The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินตนเอง Self Assessment Report : SAR โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ (พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ปีการศึกษา 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iClass, 2021-06-15 00:08:14

รายงานการประเมินตนเอง Self Assessment Report : SAR โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ (พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ปีการศึกษา 2563

รายงานการประเมินตนเอง Self Assessment Report : SAR โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ (พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ปีการศึกษา 2563

รายงานการประเมินตนเอง
SELF ASSESSMENT REPORT : SAR
โรงเรียนกีฬาองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั แพร่

(พัฒนาประชาอุปถมั ภ์)
ปีการศึกษา 256๓

สงั กัดองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัดแพร่
กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิน่
กระทรวงมหาดไทย

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ก

คำนำ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาฉบับนี้ เป็นการสรุปผลการดำเนินงานในรอบปีการศึกษา
๒๕๖3 ของสถานศึกษาที่สะท้อนใหเ้ หน็ ภาพความสำเรจ็ ที่เกิดข้นึ ตามบรบิ ทของสถานศึกษาซึ่งมีองค์ประกอบ
ของรายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ๔ ส่วน ได้แก่

ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลพ้ืนฐาน
สว่ นท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
สว่ นที่ 3 เอกสารประกอบการพิจารณา Best Practices
ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก

โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาเป็นข้อมูลในการ
วางแผนพัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษา และเตรียมความพร้อมในการประเมินคณุ ภาพภายนอกต่อไป

(นายทชั ชยั รอดน้อย)
ตำแหน่ง รองผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา
รักษาราชการแทน ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา
โรงเรยี นกีฬาองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัดแพร่ (พัฒนาประชาอุปถัมภ์)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ ข

สารบัญ
เรือ่ ง หนา้
คำนำ.............................................................................................................................................................. ก
สารบัญ........................................................................................................................................................... ข
บทสรุปสำหรบั ผูบ้ ริหาร .................................................................................................................................๑
สว่ นท่ี ๑ ข้อมูลพ้ืนฐาน .............................................................................................................................. 11

๑.ขอ้ มูลทั่วไป .......................................................................................................................................... 11

๒.ข้อมลู ผบู้ ริหาร...................................................................................................................................... 12

๓.ขอ้ มลู ครแู ละบคุ ลากรสนบั สนุนการสอน .............................................................................................. 16

๔.ขอ้ มูลนักเรียนและผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษา.................................................................................................... ๑9

๕. โครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษาฯ ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒๒

๖.ข้อมลู ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในระดับสถานศึกษา............................................................................... 2๘

๗.ขอ้ มูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET)........................................................................ 2๙

๘.ข้อมูลดา้ นสถานท่ี................................................................................................................................. ๓๖

๙.ขอ้ มลู สภาพชุมชนโดยรอบ................................................................................................................... ๓๖

๑๐.แหลง่ เรียนรู้ ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ .......................................................................................................... 3๖

๑๑.ผลงานดเี ดน่ ในรอบปที ีผ่ ่านมา ........................................................................................................... 3๙

๑๒.ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม.......................................................................................... ๔๐

๑๓.การนำผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษามาใช้ในการปรบั ปรงุ ........................................

และพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาอย่างต่อเนื่อง.............................................................................................. ๔๓

๑๔.การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปขี องสถานศึกษา.............................. ๕๒

สว่ นท่ี ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา........................................................................................ ๕๓

๑.ผลการประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ............................................
ระดบั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน....................................................................................................................... ๕๓
๒.แผนการพฒั นาคุณภาพเพื่อยกระดบั คุณภาพมาตรฐานใหส้ งู ข้นึ ........................................................... 5๕
๓.สรปุ ในแตล่ ะมาตรฐาน ......................................................................................................................... 5๘

สว่ นท่ี ๓ เอกสารประกอบการพจิ ารณา Best Practices......................................................................... ๗๒

๑. บทนำ ................................................................................................................................................. ๗๒
๒. แนวทาง/ขั้นตอนการทำงาน/Flow Chart.......................................................................................... ๗๕
๓. ผลลพั ธ/์ ผลการดำเนนิ การ .................................................................................................................. ๗๖
๔. ปัจจัยเกอ้ื หนนุ /ปัจจัยแหง่ ความสำเร็จ ................................................................................................ ๗๖
๕. แนวทางการพฒั นาใหย้ ่ังยืน ................................................................................................................ ๗๗
๖. การเปน็ ตน้ แบบให้กบั หน่วยงานอ่นื /การขยายผล และ/หรอื รางวัลทีไ่ ดร้ ับ.......................................... 7๗
......................................................................................................................................................................

ภาคผนวก ................................................................................................................................................... 7๙

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ ๑

บทสรปุ สำหรบั ผู้บรหิ าร

ผูจ้ ดั ทำ : ผู้อำนวยการสถานศึกษา

บทนำ
ชอื่ สถานศกึ ษาโรงเรียนกีฬาองค์การบริหารสว่ นจังหวัดแพร(่ พฒั นาประชาอปุ ถัมภ์) ตงั้ อยเู่ ลขท่ี 368

ถนนเลียบคลองชลประทาน หมู่ 2 ตำบลทุ่งแค้ว อำเภอหนองม่วงไข่ จังหวัดแพร่รหัสไปรษณีย์ 54170
โทรศัพท์ 054 –652245 โทรสาร 054 – 652245 e-mail: [email protected]
website: www.ppu.ac.th สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ เปิดสอนตั้งแต่ ระดับช่วงชั้นที่ 3
(มัธยมศึกษาปีที่ 1-3) ถึงระดับช่วงชั้นที่ 4 (มัธยมศึกษาปีที่ 4-6) มีจำนวน 14 ห้องเรียน โรงเรียนมีเนื้อที่
ทั้งหมด 94 ไร่

ชือ่ ผูบ้ รหิ าร ผู้อำนวยการสถานศกึ ษาปกี ารศกึ ษา 2563 จำนวน 1 คน รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษา
จำนวน 2 คน

1) นายพงษ์ไทย บัววัดผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่
(พัฒนาประชาอุปถัมภ์)วุฒิการศึกษาสูงสุด ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตสาขา การบริหารการศึกษา
ปฏิบตั ริ าชการต้งั แต่ วนั ที่ ๕ มนี าคม 2563 จนถึง 3 มกราคม 2563

รองผ้อู ำนวยการสถานศึกษา จำนวน ๒ คน
๑) นางสาวปวีณา ใจกระเสน รองผู้อำนวยการสถานศึกษา วุฒิการศึกษาสูงสุด การศึกษา

มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา ดำรงตำแหน่งในสถานศึกษานี้ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2556
จนถึงปัจจบุ ันเป็นเวลา 6 ปี 6 เดือนเบอร์โทรศัพท์ 099-6164453 รับผิดชอบฝา่ ยบรหิ ารงานวิชาการและ
ฝ่ายบริหารงานบุคลากร

2) นายทชั ชยั รอดนอ้ ย รองผ้อู ำนวยการสถานศึกษา วุฒกิ ารศกึ ษาสูงสุด การศึกษามหาบัณฑิต
สาขาการบรหิ ารการศึกษา ดำรงตำแหน่งในสถานศึกษาน้ี ต้งั แต่วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ.2556 จนถึงปัจจุบัน
เป็นเวลา 5 ปี 4 เดือนโทรศัพท์ 093-2684114 รับผิดชอบ ฝ่ายบริหารงานงบประมาณและการเงิน
ฝ่ายบรหิ ารงานทว่ั ไปและฝา่ ยกิจการนกั เรียน รักษาราชการแทน ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา ต้ังแต่ วนั ท่ี
4 มกราคม 2563 จนถงึ ปัจจุบนั

จำนวนครูข้าราชการครู 30 คน พนักงานจ้างตามภารกิจ 4 คน ลูกจ้างประจำ 2 คน ลูกจ้างเหมา
บรกิ าร 28 คน รวม 64 คน นักเรียนระดับมัธยมศึกษาจำนวน168คน รวมทั้งสนิ้ 232 คน

วสิ ยั ทัศน์
“พฒั นานักกฬี าสู่ความเป็นเลิศ เชิดชูคุณธรรม จรยิ ธรรม นอ้ มนำปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง”

เอกลักษณ์ของสถานศึกษา
“กีฬาฟตุ ซอลและดนตรี”

อัตลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา
“ยิ้มไหว้ทกั ทายกนั ผเู้ รียนมกี ริยามารยาทดี เออ้ื อาทรต่อผู้อื่นและสงั คม”

ผลการประเมนิ ตนเอง
๑. การจัดการศึกษาอยใู่ นมาตรฐาน: ระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานระดบั คุณภาพ ดีเลศิ
๒. หลักฐานสนบั สนนุ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๒

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผ้เู รยี น ระดบั คณุ ภาพ : ดีเลิศ
1. กระบวนการพฒั นา
1.1. การพฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการของผู้เรยี น
โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ได้ดำเนินโครงการและ

กิจกรรมเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการอย่างหลากหลาย ได้แก่ โครงการส่งเสริมการอ่าน การเขียน การ
สื่อสาร และการคิดคำนวณ ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ แบบ active learning โครงการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา โดยการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเป็นประจำทุกปีการศึกษา เพื่อส่งเสริมและ
พัฒนาศักยภาพของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 และจุดเน้นของ
สถานศึกษา ตลอดจนเพอื่ ตอบสองความต้องการของผเู้ รียนในด้านตา่ งๆ ทงั้ ในดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
กีฬา ศิลปะ ดนตรี และทกั ษะดา้ นอาชีพ เพอื่ ให้ผ้เู รยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ กระบวนการต่างๆ มี
การเพิ่มเติมรายวิชา stem สร้างสรรค์ การเรียนแบบ Coding ที่ส่งเสริมนักเรียนให้มีทักษะ การแก้ปัญหา
และหลักสูตรที่ส่งเสริมเฉพาะความถนัดในแต่ละชนิดกีฬา ส่งเสริมการเรียนการสอน ในรูปแบบต่างๆได้แก่
Learning by doing , Learning by question , Learning by Searching , Learning by Construction ,
Learning by Communication และ Learning by Serving รวมทั้งมีความก้าวหน้าในผลการทดสอบ
ระดับชาติ ผลการทดสอบสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน หรอื ผลการทดสอบอื่นๆ โครงการจัดกจิ กรรมโครงงาน
นักเรียน โดยนักเรียนได้แสดงความสามารถของตนเอง และถ่ายทอดประสบการณ์การทำโครงงานกับกลุ่ม
เพื่อนออกมาในรูปแบบออนไลน์ โครงการพัฒนากิจกรรมความเป็นเลิศทางวิชาการ เนื่องจากสถานการณ์ โค
วิด 19 โรงเรียนได้มีการ ส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงศักยภาพทางด้านวิชาการในรูปแบบการจัดการแข่งขัน
ภายในโรงเรียน ตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ตามความสนใจ ในวันสำคญั ตา่ งๆ โครงการกจิ กรรมชมุ นมุ ท่สี ง่ เสริม
ให้นักเรยี นไดท้ ำกิจกรรมทตี่ นเองชอบถนัด เปน็ การรวมกลุ่มกันเองของนักเรยี นโดยมคี รเู ป็นที่ปรึกษา โครงการ
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน กิจกรรม TO BE NUMBER ONE โครงการรณรงค์ป้องกันสารเสพติดใน
สถานศกึ ษา

นอกจากน้ยี ังฝกึ ให้นกั เรียนได้พัฒนาทักษะกระบวนการคดิ วิเคราะหโ์ ดยการจัดกิจกรรมต่างๆ
ในโรงเรียน ได้แก่ กิจกรรมตอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ มีการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะกับ
ผู้เรียน โดยมีการจัดการเรียนรู้ทั้งรูปแบบการระดมสมอง การลงมือปฏิบัติ การใช้กระบวนการคิด และเน้น
เรื่องการใช้เทคโนโลยี การเรียนการสอนในรูปแบบ active learning การใช้สื่อการสอนที่ทันสมัย การใช้
google classroom พัฒนาครูให้มีความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้ง8 กลุ่มสาระ มีแหล่งเรียนรู้
และแหล่งสบื คน้ ข้อมลู เชน่ ห้องสมุด ห้อง ICT หอ้ งคอมพวิ เตอร์ ปา้ ยความรตู้ า่ งๆ ในบรเิ วณโรงเรียน เป็นต้น
นอกจากนี้สถานศึกษาได้มีการดำเนินการด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
พัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม ท่ีเหมาะสมกับวัยของผู้เรยี น และตามนโยบายของรัฐบาลและกรมส่งเสริมการ
ปกครองท้องถิ่น เชน่ ค่านิยม 12 ประการ กิจกรรมตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กจิ กรรมทีเ่ กย่ี วกับ
สุขภาวะทางด้านรา่ งกายและจติ ใจ และกจิ กรรมลดเวลาเรียนเพมิ่ เวลารู้ เป็นตน้

ผลการดำเนินงานในด้านการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ผู้เรียนได้แสดงออกถึงความรู้
ความสามารถ ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย และเปลี่ยนความคิดเห็น
และแก้ปัญหา สามารถคดิ วิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และแก้ปัญหาได้
ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล สามารถสืบค้นข้อมูลและใช้เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง ผู้เรียนสามารถแยกแยะ
อาชีพสุจริตและไม่สุจริตได้ และสามารถอยู่ร่วมกันบนความแตกตา่ งที่หลากหลายอย่างมีความสุข โรงเรียนได้
กำหนด ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการเรียนแต่ละรายวิชา ระดับ 3 ขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 โดยมีการ
วัดผลและประเมินผลผู้เรียนอย่างเป็นระบบ เหมาะสมกับเนื้อหาวิชาและธรรมชาติของผู้เรียน เพื่อชื่นชม ให้
กำลังใจ มีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล แบ่งกลุ่มนักเรียนตามความสามารถ
รายบุคคล ได้แก่ ห้องเรียนแผนการเรียนทั่วไป กับแผนการเรียนกีฬา ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ ๓

แผนการเรยี นวิทยาศาสตร์ ศลิ ปภ์ าษา และ ศิลปส์ ังคม ในระดับชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย และจัดทำโครงการ
คลินิกวิชาการเพื่อร่วมแก้ปัญหานักเรียนในด้านต่างๆ โดยใช้กระบวนการ PLC ทั้งยังแจ้งผู้ปกครองร่วมกัน
แกป้ ัญหาร่วมกนั เพ่ือพัฒนานกั เรยี นในระดับการเรยี นท่สี งู ขน้ึ

1.2 การพฒั นาคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรยี น
โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ดำเนินการจัดกิจกรรม

โครงการ มีการจัดกิจกรรมตามโครงการกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (กิจกรรมเดินทางไกลเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ-
ยวุ กาชาด,กจิ กรรมค่ายวชิ าการ,กิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม,กิจกรรมเสริมทักษะการทำงาน การดำรงชีพ
และทักษะชีวิต) โครงการกิจกรรมชุมนุม โครงการโครงงานนักเรียน โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน โครงการงานประเพณีวันสำคัญ โครงการพัฒนาความเป็นเลิศทางดนตรี นาฏศิลป์ โครงการ
โรงเรียนพอเพียงตามศาสตร์พระราชา โครงการหอพักนักเรียน กิจกรรมระเบียบวินัย ม.ต้น/ม.ปลายกิจกรรม
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ตน้ /ม.ปลาย กจิ กรรม ทำความดีจิตอาสาพฒั นาวัด ชน้ั ม.ตน้ /ม.ปลายการนำนักเรียนเข้า
ร่วมแข่งขันกีฬาในระดับต่างๆ การนำนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ การจัดทำข้อตกลงในชั้นเรียนการจัด
กิจกรรมแสดงถึงการสืบสานประเพณีวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นและเป็นการส่งเสริมให้ครู บุคลากรและ
นักเรียนได้มีความรู้ความเข้าใจถึงวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและการปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี ได้
ร่วมกันทำบุญและให้ทานถวายเป็นพุทธบูชา ซึ่งส่งเสริมให้นักเรียนนิยมไทย เห็นคุณค่าในภูมิปัญญาท้องถ่ิน
ภูมิปัญญาไทย ภูมิใจในวัฒนธรรมและความเป็นไทย กิจกรรม Christmas กิจกรรม Chinese new year
โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ปลูกจิตสำนึกให้นักเรียนรักและเรียนรู้ต้นไม้ในโรงเรียน จัดทำโครงการ
ส่งเสริมสุขภาวะร่างกายและจิตสังคมที่ดี ได้แก่จัดกิจกรรมการแข่งกีฬาตามกลุ่มสนใจภายในโรงเรียน และ
กิจกรรมดนตรี เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคมที่ดี มีการจัดทำระบบดูแลช่วย เหลือ
นกั เรยี น เพอื่ คดั กรองและจัดทำสรปุ ผลเพ่อื ช่วยเหลือนักเรยี นต่อไป

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการพัฒนา ระดับคุณภาพ : ดีเลศิ

โรงเรยี นกีฬาองค์การบริหารส่วนจงั หวดั แพร่(พัฒนาประชาอุปถมั ภ์)มีการจดั การโครงสร้างการบริหาร

เป็น 5 ฝ่าย ทุกฝ่ายมีนวัตกรรมการทำงานที่ดีเป็นแบบอย่างการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ มีการบริหารจัดการ

โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ภายใต้วงจรคุณภาพ( PDCA) ด้วยการบริหารที่เป็นระบบ เน้นผลสัมฤทธิ์ของงานเปน็

สำคัญเป็นการกระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง มีการวิเคราะห์ผลการจัดการศึกษาท่ี

ผ่านมาประชมุ วางแผนกำหนดเป้าหมายในการจัดการศกึ ษาเพื่อใหป้ ระสิทธิภาพมากขึ้นใหค้ วามสำคัญกับการ

เสริมสร้างประสิทธิภาพขององค์กรสถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนที่หลากหลายครูจัดการเรียนรู้ให้

เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียนและเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาออกแบบการ

จัดการเรียนรู้ที่เหมาะกับผู้เรียนเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนตามความสนใจอย่างแท้จริงพัฒนาครูทุกคนให้มี

ความสามารถด้านการจัดกิจกรรม มีการศึกษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัด

การศึกษาตามนโยบายการ ปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็น จากบุคลากรในสถานศึกษา

คณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อวางแผนร่วมกันกำหนดเป้าหมาย ปรบั วิสยั ทัศน์กำหนด พันธกิจ กลยทุ ธ์ในการ

จดั การศึกษาของสถาน ศึกษาเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี นมีการปรับแผนพฒั นาคุณภาพจัดการศกึ ษา แผนปฏิบัติ

การ ประจำปีให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาพร้อมท้ัง

จดั หาทรพั ยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผูร้ บั ผิดชอบดำเนนิ การพัฒนา ตามแผนงานเพ่อื ให้บรรลุ

เป้าหมายที่กำหนดไว้มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมิน ผลการดำเนินงาน และสรุปผลการ

ดำเนินงาน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๔

จากการที่โรงเรียนได้ปฏิบัติงานตามหลักการบริหารงานคุณภาพ(PDCA) ส่งผลให้การบริหารจัด

การศึกษาของโรงเรียนบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ ครูและบุคลากรของโรงเรียนสามารถปฏิบัติหน้าที่ของ

ตนเองได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพรอบด้าน สามารถอภิปรายผลการ

ประเมนิ ได้ดังน้ี

1. สถานศึกษามีแผนปฏิบัติการ และแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ

และเป้าหมายของสถานศึกษา สามารถใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานของสถานศึกษาได้จริง และเป็น

แบบอย่างที่ดีแก่สถานศึกษาอื่น ๆ ดังนั้นโครงการและกิจกรรมที่กำหนดไว้ สามารถพัฒนาคุณภาพการจัด

การศึกษาไดอ้ ย่างเป็นรปู ธรรม มีรอ่ งรอยหลักฐานการดำเนนิ งานท่ชี ัดเจน

2. สถานศึกษามีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพกลุ่มบริหารที่มีความเหมาะสม ครอบคลุมทุกกลุ่ม

บริหารโดยยึดหลักการกระจายอำนาจและหลักธรรมาภิบาล พร้อมทั้งติดตามตรวจสอบการดำเนินงานของ

บุคลากรแต่ละกลุ่มบริหารอย่างเป็นระบบ เกิดการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาได้ตามมาตรฐานการประกัน

คณุ ภาพภายในสถานศึกษา

3. สถานศึกษามุ่งพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้เทียบเคียงมาตรฐานสากล และพัฒนาทักษะใน

ศตวรรษที่ 21 ให้แก่ผู้เรียน จัดหลักสูตรที่สนองนโยบายของรัฐ ได้แก่ กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้

รายวชิ าคน้ คว้าอิสระ (IS) ส่งผลให้ผู้เรียนไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งรอบดา้ นและเกิดบรรยากาศใหมๆ่ ในการเรยี นรู้

4. ผู้บริหารส่งเสริมให้บุคลากรพัฒนาตนเอง ได้แก่ การศึกษาต่อ การทำผลงานทางวิชาการเพื่อให้

เลอ่ื นหรือมวี ิทยฐานะสูงขึ้น การอบรมสัมมนาเพื่อเพิ่มพูนความรูแ้ ละประสิทธิภาพในสายงาน ส่งผลให้ครูและ

บุคลากรมีความรคู้ วามเชี่ยวชาญในการปฏิบัตงิ านเพื่อพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา

5. ผู้บริหารให้ความสำคัญกับการพัฒนาอาคารสถานที่ ห้องเรียนคุณภาพ (ICT) แหล่งเรียนรู้ภายใน

โรงเรยี น เพื่อใหผ้ ู้เรียนไดใ้ ชป้ ระโยชน์อยา่ งเตม็ ท่ี โดยมกี ารปรับปรงุ และพัฒนาอาคารสถานทีอ่ ย่เู สมอ

6. โรงเรยี นไดจ้ ัดหา ปรบั ปรุงและพฒั นาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศให้ครอบคลุม เพ่ือใช้ใน

การบริหารจัดการข้อมูล ส่งผลให้สถานศึกษามีระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ศึกษาค้นคว้า เข้าถึง

แหล่งข้อมูลความรู้ได้อย่างทั่วถึงและบุคลากรสามารถเข้าถึงและเรียกใช้ข้อมูลสารสนเทศที่ต้องการได้อย่าง

รวดเร็วและทนั สมัย

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ ระดับคณุ ภาพ : ดเี ลิศ

กระบวนการพัฒนาสถานศึกษาดำเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอน
ท่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั โดยการดำเนนิ งาน/กิจกรรม ไดแ้ ก่ การปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นพอเพียง
ท้องถิ่น ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ และกิจกรรมตามนโยบาย
ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้สนับสนุนให้ครูจัดการเรียน
การสอนที่สร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมสี ่วนรว่ ม ไดล้ งมือปฏิบตั ิจริงจนสรปุ ความรู้ได้ดว้ ยตนเอง จัดการเรียน
การสอนและกิจกรรมที่เนน้ ทักษะการคิด โดยใช้เครื่องมอื การคิดต่างๆ จัดให้มีรายวิชาเพิ่มเติมตั้งแต่ระดับช้นั
ม.1–ม.6 และจัดกิจกรรมตามความต้องการของผู้เรียน คือ กิจกรรมกีฬาตามความถนัด จัดบรรยากาศตาม
สถานทต่ี า่ ง ๆ ทัง้ ภายในห้องเรยี น และนอกห้องเรยี น ใหเ้ อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ ได้แก่ การจดั ปา้ ยความรตู้ ่างๆ ตาม
อาคารเรยี นและอาคารประกอบ ดแู ลเขตพ้ืนท่ีในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และมีกิจกรรมการฝึกซ้อมกีฬาตามความสนใจ เช่น ฟุตซอล ฟุตบอล แบดมินตัน วอลเลย์บอล และ เ ปตอง
เป็นต้น ครูทุกคนทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยปีการศึกษาละ ๑ เรื่องการดำเนินงานจากการดำเนินงาน/
โครงการ/กจิ กรรมอยา่ งหลากหลาย เพอ่ื พฒั นาการ จัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคัญ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๕

ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานท่ี 3 อยใู่ นระดับดเี ลศิ โดยประเมนิ จากประเด็นพจิ ารณา
ตามมาตรฐานดา้ นกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคญั ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
ครูของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทำการวิเคราะห์หลักสูตร โดยจัดทำบันทึกข้อตกลงพัฒนาคุณภาพการศึกษา
รายบคุ คลระหว่างครผู ู้สอนกบั หวั หน้ากลมุ่ สาระ และหัวหนา้ กลุม่ สาระกับรองผอู้ ำนวยการกล่มุ บริหารวชิ าการ
และผู้อำนวยการโรงเรียนตามลำดับ จัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการคิดและให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริงตาม
มาตรฐาน การเรียนรู้ ตวั ชีว้ ดั ของหลักสตู รสถานศึกษา และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ได้ ประเมินได้จาก
การตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของทุกรายวิชา มีการนิเทศการสอนคิดเป็นร้อยละ 100 ทั้งภาคเรียนที่ 1
และภาคเรียนที่ 2 ครูมีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยสร้างความตระหนักและให้
ความรู้ผ่านกระบวนการประชุมชี้แจงในกลุ่มสาระการเรียนรู้ เอกสารเผยแพร่ความรู้ รวมถึงการอบรมพัฒนา
ครูให้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีโครงสร้างและองค์ประกอบครบตามที่สถานศึกษากำหนดตามแบบวัด
ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้และนำไปสู่การปฏิบัติจริงในห้องเรียน นอกจากนี้ ครูได้เผยแพร่นวัตกรรมใน
การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning Web Page และ Website ของโรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วน
จงั หวดั แพร่(พฒั นาประชาอปุ ถมั ภ์)เป็นการเผยแพร่และสรา้ งเครือขา่ ยท้ังภายในและภายนอกโรงเรยี น

2. การใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ครูทุกกลุ่มสาระเรียนรู้
จัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มีการใช้ Google classroom ใช้สื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย
เพ่ือใหส้ อดคล้องกบั ความเป็นห้องเรียนคุณภาพ

3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชงิ บวก ครูจัดสภาพความพร้อมที่จะดำเนินการเรียนการสอนให้
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
มีปฏิสมั พันธ์เชงิ บวกเพื่อให้เกดิ ประสิทธิผลในการเรียนรู้ ผ้เู รยี นมีความสุข สง่ ผลให้นักเรียนนักการเรียนรู้ โดย
ครูเตรียมและวางแผนการจัดการเรียนการสอน จัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลาย เพิ่มแรงจูงใจระหว่าง
เรียนรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ ภายใต้การสนับสนุนของโรงเรียนในการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนไว้อย่างดี
มีความสะดวกสบายอย่างมาก และอุปกรณ์ด้าน ICT ครบครัน รวมถึงการดำเนินงานของงานแนะแนว ที่ให้
คำปรึกษาและช่วยเหลอื ผู้เรยี นทางด้านการเรยี นและด้านพฤติกรรม มอบทนุ การศึกษานอกจากนีย้ ังมีการ
จัดกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน อย่างเปน็ ระบบและหลากหลาย

4. ตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รยี นอย่างเปน็ ระบบครบทกุ ด้านทัง้ การวิเคราะหผ์ ูเ้ รียนรายบคุ คล
การประเมินพฤติกรรมนักเรียน การประเมินความรู้โดยการท าแบบทดสอบก่อนเรียน ระหว่างเรียนและหลัง
เรียนและนำผลการประเมินมาพัฒนานักเรียน คำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียน อีกทั้งยังมีการทำวิจัยในชั้น
เรยี นเพือ่ แก้ปญั หาการเรียนจัดการเรยี นการสอน สร้างเคร่อื งมอื วัดผลและประเมินผลท่เี หมาะสมกับเป้าหมาย
ของการเรียนรู้

5. มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรแู้ ละใหข้ อ้ มูลสะท้อนกลบั เพอื่ พัฒนาและปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้
ครมู กี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้ ด้วยกระบวนการสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) การนเิ ทศช้ันเรียน และใหข้ ้อมูล
สะทอ้ นกลบั เพือ่ พัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรยี นรขู้ องครูทุกคน ท้ังนเี้ ปน็ ผลมาจากการรวมกลมุ่ ของครูใน
รูปแบบชุมชนแห่งการเรยี นรู้ มกี ารประชุมแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นเกีย่ วกบั ปญั หาในการจัดการเรียนการสอน
เพอ่ื หาแนวทางในการพฒั นาการจัดการเรยี นรู้รว่ มกัน เชน่ โครงการบรู ณาการลดภาระงานของผูเ้ รยี นในแต่ละ
ระดบั ช้ัน การให้คำปรกึ ษาเกีย่ วกบั การใช้เทคโนโลยีในการจดั การเรยี นรูแ้ ละการวางแผนการจดั การเรียนรู้ให้
สอดคล้องกบั ผ้เู รยี น นอกจากนน้ั ยังมีการนิเทศ กำกบั ตดิ ตามจากเพอื่ นครแู ละฝ่ายบรหิ าร สง่ ผลให้ครมู ีการ
ช่วยเหลือแบ่งปัน และสร้างวัฒนธรรมองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยโรงเรียนจัดให้มีชั่วโมงสำหรับจัดกิจกรรม
ชมุ ชนชุมชนแห่งการเรยี นรู้อย่างต่อเน่ืองและมีการนิเทศติดตามอย่างเป็นระบบ ครูมกี ารเผยแพร่นวัตกรรมใน
การจัดการเรียนรู้ แบบ Active Learning โดยโรงเรียนสนับสนุนช่องทางในการเผยแพร่นวัตกรรมผ่านทาง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๖

เว็บไซต์ของโรงเรียน การเปิดโอกาสให้ครูนำนวัตกรรมไปเผยแพร่และสร้างเครือข่ายทั้งภายในและภายนอก
สถานศกึ ษา
2. จุดเด่น

จุดเด่นครูใช้เทคโนโลยี google classroom และ สื่อ active learning อย่างหลากหลายมคี วาม
พยายามในการปรับปรุงและพัฒนาการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ โดยจดั กิจกรรมให้นักเรียนไดเ้ รียนรู้ โดยการคิด
ไดป้ ฏิบตั จิ ริง มกี ารใช้วธิ กี ารและแหล่งเรยี นรทู้ มี่ อี ยู่อยา่ งคมุ้ ค่าส่งเสริม สนบั สนุนใหผ้ เู้ รียนแสวงหา ความรู้จาก
สื่อเทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง มีการแจ้งข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนำไปพัฒนาตนเอง และใช้วิธีการวัดผล
ต้งั แต่ ๒ วธิ ีขน้ึ ไป ผูเ้ รยี นได้เรียนในสิง่ ทตี่ นเองสนใจ หรอื มีความถนดั
3. จดุ ทีค่ วรพัฒนา

การสง่ เสริมให้ครใู ช้กระบวนการวจิ ัยเพือ่ พฒั นาการจัดการเรียนการสอน และพฒั นาการจัดการ
เรยี นร้แู ก่ผูเ้ รียนในรปู แบบการวิจัย

จากผลการประเมินในแต่ละมาตรฐานสถานศกึ ษาได้ดำเนินการวางแผนในปกี ารศกึ ษาต่อไป
4. แผนพัฒนาเพอ่ื ใหไ้ ดม้ าตรฐานท่ีสงู ขน้ึ

แผนปฏิบัติงานที่ ๑ เข้าร่วมโครงการ/กจิ กรรม ที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ดำเนนิ การ
ในการพฒั นาผลสมั ฤทธแ์ิ ละคณุ ลักษณะที่พึงประสงคข์ องผ้เู รียน

แผนปฏิบัตงิ านท่ี ๒ สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้ครนู ำแผนการสอนคิดมาใช้จัดการเรยี นการสอน
แผนปฏิบัติงานที่ ๓ ส่งเสริม สนับสนุน การส่งเด็ก และผู้เรียนเข้าแข่งขันทักษะทางวิชาการ
และรายการต่างๆ ท้ังในและต่างสังกัด
แผนปฏิบัติงานที่ ๔ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
และผูเ้ รยี นอย่างหลากหลาย
แผนปฏิบัติงานที่ ๕ นิเทศ กำกับ ติดตาม การจัดประสบการณ์ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
และการจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น เพอื่ นำผลมาปรับปรงุ พฒั นาการจัดกิจกรรมตา่ งๆ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า๗

วธิ ีการหรือแนวทางการปฏบิ ัตทิ ี่เป็นเลศิ (Best Practice) ของสถานศกึ ษา
ชอ่ื ผลงาน (Best Practices) : PHRAE MODEL FOR FUTSAL SPORT EXCELLENCE
คำสำคัญ PHRAE MODEL / FUTSAL SPORT EXCELLENCE
ปกี ารศกึ ษา 2563

ลักษณะสำคญั ของวธิ หี รือแนวปฏิบตั ิที่เปน็ เลศิ
ลักษณะสำคัญของวิธีหรือแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศของ PHRAE MODEL FOR FUTSAL SPORT

EXCELLENCE มี 5 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) การกำหนดแบบผังการฝึกซ้อม และการกำหนดหัวข้อการ
ฝึกซ้อม 2) การเขียน Log Book หัวข้อการฝึกซ้อม และกำหนด Coaching Point 3) การฝึกซ้อมตาม
ระยะเวลา (Time line) 4) การฝึกประสบการณ์และ 5) ประเมินการฝึกซ้อมและการแข่งขัน นอกจากการ
ฝึกซ้อม 5 ขั้นตอนแล้วความรับผิดชอบ ความมุ่งมั่นและการตรงต่อเวลาของผู้ฝึกซ้อม และฝึกกีฬามี
ความสำคัญอยา่ งย่ิงท่จี ะทำใหก้ ารฝกึ ซ้อมเป็นไปตามข้นั ตอน และการบริหารเวลาได้อยา่ งลงตัว
วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้นกั กฬี าตระหนกั และเหน็ คุณค่าของการเลน่ กฬี าเพ่ือสุขภาพ รู้แพ้ รู้ชนะ รอู้ ภัย
2. เพอื่ พัฒนาการเล่นกฬี าฟตุ ซอลสูค่ วามเป็นกฬี าฟตุ ซอลอาชีพ
3. เพอ่ื พฒั นาโรงเรียนตน้ แบบกับการฝกึ ซอ้ มกีฬาให้กบั สถานศึกษาหรือองคก์ รอืน่ ๆ
4. เพื่อพัฒนาศักยภาพและจัดการศึกษา และการให้บริการทางการศึกษาขององค์การบริหารส่วน
จงั หวัดแพร่
ปัจจยั เกอ้ื หนุน/ปัจจยั แห่งความสำเร็จ
1. องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่มีนโยบายที่ชัดเจนโดยให้โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
แพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์) เป็นโรงเรียนที่ส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีฬาและให้การสนับสนุนงบประมาณ
อยา่ งต่อเนอ่ื ง
2. รูปแบบบริหารสถานศึกษาที่ชัดเจน สนับสนุน ส่งเสริมให้การจัดการเรียนการสอนด้านกีฬาเน้น
รูปธรรม นำสกู่ ารปฏิบัตไิ ด้สอดคล้องกับหลักสตู รและศักยภาพของผูเ้ รยี น
3. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ตระหนักและมีส่วนร่วม (Share Value) ในการทำงาน
รว่ มกนั ใหส้ ำเร็จ
4. การสนบั สนุนของชุมชน ผู้ปกครอง หนว่ ยงานภายนอกท้ังภาครฐั และเอกชน ไดใ้ หค้ วามสำคญั และ
ช่วยเหลืออยา่ งตอ่ เนือ่ ง
5. การทำงานแบบมสี ว่ นร่วมจากทุกภาคสว่ น ทม่ี ีประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล
6. การกำหนดบทบาทหนา้ ที่ของบุคลากรมีความชัดเจนนำสู่การปฏบิ ตั ใิ ห้เป็นรูปธรรม
7. ผฝู้ ึกซอ้ มนักเรียนมีศกั ยภาพและความสนใจด้านกฬี า
8. สภาพแวดลอ้ มท่ีเอื้ออำนวยตอ่ การพฒั นาศักยภาพผู้เรยี น
ผลลพั ธ/์ ผลการดำเนินการ
1. รางวลั รองชนะเลิศ อับดับ ๑ การแขง่ ขันกีฬา Play Sat Game Futsal ครง้ั ท่ี 1 ประจำปี ๒๕๖๓
ระหวา่ งวนั ที่ ๑๒ ตลุ าคม ถึง ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๖๓ ณ สนามกีฬามหาวิทยาลัยแม่โจว้ ิทยาเขตแพร่

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า๘

2.รางวลั รองชนะเลิศ อนั ดับ ๒ การแขง่ ขนั กีฬานกั เรียนนักศึกษาแห่งชาติครงั้ ท่ี ๔๒ ประจำปี ๒๕๖๓

ระหว่างวนั ที่ ๒๓ สิงหาคม ถึง ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๓ ณ จังหวดั พะเยา กีฬาฟตุ ซอล รุ่นอายุไมเ่ กิน 18 ปี ชาย

ไดร้ ับรางวัลรองชนะเลิศ อนั ดับ ๒

3.รางวัลเหรยี ญทองแดงรายการกีฬาระหวา่ งโรงเรยี นส่วนกลาง(กีฬากรมพลศึกษา ประเภท ข)
4.รายการกีฬานักเรียนนักศึกษาจังหวัดแพร่ รุ่น 15ปี รางวัลชนะเลิศรุ่น18ปี รางวัลชนะเลิศ

หนว่ ยงานท่จี ัด ทอ่ งเท่ียวและกฬี าจงั หวัดแพร่

แนวทางการพฒั นาทย่ี ั่งยืน
1. ความต่อเนือ่ งของนโยบาย และการสนบั สนนุ จากหน่วยงานตน้ สังกดั ชุมชนและผูป้ กครอง
2. อุดมการณ์ของผู้บริหารสถานศกึ ษา ครู บุคลากรทางการศกึ ษา นักเรียนและผู้ปกครองที่ตระหนัก

ในความสำคัญของกฬี าและภาพอนาคตของผเู้ รยี น
3. การพัฒนาการศึกษาสู่การเป็นสถานศึกษาต้นแบบและยั่งยืนด้านกีฬา โดยการมีส่วนร่วมจากทุก

ภาคสว่ น
4. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้เป็นหลักสูตรสถานศึกษาที่ส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีฬาท่ี

หลากหลาย
5. ระดมทรัพยากรบุคคลทีเ่ ชี่ยวชาญด้านกีฬา ใหม้ ีสว่ นรว่ มในการบรหิ ารจัดการการศึกษา
6. การเปน็ ต้นแบบตอ่ หนว่ ยงานอื่นๆการขยายผลและหรือแนวทางที่ไดร้ บั
6.1 ใหค้ วามชว่ ยเหลือดา้ นบคุ ลากรและสถานที่ในการฝกึ ซอ้ มในชมุ ชนและโรงเรยี น
ประถมศกึ ษาในชุมชน
6.2 นำผลงานไปจดั นทิ รรศการการแลกเปล่ยี นเรียนรู้กบั สถานศกึ ษาและหนว่ ยงานอ่ืน
6.3 นำเสนอผลการวิจัยในชน้ั เรียนในงานมหกรรมศิลปหัตถกรรมนักเรียนทอ้ งถ่ิน
ระดับประเทศ
6.4 รางวัลชนะเลศิ รองชนะเลิศ กีฬาฟตุ ซอล ทงั้ ระดบั จงั หวดั ระดบั ภาคและระดับ
ประเทศในปี 2563

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๙

สรุปผลการประเมนิ ภายในสถานศึกษา

โรงเรียนกฬี าองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัดแพร่ (พฒั นาประชาอปุ ถมั ภ์)

ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖3

ตามท่ีโรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ (พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ได้ดำเนินการประเมิน

คุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3 ตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกาศ

ของกระทรวงมหาดไทย โดยจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ

เสนอต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และเพ่ือรองรับการประเมิน

คณุ ภาพภายนอก

บัดนี้การดำเนินการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษาเสรจ็ เรียบร้อยแล้วจงึ ขอเสนอผลการประเมิน

คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา แสดงดงั ในตารางสรปุ ผลได้ดังนี้

ระดับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ผลการประเมิน

ตนเองของโรงเรยี น

ปีการศกึ ษา ๒๕๖3

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผ้เู รียน 80.29

๑.๑ ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผู้เรียน ๗5.88

๑) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สารและการคดิ คำนวณ ๘๕.๐๐

๒) มคี วามสามารถในการวเิ คราะหแ์ ละคดิ อย่างมีวิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลย่ี นความ

คิดเหน็ และแก้ปัญหา ๗๐.๗๕

๓) มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม ๘๐

๔) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสือ่ สาร ๘๒

๕) มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ๕๗.๕๕

๖) มีความรู้ ทักษะพ้ืนฐานและเจตคติทด่ี ตี อ่ งานอาชีพ ๘๐

๑.๒ คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องผู้เรียน 84.70

๑) การมีคุณลกั ษณะและค่านยิ มทด่ี ีตามทส่ี ถานศึกษากำหนด 98.82

๒) ความภูมิใจในท้องถิน่ และความเปน็ ไทย ๘๐

๓) การยอมรบั ท่ีจะอยูร่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ๘๐

๔) สขุ ภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจิตสังคม ๘๐

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและจัดการ ๘1.17

๒.๑ การมีเป้าหมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกิจทีส่ ถานศึกษากำหนดชดั เจน ๗๕

๒.๒ มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ๘๐

๒.๓ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเนน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบดา้ นตามหลกั สตุ รสถานศึกษาและทกุ

กลุ่มเปา้ หมาย ๙๐

๒.๔ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชพี 82

๒.๕ จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมที่เอ้ือต่อการจดั การเรยี นรูอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ ๘๐

๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนรู้ ๘๐

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ ๘๗.10

๓.๑ จัดการเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจรงิ และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตได้ 75.00

๓.๒ ใช้สือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรูท้ เี่ อื้อต่อการเรยี นรู้ 80.00

๓.๓ มีการบริหารจดั การชนั้ เรียนเชงิ บวก 93.00

๔.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผ้เู รยี น ๙๕.00

๓.๕ มีการแลกเปลีย่ นเรยี นร้แู ละให้ข้อมูลสะทอ้ นกลบั เพ่อื พัฒนาและปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู้ ๘๐.๐๐

สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา ๘2.85

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๑๐

สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

• คา่ เฉลี่ยรวมผลการประเมนิ คณุ ภาพ เทา่ กบั 82.85 มคี ณุ ภาพระดับ ดเี ลศิ
การรับรองมาตรฐานการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา

• มีค่าเฉลี่ยผลประเมินคุณภาพ เพราะผลการประเมินระดับคุณภาพอิงเกณฑ์และอิง

สถานศกึ ษา

มคี ่าเฉลย่ี ต้ังแต่ 70 ข้ึนไป ใช่ ❑ไม่ใช่

• มีค่าเฉลี่ยของผลประเมินในระดับดขี ึ้นไปไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ70 ใช่ ❑ไม่ใช่

• ไมม่ ีผลประเมนิ คณุ ภาพของมาตรฐานอยใู่ นระดับกำลังพฒั นา ใช่ ❑ไม่ใช่

สรุปว่า ผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในภาพรวม  ได้❑ ไม่ได้ มาตรฐานคุณภาพขององค์กร
ปกครองสว่ นท้องถิน่

ระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ระดับคุณภาพ
ดเี ลศิ
มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา ดีเลิศ
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรียน ดีเลศิ
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณ์ที่เนน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคญั
สรปุ ผลการประเมินคุณภาพภายในระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
มีคณุ ภาพระดับ ดีเลิศ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๑๑

ส่วนที่ 1

ขอ้ มูลพ้นื ฐาน

1. ข้อมลู ทว่ั ไป

โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ตั้งอยู่เลขท่ี 368 ถนนเลียบ
คลองชลประทาน หมู่ 2 ตำบลทุ่งแค้ว อำเภอหนองม่วงไข่ จังหวัดแพร่รหัสไปรษณีย์ 54170
โทรศพั ท์ 054 –652245 โทรสาร 054 – 652245 e-mail: [email protected]
website: www.ppu.ac.th สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ เปิดสอนตั้งแต่ ระดับช่วงชั้นที่ 3
(มัธยมศึกษาปีที่ 1-3) ถึงระดับช่วงชั้นที่4 (มัธยมศึกษาปีที่ 4-6) มีจำนวน 1๔ห้องเรียน โรงเรียนมีเนื้อท่ี
ท้งั หมด 94 ไร่

ประวัติความเป็นมาโรงเรียน
โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์) เป็นสถานศึกษาของรัฐแบบ
สหศึกษาเดิมสังกัดกองการมัธยมศึกษากรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เริ่มก่อตั้งเมื่อเดือน มิถุนายน
พ.ศ. 2518 โดยคณะสมาชิกสภาจังหวัดแพร่ได้เดินทางมาตรวจเยี่ยมโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วน
จังหวัดได้ให้สภาตำบลวังหลวงนำโดยกำนันนาค ใจเกษม ดำเนินการจัดตั้งโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำตำบล
ขึ้นบนที่ดินขององค์การบริหารส่วนจังหวดั ซึง่ ยกให้กรมสามัญศึกษาจำนวน 39 ไร่ ตั้งอยู่บนพื้นทีบ่ ้านทุง่ แคว้
หมูท่ ี่ 2ตำบลวงั หลวง
วันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2519 สภาตำบลวังหลวงได้ทำพิธีเปิดป้ายโรงเรียนชื่อ“โรงเรียนพัฒนา
ประชาอุปถัมภ์” ถือเป็นวันเกิดของโรงเรียน เริ่มเปิดเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 2ห้องเรียนนักเรียน
71 คน คร5ู คน โดยมนี ายเจนวิทย์ วิทยาภรณพ์ งศอ์ าจารย์ 1ระดับ 4 โรงเรยี นพริ ิยาลัยจังหวัดแพร่ ทำหน้าที่
รักษาการในตำแหนง่ ครูใหญ่
15 มกราคม 2545 องค์การบริหารส่วนจงั หวัดแพร่โดยนายแพทย์ชาญชัยศิลปอวยชัย ได้คัดเลือก
โรงเรียนพฒั นาประชาอปุ ถัมภ์ เขา้ ร่วมโครงการ“พัฒนาเยาวชนคนเก่งสดู่ วงดาว”
27 มีนาคม 2545 กรมสามัญศึกษาได้เห็นชอบให้โรงเรียนดำเนินการโครงการเยาวชนฯร่วมกับ
องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ และได้อนุมัติแผนการจัดชั้นเรียน 3 ห้องเรียน โดยองค์การบริหารส่วน
จังหวัดแพร่ให้การสนับสนุนงบประมาณ ปีงบประมาณ 2545- 2548 จำนวน 5 ล้านบาท 7 ล้านบาท 10
ลา้ นบาท 9ลา้ นบาท ตามลำดับ และปงี บประมาณ 2549จำนวน9ล้านบาท
5 กันยายน 2549 ถ่ายโอนสถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานไปยงั สงั กดั องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน
1 ตุลาคม 2557 เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น “โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่พัฒนาประชา
อปุ ถมั ภ์”
1 ตุลาคม 2560 เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น “โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่(พัฒนา
ประชาอุปถมั ภ์)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๑๒

แผนผงั บรเิ วณโรงเรยี น

รายละเอียดอาคาร
1. อาคารสุวรรณอมั พร2. อาคารรศั มจี นั ทร์
3. หอพกั ตะวันฉาย4. โรงอาหาร
5. อาคารภมู นิ ทร์6. อาคารอเนกประสงค์ 2
7. อาคารประกายพรกึ 8. อาคารอเนกประสงค์ 1
9. อาคารอัปสรสวรรค1์ 0. หอพกั
11. หอพกั 12. หอพัก
13. บา้ นพกั คร1ู 4. อาคารอตุ สาหกรรม
15. หอพักยมหนิ 16. อาคารเรอื นเพชรพฒั นา
17. อาคารดนตร1ี 8. บา้ นพกั ครู
19. หอพัก20. หอพัก
21. บ้านพกั ครู22. หอพัก
23. บ้านพกั คร2ู 4. บา้ นพักครู

สัญลกั ษณส์ ี
1. สี อาคารเรียน 2. สี หอพกั

3. สี บ้านพกั ครู 4. สี ห้องนำ้ (สุขา)

5. สี อาคารอเนกประสงค์

6. สี ศาลา อาคารทั่วไป

7. สระนำ้ (บ่อดิน)

2. ข้อมลู ผูบ้ รหิ าร
๒.๑ ผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา จำนวน 1 คน
1) นายพงษ์ไทย บัววัดผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่

(พัฒนาประชาอุปถัมภ์)วุฒิการศึกษาสูงสุด ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตสาขาการบริหารการศึกษา
ปฏิบตั ริ าชการตั้งแต่ วนั ที่ ๕ มนี าคม256๓ จนถึง วนั ที่ 3 มกราคม 2564

๒.๒รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษา จำนวน 2คน
๑) นางสาวปวีณา ใจกระเสน ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสถานศึกษา วุฒิการศึกษาสูงสุด

การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา ดำรงตำแหน่งในสถานศึกษานี้ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.
2556 จนถึงปัจจุบันเป็นเวลา 6 ปี 6 เดือนเบอร์โทรศัพท์ 099-6164453 รับผิดชอบฝ่ายบริหารงาน
วิชาการและฝ่ายบริหารงานบคุ ลากร

2) นายทชั ชัย รอดนอ้ ย รองผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา วฒุ กิ ารศึกษาสงู สดุ การศกึ ษามหาบัณฑิต
สาขาการบริหารการศึกษา ดำรงตำแหนง่ ในสถานศึกษาน้ี ตัง้ แตว่ นั ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ.2556 จนถึงปัจจุบัน
เป็นเวลา 5 ปี 4 เดือนโทรศัพท์ 093-2684114 รับผิดชอบ ฝ่ายบริหารงานงบประมาณและการเงิน
ฝา่ ยบริหารงานท่วั ไปและฝ่ายกิจการนกั เรยี น รักษาราชการแทนผอู้ ำนวยการสถานศึกษา ต้งั แต่
วันท่ี 4 มกราคม 256๓ จนถงึ ปจั จุบัน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๑๓

๓. ข้อมลู ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

๓.๑ ข้าราชการครู

ลำดบั ชอื่ – สกลุ ตำแหน่ง คณุ วฒุ ิ อายุการทำงาน
๑ นายพงษ์ไทย บวั วัด ศษ.ด.(บรหิ ารการศึกษา) 25
ผอู้ ำนวยการ
๒ นางสาวปวีณา ใจกระเสน สถานศกึ ษา วท.บ.ชวี วทิ ยา 1๖

รองผู้อำนวยการ วท.ม. พฤกษาศาสตร์
สถานศึกษา

ศษ.ม. การบริหารการศึกษา

๓ นายทชั ชัย รอดนอ้ ย รองผอู้ ำนวยการ ค.บ.สงั คมศึกษา 1๒
สถานศึกษา
กศ.ม.การบริหารการศกึ ษา
๔ นางเสาวลักษณ์ มณขี ตั ยิ ์ ครู
ค.บ.สงั คมศึกษา 3๒
๕ นางอลษิ า กันทะหงษ์ ครู
ค.บ. คหกรรรมฯโท ๓๐

คณติ ศาสตร์

๖ นางสดุ ารตั น์ สุวรรณโคตร ครู ค.บ. วทิ ยาศาสตรท์ ัว่ ไป ๒๕

ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา

๗ นายนิคม ปญั โญ ครู ค.บ. องั กฤษ 2๒

ศษ.ม. การบรหิ ารการศึกษา

๘ นายจรลั คำวชิ ัย ครู วท.บ.(วทิ ยาการคอมพวิ เตอร)์ 1๓

ค.บ.อุตสาหกรรมศลิ ป์

กศ.ม. การบริหารการศกึ ษา

๙ นายภัทรพล เมฆอากาศ ครู ศษ.บ. คณติ ศาสตร์ 1๗

๑๐ นายพงษ์พนั ธ์ุ ยองใย ครู ศษ.ม.คณติ ศาสตร์
๑๑ นายเชาวล์ ติ สุดวังยาง ครู
ค.บ.พลศกึ ษา 1๔
๑๒ นายผดงุ บุญชุม ครู
ค.บ. คณิตศาสตร์ 1๔
๑๓ นางสุกานดา ลาวณั ย์ศลิ ป ครู
ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา

ค.บ.คอมพวิ เตอร์ 1๔

ศษ.ม.การบรหิ ารการศึกษา

คบ. ภาษา อังกฤษ 1๔

คม.หลักสตู รและการสอน

ภาษาอังกฤษ

๑๔ นายศุภกันต์ สุชรอด ครู กศ.บ. อตุ สาหกรรมฯ 2๗
๑๕ นายอัษฏายุทธ ศักดิ์สิทธิ์ ครู
๑๖ นางสกุ ญั ญา ปัญโญ ครู ค.บ.คณติ ศาสตร์ 1๘

๑๗ นางสาวชลธิชา คำสนิท ครู ค.บ. ประถมศึกษา 1๕
๑๘ นายวรษา จักรพันธวุ งค์ ครู
ศษ.บ. การแนะแนว

ศษ.ม. เทคโนโลยกี ารศึกษา 1๒

คอ.บ.วศิ วกรรมไฟฟ้า-ไฟฟ้า 1๖

กำลงั

ศศ.บ.สารสนเทศ

รม.รัฐศาสตร์

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า๑๔

ลำดบั ชอ่ื – สกลุ ตำแหน่ง คุณวุฒิ อายุการทำงาน
๑๙ นายจนั ทร์ มณวี รรณ ครู ๑๐
๒๐ นายธรี ะพงษ์ จนั ทรย์ าง ครู ค.บ.วิทยาศาสตรท์ ว่ั ไป ๙
ศษ.ม. หลักสตู รและการสอน
๒๑ นางสาวรุจิรตั น์ เลอื ดนักรบ ครู ๑๐
๒๒ นางสาวปริยานุช ฮ่วนสกุล ครู วิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขา 1๒
๒๓ นายธปี กรณ์ งามดี ครู ฟิสกิ ส์ ๙
ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู
๒๔ นางสาวจิรัชยา เจริญมณี ครู วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ ๙
๒๕ นายสงกรานต์ พรมเวช ครู สาขาวิทยาการการประเมิน ๘
๒๖ นายฐิตกิ ร วาสนะตระกลู ครู ๘
๒๗ นายญาณรพฒั น์ แก้วที ครู ศศ.บ. ภาษาอังกฤษ ๗
๒๘ นายอาทิตย์ บุญตนั ครู ศษ.ม. ภาษาอังกฤษ ๓
๒๙ นางสาวสุปราณี คำลอื ครู ๔
๓๐ นางสาวกญั จนพร ฐานเจริญ ครู วท.บ.ชวี วทิ ยาประยกุ ต์ ๗
ป.บัณฑติ วชิ าชีพครู
พร
ร.บ. รัฐศาสตร์
ร.ม. การเมอื งและการ
ปกครอง

ศษ.บ. ภาษาไทย
กศ.ม. การบริหารการศึกษา

รทบ.คบ.เทคโนโลยกี าร
เกษตร

คบ.ศลิ ปศึกษา

ค.บ. ภาษาไทย
กศ.ม. การบรหิ ารการศึกษา

ค.บ. สังคมศึกษา

ค.บ. ภาษาจนี
กศ.ม. การบริหารการศึกษา

ค.บ. ภาษาไทย

๓.๒ ลกู จา้ งตามภารกิจ ตำแหน่ง คณุ วุฒิ อายุการทำงาน

ลำดบั ช่อื – สกุล ผู้ช่วยเจ้าพนักงานการเงิน บธ.บ. บรหิ ารธรุ กจิ ๑๘ ปี
และบัญชี
1 นางจริ ัชยา สขุ รอด
ผชู้ ว่ ยเจ้าพนกั งานธุรการ บธ.บ. บรหิ ารธรุ กิจ 7 ปี ๖ เดือน
2 นางสาวสภุ าวรรณอะทะยะ
ผ้ชู ว่ ยเจ้าพนักงานโสตฯ บธ.บ. คอมธกุ จิ ธรุ กิจ 7 ปี
3 นางสาวเพญ็ ศิรปิ ระเวช
เจา้ หน้าท่อี าคารสถานที่ ม.๖ ๑๓ ปี
4 นายศรีไพร ใจประเชยี ง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า๑๕

๓.๓ ลกู จ้างเหมาบริการ ตำแหน่ง คุณวฒุ ิ อายุราชการ
ผู้ปฏบิ ัติการสอนวชิ าภาษาจีน
ลำดบั ชื่อ – สกลุ ค.บ.ภาษาไทย ๑๔ ปี
1 Mr. CHANG GUOJUN ผ้ปู ฏิบตั กิ ารสอนวิชาภาษาจนี
ป.บัณฑติ วิชาชีพครู
2 นางสาวนฤมล ศรบี ญุ เรือง เจา้ หน้าท่ีบรรณารักษ์
เจ้าหนา้ ที่ชว่ ยงานพสั ดุ ศศ.บ.ภาษาจีน ๔ ปี ๑๐ เดอื น
3 นางสาวชลธชิ า กรสมบัติ
4 นางสาวศจิกา บญุ ทอง ผู้ปฏิบตั กิ ารสอนวิชาเคมี ป.บัณฑิต วชิ าชีพครู
เจ้าหน้าที่โภชนาการ
5 นางสาวจีรพรรณ คำปวง ผปู้ ฏิบัติการสอนวชิ า ศป.บ.ดรุ ิยางคศาสตร์ 2 ปี ๑๑ เดอื น
6 นางสาวอริญรดา อา้ ยจำปา พลศกึ ษา
7 นายศราวฒุ ิ สมบรู ณ์ ผู้ปฏบิ ัตกิ ารสอนวิชา ป ว ส . เ ท ค โ น โ ล ยี 1 ปี ๒ เดือน
พลศึกษา
8 วา่ ท่ีร้อยตรีวิศรตุ ยะตาหิ ผู้ปฏิบตั กิ ารสอนวชิ า สารสนเทศและการ
พลศกึ ษา
9 นางสาวสวุ รรณา การะกัน ผปู้ ฏิบัติการสอนวชิ า สอื่ สาร
พลศึกษา
10 นางสาวกนกวรรณ มิจะตะ๊ ผู้ปฏิบัตกิ ารสอนวชิ า ค.บ. เคมี ๒ ปี
พลศึกษา
๑๑ นายสหชัย โตดลิ กเวชช์ ผปู้ ฏิบัตกิ ารสอนวชิ า ค.บ. พลศึกษา ๕ เดือน
พลศึกษา
๑๒ นายกฤษฎานวุ ฒั น์ วนั ชัย ผูป้ ฏบิ ัตกิ ารสอนวิชา ค.บ. พลศึกษา ๙ เดือน
พลศกึ ษา
๑๓ นายวรวฒั น์ ธรรมสรางกลู ผู้ปฏิบตั กิ ารสอนวิชา ศษ.บ.พลศึกษา ๑ ปี ๑ เดอื น
พลศึกษา
๑๔ นายอัครพนธ์ เครือเตม็ ผ้ฝู กึ สอนกีฬาฟุตซอล ศษ.บ.พลศกึ ษา ๕ เดอื น
ผู้ฝึกสอนกฬี าฟตุ ซอล
๑๕ นายจักรพงษ์ แกว้ กมุ าร ศษ.บ.พลศึกษา ๕ เดอื น
๑๖ นายพรชยั อ่อนอุทัย ผฝู้ ึกสอนกีฬาฟุตบอล
ผฝู้ ึกสอนกีฬาฟุตบอล ค.บ. พลศึกษา ๕ เดือน
๑๗ นายทองคำ โสดาบุตร ผู้ดูแลนักเรยี นหอพกั
๑๘ นายอภิเดช ทิพยร์ ัตน์ ผดู้ ูแลนักเรียนหอพกั ค.บ. พลศกึ ษา ๕ เดือน
๑๙ นางสาวจุฑามณี กมุ ารแกว้
๒๐ นางสาวองั คณา พน้ื งาม ผู้ดแู ลนกั เรยี นหอพกั ศษ.บ.พลศกึ ษา ๕ เดือน
ผดู้ ูแลนักเรยี นหอพกั
๒๑ นางสาวณภสั สรณ์ ขอบเงิน ผ้ดู แู ลนกั เรียนหอพัก ศษ.บ.พลศึกษา ๕ เดอื น
๒๒ นายธุวานนท์ กาคำ พนักงานขับรถ
๒๓ นายเตชนิ ต์ อนิ ต๊ะวกิ ุล พนกั งานปฏิบัตงิ านทวั่ ไป ศษ.บ.พลศกึ ษา 2 ปี ๑๑ เดอื น
๒๔ นายจตรุ งค์ ใจกัลยา พนักงานปฏิบัติงานทั่วไป วท.บ.ฟสิ กิ ส์ ๕ เดอื น
๒๕ นายพลาพล ปนิ่ แก้ว พนักงานรกั ษาความปลอดภยั
๒๖ นางศกุลตรา ขวดแกว้ พนักงานรักษาความปลอดภัย ม.๓ ๑ ปี ๒ เดือน
๒๗ นายชาญณรงค์ เครอื ลิต ค.บ. พลศกึ ษา ๕ เดอื น
๒๘ นายปรมตั ถ์ สทุ ธกรณ์ ศษ.บ.ศกึ ษาศาสตร์ ๙ ปี ๑๑ เดอื น
ศศ.บ. ๖ ปี ๓ เดอื น
การพฒั นาชุมชน
ศศ.บ.ดนตรีสากล 2 ปี ๑๑ เดือน
ศษ.บ.พลศกึ ษา ๓ เดือน
ค.บ. พลศึกษา ๓ เดอื น
ปวช.ช่างกลโรงงาน ๒ ปี
ปวส.เทคนิคชา่ งยนต์ ๕ เดอื น
ม.๖ ๕ เดอื น
ม.๖ ๑๕ ปี
ปวส.เทคนคิ ๒ เดอื น
อตุ สาหกรรม

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๑๖

1) จำนวนบุคลากร

ขอ้ มูลบคุ ลากรโรงเรียนกีฬาองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัดแพร่(พฒั นาประชาอุปถมั ภ)์

ตำแหน่ง ชาย หญงิ รวม หมายเหตุ
๑. ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา 1-
1 ปฏบิ ตั ิราชการ
๒. รองผู้อำนวยการสถานศกึ ษา ๑๑
๓. ข้าราชการครู ๑๕ ๑๑ ตัง้ แต่ วนั ที่ ๕
๔. ข้าราชการคร(ู ช่วยราชการ) ๑- มนี าคม256๓
รวม จนถึง วนั ท่ี
๕. ลกู จา้ งประจำ ๒- 3 มกราคม
รวม
จา้ งตามภารกจิ ๑ 2564
๖. ผู้ชว่ ยเจา้ พนกั งานการเงนิ ฯ - ๑
๗. ผชู้ ว่ ยเจา้ พนกั งานโสตฯ - ๑ ๒
๘. ผูช้ ว่ ยเจา้ พนักงานธรุ การ - - ๒๖
๙. เจา้ หน้าทอ่ี าคารสถานที่ ๑ ๑
รวม 30
พนกั งานจา้ งเหมาบริการ 1 ๒
๑๐. ผ้ปู ฏิบตั ิการสอนวชิ าภาษาจีน 1 1 ๒
๑๑. ผูป้ ฏิบตั กิ ารสอนวิชาภาษาเคมี - ๒
๑๒. ผู้ปฏิบตั ิการสอนวชิ าพละศึกษา ๖ - ๑
๑๓. ผฝู้ ึกสอนกฬี าฟุตซอล ๒ - ๑
๑๔. ผู้ฝกึ สอนกีฬาฟุตบอล ๒ 3 ๑
๑๕. ผดู้ แู ลนกั เรียนหอพัก ๒ ๑ ๑
๑๖. เจ้าหน้าทพี่ สั ดุ - 1 ๔
๑๗. เจ้าหนา้ ทบี่ รรณารกั ษ์ - 1
๑๘. เจา้ หนา้ ทโ่ี ภชนาการและอนามัย - - 2
๑๙. พนกั งานรักษาความปลอดภัย 2 ๑ ๑
๒๐. แมบ่ า้ น พอ่ บา้ น ๑ - ๘
๒๑. พนกั งานขันรถ ๑ ๒



1
1
2
2


รวม รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๑๗
รวมทั้งหมด
๒๘
๓8 ๒๖ ๖4

จานวนบุคลากรในโรงเรยี น

ขา้ ราชการครู จา้ งตามภาระกิจ ลกู จา้ ง จา้ งเหมาบริการ
45% 46%

3% 6%

2) วฒุ ิการศึกษาสูงสดุ ของบุคลากร

บคุ ลากร ต่ำกวา่ ปริญญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก รวมทัง้ หมด
จำนวน ปรญิ ญาตรี 41 15 1 64

7

วฒุ ิการศกึ ษาสูงสดุ ของบคุ ลากร

2% 23%
11%

64% ปรญิ ญาเอก
ปริญญาโท
ปรญิ ญาตรี
ต่ากว่าปริญญาตรี

3) สาขาวชิ าทจี่ บการศกึ ษาและภาระงานสอน

สาขาวชิ า จำนวน(คน) ภาระงานสอนเฉล่ยี ของครู 1 คน
ในแต่ละสาขาวชิ า(ช.ม./สัปดาห์)
1.บริหารการศกึ ษา 3
2. ภาษาไทย 3 ๓๐ ชั่วโมง/สปั ดาห์
3. วิทยาศาสตร์ 8 15 ช่ัวโมง/สัปดาห์
12 ชัว่ โมง/สปั ดาห์

4. คณติ ศาสตร์ 5 รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๑๘
5. สงั คมศึกษา 4
6. สขุ ศกึ ษาพลศึกษา 11 11 ชั่วโมง/สัปดาห์
7. การงานอาชีพและ 18 ชัว่ โมง/สปั ดาห์
เทคโนโลยี 2 20 ชั่วโมง/สัปดาห์
8. ภาษาตา่ งประเทศ
9. แนะแนว 6 7 ช่ัวโมง/สปั ดาห์
10. ศลิ ปะ 1
รวม(เฉลย่ี ) 3 13 ชั่วโมง/สปั ดาห์
36 14 ชั่วโมง/สปั ดาห์
14 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
15ช่วั โมง/สัปดาห์

จานวนบคุ ลากรในแต่ละกลมุ่ สาระ

6
5
4
3
2
1
0

แผนแภผมู นิแสภดมู งิแรสอ้ ยดลงะรข้ออยงลวะุฒสกิ ัดาสรศ่วึกนษบาคุขลอางบกุครลากร

ปรญิ ญาตรี 3ส1ายคนสนับสนนุ ตา่2ก7ว่าคปนรญิ ญาตรีส1า6ยบคนรหิ าร 3 ปครนญิ ญาเอกส1าบคผนูส้ อน 35ปรคิญนญาโท 17 คน

26%

2% 54% 4428%%
4%
25%

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๑๙

4. ข้อมลู นกั เรียนและผ้สู ำเรจ็ การศึกษา

๔.๑ ข้อมูลนักเรียนจำนวนนักเรียนโรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ (พัฒนาประชาอุปถัมภ์)
ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 ข้อมลู ณ วนั ที่ 10 มิถนุ ายน 2563

ระดับช้ัน จำนวนนักเรยี นทั้งหมด

ชาย หญงิ รวม

ม.1/1 29 11

ม.1/2 17 12 29

รวม ม.1 19 21 40

ม.2/1 12 2 14

รวม ม.2 12 2 14

ม.3/1 15 1 16

รวม ม.3 15 1 16

รวม ม.ต้น 46 24 70

ม.4/1 24 6

ม.4/2 23 5

ม.4/3 19 8 27

รวม ม.4 23 15 38

ม.5/1 57 12

ม.5/2 14 5

ม.5/3 11 1 12

รวม ม.5 17 12 29

ม.6/1 23 5

ม.6/2 42 6

ม.6/3 98 17

ม.6/4 21 3

รวม ม.6 17 14 31

รวม ม.ปลาย 57 41 98

รวม 14 ห้อง 103 65 168

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ ๒๐

45

40

35

30

25
2562

20 2563

15

10

5

0
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6

๔.๒ ขอ้ มูลผู้สำเร็จการศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

๔.๒.๑ ขอ้ มูลการสำเร็จการศกึ ษา ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ และ ๖

ระดับชั้น จำนวนนกั เรยี น จำนวนผู้เร็จการศึกษา ร้อยละผสู้ ำเรจ็ การศึกษา
มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๑๖ ๑๕ ๙๓.๗๕
มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ๓๑ ๓๑ ๑๐๐
๔๗ ๔๖ ๙๗.๘๗
รวม

๔.๒.๒ ข้อมลู การศึกษาต่อระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖

ลำดบั ชือ่ -สกุล ชอ่ื สถาบนั การศกึ ษา คณะ สาขาวิชา

1 นางสาวรญั ชิดา สแี กว้ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชียงใหม่ ครศุ าสตร์ ชวี วิทยา
2 นางสาวธภิ าพร หงส์หา้ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ ภาษาจีน
3 นายนัธพงศ์ สหี ลา้ เทคนคิ ตระการพืชผล ครุศาสตร์ ไฟฟ้ากำลังม.6
4 นายรุง่ อรุณ จองแค มหาวิทยาลัยนเรศวร การเมืองการปกครอง
5 นางสาววภิ ารตั น์ จุมปาแฝด ไฟฟ้ากำลัง
6 นางสาวลลิลธร เสนานชุ มหาวิทยาลัยแม่โจเ้ ชยี งใหม่ เกษตรเคมี
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อตุ รดติ ถ์ สังคมศาสตร์ ภาษาจีน
7 นายอรรถพล บุญเรือง
มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ผลิตกรการเกษตร นิเทศศาสตรบ์ ณั ฑติ
ครุศาสตร์

คณะบรหิ ารธรุ กิจ
เศรษฐศาสตรแ์ ละการส่ือสาร

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๒๑

8 นายจิตตพิ ัฒน์ คำห่นุ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏลำปาง รฐั ศาสตร์ การเมืองการปกครอง

ลำดบั ชือ่ -สกุล ช่ือสถาบนั การศึกษา คณะ สาขาวชิ า

9 นายรชั ชานนท์ จนิ ะแปง วิทยาลยั เทคนิคเเพร่ ยานยนต์ไฟฟา้ ยานยนต์ไฟฟา้

10 นางสาวอญั ชนา หงษ์สบิ สอง มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อตุ รดิตถ์ ครุศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

11 นายชาคริต จกั กิจ วิทยาลัยชุมชน . เทคโนโลยีการเกษตร
12 นางสาวกฤติยาภรณ์ จาวรรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลา่ ปาง รฐั ศาสตร์
13 นางสาวบุษบา ดาวหาญ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ล่าปาง รัฐศาสตร์ การเมืองและการปกครอง
14 นางสาวมลั ลิกา มลู วัน วิทยาลัยอาชีวะลา่ ปาง การโรงแรม การเมอื งและการปกครอง
15 นางสาวรัชนกี ร งามสนั เทยี ะ มหาวทิ ยาลยั การกีฬาแห่งชาติ ศึกษาศาสตร์
16 นางสาวสริตา รักพงษ์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ นาฏศิลป์ อาหารและเครื่องดืม่
พละศึกษา
17 นายทกั ษด์ นัย ปิมวงศ์ มหาวิทยาลยั การกีฬาแหง่ ชาติ วิทยาศาสตรก์ ารกีฬา คุรศุ าสตร์

18 นายธีรนยั คำลอื มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชียงใหม่ นิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตรก์ ารกฬี า
19 นายเรอื งศักดิ์ ถาฐาน วทิ ยาลยั เทคนคิ แพร่ ไฟฟา้ กำลงั และการออกกำลังกาย
20 นายคมสันต์ สุหลง มหาวทิ ยาลัยการกีฬาแห่งชาติ คึกษาศาสตร์ ภาพยนตร์และภาพนิง่

21 นายชนิ วฒั น์ อนันตะ วทิ ยาลยั เทคนคิ แพร่ เทคโนโลยีสารสนเทศ ไฟฟ้ากำลงั
พละศึกษา
22 นายอภิวฒั น์ แว่นจนั ทร์ วทิ ยาลยั เทคนคิ ชัยภูมิ ไฟฟา้ งานนักพัฒนา
23 นายรณกร อ่อนชอ้ น โรงพยาบาลราชวถิ ี ผู้ช่วยพยาบาล ซอฟตแ์ วร์คอมพิวเตอร์
24 นางสาวชุตกิ า กนั ทะมาด โรงพยาบาลราชวถิ ี ผชู้ ว่ ยพยาบาล
25 นางสาวชุลกี ร กนั ทะมาด โรงพยาบาลราชวถิ ี ผู้ชว่ ยพยาบาล ไฟฟา้ กำลงั
26 นายอนรุ กั ษ์ แสงทบั ทอง ประกอบอาชีพ
ผชู้ ่วยพยาบาล

ผู้ชว่ ยพยาบาล

ผู้ชว่ ยพยาบาล

27 นายอนรุ กั ษ์ ธัญญาหาร ประกอบอาชีพ

28 นางสาวกรวรรณ ขดั เบาะ ประกอบอาชีพ

29 นางสาวศจรี ตั น์ ถาหล้า ประกอบอาชีพ

30 นายโกเมนทร์ สิงห์จนั ทร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่ ครศุ าสตร์ ดนตรีศึกษา

31 นายเศรษฐวุฒิ หงษส์ ามสบิ เก้า วิทยาลยั เทคนิคเเพร่ ยานยนตไ์ ฟฟา้ ยานยนตไ์ ฟฟา้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๒๒

๕. โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นกฬี าองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัดแพร่ (พฒั นาประชาอุปถัมภ)์
ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๓

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๒๓

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๒๔

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๒๕

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๒๖

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๒๗

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๒๘

๖. ผลการประเมนิ ใน 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ขอ้ มูลในปีการศึกษา ๒๕๖2 – 2563

ก้ลมุ สำระกำรเรียน้รู จำนวนนกั เรียน จำนวนนกั เรียนท้ไี่ ดผลกำรเรียน ผลกำรเรียนเฉลย่ี S.D. ร มส นกั เรียนท้ไี่ ด 3 ขึ้นไป

ภาษาไทย 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 รวม จำนวน ้รอยละ
คณติ ศาสต์ร
วทิ ยาศาสต์รฯ 482 131 75 86 55 62 32 36 5 482 2.88 1.00 0 0 292 60.59
สงั คมศกึ ษาฯ
สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 476 77 57 86 106 75 40 30 4 475 2.67 0.91 1 0 220 46.22
ศลิ ปะ
การงานอาชพี 1063 355 233 238 115 68 20 25 6 1060 3.23 0.78 2 1 826 77.71
ภาษา์ตางประเทศ
1108 296 210 232 160 105 48 41 5 1097 3.04 0.86 11 0 738 66.61
รวม
์รอยละ 866 547 150 105 28 24 3 2 5 864 3.65 0.60 0 2 802 92.61

473 212 79 56 60 33 12 17 3 472 3.27 0.88 1 0 347 73.37

334 129 117 65 16 6 1 0 0 334 3.51 0.50 0 0 311 93.12

814 194 154 197 114 67 40 33 12 811 2.98 0.90 3 0 545 66.96

5616 1941 1075 1065 654 440 196 184 40 5595 3.17 0.87 18 3 4081 72.67

100.00 34.56 19.14 18.96 11.65 7.83 3.49 3.28 0.71 0.32 0.05 72.67

้รอยละของนกั เรียน 72.67
ผลการเรียนระดบั ดี (3) ขึน้ ไป 26.25
์ผานเกณ์ฑข้นั ต่า (1) ถึง์คอน์ขางดี (2.5) 1.09
์ไม์ผานการประเมนิ (0,ร,มส)

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า๒๙

๗. รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พื้นฐาน (O-NET)

๗.๑ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3

๗.๑.๑ คา่ เฉล่ยี ระดบั โรงเรยี น โรงเรียนกฬี าองค์การบริหารสว่ นจงั หวัดแพร่(พฒั นาประชาอุปถมั ภ์)

เปรียบเทยี บปีการศึกษา ๒๕๖2 กับ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3

วิชา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖2 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3 ผลตา่ ง

ภาษาไทย ๕๒.๔๙ 41.25 -11.24

คณิตศาสตร์ ๒๒.๘๓ 21.33 -1.50

ภาษาอังกฤษ ๒๖.๔๙ 23.00 -3.49

วิทยาศาสตร์ ๒๙.๙๕ 28.20 -1.75

ร้อยละ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๓๐

แผนภมู เิ ปรยี บเทยี บคะแนนการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน
โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจงั หวัดแพร่ (พฒั นาประชาอุปถมั ภ์)
ระหว่างปีการศึกษา 2562 - 2563

๖๐
52.49

๕๐
41.25

๔๐

๓๐ 22.8321.33 26.4923.00 29.9528.20
๒๐

๑๐

๐ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ ภาษาอังกฤษ วทิ ยาศาสตร์
52.49 22.83 26.49 29.95
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ 41.25 21.33 23.00 28.20
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้

จากแผนภูมิ พบว่า ผลคะแนนทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๓
เมื่อกับปีการศกึ ษา ๒๕๖2 ทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ไม่มีพฒั นการที่สูงขน้ึ

๗.๑.๒ ตารางผลคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
ปีการศึกษา ๒๕๖3 เปรยี บเทียบคา่ เฉลยี่ ระดบั โรงเรยี น ระดบั จังหวัด ระดับสังกัด ระดับประเทศ

วชิ า ระดับโรงเรียน ระดบั จงั หวัด ระดับสงั กัด ระดบั ประเทศ
41.25 58.44 50.38 54.29
ภาษาไทย 21.33 28.46 22.03 25.46
คณติ ศาสตร์ 23.00 36.85 30.72 34.38
ภาษาองั กฤษ 28.20 32.15 27.99 29.89
วิทยาศาสตร์

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๓๑

แผนภูมิผลคะแนนการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพนื้ ฐาน ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี ๓

ปกี ารศึกษา ๒๕๖3 เปรยี บเทียบคา่ เฉลีย่ ระดบั โรงเรียน ระดบั จังหวดั ระดบั สังกดั
ระดบั ประเทศ

๗๐

๖๐ 58.44
50.3584.29
๕๐ 41.25
๔๐ 36.8350.7324.38
ร้อยละ ๓๐ 21.3238.4262.0235.46 23.00 28.2302.1257.9299.89

๒๐

๑๐

๐ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ วิทยาศาสตร์
41.25 21.33 23.00 28.20
ระดับโรงเรยี น 58.44 28.46 36.85 32.15
ระดบั จังหวัด 50.38 22.03 30.72 27.99
ระดบั สังกัด 54.29 25.46 34.38 29.89
ระดับประเทศ กลุม่ สาระการเรียนรู้

จากแผนภูมิ พบว่า ผลคะแนนเฉลี่ยทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีค่าต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ
และ ระดับจังหวัด มีเพียงกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เท่านั้นที่คะแนนเฉลี่ยมีค่าสูงกว่าคะแนนเฉลี่ย
ระดบั สงั กัด อปท

๗.๑.๓ ตารางผลต่างคะแนนทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พื้นฐาน ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓
ปกี ารศึกษา ๒๕๖2 และ ๒๕๖3 ระดบั โรงเรยี น เทียบกับระดบั จงั หวดั ระดับสงั กดั และระดับประเทศ

วชิ า ผลตา่ งระดบั จังหวดั ผลตา่ งระดับสังกัด ผลต่างระดับประเทศ

ภาษาไทย ปกี ารศึกษา ปกี ารศึกษา ปกี ารศึกษา ปีการศึกษา ปกี ารศึกษา ปีการศกึ ษา
คณิตศาสตร์ ๒๕๖2 ๒๕๖3 ๒๕๖2 ๒๕๖3 ๒๕๖2 ๒๕๖3
ภาษาองั กฤษ - 6.38 -17.19 + 1.36 -9.13 - 2.65 -13.04
วิทยาศาสตร์
- 6.76 -7.13 - 0.13 -0.70 - 3.90 -4.13

- 7.66 -13.85 - 3.01 -7.72 - 6.76 -11.38

- 1.20 -3.95 + 1.27 +0.21 - 0.12 -1.69

ผล ่ตางคะแนนโรงเรียนเ ืม่อเ ีทยบกับระ ัดบต่างๆ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๓๒

แผนภมู ิแสดงคา่ ผลตา่ งคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พนื้ ฐาน
ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ระหว่างปกี ารศึกษา 2562 และ ปกี ารศึกษา 2563
5

0

-5

-10

-15

-20 12345 6
-13.04
ภาษาไทย -6.38 -17.19 1.36 -9.13 -2.65 -4.13
คณิตศาสตร์ -11.38
ภาษาองั กฤษ -6.76 -7.13 -0.13 -0.7 -3.9 -1.69
วทิ ยาศาสตร์
-7.66 -13.85 -3.01 -7.72 -6.76

-1.2 -3.95 1.27 0.21 -0.12

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ วทิ ยาศาสตร์

๗.๒ ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
๗.๒.๑ ค่าเฉล่ียระดับโรงเรยี น โรงเรยี นกฬี าองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร(่ พัฒนาประชาอุปถัมภ์)
เปรียบเทียบปีการศึกษา ๒๕๖2 กับ ปีการศกึ ษา ๒๕๖3

วชิ า ปกี ารศึกษา ๒๕๖2 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3 ผลตา่ ง
ภาษาไทย 33.64 35.29 1.65
คณิตศาสตร์ 16.70 18.15 1.45
ภาษาอังกฤษ 22.59 22.82 0.23
วิทยาศาสตร์ 23.34 24.83 1.49
สงั คมศึกษาฯ 33.71 32.68 -1.03

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า๓๓

แผนภูมิเปรยี บเทียบคะแนนการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพ้นื ฐาน
โรงเรยี นกีฬาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั แพร่ (พัฒนาประชาอุปถมั ภ์)
ระหว่างปกี ารศกึ ษา 2562 - 2563

๔๐ 33.7132.68
๓๕ 33.6435.29

๓๐
๒๕ 22.5922.82 23.3424.83

ร้อยละ ๒๐ 16.7 18.15
๑๕

๑๐



๐ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศกึ ษาฯ
33.64 16.7 22.59 23.34 33.71
ปีการศกึ ษา ๒๕๖2 35.29 18.15 22.82 24.83 32.68
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3

จากแผนภมู ิ พบว่า ผลคะแนนทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พ้ืนฐาน ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖

เมือ่ เทียบกับปีการศึกษา ๒๕๖2 ทุกกลุ่มสาระการเรียนรมู้ ีผลคะแนนเฉลี่ยทเี่ พิม่ ข้นึ ยกเวน้ รายวชิ าสงั คม

ศกึ ษาฯ ทมี่ ีผลคะแนนเฉลีย่ ลดลง

๗.๒.๒ ตารางผลคะแนนการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพนื้ ฐานระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๖
ปกี ารศึกษา ๒๕๖3 เปรยี บเทียบคา่ เฉลย่ี ระดบั โรงเรยี น ระดบั จังหวดั ระดับสังกดั ระดับประเทศ

วชิ า ระดบั โรงเรยี น ระดบั จงั หวดั ระดับสงั กัด ระดับประเทศ
35.29 50.06 38.79 44.36
ภาษาไทย 18.15 30.12 20.86 26.04
คณติ ศาสตร์ 22.82 30.42 24.49 29.94
ภาษาอังกฤษ 24.83 36.36 28.94 32.68
วทิ ยาศาสตร์ 32.68 38.54 33.54 35.93
สังคมศึกษา ฯ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า๓๔

แผนภูมิผลคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 6
ปีการศึกษา ๒๕๖3 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดบั โรงเรยี น ระดบั จังหวัด ระดบั สงั กดั
ระดบั ประเทศ

๖๐

๕๐ 50.06
44.36

ร้อยละ ๔๐ 35.29 38.79 30.12 30.42 29.94 36.36 32.6838.5343.5435.93
๓๐ 26.04 22.82 24.49 32.68
๒๐
18.15 20.86 28.94
24.83

๑๐

๐ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ วิทยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ฯ
35.29 18.15 22.82 24.83 32.68
ระดบั โรงเรยี น 50.06 30.12 30.42 36.36 38.54
ระดับจังหวดั 38.79 20.86 24.49 28.94 33.54
ระดบั สงั กดั 44.36 26.04 29.94 32.68 35.93
ระดับประเทศ

จากแผนภูมิ พบว่า ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีค่าคะแนนเฉลี่ยที่ต่ำกว่าระดับจังหวัด ระดับสังกัด
และระดับประเทศ

๗.๒.๓ ตารางผลตา่ งคะแนนทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พ้ืนฐาน ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖2 และ ๒๕๖3 ระดบั โรงเรยี น เทียบกับระดบั จงั หวัด ระดับสงั กัด และระดับประเทศ

วิชา ผลตา่ งระดับจังหวัด ผลต่างระดบั สังกดั ผลต่างระดับประเทศ

ภาษาไทย ปีการศึกษา ปกี ารศกึ ษา ปีการศกึ ษา ปีการศกึ ษา ปีการศกึ ษา ปกี ารศึกษา
คณติ ศาสตร์ ๒๕๖๒ ๒๕๖3 ๒๕๖๒ ๒๕๖3 ๒๕๖๒ ๒๕๖3
ภาษาอังกฤษ -12.00 -14.77 -3.36 -3.50 -8.57 -9.07
วทิ ยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ -11.46 -11.97 -2.91 -2.71 -8.71 -7.89

-7.17 -7.60 -1.45 -1.67 -6.61 -7.12

-8.06 -11.53 -2.95 -4.11 -5.86 -7.85

-4.43 -5.86 0.90 -0.86 -1.99 -3.25

ผล ่ตางคะแนนโรงเรียนเ ืม่อเ ีทยบกับระ ัดบต่างๆ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๓๕

แผนภูมแิ สดงคา่ ผลต่างคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน
ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ระหวา่ งปีการศกึ ษา 2562 และ ปีการศกึ ษา
2563

2
0
-2
-4
-6
-8
-10
-12
-14
-16 1 2 3 4 5 6
ภาษาไทย -12 -14.77 -3.36 -3.5 -8.57 -9.07
คณิตศาสตร์ -11.46 -11.97 -2.91 -2.71 -8.71 -7.89
ภาษาอังกฤษ -7.17 -7.6 -1.45 -1.67 -6.61 -7.12
วทิ ยาศาสตร์ -8.06 -11.53 -2.95 -4.11 -5.86 -7.85
สงั คมศึกษาฯ -4.43 -5.86 0.9 -0.86 -1.99 -3.25

ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ ภาษาองั กฤษ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ

ข้อมลู นักเรียนด้านอน่ื ๆ จำนวน คิดเปน็
(คน) ร้อยละ*
ท่ี รายการ 168 100.00

๑. จำนวนนักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ 168 100
รวมทง้ั ร้จู ักดูแลตนเองให้มีความปลอดภยั
- -
๒. จำนวนนักเรียนที่ปลอดจากปัญหาทางเพศ ยาเสพติด และสิ่งมอมเมา - -
เชน่ สุรา บหุ ร่ี เครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอล์ เกม ฯลฯ - -
- -
๓. จำนวนนกั เรียนท่ีมีความบกพรอ่ งทางรา่ งกาย/เรยี นรว่ ม - -
๔. จำนวนนกั เรียนมีภาวะทุพโภชนาการ 1 0.5
๕. จำนวนนักเรยี นทม่ี ปี ญั ญาเลศิ - -
๖. จำนวนนกั เรยี นที่ตอ้ งการความช่วยเหลอื เป็นพิเศษ
๗. จำนวนนักเรียนที่ออกกลางคัน (ปกี ารศึกษาปัจจบุ ัน) 69 99.00
๘. จำนวนนักเรยี นทีม่ ีเวลาเรยี นไม่ถึงร้อยละ ๘๐ 98 100.00
๙. จำนวนนกั เรียนทเ่ี รยี นซ้ำชั้น
๑๐ จำนวนนกั เรยี นทจ่ี บหลักสูตร
. มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
หมายเหตุ: ร้อยละของนักเรียนทั้งหมด

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๓๖

๘. ขอ้ มูลดา้ นสถานท่ี

ท่ี รายการ จำนวน
๑. อาคารเรยี น 7 หลัง
๒. อาคารอเนกประสงค์ 2 หลงั
๓. หอ้ งนำ้ /ห้องสว้ ม 8หลัง
4. สนามฟตุ ซอล 1 สนาม
5. สนามฟุตบอล 1 สนาม
6. โรงอาหาร 1 หลัง
7. หอพักนักเรียน 8 หลงั
8. บา้ นพักครู 4 หลงั

๙. ขอ้ มลู สภาพชุมชนโดยรวม
1. สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นชุมชนชนบท ล้อมรอบด้วยทุ่งนาและหมู่บ้าน

บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ วัดพระธาตุตุงคำ วัดทุ่งแค้ว วัดวังหลวง ตลาดสด ร้านค้า สหกรณ์
หมูบ่ ้าน ทงุ่ นา ไรข่ า้ วโพด สวนผลไม้ สวนผกั บ้านเรอื น อาชีพหลักของชมุ ชน คอื ทำนา ทำสวน ทำไร่ ส่วน
ใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ ประเพณีกินสลาก หล่อ
เทียนพรรษา ประเพณบี วงสรวงพระธาตุ

2. ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนตน้ อาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม และ
รบั จ้าง สว่ นใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายไดโ้ ดยเฉลย่ี ตอ่ ครอบครวั ต่อปี 60,000 บาท

3. โอกาสและขอ้ จำกดั ของโรงเรยี น
โอกาส สถานศึกษาอยู่ในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ ซึ่งให้การสนับสนุน

งบประมาณ ด้านการจัดการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน และผู้ปกครองมีความเข้มแข็ง ให้ความ
ร่วมมือและสนับสนุนในการจัดการศึกษาเป็นอย่างดี และให้ความร่วมมือในด้านต่าง ๆ เช่น งานประเพณี
และงานบุญต่างๆคณะครู นักเรียนร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ นอกจากนี้บ้าน วัด และโรงเรียนได้ร่วม
กจิ กรรมต่างๆ อยา่ งตอ่ เน่ือง

ข้อจำกดั ทศั นคติของผู้ปกครองต่อการศึกษาต่อของเด็กยงั มุ่งหวังกบั บตุ รหลานให้เข้าศึกษา
ต่อโรงเรียนทั่วไปที่ไม่ใช่โรงเรียนกีฬา ทำให้จำนวนเด็กลดลง ผู้ปกครองมีปัญหาทางเศรษฐกิจจึงต้องทำงาน
ต่างจังหวัด ไมส่ ามารถเอาใจใสด่ ูแลบุตรได้ดเี ทา่ ทค่ี วร

๑๐. แหล่งเรียนรู้ ภมู ิปัญญาท้องถนิ่

๑๐.1 ห้องสมุดมีพื้นที่ขนาด 40X15 ตารางเมตร หนังสือในห้องสมุดมีจำนวน1,450 เล่ม มีวารสาร/
หนังสือพิมพ์ให้บริการจำนวน 1,331 ฉบับ การสืบค้นหนังสือและการยืม-คืน ใช้ระบบ Happy Library มี
เครื่องคอมพิวเตอรใ์ ห้บริการสบื ค้นเทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมดุ จำนวน30 เครื่อง มีจำนวนนักเรียนท่ใี ช้

ห้องสมุด (ในปีการศึกษาที่รายงาน) เฉลี่ย156 คน ต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 35.70 ของนักเรียนทั้งหมดมีการ
ให้บริการห้องสมดุ แกช่ ุมชนรอบนอก โดยมบี ุคคลมาใช้บริการ เฉล่ีย 10 คน ต่อปี (ในปีการศึกษา 2563)
๑๐.2 หอ้ งปฏบิ ตั ิการทงั้ หมด 40 ห้อง จำแนกเปน็

1) ห้องปฏบิ ัตกิ ารวิทยาศาสตร์ จำนวน 5 ห้อง

2) หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ จำนวน 1 ห้อง
3) ห้องปฏบิ ตั ิการทางภาษา จำนวน 3 หอ้ ง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๓๗

4) ห้องอ่ืนๆ (ระบุ) จำนวน 14 หอ้ ง

4.1 ห้องโสตทัศนศกึ ษา จำนวน 2 หอ้ ง
ห้อง
4.2 ห้องสวนพฤกษศาสตร์ จำนวน 1 หอ้ ง
ห้อง
4.3 ห้องสมดุ จำนวน 1 หอ้ ง
หอ้ ง
4.4 หอ้ งกลุ่มสาระ จำนวน 8 หอ้ ง
ห้อง
4.5 ห้องดนตรี จำนวน 1

4.6 ห้องนาฎศิลป์ จำนวน 1

4.7 ห้องอาเซียน จำนวน 1

4.8 หอ้ ง ICT จำนวน 10

๑๐.3 เครือ่ งคอมพิวเตอรท์ งั้ หมด จำนวน 20 เครือ่ งจำแนกเปน็

1) ใชเ้ พอ่ื การเรยี นการสอน จำนวน 20 เครอื่ ง

2) ใชเ้ พื่อใหบ้ ริการสืบค้นข้อมลู ทางอนิ เทอร์เนต็ จำนวน 20 เครื่อง

โดยมีจำนวนนักเรียนที่ใช้บริการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต เฉลี่ย228คน ต่อวันคิดเป็น

ร้อยละ49 ของนกั เรียนท้ังหมด

3) ใชเ้ พ่อื สนับสนนุ การบริหารสถานศกึ ษา (สำนักงาน) จำนวน 13 เครื่อง

๑๐.4 แหลง่ เรยี นรู้ภายในโรงเรยี น (นอกจากหอ้ งสมดุ ) และแหล่งเรยี นรภู้ ายนอกโรงเรียน

แหลง่ เรยี นรภู้ ายในโรงเรียน สถติ กิ ารใช้ แหล่งเรียนรูภ้ ายนอกโรงเรียน สถิตกิ ารใช้
ชื่อแหล่งเรียนรู้ จำนวนครั้ง/ปี
จำนวนคร้งั /ปี ชอื่ แหล่งเรียนรู้
1. ห้องสมดุ โรงเรยี น 10
2. หอ้ งสมุดอินเทอร์เนต็ 3,200 1. พระธาตตุ ุงคำ ตำบลทงุ่ แคว้ 25
3. ห้องโสตทศั ศกึ ษา 20
4. ห้องปฏบิ ัตกิ ารวทิ ยาศาสตร์ 3,500 2 .วดั ทุ่งแค้ว ตำบลท่งุ แค้ว 20
5. หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทาง 9
ภาษาอังกฤษ 3,000 3. สวนป่าชุมชนรอบโรงเรยี น 10
10
- หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางภาษาจนี 3,600 4. อบต.ทุ่งแคว้ ตำบลทุ่งแค้ว 5
6. หอ้ งนาฏศิลป์ 500
3,000 5. สถานอี นามยั ตำบลทุ่งแคว้ 25
- ห้องดนตรี 10
7. หอ้ งแนะแนว 6. วดั วงั หลวง ตำบลวังหลวง 4
10
2,500 7. อบต.วังหลวง ตำบลวังหลวง 10
40
12. กลุ่มสมุนไพร ตำบลวังหลวง 1
5
2,500 13. โรงพยาบาลอำเภอหนองมว่ งไข่ 1

2,500 14. ที่ว่าการอำเภอหนองมว่ งไข่

15. สถานตี ำรวจภธู ร อำเภอหนองมว่ งไข่

16. วัดหนองมว่ งไข่ อำเภอหนองมว่ งไข่

17. สถานปี ระมงนำ้ จดื อำเภอหนองมว่ งไข่

18.สถานวี ิจัยพืชสวน อำเภอเมอื งแพร่

19.โบราณสถานต่างๆจงั หวัดแพร่

20.อา่ งเกบ็ นำ้ แมแ่ ฮด

21. วดั พระธาตุชอ่ แฮพระอารามหลวง

22.ศาลจังหวัดจงั หวดั แพร่

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๓๘

แหลง่ เรยี นรูภ้ ายในโรงเรียน สถติ ิการใช้ แหลง่ เรียนร้ภู ายนอกโรงเรยี น สถิตกิ ารใช้
จำนวนคร้งั /ปี จำนวนครั้ง/ปี

ชือ่ แหล่งเรียนรู้ ช่ือแหล่งเรยี นรู้

23. ศาลจังหวัดแพร่แผนกคดีเด็กและ 1

เยาวชน

24. เรือนจำจงั หวัดแพร่ 1

25.มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จแ้ พร่เฉลมิ พระเกยี รติ 1

26.อุทยานแหง่ ชาติแกง่ เสอื เต้น จงั หวดั แพร่ 1

27. อทุ ยานแหง่ ชาตแิ พะเมอื งผี 1

28. อทุ ยานแห่งชาตภิ ูเขาหินปะการัง 1

29. สำนักสงฆ์วดั ถำ้ จักรพรรดิ ๑

๑๐.5 มีภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ๖ คน

1) ชอ่ื -สกุล นายจำนง วงั แกว้ บา้ นหนองนำ้ รดั

ภมู ปิ ัญญาดา้ น ดนตรีพน้ื เมอื ง

2) ชื่อ-สกุล นายประดษิ ฐ์ กุลวงศ์ บา้ นทงุ่ แคว้

ภูมปิ ัญญาด้าน ศลิ ปะ (จติ รกรรม)

3) ชอ่ื -สกลุ นายประดษิ ฐ์ กลุ วงศ์ บา้ นท่งุ แค้ว

ภมู ิปัญญาด้าน ศลิ ปะ (ดนตรสี ากล)

4) ชอื่ -สกุล นายณัฐกานต์ จันทนู บ้านวังหลวง

ภูมปิ ัญญาด้าน งานแกะสลกั ไม้

5) ชอ่ื -สกลุ นายอานนท์ ใจกระเสน บ้านวังหลวง

ภูมปิ ัญญาดา้ น การหล่อพระพุทธรปู

๖) ช่อื -สกุล นางบวั แก้ว ธรรมลังกา บา้ นทุง่ แค้ว

ภมู ิปญั ญาด้าน ผลติ สบู่และนำ้ ยาลา้ งจาน

1๑. ผลงานดีเดน่ ในรอบปที ผ่ี า่ นมา(ปีการศกึ ษา 2563)

ประเภท ระดบั รางวลั /ชอื่ รางวลั ท่ีไดร้ บั /วนั ท่ไี ดร้ ับ หน่วยงานทใี่ ห้

สถานศกึ ษา --
ผบู้ ริหาร
--
ครู
นายผดงุ บุญชุม ไดร้ บั รางวลั ขา้ ราชการดีเดน่ อบจ.แพร่
นายจรลั คำวิชยั ได้รบั รางวัลขา้ ราชการดเี ดน่ อบจ.แพร่

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๓๙

ผลการแขง่ ขันกีฬา
โรงเรียนกฬี าองค์การบริหารสว่ นจงั หวดั แพร(่ พัฒนาประชาอปุ ถัมภ)์

ปีการศึกษา 2563

ประเภท ระดับรางวัล/ช่ือรางวลั ทีไ่ ดร้ ับ/วนั ท่ีได้รบั ผู้ควบคุมทีม หนว่ ยงานที่จดั
ฟุตซอล
1. รางวัลรองชนะเลิศ อับดับ ๑ การแข่งขัน นายจักรพงษ์ แก้ว การกีฬาแหง่
ประเทศไทย
กีฬา Play Set Game Futsal คร้ังท่ี 1 ประจำปี กุมาร

๒๕๖๓ ระหว่างวันท่ี ๑๒ ตุลาคม ถึง ๑๓ นายพรชัย ออ่ นอุทัย

ตุลาคม ๒๕๖๓ ณ สนามกีฬามหาวิทยาลัยแม่ นายวิศรตุ ยะตาหิ

โจ้วทิ ยาเขตแพร่

ฟุตซอล 2.กีฬานักเรียน นักศึกษา แห่งชาติครั้งที่ 42 นายจักรพงษ์ แกว้ หน่วยงานที่จัด
ฟตุ ซอล รอบคัดเลือกเขตการแข่งขันกีฬาที่ 5 รางวัล กุมาร การท่องเท่ียว
ฟุตซอล รองชนะเลิศ อันดับ ๒ ประจำปี ๒๕๖๓ นายพรชยั ออ่ นอทุ ยั และกีฬาจงั หวัด
ระหว่างวันที่ ๒๓ สิงหาคม ถึง ๓๐ กันยายน พะเยา
๒๕๖๓ ณ จังหวัดพะเยา กีฬาฟุตซอล รุ่นอายุ
ไม่เกิน 18 ปี ชาย ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ กรมพลศึกษา
อันดับ ๒
กรมพลศึกษา
3.รางวัลเหรียญทองแดงรายการกีฬาระหว่าง นายทัชชัย รอดนอ้ ย
โรงเรียนส่วนกลาง(กีฬากรมพลศึกษา ประเภท
ข)

4.รายการกีฬานกั เรียนนักศึกษาจังหวัดแพร่ นายทชั ชยั รอดน้อย
รุน่ 15ปี รางวลั ชนะเลิศ
รุน่ 18ปี รางวลั ชนะเลศิ
หน่วยงานทจี่ ัด ท่องเทีย่ วและกฬี าจงั หวดั แพร่

งาน/โครงการ/กิจกรรม/ผลงานท่ปี ระสบผลสำเร็จจนได้รบั การยอมรบั หรือเปน็ ตัวอย่างการปฏิบตั ิ

ท่ี ชอื่ อธบิ ายตวั บง่ ช้คี วามสำเร็จหรอื ระดับความสำเร็จ
งาน/โครงการ/กิจกรรม

1 โครงการพฒั นาสวนพฤกษศาสตร์ ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานร้อยละ 9๐.๐๐ได้
เขา้ ร่วมกิจกรรม และมีความพึงพอใจในระดับดีมาก

2. โครงการเสริมสรา้ งสุขภาพอนามัยนักเรียน ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานร้อยละ 9๐.๐๐ ได้
เข้าร่วมกจิ กรรม และมคี วามพงึ พอใจในระดับดีมาก

3. โครงการศูนย์การเรียนรดู้ ้านการทอ่ งเที่ยว ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานร้อยละ 9๐.๐๐ได้
เขา้ รว่ มกิจกรรม และมคี วามพึงพอใจในระดับดีมาก

4 โครงการถงุ เงินถงุ ทอง ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานร้อยละ 9๐.๐๐ ได้
เขา้ ร่วมกิจกรรม และมคี วามพึงพอใจในระดบั ดีมาก

5 โครงการประเพณีและสัปดาห์วนั สำคัญต่างๆ ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานร้อยละ 9๐.๐๐ ได้
เข้าร่วมกจิ กรรม และมคี วามพงึ พอใจในระดับดีมาก

6 โครงการพฒั นางาน GPA PR รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า๔๐

7 โครงการพฒั นางานสวนพฤกษศาสตร์ ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานร้อยละ ๘๕.๐๐ได้
โรงเรยี น เขา้ รว่ มกจิ กรรม และมคี วามพึงพอใจในระดับดี
ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานร้อยละ ๘๕.๐๐ ได้
8 โครงการกิจกรรมชมุ นุม เขา้ รว่ มกจิ กรรม และมีความพึงพอใจในระดบั ดี
ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานร้อยละ 9๐.๐๐ ได้
9 กิจกรรมการเดินทางไกลและอย่คู ่ายพกั แรม เขา้ รว่ มกิจกรรม และมคี วามพึงพอใจในระดบั ดีมาก
ลกู เสอื – ยวุ กาชาด ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานร้อยละ 9๐.๐๐ ได้
เข้ารว่ มกิจกรรม และมีความพงึ พอใจในระดับดีมาก
10 โครงการโรงเรียนพอเพยี งตามศาสตร์ ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานร้อยละ ๘๕.๐๐ ได้
พระราชา เขา้ รว่ มกจิ กรรม และมีความพงึ พอใจในระดับดี
การปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาร้อยละ 100 ของ
11 โครงการการปรบั ปรุงหลกั สตู รสถานศกึ ษา ครูและบุคลากรภายในสถานศึกษามีส่วนร่วมในการ
จัดทา่ หลกั สตู รสถานศกึ ษาระดับดมี าก
12. โครงการกจิ กรรมความเปน็ เลิศทางวชิ าการ ประสบความสำเรจ็ รอ้ ยละ 90

๑๒. ผลการประเมินคุณภาพภายใน ค่าเฉลีย่ ระดบั สรุปผล
ระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 80.29 คณุ ภาพ การประเมิน
มาตรฐาน
มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ดเี ลศิ
เพอื่ การประเมินคุณภาพภายใน บรรลุ

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน

๑.๑ ผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการของผ้เู รียน 75.88 ดี บรรลุ

๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิด 85 ดเี ลิศ บรรลุ
คำนวณ

๒) มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ 70.75 ดี บรรลุ
อภิปราย แลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ และแกป้ ญั หา

๓) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม 80 ดีเลศิ บรรลุ

๔) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร 82 ดีเลิศ บรรลุ

๕) มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา 57.55 ปาน ไม่บรรลุ
๖) มีความรู้ ทักษะพนื้ ฐานและเจตคตทิ ด่ี ีตอ่ งานอาชพี 80 กลาง

ดีเลิศ บรรลุ

๑.๒ คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของผู้เรียน 84.70 ดเี ลิศ บรรลุ

๑) การมคี ณุ ลักษณะและคา่ นยิ มทด่ี ตี ามทีส่ ถานศึกษากำหนด 98.82 ยอด บรรลุ
๒) ความภมู ิใจในทอ้ งถิ่นและความเป็นไทย 80 เยย่ี ม

ดเี ลศิ บรรลุ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๔๑

๓) การยอมรับทจี่ ะอยู่รว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย 80 ดเี ลศิ บรรลุ

๔) สขุ ภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจติ สังคม 80 ดเี ลิศ บรรลุ

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและจดั การ 81.17 ดเี ลิศ บรรลุ

๒.๑ การมีเปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ และพันธกจิ ที่สถานศกึ ษากำหนดชัดเจน 75 ดี บรรลุ

๒.๒ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา 80 ดีเลศิ บรรลุ

๒.๓ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสุต 90 ยอด บรรลุ
รสถานศึกษาและทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย 82 เยีย่ ม
๒.๔ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม้ คี วามเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
ดเี ลศิ บรรลุ

๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ 80 ดีเลิศ บรรลุ
อย่างมีคุณภาพ 80
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและ 87.10 ดเี ลิศ บรรลุ
การจัดการเรยี นรู้ 87.50
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น 93 ดเี ลศิ บรรลุ
สำคัญ
๓.๑ จดั การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ ริง และสามารถนำไป คา่ เฉลี่ย ดี บรรลุ
ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตได้ 80
๓.๒ ใชส้ ือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรทู้ เ่ี อือ้ ต่อการเรียนรู้ ยอด บรรลุ
เย่ยี ม
มาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ระดบั สรุปผล
เพ่อื การประเมินคณุ ภาพภายใน คุณภาพ การประเมิน
ดเี ลิศ มาตรฐาน
๓.๓ มกี ารบรหิ ารจดั การชัน้ เรียนเชงิ บวก บรรลุ

3.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนา 95 ยอด บรรลุ
ผเู้ รยี น เยี่ยม

๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ 80 ดเี ลศิ บรรลุ
ปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้

ค่าเฉล่ียรวม 82.29 ดเี ลศิ บรรลุ

จุดเด่น
จุดเด่นด้านคุณภาพผู้เรียนกระบวนการพัฒนาสถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วย

วิธีการที่หลากหลาย ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร มีการออกแบบ

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะกับผู้เรียน โดยมีการจัดการเรียนรู้ทั้งรูปแบบการระดมสมอง การลงมือ

ปฏิบัติการใช้กระบวนการคิด และเน้นเรื่องการใช้เทคโนโลยี การเรียนการสอนในรูปแบบ active learning

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ ๔๒

การใช้สื่อการสอนที่ทันสมัย การใช้ google classroom พัฒนาครูให้มีความสามารถในการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ทั้ง8 กลุ่มสาระ มีแหล่งเรียนรู้ และแหล่งสืบค้นข้อมูล เช่น ห้องสมุด ห้อง ICT ห้องคอมพิวเตอร์ ป้าย
ความรตู้ า่ งๆ ในบรเิ วณโรงเรยี น มีการจัดการเรยี นรู้เป็นไปตามความต้องการของนักเรียน ทัง้ ทางด้านกีฬาและ
วชิ าการ

จุดเด่น ด้านการบริหารสถานศึกษา สถานศึกษามีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ มี
การแบ่งโครงสร้างการบริหารที่ชัดเจน มีการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ที่ชัดเจน มีการปรับ
แผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษา แผนปฏิบตั กิ ารประจำปที ่สี อดคล้องกบั ผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา
ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา ที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐาน
การเรียนรูต้ ามหลักสูตรสถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจดั การเรียนรูไ้ ด้อย่างหลากหลายมีการดำเนินการนิเทศ
ตดิ ตาม ประเมินผล และจัดทำรายงานผลการจดั การศึกษา การวางแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา

จุดเด่นด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญกระบวนการพัฒนา
สถานศึกษาดำเนนิ การส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการดำเนินงาน/กิจกรรม
ได้แก่ การปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนพอเพียงท้องถิ่น ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมลด
เวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ และกิจกรรมตามนโยบายของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ปรับโครงสร้างรายวิชา
หน่วยการเรียนร้สู นับสนนุ ใหค้ รูจัดการเรียน การสอนที่สรา้ งโอกาสให้นักเรียนทุกคนมสี ว่ นรว่ ม ได้ลงมือปฏิบัติ
จรงิ จนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียนการสอนและกิจกรรมที่เน้นทกั ษะการคิด โดยใช้เคร่ืองมือการคิด
ต่างๆ จัดให้มีรายวิชาเพิ่มเติมตั้งแต่ระดับชั้น ม.1 – ม.6 และจัดกิจกรรมตามความต้องการของผู้เรียน คือ
กจิ กรรมกฬี าตามความถนดั จัดบรรยากาศตามสถานทีต่ ่าง ๆ ทั้งภายในหอ้ งเรียน และนอกห้องเรยี นให้เอ้ือต่อ
การเรียนรู้ ได้แก่ การจัดป้ายความรู้ต่างๆ ตามอาคารเรียนและอาคารประกอบ ดูแลเขตพื้นที่ในงานสวน
พฤกษศาสตร์โรงเรียนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีกิจกรรมการฝึกซ้อมกีฬาตามความสนใจ เช่น ฟุต
ซอล ฟตุ บอล แบดมนิ ตนั วอลเลย์บอล และ เปตอง เปน็ ต้น ครูทุกคนทำวิจัยในชั้นเรียนอยา่ งน้อยปีการศึกษา
ละ ๑ เร่อื ง

จดุ ท่ีควรพฒั นา
1. ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของผูเ้ รียน มีระดบั คุณภาพปานกลาง ควรมกี ารพฒั นาใหม้ รี ะดบั คุณภาพท่ี

สูงขน้ึ
2. การจัดระบบ Internet Wi-Fi ทม่ี ีประสิทธภิ าพ
3. ด้านการบริหารจัดการศึกษา การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการ

พิจารณากำหนดเอกลักษณ์ และการเปน็ ทีป่ รึกษาเสนอแนะการบรหิ ารงานท้ัง 5ดา้ น

ข้อเสนอแนะ
1. สถานศึกษาควรจัดโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระ จัดให้มีการสอนเสริม

นอกเวลาเรียน หรือการจัดกิจกรรมเพิ่มเวลารู้ การจัดค่ายวิชาการเตรียมสอบ O-NET, NT การจัดสภาพทาง
กายภาพของสถานศกึ ษาให้เอื้อตอ่ การเรยี นรู้

2.ครูและบุคลากรทางการศึกษาควรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อปรับปรุง
และพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ โดยการทำ PLC อยา่ งต่อเนือ่ ง

3. มีการดำเนินการตามแผนงานงบประมาณเปน็ ไปตามความต้องการของสถานศึกษาอย่างแท้จริง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๔๓

ขอ้ เสนอแนะ จากการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม
มาตรฐานที่ 4 พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหา และคิดริเริ่ม
สรา้ งสรรค์
มาตรฐานที่ 6 มที ักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รกั การเรยี นร้แู ละพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
จัดทำโครงการส่งเสริมรักการอ่าน กิจกรรมแข่งขันเล่านิทาน ประกวดวาดภาพ เป็น
ตน้
มาตรฐานท่ี 7 สง่ เสริมการเลน่ กจิ กรรมรว่ มทำกับผ้อู ่นื ได้เหมาะสม
มาตรฐานที่ 9 พัฒนาครูให้สามารถพัฒนาตนเองแสวงหาความรู้ใหม่ ๆมาใช้ในการจัดการเรียนการ
สอน
มาตรฐานท่ี 11 มรี ะบบการนเิ ทศการเรียนการสอนและนำผลไปปรับปรุงการสอนอย่เู สมอ
มาตรฐานที่ 12 พัฒนาครใู หม้ ีความสามารถในการจดั ประสบการณท์ ี่เน้นผเู้ รียนเป็นสำคญั มีการวิจัย
เพือ่ พฒั นาสือ่ และการเรียนรขู้ องผู้เรยี นและนำผลไปใช้พัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานท่ี 13พัฒนาสถานศึกษาให้มีแหล่งเรยี นรู้และภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินมาใชใ้ นการจดั ประสบการณ์
มาตรฐานที่ 14 มีระเบียบรองรับการส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนา
การศกึ ษา

1๓. การนำผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษามาใช้ในการปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาอย่างตอ่ เน่อื ง

ในการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามข้อเสนอแนะของ สมศ. เพื่อให้
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และองค์การบริหาร
สว่ นจังหวดั แพร่ จงึ กำหนดแนวทาง ดังนี้

1๓.1 ด้านการพฒั นาผูเ้ รยี น
1) จดั โครงการยกผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
2) จัดกิจกรรมสอนเสริมนอกเวลาเรียน
3) จดั โครงการพัฒนาผเู้ รยี นในชว่ งปิดภาคเรยี น
4) จัดโครงการคา่ ยวิชาการ
5) จัดโครงการพฒั นาอจั ฉรยิ ภาพของผู้เรยี น (Thinking Tools)
6) จัดให้มวี ชิ าเลือกตามความตอ้ งการของผู้เรยี น
7) จดั กจิ กรรมตามนโยบาย/จดุ เน้น ของรัฐบาลและต้นสังกดั
8) โครงการ One Classroom One Project หน่ึงหอ้ งเรียนหน่ึงโครงงาน
9) จัดสื่อการสอน Active Learning และ Google Classroom

1๓.2 ดา้ นการพฒั นาครู
๑) มีการจัดระบบการนเิ ทศอย่างเปน็ ระบบ มีการกำกบั ติดตาม ตรวจสอบ ทกุ ภาคเรียน
๒) การร่วมกิจกรรมตามโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านต่างๆ ตามที่ต้นสังกัดจัดขึ้นเช่น

โครงการอบรมพฒั นาครู 8 กลุ่มสาระการเรียน เปน็ ต้น
๓) ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหค้ รทู ี่มคี ุณสมบัตคิ รบตามเกณฑไ์ ด้เข้ารับการอบรมเพอื่ พฒั นาตนเอง
๔) ใหค้ รทู ุกคนมกี ารจัดทำวจิ ยั ในช้นั เรียนเพ่ือแกป้ ัญหาผู้เรยี นด้านต่างๆ
๕) จดั กจิ กรรมการเรียนรูแ้ บบ Active Learning และการสอนโดยใช้เครือ่ งมือการคดิ เป็นตน้
๖) ส่งเสรมิ การทำงานแบบมสี ่วนร่วม มกี ระบวนการ PLC มีการประชุม สมั มนาทางวชิ าการ

ในโรงเรยี นอยา่ งน้อยเดอื นละ 1 คร้ัง

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๔๔

๗) ส่งเสริมบุคลากรให้มีการผลิตสื่อ / นวัตกรรม อย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาการจัด
กจิ กรรมการเรียนการสอน

๘) พัฒนากระบวนการวัดผลและประเมินผลให้มีประสิทธิภาพ เน้นการประเมินตามสภาพ
จรงิ โดยครูทุกคนสามารถสร้างเคร่ืองมือวัดที่ได้มาตรฐาน และนำไปใชว้ ดั และประเมินผลนักเรียนได้ตามสภาพ
จริง

๙) จดั ทำวจิ ัยในชั้นเรยี น อยา่ งนอ้ ย ภาคเรียนละ 1 เรื่อง
1๓.3 ส่งเสริมการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจดั การเรียนการสอน

1) สนับสนนุ ให้มกี ารนำเทคโนโลยีมาใชป้ ระกอบ การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน
2) มหี อ้ งเรยี น ICT ที่มคี วามพรอ้ มในการจัดการเรียนการสอน
1๓.4 สนบั สนนุ ให้ชมุ ชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
1) จัดหลักสตู รทไี่ ดร้ บั ความเหน็ ชอบจากชุมชน
2) สง่ เสริมการใหบ้ ริการแก่ชุมชนด้านตา่ งๆ ตามความตอ้ งการ
3) มีการนำภูมิปญั ญาท้องถนิ่ มาช่วยสอน หรือเรียนรู้จากสภาพจริงในชมุ ชน
4) มเี อกสารสรปุ เผยแพร่ข่าวสารระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
1๓.5 การพัฒนาผเู้ รยี นเพื่อปลกู ผงั คณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมที่พึงประสงค์
1) มีระบบการคดั กรองนักเรียนท่ีมปี ระสิทธภิ าพ
2) สง่ เสรมิ ความผูกพันระหว่างบา้ นกับโรงเรียน เชน่ การเย่ียมบ้าน
3) เผา้ ระวังการเผยแพรข่ องสารเสพติด เพื่อใหน้ กั เรยี นทกุ คนปลอดสารเสพติด
4) การพัฒนาครูที่ปรกึ ษาในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ให้สามารถป้องกัน แก้ไขปัญหา/

พฤตกิ รรมของนักเรยี น
5) จัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนอย่างหลากหลายตามความถนดั และความสนใจ
6) จัดกิจกรรม/โครงการคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มท่ีพงึ ประสงค์
1๓.6 การพฒั นาปรบั ปรุง หอ้ งพยาบาล และหอ้ งสมุด
1) ห้องพยาบาล

1.1 มกี ารดำเนนิ การปรบั ปรงุ ห้องพยาบาลอยา่ งเปน็ ระบบ สะอาด ปลอดภยั
1.2 มกี ารดำเนนิ การตามโครงการกอ่ สรา้ งอาคารเรือนพยาบาล
โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ (พัฒนาประชาอุปถัมภ์)เป็นโรงเรียนขนาดกลาง และเป็น

โรงเรียนประจำ จัดการเรียนการสอน ระดับมัธยมศึกษา มีจำนวนห้องเรียนทั้งหมด 15 ห้องเรียน มีนักเรียน

ทั้งหมด จำนวน160 คน ซึ่งปัจจุบันโรงเรียนมีเรือนพยาบาลที่ชำรุดทรุดโทรม คับแคบ ซึ่งอาจจะก่อให้เกิด

อันตรายกับนักเรียนและผู้เข้ามาใช้บริการ และ ไม่พอเพียงกับการให้บริการกับนักเรียน เพื่อให้นักเรียน ได้มี

สถานที่พักรับการรักษาพยาบาลขั้นต้น มีสุขภาพที่ดี มีความสุข และ เป็นสมาชิกที่ดีของประเทศชาติต่อไป

พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับ

ที่ 3) พ.ศ.2553 มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย

จากความจำเป็นในการจัดการศึกษาดังกล่าว โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ (พัฒนาประชาอุปถัมภ)์

จึงขอเสนอโครงการสร้างอาคาร เรือนพยาบาล เพื่อก่อสร้างอาคารดังกลา่ วพร้อมวสั ด/ุ ครภุ ณั ฑ์ อันจะนำไปสู่

การพฒั นาศักยภาพการเรียนรู้ เกดิ องคค์ วามรู้ เพ่อื ให้นกั เรยี น เกดิ การพัฒนาขีดความสามารถได้อย่างเต็มตาม

ศักยภาพพร้อมทั้งมีความรู้ สามารถนำความรู้ ไปประกอบอาชีพได้ เป็นเยาวชนที่ดี และเป็นสมาชิกที่ดีของ

ประเทศชาติตอ่ ไป

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า๔๕

ทางโรงเรยี นกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ (พฒั นาประชาอุปถัมภ์) จึงเล็งเห็นความสำคัญของ
ปัญหาเหลา่ น้ี และต้องการทจี่ ะแก้ไขปรับปรุงใหด้ ีขึน้ เพ่ือใหอ้ าคารเรอื นพยาบาลมีสภาพแวดล้อมทด่ี ี ซ่งึ จะทำ
ให้อาคารเรือนพยาบาลน่าอยู่ เพราะอาคารเรือนพยาบาลมีความจำเป็นและสำคัญต่อนักเรียนและบุคลากร
และเพือ่ เปน็ การสง่ เสรมิ และเสริมสร้างสุขภาพของนักเรียนและบุคลากร
วัตถปุ ระสงค์

1 .เพอ่ื จัดสรา้ งอาคารเรือนพยาบาลจำนวน 1 หลัง พร้อม วสั ด/ุ ครุภณั ฑ์
๒. เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพนกั เรยี นใหม้ ีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์สรา้ งทกั ษะการทำงาน และมคี ณุ ภาพ
ชวี ิตทดี่ ี
วธิ กี ารและข้นั ตอนการดำเนินงาน
1. ประชุมคณะครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
2. สำรวจพ้นื ท่แี ละสถานท่ี
3. แจง้ ใหก้ องการศกึ ษาและกองชา่ งเข้ามาสำรวจและประมาณการอาคารเรือนพบาบาล
4. กองช่างสำรวจและประมาณการอาคารเรือนพยาบาล
5. จัดทำโครงการเรอื นพยาบาล โรงเรียนกฬี าองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั แพร่ (พัฒนาประชาอุปถัมภ์)
6. สรปุ และรายงานผล
2) ห้องสมดุ

"ห้องสมดุ โรงเรยี นกฬี าองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั แพร(่ พฒั นาประชาอุปถมั ภ์)"
HAPPY LIBRALY ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3
1 หนังสือดี และสื่อการเรียนรู้ดี หมายถึง หนังสือและสื่อการเรยี นรู้ท่ีมีคุณภาพ เนื้อหาสาระถกู ต้อง ไม่
เปน็ พษิ เปน็ ภัยและตรงใจผู้อา่ นในรูปของสื่อส่ิงพมิ พ์ สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ และส่ืออ่นื ๆ เพือ่ ส่งเสริมการอ่านและ
สร้างสรรค์ปญั ญา

มีการจัดหนังสอื อยา่ งเป็นระบบ เป็นหมวดหมู่

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ ๔๖

มหี นงั สอื ที่นา่ สนใจ เหมาะสมต่อการเรยี นรู้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๔๗

มหี นังสอื เพยี งพอต่อความต้องการ และมกี ารจดั ซ้ือหาหนังสือทุกปีงบประมาณ


Click to View FlipBook Version