เรียนทุกคนเรียนจบหลักสูตรในแตล" ะระดบั
2. จดั การเรยี นรูใหผูเรยี นผา" นสอื่ เทคโนโลยี
3. ผูเรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรมมคี วามรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ
4. ผูเรียนมีความรูความสามารถตามเกณฑมาตรฐานของหลกั สูตรการศึกษา
๕. สง" เสรมิ สนบั สนุนใหครูใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรยี นการสอน
๖. สถานศกึ ษาจัดระบบการบริหารใหมคี วามโปร"งใสโดยใชหลกั ธรรมาภิบาล และเนนการมีสว" นรว" ม
โดยใชโรงเรยี นเปนh ฐาน

อัตลักษณข# องสถานศกึ ษา
นกั เรยี นเปhนคนดีมคี ุณธรรม จริยธรรม

เอกลักษณข# องสถานศกึ ษา
โรงเรียนธนาคาร

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 51

สวนท่ี 2
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

1. ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา
1.1 ระดับปฐมวัย
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็
ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม
กระบวนการพัฒนา สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาเด็กดวยวิธีการที่หลากหลาย ครูจัด

ประสบการณ.เป/นไปตามมาตรฐานของสถานศึกษา มีการออกแบบการจัดประสบการณ.ที่เหมาะกับเด็ก โดยมีการ
จัดประสบการณ.เพ่ือพัฒนาดานร5างกาย อารมณ.จิตใจ สังคม และสติป7ญญา ตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ของหลักสูตร จัดประสบการณ.ใหเด็กไดช5วยเหลือตนเองการเป/นสมาชิกที่ดีของสังคม เด็กไดเรียนปนเล5นมีการลง
มือปฏิบัติจริง การควบคุมอารมณ. การมีมารยาทท่ีดี การมีคุณธรรมจริยธรรม การช5วยเหลือแบ5งป7น
เนนพฒั นาการดานสตปิ 7ญญา ส่ือสาร การคิดพื้นฐานและการจดั ลําดบั การคดิ เชงิ เหตุผล และการแกปญ7 หาตามวยั

นอกจากนี้สถานศึกษาไดมีการจัดประสบการณ.ท่ีเป/นจุดเนน ไดแก5 กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่ม
เวลารู กจิ กรรมโตไปไม5โกงตานทจุ รติ คา5 นยิ ม คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค. และจดั ประสบการณ.ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง กจิ กรรมท่เี กีย่ วกบั สขุ ภาวะทางดานร5างกายและจติ ใจ เป/นตน

ผลการดําเนินงาน ดานคุณภาพของเด็กมีพัฒนาการดานร5างกาย ดานอารมณ.จิตใจ ดานสังคม
และดานสติปญ7 ญา มรี ะดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม บรรลุตามเปา@ หมายท่กี ําหนด

จุดเดน
ดานคุณภาพของเดก็

1. เด็กมีพัฒนาการทางดานสติปญ7 ญา การสือ่ สาร มีทักษะการคิดพืน้ ฐาน และแสวงหา
ความรตู 5างๆได
- เดก็ ระดบั อนุบาล 2 สามารถอา5 นคําภาษาไทยพื้นฐานตามทก่ี ําหนดไดถูกตอง
รอยละ 94.61
- เด็กทุกคนสามารถเลา5 เรื่องที่มคี วามสนใจหรือเลา5 นิทานใหผูอื่นเขาใจได
- เดก็ สามารถจาํ แนก เปรียบเทยี บจดั ลําดับไดรอยละ 95.45
- เด็กทุกคนสามารถสบื คนนทิ าน การต. นู เพลง หรือเกมส. ทางอนิ เทอร.เนต็ ได

2. เดก็ มีพัฒนาการทางดานสังคม ช5วยเหลือตนเอง และเป/นสมาชิกทดี่ ีของสังคม
ในระดับยอดเย่ียมซึ่งมีพัฒนาการระดบั ดเี ลศิ

จุดที่ควรพฒั นา
1. ทาํ กิจกรรมอยา5 งอิสระตามความตองการความสนใจหรือตามความสามารถใหมากขึน้
นวตั กรรม/แบบอย5างท่ีดี

ชื่อนวตั กรรม กจิ กรรมศลิ ปะปฐมวัย
ข้ันตอนการดําเนนิ งาน

๑. ขั้นวางแผน (PLAN)
๑.๑ ศกึ ษา วิเคราะหพ. ฒั นาการดานอารมณ.จิตใจ ของเดก็
๑.๒ วิเคราะห.กจิ กรรมที่เก่ยี วกับศิลปะ
๑.๓ เลือกกจิ กรรมศลิ ปะเพอ่ื นํามาจัดกจิ กรรม
๑.๔ กาํ หนดวนั เวลาในการจัดกจิ กรรม

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 52

๒. ข้ันดําเนนิ การ (DO)
๒.๑ จดั ประสบการณจ. ัดกจิ กรรมปะติดรปู ภาพจากกระดาษ เศษวัสดุ
๒.๒ จัดประสบการณ.จัดกจิ กรรมการพับสี การทุบสี
๒.๓ จดั ประสบการณ.จดั กิจกรรมการเปSาสีเปน/ รปู รา5 ง
๒.๔ จดั ประสบการณ.จัดกจิ กรรมการหยดสี กล้งิ สีจากลูกแกว
๒.๕ จัดประสบการณ.จัดกิจกรรมวาดภาพระบายสีตามจินตนาการ
ดวยสไี มและสเี ทียน

๓. ข้นั ตรวจสอบ (CHECK)
๓.๑ ตรวจสอบความพอเพียงและความครบถวนของวัสดุอุปกรณ.ใน
การจดั กิจกรรมแต5ละครงั้
๓.๒ ตรวจสอบจาํ นวนเดก็ กับจาํ นวนผลงาน
๓.๓ ตรวจสอบผลงานเด็ก

๔. ขั้นทบทวน (ACT)
๔.๑ ทบทวนการวางแผนและกจิ กรรมทีจ่ ัดเพอื่ นําไปวางแผนครง้ั ต5อไป
๔.๒ รวบรวมผลงานเดก็ และจดั ทํารายงานสรุป

๕. ผลการดําเนนิ งาน
๕.๑ เดก็ ไดรบั การพฒั นากลามเนือ้ เลก็ ใหแข็งแรง
๕.๒ ไดรับรางวัลเหรียญทองแดง การวาดภาพระบายสรี ะดับปฐมวัย
ในการแข5งขนั ทักษะทางวิชาการ ระดับภาคเหนอื คร้ังที่ 1๗ ประจําป[
พ.ศ.256๒

๖. ปจ7 จัยแหง5 ความสําเร็จ
๖.๑ ความพอเพียงและครบถวนของวัสดุ อุปกรณ.ในการจัด
ประสบการณเ. ดก็ แต5ละครั้ง
๖.๒ ควรใหคาํ แนะนาํ คาํ ชืน่ ชม ช5วยเหลอื และใหกําลงั ใจอยา5 งใกลชดิ
๖.๓ เดก็ มีความเพยี รพยายามในการสรางสรรค.ผลงานศลิ ปะ

๗. บทเรยี นทไ่ี ดรบั
๗.๑ การจัดประสบการณ.ดานศิลปะตองเตรียมวัสดุ อุปกรณ.ให
พอเพียงและครบถวน
๗.๒ กิจกรรมศิลปะเป/นการฝ^กทักษะความคิดสรางสรรค.จินตนาการ
ของเดก็ พัฒนาการระบบสมองและเพม่ิ การคิด
๗.๓ กิจกรรมศิลปะช5วยฝก^ ใหเด็กมสี มาธิ

ข,อเสนอแนะ
๑. ควรมีการจัดแสดงผลงานเด็กและจัดเก็บอยา5 งเป/นระบบ
๒. ควรใหผูปกครองไดแสดงความคดิ เห็นตอ5 ผลงานของเด็ก

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
ระดบั คุณภาพ ดเี ลิศ
กระบวนการพัฒนาสถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาโดยจัดใหมีหลักสูตรสถานศึกษา

ระดับปฐมวัยท่ีครอบคลุมพัฒนาการท้ังสี่ดาน โดยครูศึกษา วิเคราะห. หลักสูตร แลววางแผนในการจัด

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 53

ประสบการณ.เด็กอย5างหลากหลาย มีการจัดการเรียนการสอนโดยมีครูครบทุกช้ันเรียน ครูทุกคนไดรับการอบรม
ใหมที กั ษะในการจดั ประสบการณ.ใหเด็กและจัดทําวจิ ัยสําหรับเดก็

สถานศึกษามีกระบวนการบริหารและการจัดการดานหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการ
4 ดานมีระบบบริหารที่เป`ดโอกาสใหผูเก่ียวของทุกฝSายมีส5วนรว5 มในการวางแผนการจัดประสบการณ.และการิเทศ
จงึ ทาํ ใหผลการประเมนิ มีระดับคณุ ภาพ ดีเลิศ บรรลุตามเปา@ หมายท่กี าํ หนด

จุดเดน
ดานกระบวนการบริหารและการจัดการ
1. ครูมจี ํานวนเพยี งพอกบั ช้นั เรยี นและเหมาะสมกับจาํ นวนเดก็
2. ครูทุกคนไดรับการอบรมดานการออกแบบกิจกรรม การจัดประสบการณ.เด็กและการประเมิน
พัฒนาการของเดก็
จดุ ท่ีควรพฒั นา
๑. สถานศึกษาควรจดั หองเรยี นอจั ฉริยะสําหรับเด็กปฐมวยั โดยไม5ใชรว5 มกบั ระดับอืน่
นวัตกรรม/แบบอยางทดี่ ี

ชอ่ื นวัตกรรม โครงการนิเทศภายใน
ขัน้ ตอนการดาํ เนนิ งาน
๑. ขนั้ การวางแผน (PLAN)
๑.๑ ทบทวนการดาํ เนนิ งานนิเทศภายในป[การศกึ ษา 2561
๑.๒ จัดทาํ โครงการ เสนอตอ5 ผูบริหาร และช้ีแจงรายละเอียดการดาํ เนนิ งาน
ต5อท่ปี ระชุม
๑.๓ ออกคําสงั่ การดําเนนิ การคณะกรรมการนิเทศภายใน
๑.๔ ออกแบบและจดั เตรยี มแบบนเิ ทศต5างๆและเอกสารที่เก่ยี วของ
๑.๕ จัดทาํ ปฏิทินการนิเทศภายในสถานศกึ ษา
๑.๖ อธิบายสราความเขาใจในแบบนเิ ทศต5างๆ ต5อครู
๒. ขั้นดาํ เนนิ การ (DO)
๒.๑ ดําเนนิ การนเิ ทศตามปฏิทินท่ีกาํ หนด
๓. ขัน้ ตรวจสอบ (CHECK)
๓.๑ ตรวจสอบความครบถวนของผูรบั การนเิ ทศ และผนู เิ ทศ
๓.๒ ตรวจสอบความครบถวนของรายการนิเทศ
๓.๓ ตรวจสอบความครบถวนและความสมบูรณ.ของแบบนิเทศ
๓.๔ ตรวจสอบความครบถวนและความสมบรู ณข. องแบบนเิ ทศ
๔. ขัน้ ทบทวน (ACT)
๔.๑ วิเคราะห.ป7ญหาและกําหนดแนวทางแกไข
๔.๒ หาจุดเด5น จดุ ดอย เพ่ือแกไข ปรบั ปรงุ ต5อไป
๔.๓ จดั ทาํ รายงานนิเทศภายใน
๕. ผลการดําเนนิ งาน
๕.๑ ครรู ะดบั ปฐมวยั ไดรบั การนเิ ทศทกุ คน
๕.๒ ครรู ะดบั ปฐมวัยมีการปรบั เปล่ียนการจดั ประสบการณท. ่ีทาํ ใหเดก็ สนกุ สนาน
มกี ารเรียนปนเลน5 ทาํ ใหเดก็ มีความสุข
๖. ปจ7 จยั แห5งความสําเร็จ
๖.๑ ครูทุกคนใหความร5วมมือและใหความสําคัญตอ5 การนเิ ทศภายใน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 54

๖.๒ ครูทุกคนมคี วามพรอมในการปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมการจดั ประสบการณ.
๖.๓ ครทู กุ คนเขาใจและปฏิบัตติ ามบทบาทการเป/นผรู บั การนเิ ทศและเปน/ ผูนเิ ทศ
๖.๔ ผปู กครองใหความรว5 มมอื ในการรว5 มเป/นผนู เิ ทศ
๗. บทเรียนทีไ่ ดรบั
๗.๑ การนิเทศภายในประสบผลสําเร็จไดโดยอาศัยความร5วมมือของทุกฝSายไดแก5
นกั เรยี น ผูนิเทศ ผูรบั การนิเทศ ผูบริหารและผูปกครอง
ขอ, เสนอแนะ
๑. การนเิ ทศภายในควรมีการเตรียมการใหพรอมก5อนจะมีการนิเทศ
๒. ผูรบั การนิเทศและผูนเิ ทศ ตองมคี วามเขาใจในแบบนเิ ทศต5างๆ
๓. การนิเทศควรยึดหลกั การนิเทศแบบกัลยาณมิตร

มาตรฐานที่ ๓ กระจดั ประสบการณ2ท่ีเนน, เดก็ เปน3 สําคัญ
ระดับคณุ ภาพ ยอดเยี่ยม
กระบวนการพัฒนา สถานศึกษาส5งเสริมใหครูทุกคนไดเขารับการอบรมเก่ียวกับการจัด

ประสบการณเ. ด็ก การทําวิจัยสาํ หรบั เดก็ ครูมกี ารจัดทาํ แผนการจัดประสบการณ.ทีส่ 5งเสริมเด็กดานร5งกาย อารมณ.
จิตใจ สังคม และสติป7ญญามีการจัดประสบการณ.ท่ีหลากหลายใหเด็กไดเล5น เรียนรู และลงมือกระทําเด็กมีส5วน
รว5 มในการจัดสภาพแวดลอมในและนอกหองเรียน เดก็ ไดรับการฝก^ ฝนและพัฬนาคุณลกั ษณะที่พึงประสงค. ปลูกฝง7
การมีคา5 นยิ มท่ดี ีงามตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ผลการดําเนนิ งาน การจดั ประสบการณท. ี่เนนเด็กเปน/ สําคัญโดยครูมีการส5งเสริมใหเด็กมี
พัฒนาการทุกดานอย5างสมดุลเต็มศักยภาพมีการประเมินตามสภาพจริง มีระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม บรรลุตาม
เป@าหมายทกี่ ําหนด

จดุ เดน
1. ครมู กี ารวเิ คราะห.ขอมลู เดก็ เปน/ รายบคุ คล
2. ครมู ีแผนการจดั ประสบการณ.ที่สง5 เสรมิ พัฒนาการเด็กครบทุกดาน
3. ครมู ีการจัดประสบการณเ. ดก็ ครบทกุ ดาน

จดุ ที่ควรพัฒนา
๑. การจัดทําบันทึกหลังจากการจัดประสบการณ.และการนําผลไปวางแผนในการแกไขปรับปรุงการจัด

ประสบการณค. รัง้ ต5อไป
นวตั กรรม/แบบอยางท่ีดี
ชอื่ นวตั กรรม โครงงานเด็ก
ขัน้ ตอนการดาํ เนินงาน
๑.ขัน้ วางแผน (PLAN)
๑.๑ สาํ รวจและสอบถามความสนใจของเดก็ แลวนํามาจดั กลมุ5 ใหได 3 กล5ุม
๑.๒ ครูระดับปฐมวัยร5วมระดมความคิดในการวางแผนการจัดประสบการณ.ตามกล5ุม
ความสนใจ
๑.๓ ครจุ ดั ประสบการณ.ดานความรแู กเ5 ด็กแต5ละกล5ุม
๑.๔ เดก็ ผูปกครอง และครูรว5 มกนั เตรยี มวสั ดุ อุปกรณต. า5 งๆ ทเี่ ก่ียวของกับโครงงานแต5
ละกล5มุ
๑.๕ ประสานความร5วมมือกบั ผูปกครองในการเป/นวทิ ยากรหรอื เป/นผูสังเกตการณ.

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 55

๒. ขนั้ ดาํ เนนิ การ (DO)
๒.๑ นักเรียนและครูท้ัง 3 กลุ5มลงมือฝ^กการปฏิบัติโครงงานโดยความร5วมมือของ

ผูปกครอง
๒.๒ การบนั ทกึ การจดั ประสบการณ.

๓.ขน้ั ตรวจสอบ (CHECK)
๓.๑ ตรวจสอบความเพียงพอของวสั ดอุ ปุ กรณ.
๓.๒ ตรวจสอบการปฏิบัตโิ ครงงานของแตล5 ะกล5ุม
๓.๓ การนเิ ทศการปฏบิ ัตโิ ครงงานของแตล5 ะกลม5ุ

๔.ขั้นทบทวน (ACT)
๔.๑ ทบทวนการจัดประสบการณ.ทกุ ข้นั ตอนเพอ่ื หาจุดเด5น จดุ ดอย
๔.๒ จัดทําสรปุ และบันทกึ การทาํ โครงงานเพือ่ วางแผนในครั้งตอ5 ไป

๕. ผลการดําเนนิ งาน
๕.๑ เด็กไดจัดทาํ โครงงานเกี่ยวกับน้ําดม่ื สมุนไพรเพ่ือสุขภาพ ๓ โครงงาน ไดแก5
- น้าํ สมนุ ไพรใบเตย
- น้ําสมุนไพรดอกอัญชนั
- นา้ํ สมนุ ไพรตะไคร
๕.๒ ไดรบั รางวัลเหรยี ญทองแดงในการแขง5 ขันโครงงานระดับปฐมวยั การแขง5 ขนั ทักษะ

ทางวิชาการ ระดบั ภาคเหนอื คร้งั ที่ 1๗ ประจําป[ พ.ศ.256๒
๖. ปจ7 จัยแห5งความสําเร็จ
๖.๑ ความรว5 มมือของครูปฐมวยั และผูปกครอง
๖.๒ การวางแผนอย5างเป/นขน้ั ตอน

๖.๓ การเตรยี มวัสดุ อปุ กรณ.ท่หี าไดง5ายในทองถ่นิ
๗. บทเรียนทไ่ี ดรับ

๗.๑ เดก็ กลาพูดกลาทํากลาแสดงออกจากการทาํ โครงงาน
๗.๒ การวางแผนที่ดที าํ ใหการปกบิ ตั โิ ครงงานเปน/ ไปดวยดี

๗.๓ เด็กไดฝ^กการใชประสาทสมั ผสั และการบอกขอมูลท่ีไดจากการสังเกต บรรยาย
ลกั ษณะของสิง่ ของท่ี มองเห็น เสยี งที่ไดยนิ กล่ินท่ีไดสดู ดม รสชาตทิ ไ่ี ดชิม และการสัมผสั

ข,อเสนอแนะ

๑. ครูควรมกี ารสํารวจและจดั ทําขอมลู ความสนใจของเดก็ เพือ่ จะไดจดั
ประสบการณ.เด็กอยา5 ครอบคลุม

๒. ครูควรมีการจัดทาํ บญั ชีผูปกครองท่ีเป/นภมู ิปญ7 ญาทองถิ่น

1.2 ระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผู,เรยี น
ระดับคณุ ภาพ ดีเลิศ

กระบวนการพัฒนา ครูจัดกิจกรรมการเรียนรูเป/นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร
สถานศึกษาดวยวิธีการที่หลากหลาย มีการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานการจัดกิจกรรมใหผูเรียนไดฝ^กคิด

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 56

วิเคราะห. คิดอย5างมีวิจารณญาณ การอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นส5งเสริมสนับสนุนใหผูเรียนสรางสรรค.
ส่ิงใหม5ๆ โดยการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสารเพื่อพัฒนาผลงานม5ุงพัฒนาผลงาน มุ5งพัฒนาใหผูเรียน
ทุกคนอ5านออกเขียนไดและมีทักษะพื้นฐานและเจตคติท่ีดีในการทํางานหรืองานอาชพี

ในดานการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค.ของผูเรียน มีการพัฒนาดานคุณธรรมจริยธรรม
การพัฒนาตามนโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารูการจัดกิจกรรมโตไปไม5โกง ตานทุจริต การจัดกิจกรรมตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการฝ^กทกั ษะชวี ติ ว5ายนํ้า เพอื่ ใหผเู รยี นสามารถนําไปประยุกต.ใชในการดํารงชีวิต
ไดอย5างเหมาะสม

ผลการดําเนินงาน ผูเรียนมีผลสมฤทธ์ิทางวิชาการและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค.อยู5ในระดับ
คณุ ภาพยอดเยี่ยมโดยมผี ลงานจากการแข5งขันทกั ษะวชิ าการระดับภาคเหนือครงั้ ที่ 17 ประจาํ ป[การศึกษา 2562
โดยไดรบั รางวัลเหรญี ทอง 2 รายการ เหรยี ญเงิน 2 รายการ เหรียญทองแดง 6 รายการ ทัง้ นี้มีผลการประเมินเชิง
ประจักษด. ังน้ี

ประเด็น ผลการประเมิน

ความ จํานวนผเู รยี นที่มผี ลการประเมินความสามารถทางการอ#าน
สามารถใน ช้นั ประถมศกึ ษาปท+ ี่ ๑-๖
การอา5 นคาํ
พน้ื ฐาน กาํ ลงั พัฒนา ปานกลาง ดี ดเี ลิศ ยอดเยีย่ ม
ระดบั
ป.1-6 7 6 66 7 6
6 0000 333 5
2 0 55
5 11 4 11
4 0
3
1 2

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

ประเดน็ ผลการประเมนิ

ความ จํานวนผเู รียนท่มี ผี ลการประเมนิ ความสามารถทางการอา# น
สามารถใน ชนั้ มธั ยมศกึ ษาป+ที่ ๑-๓
การอา5 นคาํ
พื้นฐาน กาํ ลงั พัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลิศ ยอดเย่ยี ม
ระดบั
ม.1-3 10

7 6 8 787
4 4
66
0
01 0

ม.1 ม.2 ม.3

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 57

ประเด็น ผลการประเมนิ
ความ
สามารถใน จํานวนผูเรียนทม่ี ีผลการประเมินความสามารถทางการเขยี น
การเขยี น ช้ันประถมศกึ ษาป+ที่ ๑-๖
ระดับ
ป.๑-๖ กาํ ลังพฒั นา ปานกลาง ดี ดเี ลศิ ยอดเยีย่ ม

ประเด็น 10 10
ความ
สามารถใน 5 22 2 6 22 7 6
การเขยี น 4 00 5 11 5 5
ระดับ
ม.1-3 3 3 33 2
1 00
ประเดน็ 1 11
ความ
สามารถใน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
การคิด ผลการประเมนิ
วเิ คราะห.
คดิ อย5างมี จํานวนผูเรยี นทีม่ ีผลการประเมินความสามารถทางการเขยี น
วจิ ารณ ชั้นมัธยมศกึ ษาป+ท่ี ๑-๓
ญาณ
อภิปราย กาํ ลงั พัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลิศ ยอดเย่ียม
แลกเปลย่ี น
ป.1-๖ 66 9 12
44 8 9

0 6 3
5 2

0 0

ม.1 ม.2 ม.3
ผลการประเมนิ

จาํ นวนผเู รียนท่มี ผี ลการประเมนิ ความสามารถทางการรคดิ วิเคราะห7
คดิ อยา# งมวี ิจารณญาณ ชน้ั ประถมศึกษาปท+ ่ี ๑-๖

กําลงั พัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลิศ ยอดเย่ียม

15

33 222 55 7 656 10
11 00 33 423 2
0 210
ป.1 ป.2 0 0 0
ป.6
ป.3 ป.4 ป.5

ประเดน็ รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 58
ความ ผลการประเมิน
สามารถใน
การคิด จํานวนผูเรียนท่ีมผี ลการประเมินความสามารถทางการรคดิ วิเคราะห7
วเิ คราะห. คิดอยา# งมีวิจารณญาณ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท+ ่ี ๑-๓
คดิ อย5างมี
วจิ ารณ กําลงั พัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลศิ ยอดเย่ียม
ญาณ
อภปิ ราย 7 11 12
แลกเปลย่ี น 55 665
ม.1-๓ 8
3 0
ประเดน็ 4
ความ 0 2
สามารถใน
การใช 0
เทคโนโลยี
และการ ม.1 ม.2 ม.3
สอื่ สาร
ป.1-๖ ผลการประเมิน

ประเดน็ จํานวนผเู รียนท่ีมผี ลการประเมินความสามารถทางการใชเทคโนโลยี
ความ ชนั้ ประถมศึกษาป+ท่ี ๑-๖
สามารถใน
การใช กาํ ลงั พัฒนา ปานกลาง ดี ดเี ลิศ ยอดเย่ียม
เทคโนโลยี
และการ 12 12
สอ่ื สาร
ม.1-3 10 5 3 1 9 5 9
00 6 2
6 1 22
5 000 1 00 00
00
2
0

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

ผลการประเมิน

จาํ นวนผูเรยี นทีม่ ีผลการประเมินความสามารถทางการใชเทคโนโลยี
ชนั้ มธั ยมศึกษาป+ท่ี ๑-๓

กาํ ลังพฒั นา ปานกลาง ดี ดเี ลิศ ยอดเยี่ยม

18

15

12

5 3 8 3 5 3
0 0 2 0 0 0

ม.1 ม.2 ม.3

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 59

ประเดน็ ผลการประเมนิ
ผลการ
ทดสอบ เปรยี บเทยี บผลการประเมนิ ความสามารถดานการอ5านออกของผูเรยี น
ระดับ (Reading Test: RT) และรอยละผลตา5 ง
ชาติ RT ระหว5างป[การศกึ ษา 256๑ – 256๒

ประเดน็ ปก[ ารศกึ ษา 2561 ป[การศกึ ษา 2562 รอยละของผลต5างระหวา5 งป[การศกึ ษา
ผลการ
ทดสอบ 77.58 74 75.79
ระดับ 54.69 52.09
ชาติ NT 49.5 23.7
28.08 19.31
ประเด็น
ผลการ การอา5 นออกเสยี ง การอ5านรูเรื่อง เฉล่ยี รวม 2 สมรรถนะ
ทดสอบ ผลการประเมิน
ระดบั
ชาติ O-NET เปรยี บเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานผูเรยี นระดบั ชาติ
(Nationnal Test : NT) และคา# รอยละผลตา# ง
ระหว#างปก+ ารศึกษา ๒๕๖๑ - ๒๕๖๒

ปก+ ารศึกษา 2561 ป+การศกึ ษา 2562 รอยละของผลต#างระหวา# งปก+ ารศกึ ษา

48.57 45.81 50 39.23 42.36 41.84 44.94
37.71

12.29 3.1
2.76 3.13

ดานภาษา ดานคาํ นวณ ดานเหตผุ ล รวมความสามารถท้งั 3 ดาน

ผลการประเมนิ

เปรียบเทยี บผลการทดสอบระดับชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET)
ช้นั ประถมศกึ ษาปท[ ี่ 6 ระหว5างปก[ ารศกึ ษา 2561 - 2562

ปก[ ารศกึ ษา 2561 ปก[ ารศึกษา 2562

56.18 42.5
44.18 27.08

33.42 36.21
27.92 27.96

ภาษาไทย คณติ ศาสตร. วทิ ยาศาสตร. ภาษาองั กฤษ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 60

ประเดน็ ผลการประเมนิ

ผลการ เปรียบเทียบผลการทดสอบระดบั ชาติขนั้ พ้ืนฐาน (O-NET)
ทดสอบ ชัน้ มธั ยมศึกษาป[ที่ 3 ระหว5างป[การศกึ ษา 2561 - 2562
ระดบั ชาติ
O-NET ปก[ ารศึกษา 2561 ป[การศึกษา 2562

54.71
44.85

26.57 33.43 26 27.92
21.38 28.42

ภาษาไทย คณิตศาสตร. วิทยาศาสตร. ภาษาองั กฤษ

ประเดน็ ผลการประเมนิ
คณุ ลักษณะ
ทีพ่ งึ รอยละของผเู รยี นท่ีมีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค7 ชน้ั ป.๑-๖
ประสงค.ของ จาํ แนกตามระดับคณุ ภาพ
ผูเรยี น
ป.1-๖ กําลงั พัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลศิ ยอดเยี่ยม

ประเดน็ 43.4843.48 66.67 50.00 56.25 63.16 53.85
คุณลักษณะ 13.04 33.33 37.50 31.25
ที่พงึ 21.05 30.77
ประสงคข. อง 12.50 12.50 15.79 15.38
ผเู รยี น
ม.1-๓ 0.000.00 0.000.000.00 0.000.00 0.000.00 0.000.00 0.000.00

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

ผลการประเมนิ

รอยละของผเู รียนทมี่ คี ุณลักษณะอนั พึงประสงค7 ชัน้ ม.๑-๓
จําแนกตามระดับคุณภาพ

กําลังพฒั นา ปานกลาง ดี ดีเลิศ ยอดเยี่ยม

50.00 42.86 38.46 42.31
35.71 19.23
30.00
20.00 21.43

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

ม.1 ม.2 ม.3

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 61

ขอมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ.ทสี่ นบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง
๑. สรุปผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของผเู รียนปก[ ารศึกษา 2562
๒. สรปุ ผลการสอบ RT ของนักเรียน
๓. สรปุ ผลการอา5 นเขยี นคาํ พ้นื ฐาน ม.1-ม.3
๔. ผลงานการสรางสรรคส. ่ิงใหม5ๆ ของผูเรียน
๕. เกยี รตบิ ัตรจากากรแข5งขนั ทักษะวชิ ากการระดบั ภาคเหนือครง้ั ที่ 17
๖. สรุปผลการสอบ NT ป.3
๗. สรปุ ผลการสอบ O-NET ป.6 และ ม.3
๘. รายงานสรุปโครงงานตา5 งๆ
๙. บนั ทกึ กิจกรรมชุมนุมกลุม5 สนใจ
10. เกยี รติบตั รการแขง5 ขนั ตา5 งๆ ภายในสงั กดั และต5างสงั กัด
๑๑. รายงาน ใบงาน เอกสารและชิน้ งานต5างๆ ของผเู รยี น

จดุ เดน
1. ผูเรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษาในระดบั คณุ ภาพดีซ่งึ พัฒนา

มาจากระดับคุณภาพปานกลางในป[ 2561 ท่ีไม5บรรลมุ าตรฐาน
2. ผูเรียนมพี ฤตกิ รรมท่ีแสดงออกถึงความภมู ิใจในทองถ่ินและความเปน/ ไทยอย5าง

ชัดเจนโดยการรว5 มกิจกรรมดานศิลปวฒั นธรรมประเพณีในทองถิ่นดวยความเต็มใจและมีความพึงพอใจในการแตง5
กายดวยชดุ พ้นื เมือง

จดุ ทค่ี วรพัฒนา
1. การพัฒนาใหผูเรียนมีความสามารถในการสรางนวัตกรรมและมีผลสัมฤทธ์ิทางการ

เรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา
๒. การจดั ระบบ Internet WiFi ใหมีประสทิ ธิภาพ

นวตั กรรม/แบบอยางทดี่ ี
ชือ่ นวตั กรรม กิจกรรมคริสตม2 าส
๑. ขนั้ การวางแผน (PLAN)
๑.๑ สาํ รวจความคิดเหน็ ของผูเรียนระดับประถมศึกษาและมธั ยมศกึ ษาตอนตน
ในการจดั กจิ กรรมวนั ครสิ ตม. าสในปก[ ารศึกษา 2562
1.2 สํารวจวัสดุอุปกรณ.ในการจัดกิจกรรมที่มีอยู5ซ5อมแซมปรับปรุงใหสามารถ
พรอมใชงาน
1.3 สํารวจความคิดเห็นของผูเรียนเกี่ยวกับรูปแบบกิจกรรมท่ีจะจัดการ
นําเสนอ การจดั นทิ รรศการ หรือกจิ กรรมอน่ื ๆ
1.4 จดั เตรยี มผลงานกิจกรรมดานทักษะภาษาองั กฤษ
- ฝก^ การเลา5 นิทานโดยแสดงบทบาทสมมตุ ิ
- จดั เตรยี มกจิ กรรมการระบายสี
- ผลงานการประกวดตา5 งๆ
- ผลงานการประดษิ ฐ.การ.ดคริสต.มาส
- ผลงานจากการจดั การเรยี นการสอน
- โครงงานนกั เรยี น
- กิจกรรมตอบคาํ ถามเก่ยี วกบั วันครสิ ต.มาส

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 62

- ฝ^กฝนกล5าวคําอวยพรการนําเสนอกิจกรรมต5างๆ และการรองเพลง
อวยพรวันครสิ ต.มาส
1.5 วางแผนและจัดเตรียมวัสดอุ ุปกรณ.ในการจดั กิจกรรมตา5 งๆ
- การประดษิ ฐต. นครสิ ต.มาสจากเศษวัสดุ
- การประดิษฐ.หมวกคริสต.มาส
- การประดษิ ฐก. ลอ5 งของขวัญและสัญลกั ษณ.ต5างๆในวันครสิ ต.มาส
- การประดิษฐ.สายรงุ โมบาย และของประดับตกแตง5 สถานทีใ่ นการจัด
กิจกรรม
- แบ5งกล5ุมเพ่ือเตรียมวัสดุอุปกรณ.ฝ^กฝนการนําเสนออาหาร เครื่องดื่ม
ของวฒั นธรรมของเจาของภาษา
- จดั เตรยี มของรางวลั ในการทํากิจกรรมทุกกจิ กรรม
1.6 การใหความร5วมมือของคณะครูและบคุ ลากรทางการศึกษาเขารว5 ม
กจิ กรรม
๒. ขน้ั ดาํ เนินการ (DO)
2.1 กิจกรรมอวยพรวนั ครสิ ต.มาสหนาเสาธง
2.2 กิจกรรมการเลา5 นทิ านภาษาองั กฤษ
2.3 กิจกรรมการระบายสี
2.4 กิจกรรมตอบคาํ ถามภาษาอังกฤษเกี่ยวกับวนั ครสิ ต.มาส
2.5 นทิ รรศการผลการเรียน
2.6 กิจกรรมนาํ เสนอบูธอาหาร เคร่ืองด่ืม วฒั นธรรมเจาของภาษา
2.7 กิจกรรมรองเพลงและนันทนาการ
2.8 มอบของรางวลั สําหรับการประกวดต5างๆ
3. ขั้นตรวจสอบ (CHECK)
3.1 ตรวจสอบความพรอมของวสั ดุอปุ กรณ.ต5างๆ
3.2 ตรวจสอบความพรอมในการนําเสนอผลงานกิจกรรมของแตล5 ะกจิ กรรม
3.3 ตรวจสอบความพรอมของสถานที่ เครือ่ งเสยี ง
3.4 สงั เกต สัมภาษณ. ความคิดเห็นของผเู ขารว5 มกจิ กรรม
4. ขน้ั ทบทวน (ACT)
4.1 ทบทวน ลําดับขัน้ ตอนการจดั กิจกรรม
4.2 วิเคราะหห. าจดุ เด5น จดุ ดอยของกิจกรรมทจ่ี ัดเพือ่ นําไปปรบั ปรงุ ครั้งต5อไป
4.3 จดั ทําสรุป รายงานผลการจดั กจิ กรรม
5. ผลการดําเนินงาน
5.1 การจัดกิจกรรมนําเสนออาหาร เครื่องด่ืมไดรับความร5วมมือ และความ
สนใจ จากผูเขารว5 มกจิ กรรมเป/นอย5างมาก
5.2 ครูและบุคลากรทางการศึกษาทกุ คนใหความร5วมมือในการสนับสนนุ สราง
ความสนกุ สนาน ความสขุ ใหแก5ผเู รียนเป/นอยา5 งมาก
5.3 ผูเรียนเกิดความภูมิใจในผลงานและมีส5วนร5วมในการดําเนินงานในการจัด
กิจกรรม
5.4 เนนกิจกรรมท่ีช5วยพัฒนาดานทักษะ การส่ือสาร การทํางานร5วมกับผูอ่ืน
การช5วยเหลือแบ5งปน7 และสรางภาวะการเรียนรผู ูนาํ ผูตามทด่ี ี

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 63

6. ป7จจัยแห5งความสาํ เร็จ

6.1 ความรว5 มมอื ของผเู รยี น ครูและบุคลากรทางการศึกษา

6.2 ความพรอมในการจัดเตรียมการวางแผนตา5 งๆ

6.3 ผูเรยี นทกุ คนในทกุ ระดับเขาร5วมกจิ กรรมและใหความรว5 มมือเป/นอย5างดี

ขอ, เสนอแนะ

๑. ควรใหนกั เรียนนาํ เสนอกิจกรรมในบูธเป/นภาษาองั กฤษใหมากขน้ึ

๒. ควรเชญิ ชวนช้ีแนะใหนกั เรียนทีเ่ ขากจิ กรรมตา5 งๆ สือ่ สารดวยภาษาองั กฤษใหมากขนึ้

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

ระดับคุณภาพ ดีเลิศ

กระบวนการพัฒนา สถานศึกษามีเป@าหมาย วิสัยทัศน.และพันธกิจที่กําหนดชัดเจน มีหลักสูตร

สถานศึกษา ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนตน ที่สามารถนําไปพัฒนาผูเรียนไดตรงตามเป@าหมาย

ที่กําหนด มีการจัดครูครบทุกชั้นเรียนมีการนิเทศติดตาม การจัดกิจกรรมการเรียนรูอย5างมีระบบและต5อเนื่อง

มีคําสั่งมอบหมายงานอย5างชัดเจน สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดลอมท่ีเอื้อต5อการเรียนรูอย5างมีคุณภาพและ

ปลอดภัย

ผลการดาํ เนนิ งาน

1. การดําเนินการสถานศึกษามีเป@าหมายท่ีชัดเจนทาํ ใหการจดั การศึกษาเปน/ ไปตามทศิ ทางที่

ตองการ

2. ผูเรียนไดรับการดแู ลเอาใจใส5ไดครบและทว่ั ถึง

3. ผเู รียน ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามีการปรบั พฤติกรรมการเรียนการสอนเป/นความสัมพนั ธ.

หองเรียนเชิงบวก

4. ครูและบุคลากรรแู ละเขาใจบทบาทหนาที่และปฏิบตั ิตามทีไ่ ดรบั มอบหมาย

5. ผูเรียนอยูใ5 นสภาพแวดลอมทีเ่ อื้อต5อการเรยี นรแู ละมีความสขุ ในการเรียนทง้ั น้มี ผี ลการ

ประเมนิ เชงิ ประจักษ.ดังนี้

วิธกี ารพฒั นา ผลการพฒั นา

การพฒั นา แผนภมู ิแสดงจาํ นวนชัว่ โมงทเ่ี ขา, รับการพัฒนา/ป<
ครู บคุ ลากร

1

0 50 100 150 200 250 300 350

นายดดั ใจปSญญา นายสรุ ิยาวธุ สีสด นางกันนิกา วงศห7 งษ7 นางคําผวิ ขุนเงนิ
นางสาวณฐั ชนัน หม่นื โฮง นางกมลชนก รายทุย นางวรลักษณ7 เตจาคํา นางสาวแอนจุลี สารสทิ ธยิ ศ
นางปริญญาภรณ7 ฝกV หัด นางสาวพชั รพี ร จันทมา นางสาวณฐั ชยา จันทิ นายสขุ สันต7 สุวรรณโคตร
นางพึงฤทัย กาศทิพย7 นายอุเทน ละอนิ ทร7 นางแสงพิไล เสนาธรรม นางเบญจา โชคอํานวยพร
นางสาวเรณู เมืองพรม นายวนิ ยั ทองสขุ นายนฐั พงษ7 แกวสมนึก นายกองธรรม นวเลิศเมธี

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 64

วิธีการพัฒนา 120 ผลการพฒั นา
การนิเทศ
ภายใน 100 ร,อยละของครทู ีไ่ ด,รบั การนิเทศ

วิธีการพฒั นา 100 100

นกั เรียน 80 50
ไดรับ
ทนุ การศึกษา 60 นเิ ทศการจัดกิจกรรม นิเทศครู
สนบั สนนุ
การเรยี น 40

20

0

นิเทศหอ, งเรยี น

ผลการพัฒนา

จาํ นวนนักเรยี นทไ่ี ด,รบั ทนุ การศึกษา ป<การศึกษา 2562

125

46

33
24

ทนุ ป"จจยั พืน้ ฐาน ทุนจากผปู กครอง ทนุ จากครแู ละบคุ ลากรในโรงเรยี น ทุนจากบุคคลภายนอกและหนว1 ยงานอื่น

ขอมูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ.ทส่ี นับสนุนผลการประเมนิ ตนเอง
1. หลักสูตรสถานศึกษา
2. คําสงั่ มอบหมายงาน
3. ขอมูลการพฒั นาครูและบุคลากร
4. สภาพจรงิ ของการจัดสภาพแวดลอม ในสถานศึกษา
5. แบบบนั ทกึ และสรุปการนิเทศ
6. รูปภาพและคลิปวดิ โี อการนเิ ทศการจดั กิจกรรมของครูและบุคลากรทางการศกึ ษา

จุดเดน
1. สถานศกึ ษามีการกําหนดเปา@ หมายวสิ ยั ทัศน. และพนั ธกิจทีช่ ัดเจนสอดคลองกับนโยบายของ
รัฐบาล และแผนการจดั การศึกษาชาติ
2. การนิเทศภายในอย5างเปน/ ระบบและต5อเน่ือง

จุดทค่ี วรพฒั นา
1. การสาํ รวจ ขอมูลตามความถนัดและความสามารถของผูเรียน
2. การจดั ใหครแู ละบุคลากรเขารับการอบรมตรงตามความตองการ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 65

นวตั กรรม/แบบอยางท่ดี ี
ช่ือนวตั กรรม โครงการนเิ ทศภายใน
ขนั้ ตอนการดาํ เนนิ งาน
๑. ขนั้ การวางแผน (PLAN)
๑.๑ ทบทวนการดาํ เนินงานนเิ ทศภายในป[การศกึ ษา 2561
๑.๒ จดั ทาํ โครงการ เสนอต5อผูบรหิ าร และช้แี จงรายละเอยี ดการดําเนนิ งาน
ต5อทปี่ ระชมุ
๑.๓ ออกคาํ สง่ั การดําเนนิ การคณะกรรมการนิเทศภายใน
๑.๔ ออกแบบและจดั เตรียมแบบนเิ ทศต5างๆและเอกสารท่เี กีย่ วของ
๑.๕ จัดทําปฏทิ นิ การนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา
๑.๖ อธบิ ายสราความเขาใจในแบบนิเทศตา5 งๆ ตอ5 ครู
๒. ขนั้ ดาํ เนินการ (DO)
๒.๑ ดําเนนิ การนเิ ทศตามปฏิทินทีก่ ําหนด
๒.๒ บันทึกการนเิ ทศในช้ันเรียนในแบบบันทึกและรายงาน
- แบบ นท.1 นิเทศชัน้ เรียน
- แบบ นท.๒ นเิ ทศการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู การสอน
- แบบ นท.๓ นิเทศการจัดการเรยี นรู
- แบบ นท.๔ นักเรียนนิเทศครู
- แบบ นท.๕ นเิ ทศแบบทดสอบ
๓. ขน้ั ตรวจสอบ (CHECK)
๓.๑ ตรวจสอบความครบถวนของผรู บั การนเิ ทศ และผูนิเทศ
๓.๒ ตรวจสอบความครบถวนของรายการนิเทศ
๓.๓ ตรวจสอบความครบถวนและความสมบรู ณข. องแบบนิเทศ
๓.๔ ตรวจสอบความครบถวนและความสมบูรณข. องแบบนิเทศ
๔. ข้ันทบทวน (ACT)
๔.๑ วเิ คราะหป. 7ญหาและกาํ หนดแนวทางแกไข
๔.๒ หาจุดเดน5 จดุ ดอย เพ่อื แกไข ปรับปรงุ ต5อไป
๔.๓ จดั ทํารายงานนเิ ทศภายใน
๕. ผลการดาํ เนินงาน
๕.๑ ครูท่ีสอนในระดบั ขั้นพืน้ ฐานไดรับการนเิ ทศทุกคน
๕.๒ ครไู ดรบั การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจดั การเรียนการสอน
๕.๓ มเี อกสารหลกั ฐานการนเิ ทศภายใน
๖. ป7จจัยแหง5 ความสําเรจ็
๖.๑ ครูทุกคนใหความรว5 มมือและใหความสําคญั ต5อการนเิ ทศภายใน
๖.๒ ครูทุกคนมคี วามพรอมในการปรับเปล่ียนพฤตกิ รรมในการจัดกจิ กรรมการ
เรียนการสอน
๖.๓ ครูทุกคนเขาใจและปฏิบัตติ ามบทบาทการเปน/ ผรู บั การนิเทศและเป/นผู
นเิ ทศ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 66

7. บทเรยี นที่ไดรบั
7.1 การนเิ ทศภายในประสบผลสําเรจ็ ได โดยอาศัยความร5วมมอื ของทุกฝาS ย
ไดแก5 ผูเรียน ผนู ิเทศ ผรู ับการนิเทศ และผูบรหิ าร

ข,อเสนอแนะ
1. การนิเทศภายในควรนเิ ทศตามปฏทิ ินทีก่ ําหนไว หรอื ควรแจงลว5 งหนาในกรณี
ทท่ี าํ ก5อน หรอื หลังปฏทิ ินที่กําหนดไว
2. ผูรับการนิเทศ และผนู ิเทศ ตองมคี วามเขาใจในแบบนเิ ทศต5างๆ
3. การนเิ ทศควรยดึ หลักการนเิ ทศแบบกัลยาณมิตร

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน, ผู,เรยี นเปน3 สาํ คัญ
ระดบั คุณภาพ ดีเลศิ

กระบวนการพฒั นา สถานศึกษาดาํ เนินการสง5 เสริม สนับสนุนใหมีการจัดการเรยี นการสอนและ
จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรทเี่ นนผเู รยี นเป/นสําคญั โดยการจดั ใหมรี ะบบรายวิชาเพิ่มเติมในโครงสรางหลักสูตรระดบั
ประถมศกึ ษาและระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน จดั กิจกรรมชุมนมุ กล5ุมสนใจตามความสนใจและความตองการของ
ผูเรียน มกี ารดําเนินงานตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในรูปแบบกลุ5มยุวเกษตรกรในโรงเรียนซงึ่ มิการจดั
กิจกรรมเป/น ๙ ฐาน การจัดกิจกรรมเพ่ือฝ^กทักษะชวี ติ ทเี่ ป/นไปตามความตองการของผเู รียนและของชุมชนคือ
กิจกรรมว5ายน้ํา สาํ หรับชนั้ ประถมศกึ ษาป[ที่ 1-6 เพ่ือใหผเู รยี นสามารถนําไปประยุกต.ใชในการดํารงชีวิตตอ5 ไป

ผลการดําเนนิ งาน
๑. ระดบั ช้ันประถมศึกษาปท[ ่ี ๔ - มัธยมศึกษาป[ที่ ๓ มรี ายวิชาเลอื กจํานวน ๑๑ รายวชิ า
๒. กจิ กรรมชมุ นมุ กลม5ุ สนใจระดับชัน้ ประถมศึกษาป[ท่ี ๑- มัธยมศกึ ษาป[ที่ ๓ จาํ นวน ๑๓
กจิ กรรม
๓. ผูเรียนไดรบั การพฒั นาเต็มตามศกั ยภาพของแตล5 ะบุคคลและเรียนรูอย5างมคี วามสุข

จุดเดน
๑. ผูเรียนไดเลือกเรยี นรายวชิ าและเลือกกจิ กรรมตามความสนใจ
๒. ผูเรียนไดฝก^ ทักษะ และเรียนรูดวยการปฏบิ ัตจิ รงิ
๓. กิจกรรมฝก^ ทกั ษะชีวติ วา5 ยนํา้ จดั ขนึ้ ตามความตองการของผูเรยี นและผปู กครอง

จดุ ท่คี วรพฒั นา
๑. ควรมกี ารสาํ รวจความตองการของผเู รียนแลวจัดกจิ กรรมความตองการใหมากข้นึ

นวัตกรรม/แบบอยางท่ีดี
ชือ่ นวตั กรรม โครงการฝAกทักษะชีวิตวายนา้ํ
ขนั้ ตอนการดําเนนิ งาน
๑. ขนั้ วางแผน (PLAN)
1.1 สาํ รวจความตองการของผูเรยี นและผปู กครองในการจัดกิจกรรม
1.2 ตดิ ตอ5 ประสานงานกับผูประสานงานกจิ กรรมวา5 ยนา้ํ สระวา5 ยนา้ํ องค.การบรหิ าร
สว5 นจงั หวดั แพร5 ดานการขอใชสระวา5 ยนา้ํ วทิ ยากร และตารางการใชสระวา5 ยนาํ้
1.3 จัดแบ5งกลมุ5 ผูเรยี น ครู และพนักงานขบั รถในการรบั ผิดชอบดูแล รบั ส5งผูเรยี น
ระหว5างโรงเรียนกบั สระว5ายนํ้า
1.4 จัดทาํ ตารางการวา5 ยนาํ้ สมดุ สําหรับจดบันทึกกิจกรรม

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 67

2. ขน้ั ดาํ เนนิ การ (DO)
2.1 ผูเรยี น เดินทางไปฝ^กว5ายนา้ํ ทส่ี ระว5ายน้าํ องค.การบรหิ ารสว5 นจังหวดั แพรใ5 นวันและ
เวลาตามตาราง
- กล5มุ ท่ี ๑ นกั เรียนชายช้ันประถมศึกษาปท[ ี่ ๔-๖
- กล5ุมท่ี ๒ นักเรยี นหญิงช้ันประถมศกึ ษาปท[ ี่ ๔-๖
- กลุ5มที่ ๓ นักเรียนช้ันประถมศึกษาป[ท่ี ๑-๓
2.2 ครแู ละพนักงานขบั รถ ดูแล และรับส5งผูเรียนท่ีไปฝ^กวา5 ยนํา้ ตามตารางและจด
บนั ทกึ ในสมดุ บันทึก

3. ข้นั ตรวจสอบ (CHECK)
3.1 ตรวจสอบจากสมดุ บันทึกการจดั กจิ กรรมว5ายนํ้า
3.2 ตรวจสอบจากรายงานการดําเนนิ กจิ กรรม(ภาพถ5าย)
3.3 ประเมนิ ความพึงพอใจของผเู รียน ผปู กครอง ครูและผูท่เี กย่ี วของ

4. ขัน้ ทบทวน (ACT)
4.1 จดั ทําสรุปรายงาน เพ่อื วางแผนการดําเนนิ งานในปถ[ ัดไป

5. ผลการดาํ เนนิ งาน
5.1 ผูเรียนระดบั ชน้ั ประถมศึกษาป[ที่ ๑-๖ มคี วามตองการเรียนว5ายน้าํ และไดรบั การฝก^
ทักษะการว5ายนา้ํ ทกุ คน
5.2 ผเู รยี นมที ักษะพืน้ ฐานการวา5 ยนํ้า
5.3 ผลการประเมินความพึงพอใจคอื รอยละ ๙๖.๗๗ ระดับคุณภาพยอดเยีย่ ม

6.ปจ7 จัยแหง5 ความสาํ เร็จ
6.1 สนับสนุนดานวัสดุ อปุ กรณข. องผปู กครอง
6.2 วทิ ยากร ครู และ พนักงานขบั รถปฏบิ ตั หิ นาทดี่ วยความเอาใจใส5 เสยี สละ
ดวยความเต็มใจ
6.3 ผูบรหิ ารและองคก. ารบริหารสว5 นจังหวัดแพรใ5 หการสง5 เสรมิ สนับสนุนดาน
งบประมาณและสระว5ายน้ําท่ีมีมาตรฐาน

๗. บทเรยี นที่ไดรับ
๗.๑ การว5ายน้ําเปน/ กจิ กรรมที่ทําใหผเู รียนมสี มาธิไดแสดงออกถึงการดแู ล ช5วยเหลอื
ผูอนื่
๗.๒ การว5ายนํ้าเปน/ การออกกําลังกายทกุ ส5วนของร5างกายทําใหกลามเน้ือแข็งแรง
๗.๓ การฝก^ ว5ายนํ้าทาํ ใหผูเรยี นทก่ี ลวั การลงนา้ํ เปล่ียนเป/นชอบและมีความกลาในการ
เรยี นวา5 ยนํา้

ข,อเสนอแนะ
๑. ผเู รียนท่ีมีทกั ษะพ้ืนฐานการว5ายนา้ํ ท่ีดคี วรไดรบั การพฒั นาดานการว5ายนํ้าท5าต5างๆ เพื่อคนพบ
ความสามารถของผเู รียนต5อไป

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 68

สวนท่ี ๓
สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความตองการการชวยเหลอื

ผลการประมินตนเองของสถานศึกษาถือเป!นขอมูลสารสนเทศสําคัญ ท่ีสถานศึกษาจะตองนําไป
วิเคราะห- สังเคราะห- เพื่อสรุปนําไปสู0การเช่ือมโยงหรือสะทอนภาพความสําเร็จกับแผนพัฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษาของสถานศึกษา และไปใชในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้น จากผล
การดําเนินงานของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจุดเด0น จุดควรพัฒนาของแต0ละ
มาตรฐานพรอมท้ังแนวทางการพัฒนาในอนาคตเพ่ือหไดมาตรฐานท่สี งุ ขน้ึ และความตองการชว0 ยเหลอื ดงั นี้

ระดับการศึกษาปฐมวยั
สรปุ ผล

จุดเดน จุดควรพัฒนา

- คณุ ภาพของเด็ก - คุณภาพของเด็ก

1. เดก็ มพี ัฒนาการทางดานสตปิ ?ญญา การสื่อสาร มี 1. ทํากิจกรรมอย0างอสิ ระตามความตองการความ

ทกั ษะการคิดพน้ื ฐาน และแสวงหา สนใจหรอื ตามความสามารถใหมากขน้ึ

ความรตู 0างๆได

- เดก็ ระดบั อนุบาล 2 สามารถอา0 นคําภาษาไทย

พืน้ ฐานตามที่กําหนดไดถูกตอง รอยละ 94.61

- เด็กทกุ คนสามารถเลา0 เรอื่ งที่มีความสนใจหรือ

เล0านทิ านใหผูอื่นเขาใจได

- เด็กสามารถจําแนก เปรียบเทียบจัดลําดบั ได

รอยละ 95.45

- เดก็ ทุกคนสามารถสืบคนนทิ าน การต- นู เพลง

หรอื เกมส- ทางอินเทอร-เนต็ ได

2. เดก็ มพี ัฒนาการทางดานสังคม ชว0 ยเหลือตนเอง

และเป!นสมาชิกทดี่ ีของสงั คมในระดบั ยอดเย่ียมซึ่งมี

พัฒนาการระดับดเี ลิศ

- กระบวนการบริหารและการจัดการ - กระบวนการบริหารและการจดั การ

1. ครมู จี าํ นวนเพียงพอกับชั้นเรียนและเหมาะสมกับ ๑. สถานศกึ ษาควรจัดหองเรยี นอจั ฉรยิ ะสําหรับเด็ก

จํานวนเด็ก ปฐมวัย โดยไมใ0 ชรว0 มกับระดับอืน่

2. ครูทุกคนไดรับการอบรมดานการออกแบบ

กิจกรรม การจัดประสบการณ-เด็กและการประเมิน

พัฒนาการของเด็ก

- การจดั ประสบการณท& ่ีเน*นเด็กเปน+ สําคัญ - การจดั ประสบการณท& ี่เน*นเดก็ เป+นสําคัญ

1. ครมู ีการวิเคราะหข- อมลู เดก็ เปน! รายบคุ คล ๑. การจัดทําบันทึกหลังจากการจดั ประสบการณ-

2. ครูมีแผนการจัดประสบการณ-ที่ส0งเส ริม และการนาํ ผลไปวางแผนในการแกไขปรับปรงุ การ

พฒั นาการเด็กครบทุกดาน จดั ประสบการณ-ครง้ั ต0อไป

3. ครูมกี ารจดั ประสบการณ-เดก็ ครบทุกดาน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 69

แผนการพัฒนาคณุ ภาพเพอ่ื ยกระดับคณุ ภาพมาตรฐานใหส* ูงข้นึ
๑. การจดั ประสบการณ-ตามความสนใจของเด็กเพอื่ พฒั นาเด็กไดตามศักยภาพ
๒. เปKดโอกาสใหผปู กครองมสี 0วนรว0 มในทกุ ขั้นตอนของการจัดประสบการณ-
๓. การนําขอเสนอแนะจากการนเิ ทศมาปรบั ปรุง พฒั นาการจดั ประสบการณ-
๔. การเตรยี มความพ้ีอมของการจัดประสบการณแ- ต0ละครงั้
๕. การจัดประสบการณร- 0วมกันของครูในระดับปฐมวัย

แนวทางการพัฒนาสถานศกึ ษาในอนาคต
๑. การจดั โครงการนเิ ทศการจดั ประสบการณ-โดยผูปกครองเด็ก
๒. การจัดประสบการณร- ว0 มของครูท่สี อนระดับปฐมวยั
๓. การจัดใหมีการศึกษาระดับปฐมวัย ๓ ระดบั คอื อนุบาล ๑ อนุบาล ๒ และอนบุ าล ๓

ความต*องการและการชวยเหลอื
๑. การจัดการอบรมเกย่ี วกบั การนิเทศภายใน
๒. การจดั ใหมีหองเรียนอัจฉริยะสาํ หรบั เดก็
๓. วิทยากรในทองถ่นิ สําหรับการจดั ประสบการณ-เฉพาะดาน

ระดบั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
สรุปผล

จดุ เดน จุดควรพฒั นา

- คุณภาพของผ*ูเรียน - คุณภาพของผเ*ู รยี น

1. ผูเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตร 1. การพัฒนาใหผูเรียนมีความสามารถในการสราง

สถานศกึ ษาในระดับคุณภาพดซี ง่ึ พัฒนามาจากระดับ นวัตกรรมและมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตาม

คณุ ภาพปานกลางในปR 2561 ที่ไมบ0 รรลุมาตรฐาน หลักสูตรสถานศกึ ษา

2. ผูเรียนมีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความภูมิใจใน ๒. การจดั ระบบ Internet WiFi ใหมปี ระสทิ ธิภาพ

ทองถ่ินและความเป!นไทยอย0างชัดเจนโดยการร0วม

กิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรมประเพณีในทองถิ่นดวย

ความเต็มใจและมีความพึงพอใจในการแต0งกายดวย

ชุดพืน้ เมือง

- กระบวนการบริหารและการจัดการ - กระบวนการบริหารและการจดั การ

1. สถานศกึ ษามีการกําหนดเป[าหมายวสิ ัยทัศน- และ 1. การสํารวจ ขอมูลตามความถนดั และ

พนั ธกิจท่ีชัดเจนสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล ความสามารถของผูเรยี น

และแผนการจดั การศึกษาชาติ 2. การจัดใหครูและบุคลากรเขารบั การอบรมตรง

2. การนเิ ทศภายในอยา0 งเป!นระบบและต0อเนื่อง ตามความตองการ

- การจัดการเรียนท่ีเนน* ผู*เรยี นเป+นสาํ คญั - การจัดการเรยี นท่เี นน* ผเ*ู รยี นเป+นสาํ คญั

๑. ผูเรยี นไดเลอื กเรียนรายวิชาและเลือกกิจกรรม ๑. ควรมีการสาํ รวจความตองการของผเู รียนแลวจัด

ตามความสนใจ กิจกรรมความตองการใหมากข้ึน

๒. ผูเรียนไดฝ]กทกั ษะ และเรียนรดู วยการปฏบิ ตั ิจริง

๓. กิจกรรมฝก] ทักษะชีวติ ว0ายนาํ้ จัดขนึ้ ตามความ

ตองการของผูเรียนและผปู กครอง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 70

แผนการพัฒนาคณุ ภาพเพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐานให*สงู ขึน้
๑. แผนการพฒั นา ๘ กลมุ0 สาระการเรียนรู
๒. แผนการพัฒนาทักษะการอา0 น-เขยี นภาษาไทย
๓. โครงการยกผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนกบั หน0วยงานตนสังกัด
๔. การจดั กิจกรรมการเรยี นรูตามความถนัดและความสามารถของผรู ียน
๕. จัดกจิ กรรมใหผูเรียนสามารถสรางนวัตกรรมของตนเองได
๖. การเขาร0วมแขง0 ขนั ดานวิชาการและดานอนื่ ๆของหน0วยงานในสังกดั และตา0 งสงั กดั ทุกระดบั

แนวทางการพฒั นาสถานศึกษาในอนาคต
๑. การจดั สถานศกึ ษาใหมีแหลง0 เรียนรูรอบดานสามารถเรียนรูไดตลอดเวลา
๒. การปน! สถานศกึ ษาทมี่ รี ะบบ Internet WiFi ที่มปี ระสิทธิภาพเปดK โอกาสใหชุมชนใชเพอ่ื การศึกษา
หาความรู
๓. การเป!นสถานศึกษาทผ่ี า0 นการประเมนิ โรงเรยี นพอเพยี งทองถน่ิ และพฒั นาสูส0 ถานศึกษาพอเพยี ง
ทองถน่ิ ตอ0 ไป
๔. การพัฒนาใหเปน! สถานศกึ ษาตัวอย0างดังปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในทองถิ่น
๕. การพัฒนากิจกรรมกลุ0มยวุ เกษตรกรในโรงเรียนใหเป!นที่ยอมรบั เปน! แบบอยา0 งของการประกอบ
อาชีพดานการเกษตรแกช0 ุมชนไดเป!นอย0างดี

ความตอ* งการและการชวยเหลือ
๑. การจัดใหมวี ิทยากรที่มคี วามชํานาญเฉพาะดานเพ่ือการพฒั นาผูเรยี นไดตามตองการ
๒. การจัดระบบ Internet WiFi ใหมีประสิทธภิ าพ
๓. การสนบั สนนุ งบประมาณสําหรบั กิจกรรมลดเวลาเรยี นเพม่ิ เวลารู
๔. การจัดใหมคี รูตามกล0มุ สาระการเรียนรูท่ีใชทกั ษะเฉพาะไดแก0 นาฏศิลปc ทัศนศิลปc

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 71

สวนท่ี ๔
การปฏิบตั ิทเี่ ปนเลิศของสถานศกึ ษา

ชอื่ ผลงาน (Best Practices) กลมุ ยวุ เกษตรกรโรงเรียนองค%การบริหารสวนจังหวัดแพรบานไผยอย

คําสําคญั ยวุ เกษตรกร

ประจําป0การศกึ ษา ๒๕๖2

๑. บทนํา
โรงเรียนองค%การบริหารสวนจังหวัดแพรบานไผยอย สังกัดองค%การบริหารสวนจังหวัดแพร มีวิสัยทัศน%วา

“โรงเรยี นองค%การบริหารสวนจังหวัดแพรบานไผยอย บริหารจัดการศึกษาไดมาตรฐาน ประสานสัมพันธ%ภาคีเครือขาย

นอมนําแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใชในการจัดการศึกษาอยางย่ังยนื ” โรงเรยี นจงึ มีการดําเนินงานตามพันธ

กิจตางๆ เพ่ือใหบรรลุวิสัยทัศน% ประกอบกับองค%การบริหารสวนจังหวัดแพรมีนโยบายใหเป?นสถานศึกษาที่เนนดาน

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพอ่ื ใหเป?นแหลงเรียนรูของผูเรียน ชมุ ชน และผูท่สี นใจทวั่ ไป จึงไดสงเสริมสนับสนุนดาน

วัสดุ อุปกรณ% และบุคลากรในการจัดกิจกรรม อีกทั้งโรงเรียนยังไดรับการสนับสนุนจากหนวยงาน องค%กร ตางสังกัด

เชน มหาวิยาลัยแมโจแพร-เฉลิมพระเกียรติ ศูนย%ศึกษาการพัฒนาหวยฮองไครอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ สํานักงาน

เกษตรอําเภอรองกวาง และสํานักงานพัฒนาดินจังหวัดแพร เป?นตน จึงทําใหมีการจัดกิจกรรมและพัฒนาดาน

การเกษตรตางๆ มาโดยตลอด ตอมาโรงเรียนไดดําเนินการจัดต้ังกลุมยุวเกษตรกรขึ้น มีการจัดกิจกรรมใหผูเรียนไดลง

มือปฏิบัติจริงตามฐานเรียนรูตางๆ จํานวน 9 ฐาน สงผลใหกลุมยุวเกษตรกรโรงเรียนองค%การบริหารสวนจังหวัดแพร

บานไผยอย ไดรบั รางวัลกลุมยุวเกษตรกรดีเดน ระดับจงั หวดั อันดับท่ี 1 ไดเขารวมงานชมุ นุมยวุ เกษตรกรและท่ีปรึกษา

ยวุ เกษตรกรระดบั ประเทศ ประจาํ ปI 2562 ณ โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา และโรงเรยี นทหารการสตั ว% กรมการ

สัตว%ทหารบก

สภาพทวั่ ไป
โรงเรียนมีบริเวณพ้ืนท่ีเหมาะสําหรับจดั กิจกรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่กวางขวาง
จํานวน 2,425 ตารางเมตร หรือประมาณ 1.5 ไร โดยมีลําหวยแมกําปองที่มีนํ้าไหลผานตลอดปI เป?นพ้ืนท่ีเหมาะ
สําหรบั การปลกู พืชและเล้ยี งสัตว%อยางมาก กลาวคือมที ้ังพ้ืนทโ่ี ลงแจงและบรเิ วณทมี่ ีตนไมรมร่ืน จงึ มกี ารจดั แบงสัดสวน
ใหเปน? ฐานเรียนรู เพื่อฝPกฝนพัฒนาผูเรียนใหมีประสบการณ%ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใหมีคณุ ลักษณะอยู
อยางพอเพียง โดยแตละฐานตง้ั อยูในบริเวณที่เหมาะสมกับกิจกรรม เชน ฐานการเลี้ยงกบ อยูบริเวณบนฝRQงของลําหวย
ฐานการเลี้ยงไกมีโรงเรือนท่ีปลอดภัยหางจากฐานอื่นๆ ฐานการปลูกผักปลอดสารพิษมีโรงเรือนปลูกผักกางมุง มีแปลง
ผักในท่ีโลงท่ีมีแสงแดดสองทั่วถึง เป?นตน นอกจากน้ีพ้ืนฐานของ ครู บุคลากร ผูปกครอง และชุมชนตางทําการเกษตร
เป?นงานอดิเรก หรอื เปน? อาชีพหลกั สามารถเป?นแบบอยางหรือเป?นผใู หคําแนะนาํ ไดเป?นอยางดี
ลักษณะสาํ คัญของวธิ หี รือแนวทางปฏิบตั ิทเี่ ปนเลิศ
การดําเนินงานของกลุมยุวเกษตรกรโรงเรียนองค%การบริหารสวนจังหวัดแพรบานไผยอย เป?นการดําเนิน

กิจกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คณะทํางานประกอบดวย ที่ปรึกษากลุมยุวเกษตรกร ไดแก ผูบริหาร

สถานศึกษาและหัวหนาฝSาย ที่ปรึกษาแตละสาขา ไดแก คณะครูท่ีมีความชํานาญในสาขาท่ีเกี่ยวของ และ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 72

คณะกรรมการสภายุวเกษตรกร ประกอบดวย ตําแหนงประธาน รองประธาน เลขานุการ ปฏิคม และเหรัญญกิ การจัด

กจิ กรรมแบงเป?นฐานการเรยี นรู จาํ นวน ๙ ฐาน ไดแก

1. ฐานเรยี นรูการเลี้ยงปลา (Fish Farming Center)
2. ฐานเรียนรกู ารเล้ยี งกบ (Frog Farming Center)
3. ฐานเรยี นรูการเลย้ี งไก (Chicken Farming Center)

4. ฐานเรยี นรูการเพาะเห็ด (Mushroom Farming Center)

5. ฐานเรยี นรูการปลกู ผกั ปลอดสารพษิ (Organic Vegetable Farming Center)

6. ฐานเรียนรูการขยายพนั ธ%ุพืช (Plant Propagation Farming Center)

7. ฐานเรยี นรูการปลกู กลวย (Banana Farming Center)

8. ฐานเรยี นรธู นาคารจลุ ินทรยี % (Microbial Bank Center)

9. ฐานเรยี นรูเคหะกจิ เกษตร (Agricultural Housing Center)

ฐานเรียนรู ในแตละฐานมีครูที่ปรึกษา ๒-3 คน และมีนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตนเป?นสมาชิก ฐานละ

6-8 คน ดําเนินกิจกรรมตามฐานท่ีรบั ผิดชอบ ในดานองค%ความรู การฝPกฝนทักษะตางๆ การรวบรวมขอมลู การปฏิบัติ
กิจกรรมในฐาน การนําเสนอหรือการเป?นวิทยากรแกผูมาศึกษาเรียนรูได ซึ่งไดแก นักเรียนระดับปฐมวัย นักเรียน

ระดบั ประถมศกึ ษา สมาชกิ จากฐานอื่นๆ หรอื ผูสนใจท่ัวไป

วตั ถปุ ระสงค;
1. เพ่ือสงเสริมทัศนคติของสมาชิกกลุมยุวเกษตรกรใหภูมิใจในคุณคาของการเกษตรและยอมรับอาชีพ

เกษตรกรรมเปน? อาชีพท่มี เี กียรติยศ ความสําคัญตอการดํารงชีพและเศรษฐกจิ ของประเทศ

๒. เพื่อใหสมาชิกกลุมยุวเกษตรกรไดรับความรูและเทคโนโลยีการเกษตร เคหะกิจเกษตร การอนุรักษ%

ทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอมทีถ่ กู ตองเหมาะสมสอดคลองกับครอบครวั และทองถน่ิ

๓. เพ่ือเสริมสรางทักษะความชํานาญการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เคหะกิจเกษตร การอนุรักษ%ธรรมชาติ

และส่งิ แวดลอมดวยการปฏิบตั จิ ริง

๔. เพื่อฝPกใหสมาชิกยุวเกษตรกรใชเวลาวางใหเกิดประโยชน%รูจักการทํางานเป?นหมูคณะสงเสริมการปกครอง

ตามระบอบประชาธปิ ไตย โดยอาศัยขอบังคับและวิธีการดาํ เนินงานยุวเกษตรกรเปน? แนวทางการฝPกหัด

เปา< หมาย
เชงิ ปริมาณ
๑. มฐี านเรียนรแู ละมกี ารจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 9 ฐาน

๒. ฐานเรียนรู 9 ฐาน ไดรับการปรับปรุง พัฒนาสภาพแวดลอมเอื้อตอการจัดกิจกรรมตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๓. มคี ิวอารโ% คด QR Code (Quick Response Code) สาํ หรบั สืบคนขอมลู 9 ฐาน

๔. นกั เรียน ครู และผูทเ่ี กี่ยวของมคี วามพึงพอใจรอยละ ๘๐
เชิงคณุ ภาพ

๑. เอกสาร ขอมลู ฐานเรยี นรูมีความถกู ตอง และมกี ารเผยแพร

๒. โรงเรียนมีแหลงเรียนรูดานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่นักเรียนสามารถฝPกปฏิบัติจริงแลว
สามารถนําไปตอยอดในการประกอบอาชีพได

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 73

๓. กลุมยุวเกษตรกรโรงเรียนองค%การบริหารสวนจงั หวัดแพรบานไผยอย มีช่อื เสียงไดรับการยอมรับ
จากหนวยงานตนสังกัด ในชุมชน ไดรบั รางวัลในระดับระดบั อําเภอ หรือจังหวัด

๒. แนวทาง/ขนั้ ตอนการดําเนนิ งาน/Flow Chart
ขน้ั ที่ ๑ ศกึ ษา ทบทวน การจัดกจิ กรรมกลุมยวุ เกษตรกร ในปIทีผ่ านมาแลววางแผนการดําเนนิ งาน
-การจดั ครทู ี่ปรกึ ษา สมาชิกในแตละฐาน
-การจดั กจิ กรรมตามฐานเรียนรูตางๆ
-การจัดฐานท่ีเออ้ื ตอการเรียนรูดานปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
-การตง้ั ช่อื ฐานเป?นภาษาอังกฤษ
ขั้นที่ ๒ ประชุม ปรกึ ษาหารอื ชแี้ จงการดําเนนิ กิจกรรมกลมุ ยวุ เกษตรกร
ขั้นท่ี ๓ การจัดทําขอมูล องค%ความรูฐาน โดยการศึกษา รูปแบบ และแนวทางการจัดฐานเรียนรูจากเอกสาร

หนังสอื และเว็บไซต%แลวจัดทาํ เอกสาร ขอมูลตาง ๆ จดั ทําแฟ{มขอมลู ฐานเรยี นรู ซงึ่ ประกอบดวย
-ขอมูลท่ัวไป
-ที่ปรกึ ษาแตละสาขา
-สมาชกิ ประจําฐาน
-ความเป?นมา
-วัตถุประสงค%
-ใบความรู
-บันทึกการจัดกจิ กรรม
-แบบประเมินความพึงพอใจ
-ภาพประกอบ
-ขอมลู อื่น ๆ

ขัน้ ที่ ๔ ปรับปรุง พัฒนาฐานเรียนรู ไดแก การปรับปรุง ซอมแซมวัสดุ อุปกรณ% โรงเรือน การปรับสภาพภูมิ
ทศั นใ% หสะอาด สวยงาม เหมาะสมสําหรบั เปน? แหลงเรยี นรู

ข้นั ที่ ๕ การจัดกิจกรรมตามฐานเรยี นรู
-การฝPกปฏบิ ตั ิในฐานเรยี นรู
-การถายทอดองค%ความรู
-การแลกเปล่ยี นเรียนรู
-การศกึ ษาดูงานนอกสถานศกึ ษา

ข้ันท่ี ๖ การเผยแพรแกผูปกครอง ชุมชน และผูสนใจทว่ั ไป และการเขารวมการประกวดแขงขนั ในระดบั ตางๆ
ขนั้ ที่ ๗ การประเมนิ ผลเพื่อนาํ ผลการประเมินเปน? ขอมูลในปรับปรงุ พฒั นาตอไป
ขนั้ ท่ี ๘ การสรุป รายงาน โดยครูที่ปรึกษา และสมาชิกประจําฐานจัดทําสรุปรายงานตอผูทําหนาท่ีบริหาร
ซึง่ เปน? ผูจดั ทาํ สรปุ รายงานเสนอตามลาํ ดับตอไป

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 74

FLOW CHART
กลมุ ยวุ เกษตรกรโรงเรยี นองคก; ารบรหิ ารสวนจังหวดั แพรบQานไผยอQ ย

ศกึ ษา ทบทวนและวางแผนการดาํ เนินงาน

ประชมุ ปรกึ ษาหารอื ช้ีแจง
การดาํ เนินกิจกรรม

การจดั ทําขอQ มลู องค;ความรฐQู าน

การจัดกจิ กรรมตามฐาน

No

การเผยแพร การเขาQ ประกวดแขงขัน

Yes

ประเมนิ ผล

สรปุ รายงาน

๓. ผลลัพธ/; ผลการดาํ เนนิ การ
๓.๑ กลมุ ยวุ เกษตรกรโรงเรียนองคก% ารบรหิ ารสวนจงั หวดั แพรบานไผยอย มฐี านเรียนรู จาํ นวน ๙ ฐาน
๓.๒ ฐานเรียนรู ๙ ฐาน สามารถเป?นแหลงเรียนรู แหลงฝPกฝนดานการเกษตร หรือตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี งไดเป?นอยางดี

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 75

๓.๓ จากการประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ครู ผูปกครอง และผูท่ีมีสวนเกี่ยวของ สรุปการมีความพึง
พอใจรอยละ 90 ระดบั คุณภาพ ยอดเยย่ี ม

๓.๔ กลุมยุวเกษตรกรโรงเรียนองค%การบริหารสวนจังหวัดแพรบานไผยอย ไดรับรางวัลอันดับท่ี 1 ระดับ
จงั หวัด ในการแขงขันกลุมยวุ เกษตรกร ประจาํ ปI พ.ศ. 2562

เมื่อไดดําเนินการตามข้ันตอนแลว ทําใหโรงเรียนองค%การบริหารสวนจังหวัดแพรบานไผยอย มีแหลงเรียนรู
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ท่ีมีการดําเนินงานอยางเปน? กระบวนการ ดวยความรวมมือของทุกฝาS ย สามารถ
เป?นแบบอยางและเป?นแหลงเรียนรูแกชุมชน และผูท่ีสนใจท่ัวไปไดเป?นอยางดี การดําเนินกิจกรรมดังกลาวสงผลให
นักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียนเป?นบุคคลที่ตระหนักถึงสภาพแวดลอม เกิดการอนุรักษ%ทรัพยากรธรรมชาติ และ
สง่ิ แวดลอมทีถ่ ูกตอง มีการปฏิบตั ิตัวตอส่งิ แวดลอมอยางเหมาะสมและรบั ผิดชอบ

เนื่องจากการดําเนินการท่ีประสบผลสําเร็จ สถานศึกษาจึงมีการวางแผนการพัฒนากิจกรรม และเขาประกวด
แขงขัน ในระดบั จงั หวัด ระดบั ภาคและระดับประเทศตอไป

๔. ปจW จัยเกอ้ื หนนุ /ปจW จยั แหงความสาํ เร็จ
๔.๑ สถานศึกษาตั้งอยูในชนบท นักเรียนสวนมากมีประสบการณ%การทํางานดานการเกษตร และการทํางาน

ตางๆ
๔.๒ ทกั ษะ ความสามารถของครูท่ีปรกึ ษา และครูท่ีรบั ผิดชอบดานการบริหาร ซง่ึ ตองทุมเทในดานการทํางาน

การดแู ล เอาใจใส กํากับ ตดิ ตาม ใหคําแนะนํา แกนักเรียนทเี่ ปน? สมาชิกฐานเรียนรู อยางสม่ําเสมอ
๔.๓ การไดรับทรพั ยากรทีพ่ อเพียง เน่ืองจากมหี นวยงาน องค%กร ทัง้ ในและตางสงั กดั ใหการสงเสริม สนับสนุน
๔.๔ การมสี วนรวมของทุกฝSาย ไดแก นกั เรยี น ครู ผูบริหาร ผูปกครอง ชมุ ชน และหนวยงานตนสงั กดั
๔.๖ การทาํ งานเปน? ทีม หรอื ใหความรวมมือตามบทบาทหนาท่ีในระบอบประชาธิปไตย
๔.๗ มีการกําหนดกรอบหนาท่ีการทํางานท่ีชัดเจน ผูที่เกี่ยวของไดรับทราบหนาท่ี ขอบขาย วิธีการทํางาน

ทาํ ใหผลงานมีคุณภาพดี
๔.๘ การจัดสภาพแวดลอมและสังคมที่เอื้อตอการจัดกิจกรรมตามฐานการเรียนรู ดานปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง การศึกษาเรียนรูโดยการลงมือปฏิบัติจริง ทําใหเกิดกระบวนการ คิด วิเคราะห% การแกปQญหา ซึ่งทําใหผูเรียน
เกิดองค%ความรู ทีส่ ามารถนาํ ไปปรบั ประยกุ ต%ใชในการเรยี นในรายวิชาหรอื กิจกรรมอ่นื ๆ ได

๕. แนวทางการพัฒนาใหQยั่งยืน

๕.๑ การจดั กิจกรรมในฐานเรียนรูใหมีอยางหลากหลาย เชน ฐานเล้ียงไก จากเดิมเลี้ยงไกไข เล้ียงไกประดูหาง
ดํา เพ่มิ เป?นการเลี้ยงไกพนั ธุ%พ้นื เมอื ง หรือฐานเรียนรูการเล้ยี งกบ เพิ่มใหมกี ารผสมพันธแ%ุ ละการผลิตลูกอ~อดสําหรับขาย
เป?นตน

๕.๒ การจัดสภาพแวดลอม โดยเนนการใชวัสดจุ ากธรรมชาติ การดูแลธรรมชาติ สิง่ แวดลอมท่ีมีอยใู หคงสภาพ
ที่ดี และไดรับการพัฒนาใหมคี วามสมดุลทางธรรมชาติ

๕.๓ การใชระบบประชาธิปไตยในการบริหารจัดการ โดยครูและนักเรียนจะตองยอมรับหลักการดําเนิน
กิจกรรม มีอิสระในการเลือกเรียนรูในฐานเรยี นรูตางๆ ยอมรับฟQงความคดิ เห็นและรับผิดชอบในผลที่เกิดขึ้น มีลักษณะ
การเปน? ผูนําและผูตามทดี่ ี

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 76

๖. การเปนตนQ แบบใหQกับหนวยงานอ่นื /การขยายผล และ/หรือรางวลั ที่ไดรQ ับ
๖.๑ เป•ดโอกาสใหชุมชน หนวยงานอ่ืน มาศึกษาเรียนรู ฝPกปฏิบัติในฐานเรียนรูตางๆ หรือเป?นสถานที่สําหรับ

การฝกP อบรม โดยครหู รือนักเรยี นเป?นวทิ ยากร
๖.๒ นําผลงานจัดนิทรรศการ หรือแสดงตอสาธารณชนในโอกาส หรือตามสถานที่ตางๆ เชน งานวันทองถ่ิน

ไทย งานประเพณใี นชุมชน และชุมชนใกลเคยี ง เป?นตน
๖.๓ จัดสงผลผลิตท่ีมีคณุ ภาพ เพ่ือจําหนายตามหางรานทัว่ ไป ในราคาที่ยุตธิ รรม
๖.๔ รางวลั กลมุ ยวุ เกษตรกรดีเดน ระดบั จงั หวดั อนั ดบั ที่ 1 ประจาํ ปI ๒๕๖๒
6.๕ รางวลั สมาชกิ กลมุ ยวุ เกษตรกรดเี ดน ระดับจังหวัด อันดับท่ี 1 ประจาํ ปI ๒๕๖๒
6.๖ รางวัลที่ปรึกษากลมุ ยวุ เกษตรกรดเี ดน ระดับจังหวดั อันดบั ที่ 1 ประจําปI ๒๕๖๒

๗. ภาคผนวก
7.1 ภาพประกอบ

1 ฐานเรยี นรกู ารเล้ียงกบ (Frog Farming Center)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 77

2. ฐานเรยี นรูการเลี้ยงปลา (Fish Farming Center)

3. ฐานเรยี นรกู ารเลีย้ งไก (Chicken Farming Center)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 78

4. ฐานเรยี นรูการเพาะเหด็ (Mushroom Farming Center)

5. ฐานเรียนรูการปลูกผกั ปลอดสารพิษ (Organic Vegetable Farming Center)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 79

6. ฐานเรียนรกู ารขยายพนั ธพุ% ืช (Plant propagation Farming Center)

7. ฐานเรียนรธู นาคารจุลินทรยี % (Microbial Bank Center)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 80

8. ฐานเรยี นรูการปลกู กลวย (Banana Farming Center)

9. ฐานเรยี นรเู คหะกจิ เกษตร (Agricultural Housing Center)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 81

กลมุ ยุวเกษตร รวมงานวนั ดินโลก ณ สาํ นกั งานพัฒนาทดี่ นิ อ.รQองกวาง จ.แพร
เมื่อ 12 ธนั วาคม 2562

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 82

กลุมยุวเกษตรกรเขาQ รบั การอบรม เก่ียวกบั การดําเนินงานกลมุ ยุวเกษตรกรในโรงเรียน
โดย สํานักงานเกษตรจงั หวดั แพร และสาํ นักงานเกษตรอําเภอรQองกวาง จงั หวดั แพร
ณ โรงเรยี นองคก; ารบริหารสวนจงั หวดั แพรบQานไผยQอย เมอ่ื 11 ธนั วาคม 2562

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 83

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 84

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 85

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 86

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 87

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 88

ภาคผนวก ก ภาพกิจกรรม ปการศึกษา ๒๕๖๒
ภาคผนวก ข ประกาศโรงเรยี นองคการบรหิ ารส"วนจังหวัดแพรบ" &านไผ"ยอ& ย
ภาคผนวก ค ผลการทดสอบระดับสถานศกึ ษา ปการศึกษา ๒๕๖๒
ภาคผนวก ง ผลการทดสอบระดับชาติ ปการศกึ ษา ๒๕๖๒

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 89

ภาพกจิ กรรมปการศกึ ษา ๒๕๖๒

การประชุมผ&ูปกครอง ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศกึ ษา 2562 เม่อื 12 พฤษภาคม 2562

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 90

การเขา& รว" มชุมนมุ ลกู เสือท&องถ่นิ ไทยครั้งท่ี 6 ภาคเหนอื เมอ่ื 8-11 มถิ ุนายน 2562

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 91

โครงการฝก: อบรมการถา" ยทอดเทคโนโลยแี ละการส"งเสรมิ การปลกู พืชเศรษฐกิจทดแทนการปลกู พืชเชิงเด่ียว
บนพ้นื ทีส่ ูง ในพ้ืนทีจ่ ังหวดั แพร" ณ โรงเรียน อบจ.แพร"บ&านไผย" &อย เม่ือ 22 มถิ นุ ายน 2562

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 92

คณะครู บุคลากร นกั เรียน
รว" มโครงการสร&างจิตสํานึกตระหนักรเู& รอ่ื งของการซื้อสิทธิ์ขายเสียงตําบลนาํ้ เลา
ณ สาํ นักงาน กศน. ตําบลนํา้ เลา อ.รอ& งกวาง จ.แพร" เมื่อ 10 กนั ยายน 2562

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา 93

ลูกเสอื่ สามัญร"นุ ใหญ"บาํ เพ็ญตนเพื่อสาธารณประโยชน
โดยสาํ นกั งานศึกษาธิการจงั หวดั แพร"

ณ โรงเรียนบ&านผาราง อ.รอ& งกวาง จ.แพร" เม่ือ 12 ตลุ าคม 2562

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 94

คณะครู บุคลากร นักเรยี น
รว" มประเพณีก๋ินสลาก ณ วัดบ&านไผย" อ& ย ต.นาํ้ เลา อ.ร&องกวาง จ.แพร"

เมื่อ 9 พฤศจิกายน 2562

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 95

คณะครู บคุ ลากร นักเรียน
รว" มประเพณีกิน๋ สลาก ณ วัดเวียงสนั ทราย ต.บ&านเวยี ง อ.ร&องกวาง จ.แพร"

เมื่อ 10 พฤศจกิ ายน 2562

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา 96

โครงการค"ายวชิ าการสคู" วามเปHนเลศิ โรงเรียนในสังกดั อบจ. แพร"
ระดบั ประถมศกึ ษาปท่ี 1 - 3 ณ สวนสาธารณะ อบจ.แพร" เม่อื 17 กมุ ภาพันธ 2563


Click to View FlipBook Version