The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินตนเอง Self Assessment Report : SAR โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ (พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ปีการศึกษา 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iClass, 2021-06-15 00:08:14

รายงานการประเมินตนเอง Self Assessment Report : SAR โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ (พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ปีการศึกษา 2563

รายงานการประเมินตนเอง Self Assessment Report : SAR โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ (พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ปีการศึกษา 2563

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๔๘

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ ๔๙

2 บรรยากาศ และสถานท่ีดี หมายถงึ หอ้ งสมดุ ทเี่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ การศึกษาคน้ คว้า อดุ มไปด้วยความรู้
อบอวลไปด้วยมิตรภาพ สะอาด ร่มรื่น ปลอดโปร่ง และปลอดภัยสำหรับทุกคนที่ใช้บริการ และต้องมีอุปกรณ์
สิ่งอำนวยความสะดวกในห้องสมุดครบครัน เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับสืบค้นทางอินเตอร์เน็ต อากาศ
ภายในเย็นสบาย กจิ กรรมส่งเสรมิ รกั การอา่ น

มคี อมพิวเตอร์ อินเตอรเ์ นต็ สำหรับการสืบคน้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า๕๐

3 บรรณารักษ์ และกิจกรรมดี หมายถึง มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมรักการอ่านและการเรียนรู้ และ
ปฏิบัติงานอย่างมีความสุข ครูที่ทำหน้าที่บรรณารักษ์เป็นผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจในงานห้องสมุด มีอัธยาศัย
นำ้ ใจดี มจี ติ บรกิ าร เปน็ ตวั กลางในการเช่ือมโยงความรใู้ นห้องสมดุ กับผู้ใช้บรกิ าร

มกี ิจกรรมส่งเสริมการอา่ น

บริการสถานที่เพ่ือการเรยี นรู้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๕๑

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๕๒

มีโปรแกรมห้องสมดุ ทดี่ ี และทันสมัย

มีการเขา้ ใชบ้ ริการห้องสมดุ อยา่ งต่อเน่ือง

๑๔. การพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีของสถานศึกษา

1๔.๑ การบริหารจัดการศกึ ษา
1) จัดแบ่งโครงสร้างการบริหารงานเป็น 5 ฝ่ายโดยแบ่งเป็น ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายแผนและ

งบประมาณฝ่ายบุคลากร ฝ่ายบริหารทั่วไป และ ฝ่ายพัฒนาศักยภาพผู้เรียนและกีฬา ผู้บริหารยึดหลักการ
บริหารโรงเรียนโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นSchool Based Management for Local
Development :SBMLD, PDCA, ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง , เป็นการบริหารจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา
คุณภาพของคนในท้องถิ่น โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น จัดการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อให้
ประชาชนในท้องถ่นิ ได้มโี อกาสการเรียนรตู้ ลอดชวี ิตและอยา่ งมคี วามสุข

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ ๕๓

สว่ นที่ 2
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

สรุปผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา
โรงเรยี นกฬี าองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัดแพร(่ พัฒนาประชาอุปถัมภ)์

ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖3

ตามที่โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์)ได้ดำเนินการปร ะเมิน
คุณภาพ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖3 ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ในประกาศของ
กระทรวงมหาดไทย โดยจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกดั หน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้อง และเสนอต่อ
สาธารณะชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพตามาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพ
ภายนอก

บัดนี้ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอเสนอผลการประเมิน
คณุ ภาพภายในสถานศึกษา แสดงในตาราง สรปุ ผลได้ดงั น้ี

ระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
ผลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษาระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานปีการศกึ ษา ๒๕๖3

มาตรฐานการศกึ ษา : ดีเลศิ

มาตรฐานการศึกษา ระดับคุณภาพ

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รียน ดเี ลศิ
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดเี ลิศ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสำคญั ดเี ลิศ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า๕๔

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา ผลการประเมิน
ตนเองของโรงเรยี น
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผ้เู รียน ปีการศกึ ษา ๒๕๖3
๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผเู้ รียน
80.29
๑) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การสอื่ สารและการคดิ คำนวณ ๗5.88
๒) มีความสามารถในการวเิ คราะห์และคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปล่ียนความ ๘๕.๐๐
คดิ เหน็ และแกป้ ัญหา
๓) มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ๗๐.๗๕

๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสื่อสาร ๘๐
๕) มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา ๘๒
๖) มีความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐานและเจตคตทิ ดี่ ีตอ่ งานอาชพี ๕๗.๕๕
๑.๒ คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผู้เรยี น ๘๐
๑) การมีคณุ ลกั ษณะและคา่ นิยมทดี่ ตี ามทีส่ ถานศกึ ษากำหนด 84.70
๒) ความภมู ใิ จในทอ้ งถนิ่ และความเปน็ ไทย 98.82
๓) การยอมรบั ที่จะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย ๘๐
๔) สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสงั คม ๘๐
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและจัดการ ๘๐
๒.๑ การมเี ปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์ และพันธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษากำหนดชดั เจน ๘1.17
๒.๒ มรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา ๗๕
๒.๓ ดำเนินงานพฒั นาวิชาการท่เี นน้ คุณภาพผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลกั สุตรสถานศึกษาและทุก ๘๐
กลมุ่ เป้าหมาย
๒.๔ พัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเชย่ี วชาญทางวชิ าชีพ ๙๐
๒.๕ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เออ้ื ต่อการจดั การเรยี นรูอ้ ย่างมคี ณุ ภาพ 82
๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ สนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นรู้ ๘๐
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็นสำคญั ๘๐
๓.๑ จัดการเรียนรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ รงิ และสามารถนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ได้ ๘๗.10
๓.๒ ใชส้ อื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรทู้ ีเ่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ 75.00
๓.๓ มีการบรหิ ารจดั การชนั้ เรยี นเชงิ บวก 80.00
๔.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผเู้ รยี น 93.00
๓.๕ มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรูแ้ ละให้ขอ้ มลู สะท้อนกลับเพ่ือพฒั นาและปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้ ๙๕.00
๘๐.๐๐
สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศกึ ษา ๘2.85

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ ๕๕

การศกึ ษาตามแผนปฏบิ ัติการประจำปขี องสถานศกึ ษา

๑. การบริหารจัดการศกึ ษา
โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์)ได้จัดแบ่งโครงสร้างการ

บริหารงานเป็น ๕ ฝ่าย โดยแบ่งเป็น ฝ่ายบริหารงานวิชาการ ฝ่ายบุคลากร ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ฝ่ายบริหาร
งบประมาณและฝ่ายกิจการนักเรียน ผู้บรหิ ารยดึ หลักการบรหิ าร/เทคนิคการบริหารแบบ (เช่น การพัฒนาตาม
กระบวนการ PDCA, SBMLD, เศรษฐกิจพอเพียงฯลฯ) และอธบิ ายการนำมาใช้ในบรบิ ทของสถานศึกษา
วิธกี ารติดตามและประเมนิ ผลการนำแผนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาไปสู่การปฏิบัติ

- โดยการสังเกต เป็นการสังเกตการดำเนินโครงการในทุกขั้นตอน Plan Do Check Act ของแต่ละ
โครงการ มีการจดบนั ทกึ การสงั เกตลงในแบบบนั ทกึ การสงั เกตท่ีเตรยี มไว้

- โดยการสัมภาษณ์ ใช้ทั้งการสัมภาษณ์แบบมีโครงสรา้ ง และไม่มีโครงสร้าง ทั้งถามคำถามปลายเปดิ
และปลายปดิ แล้วจดบันทึกในแบบบันทึกการสมั ภาษณท์ ่เี ตรยี มไว้

- โดยการตรวจสอบ ตรวจสอบในทุกเรื่องที่เกี่ยวข้องในแต่ละโครงการ เช่น เวลาที่ควรเริ่มลงมือ
ปฏิบัตโิ ครงการ การดำเนนิ โครงการตามวตั ถุประสงค์ เปา้ หมาย หรอื อ่ืนๆ

- โดยการให้คำแนะนำ ให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะในการดำเนินโครงการ และการแก้ปัญหาต่างๆ ที่
เกดิ ขน้ึ

- โดยการใช้แบบประเมินต่างๆ เช่น แบบประเมินความพึงพอใจ แบบประเมินการจัดกิจกรรม
แบบสอบถามความคดิ เหน็ เปน็ ตน้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๕๖

คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

ผู้อำนวยการโรงเรียน

รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี น

ฝา่ บรหิ ารงาน ฝ่าบรหิ ารงาน ฝา่ ยบริหารงาน ฝา่ ยพฒั นาศกั ยภาพ ฝ่ายบรหิ ารงานแผน
วิชาการ บคุ คล อาคารสถานที่ ผเู้ รยี นและกฬี า และงบประมาณ

1.ฝ่ายบริหารงานวชิ าการ

1.1 งานบริหารวชิ าการ

1.1.1 งานพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา 1.1.2 งานแนะแนวและงานกองทนุ เพอื่ การศึกษา 1.1.3 งานกลุ่มสาระการเรยี นรู้

1.1.4 งานสง่ เสรมิ ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ 1.1.5 งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ 1.1.6 งานคลินิกวชิ าการ

1.1.7 งานโครงการโครงงานนักเรียน 1.1.8 งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น 1.1.9 งานธรุ การฝา่ ยวชิ าการ

1.2 งานวิจยั ผลติ ส่ือ นวตั กรรมและเทคโนโลยี

1.2.1 งานวิจยั และพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 1.2.2 งานพัฒนาส่ือ นวตั กรรมและเทคโนโลยี และหอ้ งเรียน ICT

1.2.3 งานพัฒนาและจดั การเรียนรู้ 1.2.4 งานคลังข้อสอบ1.2.5 งานสำเนาเอกสาร1.2.6 งานหอ้ งสมุดเฉลิมพระเกยี รติ

1.3 กลมุ่ งานประเมนิ มาตรฐานและควบคุมคณุ ภาพการศึกษา

1.3.1 งานนเิ ทศการศกึ ษา 1.3.2 งานระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษา

1.4 กลมุ่ งานทะเบยี นนกั เรียน

1.4.1 งานวัดผลและประเมินผลการเรยี นรู้ 1.4.2 งานทะเบียนและประมวลผล 1.4.3 งานรบั นกั เรยี น งานแนะแนวรับนกั เรียน

2.ฝา่ ยบรหิ ารงานบคุ คล

1.1 งานวางแผนอตั รากาลังและบคุ คลและกำหนดอัตรากำลงั งานสรรหาและบรรจุแต่งต้งั งานวนิ ัยและรกั ษาวนิ ยั

1.2 งานพัฒนาบุคลากรการสรา้ งขวญั และกาลังใจ 1.3 งานทะเบยี นและสถติ ิ

1.4 งานคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 1.5 งานธรุ การโรงเรยี น 1.6 งานธุรการฝา่ ย

3.ฝ่ายบริหารงานท่วั ไป

3.1 งานธรุ การฝา่ ย 3.2 งานอาคารสถานท่ี 3.3 งานเขตรบั ผดิ ชอบ
3.4 งานบรกิ ารสาธารณะ
3.5 หนว่ ยรักษาเวรยามความปลอดภัยการเข้าออกภายในโรงเรียน

4.1 งานธุรการฝา่ ย 4.ฝา่ ยพฒั นาศักยภาพผ้เู รยี นและกฬี า
4.4 งานคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
4.2 งานระบบดแู ลนกั เรยี นและสง่ เสริมเด็กดอ้ ยโอกาส 4.3 งานปอ้ งกนั ยาเสพตดิ
4.5 งานส่งเสรมิ ความประพฤติ 4.6 งานกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพนักเรียนและกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน

5.ฝา่ ยแผนงานและงบประมาณ

5.1 งานการเงินและบญั ชี 5.2 งานพัสดุ 5.3 งานจดั ระบบควบคมุ ภายในหนว่ ยงาน
5.4 งานนโยบายและแผน
5.7 งานยานพาหนะ 5.5 งานสวสั ดิการโรงเรยี นการประกันสขุ ภาพครูนกั เรียน 5.6 งานธนาคารโรงเรียน

5.8 งานธุรการฝา่ ยแผนงานและงบประมาณ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๕๗

แผนภมู ิโครงสร้างการบรหิ ารโรงเรียนกีฬาองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัดแพร่(พัฒนาประชาอปุ ถัมภ์)

วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ แนวทางการพฒั นา จุดมุ่งหมายเพือ่ การพัฒนา อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ ของ
สถานศึกษา

วิสัยทัศน์
“พัฒนานกั กีฬาสคู่ วามเปน็ เลศิ เชดิ ชูคณุ ธรรม จรยิ ธรรม นอ้ มนำปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง”

พันธกจิ

๑. ส่งเสริมสนบั สนนุ และพัฒนาการจัดการศกึ ษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

๒. สง่ เสรมิ และพัฒนานักเรยี นใหม้ ศี ักยภาพดา้ นกฬี าส่คู วามเปน็ เลิศ

๓. พัฒนาผู้เรียนใหม้ คี ณุ ธรรม จริยธรรม และดำเนินชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๔. พฒั นาประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การเนน้ การมีส่วนร่วม

ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์

ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ หน่วยงานทีร่ ับผดิ ชอบ

๑. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการจัด ๑.๑พัฒนาผูเ้ รยี นมคี ุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ฝ่ายวิชาการ

การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ๑.๒พัฒนาประสิทธภิ าพการเรยี นการสอน ฝา่ ยแผนและ

๑.๓จัดหาส่ือการเรียนการสอน งบประมาณ
ฝา่ ยบรหิ ารงานท่ัวไป
ฝา่ ยพัฒนาศักยภาพ

ผเู้ รียน

๒. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาผู้เรียนสู่ ๒.๑ส่งเสริมและพฒั นาด้านกีฬา ฝา่ ยวชิ าการ

ความเป็นเลศิ ๒.๒สง่ เสริมและพฒั นาด้านวิชาการ ฝา่ ยแผนและ
งบประมาณ
ฝา่ ยพฒั นาศกั ยภาพ

ผเู้ รยี น

๓. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมและ ๓.๑พฒั นาผู้เรยี นมีคณุ ธรรม จริยธรรม ฝ่ายวชิ าการ

พัฒนาผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม ๓.๒ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนดำเนินชีวิตตามหลัก ฝ่ายพฒั นาศักยภาพ

และดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญา ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผู้เรียน

ของเศรษฐกจิ พอเพียง

๔. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมและ ๔.๑ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ความสามารถของครู ฝา่ ยบุคลากร

พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา และบคุ ลากรทางการศึกษา

๕. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมและ ๕.๑พฒั นาระบบบริหารจัดการสถานศกึ ษา ฝา่ ยวิชาการ

พัฒนาการบริหารจัดการเน้นการมี ๕.๒จัดหาและบำรุงรกั ษาทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ ฝ่ายแผนและ

สว่ นรว่ ม ตอ่ สถานศึกษา งบประมาณ

ฝ่ายบริหารงานทวั่ ไป

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๕๘

จุดมงุ่ หมายเพอ่ื การพัฒนา
๑. นักเรียนมีคณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐานการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน
๒. นกั เรียนมศี ักยภาพในการแข่งขันกฬี าระดับชาติ
๓. นกั เรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม ดำเนินชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๔. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน
๕. ผู้มสี ว่ นเกีย่ วขอ้ งมสี ่วนรว่ มในการบรหิ ารงาน

อัตลักษณข์ องสถานศกึ ษา
ยม้ิ ไหวท้ ักทายกนั ผเู้ รยี นมีกริยามารยาทดี เอ้ืออาทรต่อผูอ้ นื่ และสงั คม

เอกลักษณข์ องสถานศกึ ษา
กฬี าฟตุ ซอล และ ดนตรี

สรปุ ในแต่ละมาตรฐานระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผเู้ รยี น ระดบั คณุ ภาพ : ดีเลิศ
1. วธิ ีการดำเนินการ

การพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผู้เรยี น
โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ได้ดำเนินโครงการและ

กิจกรรมเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการอย่างหลากหลาย ได้แก่ โครงการส่งเสริมการอ่าน การเขียน การ
สื่อสาร และการคิดคำนวณ ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ แบบ active learning โครงการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา โดยการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเป็นประจำทุกปีการศึกษา เพื่อส่งเสริมและ
พัฒนาศักยภาพของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 และจุดเน้นของ
สถานศกึ ษา ตลอดจนเพอื่ ตอบสองความต้องการของผู้เรียนในด้านตา่ งๆ ทัง้ ในด้านวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์
กีฬา ศิลปะ ดนตรี และทักษะด้านอาชีพ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการต่างๆ
มีการเพิ่มเติมรายวิชา stem สร้างสรรค์ การเรียนแบบ Coding ที่ส่งเสริมนักเรียนให้มีทักษะ การแก้ปัญหา
และหลักสูตรที่ส่งเสริมเฉพาะความถนัดในแต่ละชนิดกีฬา ส่งเสริมการเรียนการสอน ในรูปแบบต่างๆได้แก่
Learning by doing , Learning by question , Learning by Searching , Learning by Construction ,
Learning by Communication และ Learning by Serving รวมทั้งมีความก้าวหน้าในผลการทดสอบ
ระดับชาติ ผลการทดสอบสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน หรือผลการทดสอบอื่นๆ โครงการจดั กิจกรรมโครงงาน
นักเรียน โดยนักเรียนได้แสดงความสามารถของตนเอง และถ่ายทอดประสบการณ์การทำโครงงานกับกลุ่ม
เพื่อนออกมาในรูปแบบออนไลน์ โครงการพัฒนากิจกรรมความเป็นเลิศทางวิชาการ เนื่องจากสถานการณ์ โค
วิด 19 โรงเรียนได้มีการ ส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงศักยภาพทางด้านวิชาการในรูปแบบการจัดการแข่งขัน
ภายในโรงเรียน ตามกลุม่ สาระการเรียนรู้ ตามความสนใจ ในวนั สำคัญตา่ งๆ โครงการกิจกรรมชมุ นุมท่ีส่งเสริม

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๕๙

ใหน้ ักเรียนไดท้ ำกิจกรรมท่ตี นเองชอบถนดั เป็นการรวมกลมุ่ กันเองของนกั เรยี นโดยมีครูเป็นที่ปรึกษา โครงการ
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน กิจกรรม TO BE NUMBER ONE โครงการรณรงค์ป้องกันสารเสพติดใน
สถานศึกษา

นอกจากนี้ยงั ฝกึ ให้นักเรยี นได้พัฒนาทกั ษะกระบวนการคดิ วเิ คราะห์โดยการจดั กจิ กรรมต่างๆ
ในโรงเรียน ได้แก่ กิจกรรมตอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ มีการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะกับ
ผู้เรียน โดยมีการจัดการเรียนรู้ทั้งรูปแบบการระดมสมอง การลงมือปฏิบัติ การใช้กระบวนการคิด และเน้น
เรื่องการใช้เทคโนโลยี การเรียนการสอนในรูปแบบ active learning การใช้สื่อการสอนที่ทันสมัย การใช้
google classroom พัฒนาครูให้มีความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้ง8 กลุ่มสาระ มีแหล่งเรียนรู้
และแหล่งสบื ค้นข้อมูล เชน่ หอ้ งสมุด ห้อง ICT หอ้ งคอมพิวเตอร์ ป้ายความรู้ตา่ งๆ ในบริเวณโรงเรียน เป็นต้น
นอกจากนี้สถานศึกษาได้มีการดำเนินการด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
พฒั นาดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ท่ีเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน และตามนโยบายของรัฐบาลและกรมส่งเสริมการ
ปกครองทอ้ งถิ่น เช่น ค่านิยม 12 ประการ กิจกรรมตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กิจกรรมที่เกยี่ วกับ
สขุ ภาวะทางดา้ นร่างกายและจิตใจ และกจิ กรรมลดเวลาเรียนเพมิ่ เวลารู้ เปน็ ตน้ ผลการดำเนินงานในด้านการ
ประเมนิ ผลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการ ผเู้ รยี นไดแ้ สดงออกถึงความรูค้ วามสามารถ ผเู้ รยี นไดพ้ ัฒนาทกั ษะคิดวิเคราะห์
คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย และเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา สามารถคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี
วจิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และแก้ปัญหาได้ ตามศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล สามารถสบื ค้น
ข้อมูลและใช้เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง ผู้เรียนสามารถแยกแยะอาชีพสุจริตและไม่สุจริตได้ และสามารถอยู่
ร่วมกันบนความแตกต่างที่หลากหลายอย่างมีความสุข โรงเรียนได้กำหนด ร้อยละของนักเรียนท่ีมีผลการเรยี น
แต่ละรายวิชา ระดับ 3 ขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 โดยมีการวัดผลและประเมินผลผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
เหมาะสมกับเนื้อหาวิชาและธรรมชาติของผู้เรียน เพื่อชื่นชม ให้กำลังใจ มีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
เพื่อเกบ็ รวบรวมข้อมูล แบ่งกลุ่มนักเรยี นตามความสามารถรายบุคคล ไดแ้ ก่ ห้องเรยี นแผนการเรียนทั่วไป กับ
แผนการเรียนกฬี า ในระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน้ และแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ ศลิ ปภ์ าษา และ ศิลป์สงั คม
ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และจัดทำโครงการคลินิกวิชาการเพื่อร่วมแก้ปัญหานักเรียนในด้านต่างๆ
โดยใช้กระบวนการ PLC ทั้งยังแจ้งผูป้ กครองร่วมมันแก้ปัญหาร่วมกัน เพื่อพัฒนานักเรียนในระดับการเรียนท่ี
สูงข้ึน
การพฒั นาคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผเู้ รยี น

โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ดำเนินการจัดกิจกรรม
โครงการ มีการจัดกิจกรรมตามโครงการกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (กิจกรรมเดินทางไกลเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ-
ยวุ กาชาด,กจิ กรรมค่ายวิชาการ,กจิ กรรมอบรมคุณธรรมจรยิ ธรรม,กิจกรรมเสรมิ ทักษะการทำงาน การดำรงชีพ
และทักษะชีวิต) โครงการกิจกรรมชุมนุม โครงการโครงงานนักเรียน โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน โครงการงานประเพณีวันสำคัญ โครงการพัฒนาความเป็นเลิศทางดนตรี นาฏศิลป์ โครงการ
โรงเรยี นพอเพยี งตามศาสตรพ์ ระราชา โครงการหอพกั นกั เรียน กจิ กรรมระเบียบวินยั ม.ตน้ /ม.ปลาย
กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น/ม.ปลาย กิจกรรม ทำความดีจิตอาสาพัฒนาวัด ชั้น ม.ต้น/ม.ปลายการนำ
นกั เรยี นเข้าร่วมแข่งขันกฬี าในระดบั ตา่ งๆ การนำนกั เรยี นเขา้ ร่วมกจิ กรรมต่างๆ การจัดทำขอ้ ตกลงในชัน้ เรียน
การจัดกิจกรรมแสดงถึงการสืบสานประเพณีวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นและเป็นการส่งเสริมให้ครู บุคลากร
และนักเรียนได้มีความรู้ความเข้าใจถึงวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและการปฏิบตั ิตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๖๐

ไดร้ ่วมกันทำบุญและให้ทานถวายเปน็ พุทธบูชา ซง่ึ สง่ เสรมิ ให้นักเรียนนิยมไทย เห็นคณุ คา่ ในภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาไทย ภูมิใจในวัฒนธรรมและความเป็นไทย กิจกรรม Christmas กิจกรรม Chinese new year
โครงการสวนพฤกศาสตร์โรงเรียน ปลูกจิตสำนึกให้นักเรียนรักและเรียนรู้ต้นไม้ในโรงเรียน จัดทำโครงการ
ส่งเสริมสุขภาวะร่างกายและจิตสังคมที่ดี ได้แก่จัดกิจกรรมการแข่งกีฬาตามกลุ่มสนใจภายในโรงเรียน และ
กิจกรรมดนตรี เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคมที่ดี มีการจัดทำระบบดูแลช่วยเหลือ
นักเรยี น เพ่ือคัดกรองและจัดทำสรปุ ผลเพอ่ื ช่วยเหลอื นักเรยี นต่อไป
2. ผลการดำเนินการ

1. ผลการประเมินใน 8 กลุม่ สาระการเรยี นรขู้ ้อมูลในปีการศกึ ษา 2563

ก้ลมุ สำระกำรเรียน้รู จำนวนนกั เรียน จำนวนนักเรียนท้ไี่ ดผลกำรเรียน ผลกำรเรียนเฉลยี่ S.D. ร มส นักเรียนท้ไ่ี ด 3 ขึ้นไป

ภาษาไทย 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 รวม จำนวน ้รอยละ
คณติ ศาสต์ร
วทิ ยาศาสต์รฯ 482 131 75 86 55 62 32 36 5 482 2.88 1.00 0 0 292 60.59
สงั คมศกึ ษาฯ
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 476 77 57 86 106 75 40 30 4 475 2.67 0.91 1 0 220 46.22

ศลิ ปะ 1063 355 233 238 115 68 20 25 6 1060 3.23 0.78 2 1 826 77.71
การงานอาชพี
ภาษา์ตางประเทศ 1108 296 210 232 160 105 48 41 5 1097 3.04 0.86 11 0 738 66.61

รวม 866 547 150 105 28 24 3 2 5 864 3.65 0.60 0 2 802 92.61
์รอยละ
473 212 79 56 60 33 12 17 3 472 3.27 0.88 1 0 347 73.37

334 129 117 65 16 6 1 0 0 334 3.51 0.50 0 0 311 93.12

814 194 154 197 114 67 40 33 12 811 2.98 0.90 3 0 545 66.96

5616 1941 1075 1065 654 440 196 184 40 5595 3.17 0.87 18 3 4081 72.67

100.00 34.56 19.14 18.96 11.65 7.83 3.49 3.28 0.71 0.32 0.05 72.67

้รอยละของนกั เรียน 72.67
ผลการเรียนระดบั ดี (3) ขน้ึ ไป 26.25
์ผานเกณ์ฑข้นั ต่า (1) ถึง์คอน์ขางดี (2.5) 1.09
์ไม์ผานการประเมนิ (0,ร,มส)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๖๑

2. รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พ้ืนฐาน (O-NET)
2.๑ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3
2.๑.๑ ค่าเฉลย่ี ระดบั โรงเรยี น โรงเรียนกฬี าองค์การบริหารสว่ นจงั หวดั แพร(่ พัฒนาประชาอุปถัมภ์)
เปรยี บเทยี บปกี ารศกึ ษา ๒๕๖2 กับ ปกี ารศึกษา ๒๕๖3

วิชา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖2 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3 ผลตา่ ง

ภาษาไทย ๕๒.๔๙ 41.25 -11.24

คณติ ศาสตร์ ๒๒.๘๓ 21.33 -1.50

ภาษาอังกฤษ ๒๖.๔๙ 23.00 -3.49

วิทยาศาสตร์ ๒๙.๙๕ 28.20 -1.75

ร้อยละ แผนภมู ิเปรียบเทียบคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พน้ื ฐาน
โรงเรยี นกีฬาองค์การบริหารส่วนจงั หวัดแพร่ (พฒั นาประชาอปุ ถัมภ์)
ระหวา่ งปกี ารศกึ ษา 2562 - 2563

๖๐
52.49

๕๐
41.25

๔๐

๓๐ 22.8321.33 26.4923.00 29.9528.20
๒๐

๑๐

๐ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ วิทยาศาสตร์
52.49 22.83 26.49 29.95
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ 41.25 21.33 23.00 28.20
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ กลุ่มสาระการเรยี นรู้

จากแผนภูมิ พบว่า ผลคะแนนทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓
เมื่อกับปีการศกึ ษา ๒๕๖2 ทุกกล่มุ สาระการเรียนรู้ไม่มีพัฒนาการทีส่ งู ขึ้น

2.๑.๒ ตารางผลคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
ปีการศึกษา ๒๕๖3 เปรยี บเทียบค่าเฉลย่ี ระดับโรงเรียน ระดบั จงั หวัด ระดับสังกดั ระดับประเทศ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๖๒

วชิ า ระดับโรงเรยี น ระดบั จังหวดั ระดับสงั กัด ระดับประเทศ
41.25
ภาษาไทย 21.33 58.44 50.38 54.29
คณติ ศาสตร์ 23.00
ภาษาอังกฤษ 28.20 28.46 22.03 25.46
วทิ ยาศาสตร์
36.85 30.72 34.38

32.15 27.99 29.89

แผนภูมิผลคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพนื้ ฐาน ระดับชนั้
มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓

ปีการศกึ ษา ๒๕๖3 เปรียบเทยี บคา่ เฉลีย่ ระดบั โรงเรยี น ระดับจังหวดั ระดบั สังกัด
ระดบั ประเทศ

๗๐

๖๐ 58.44
50.3584.29
๕๐ 41.25
๔๐ 36.8350.7324.38
ร้อยละ ๓๐ 21.3238.4262.0235.46 23.00 28.2302.1257.9299.89

๒๐

๑๐

๐ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์
41.25 21.33 23.00 28.20
ระดับโรงเรยี น 58.44 28.46 36.85 32.15
ระดับจังหวดั 50.38 22.03 30.72 27.99
ระดับสังกดั 54.29 25.46 34.38 29.89
ระดบั ประเทศ กลุ่มสาระการเรยี นรู้

จากแผนภูมิ พบว่า ผลคะแนนเฉลี่ยทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีค่าต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ
และ ระดับจังหวัด มีเพียงกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เท่านั้นที่คะแนนเฉลี่ยมีค่าสูงกว่าคะแนนเฉล่ีย
ระดบั สงั กัด อปท

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๖๓

2.๑.๓ ตารางผลต่างคะแนนทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้นั พื้นฐาน ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓
ปีการศกึ ษา ๒๕๖2 และ ๒๕๖3 ระดับโรงเรียน เทยี บกับระดบั จงั หวัด ระดับสังกัด และระดบั ประเทศ

วิชา ผลตา่ งระดบั จังหวดั ผลต่างระดับสังกดั ผลตา่ งระดบั ประเทศ

ภาษาไทย ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศึกษา ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ปีการศึกษา ปีการศึกษา
คณิตศาสตร์ ๒๕๖2 ๒๕๖3 ๒๕๖2 ๒๕๖3 ๒๕๖2 ๒๕๖3
ภาษาองั กฤษ - 6.38 -17.19 + 1.36 -9.13 - 2.65 -13.04
วทิ ยาศาสตร์
- 6.76 -7.13 - 0.13 -0.70 - 3.90 -4.13

- 7.66 -13.85 - 3.01 -7.72 - 6.76 -11.38

- 1.20 -3.95 + 1.27 +0.21 - 0.12 -1.69

ผล ่ตางคะแนนโรงเ ีรยนเ ืม่อเ ีทยบ ักบระ ัดบต่างๆ แผนภมู ิแสดงคา่ ผลตา่ งคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน
ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ระหวา่ งปีการศึกษา 2562 และ ปกี ารศกึ ษา
2563

5

0

-5

-10

-15

-20 12345 6
-13.04
ภาษาไทย -6.38 -17.19 1.36 -9.13 -2.65 -4.13
คณิตศาสตร์ -11.38
ภาษาอังกฤษ -6.76 -7.13 -0.13 -0.7 -3.9 -1.69
วิทยาศาสตร์
-7.66 -13.85 -3.01 -7.72 -6.76

-1.2 -3.95 1.27 0.21 -0.12

ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ ภาษาองั กฤษ วทิ ยาศาสตร์

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ ๖๔

2.๒ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓
2.๒.๑ ค่าเฉล่ยี ระดับโรงเรยี น โรงเรยี นกีฬาองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวดั แพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์)
เปรียบเทยี บปกี ารศึกษา ๒๕๖2 กบั ปกี ารศึกษา ๒๕๖3

วชิ า ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖2 ปีการศึกษา ๒๕๖3 ผลตา่ ง
ภาษาไทย 33.64 35.29 1.65
คณิตศาสตร์ 16.70 18.15 1.45
ภาษาองั กฤษ 22.59 22.82 0.23
วิทยาศาสตร์ 23.34 24.83 1.49
สังคมศึกษาฯ 33.71 32.68 -1.03

แผนภมู เิ ปรียบเทยี บคะแนนการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั พ้นื ฐาน
โรงเรยี นกีฬาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั แพร่ (พฒั นาประชาอปุ ถัมภ์)
ระหวา่ งปีการศึกษา 2562 - 2563

๔๐ 33.7132.68
๓๕ 33.6435.29

๓๐
๒๕ 22.5922.82 23.3424.83

ร้อยละ ๒๐ 16.7 18.15
๑๕

๑๐



๐ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ ภาษาองั กฤษ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศกึ ษาฯ
33.64 16.7 22.59 23.34 33.71
ปีการศกึ ษา ๒๕๖2 35.29 18.15 22.82 24.83 32.68
ปีการศึกษา ๒๕๖3

จากแผนภูมิ พบวา่ ผลคะแนนทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้นื ฐาน ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๖
เมอื่ เทียบกับปีการศึกษา ๒๕๖2 ทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรมู้ ีผลคะแนนเฉล่ียท่ีเพ่ิมขนึ้ ยกเวน้ รายวชิ าสังคม
ศกึ ษาฯ ทม่ี ผี ลคะแนนเฉลยี่ ลดลง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๖๕

2.๒.๒ ตารางผลคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้นื ฐานระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3 เปรียบเทียบค่าเฉล่ียระดับโรงเรียน ระดับจังหวัด ระดบั สังกดั ระดับประเทศ

วิชา ระดับโรงเรยี น ระดับจงั หวัด ระดบั สังกัด ระดบั ประเทศ
35.29 50.06 38.79 44.36
ภาษาไทย 18.15 30.12 20.86 26.04
คณติ ศาสตร์ 22.82 30.42 24.49 29.94
ภาษาองั กฤษ 24.83 36.36 28.94 32.68
วิทยาศาสตร์ 32.68 38.54 33.54 35.93
สงั คมศึกษา ฯ

แผนภมู ิผลคะแนนการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ปีการศกึ ษา ๒๕๖3 เปรียบเทียบคา่ เฉลี่ยระดบั โรงเรยี น ระดับจงั หวัด ระดับสังกัด
ระดบั ประเทศ

๖๐

๕๐ 50.06
44.36

ร้อยละ ๔๐ 35.29 38.79 30.12 30.42 29.94 36.36 32.6838.5343.5435.93
๓๐ 26.04 22.82 24.49 32.68
๒๐
18.15 20.86 28.94
24.83

๑๐

๐ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศกึ ษา ฯ
35.29 18.15 22.82 24.83 32.68
ระดับโรงเรียน 50.06 30.12 30.42 36.36 38.54
ระดับจังหวดั 38.79 20.86 24.49 28.94 33.54
ระดับสงั กัด 44.36 26.04 29.94 32.68 35.93
ระดับประเทศ

จากแผนภูมิ พบว่า ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีค่าคะแนนเฉลี่ยที่ต่ำกว่าระดับจังหวัด ระดับสังกัด
และระดับประเทศ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า๖๖

2.๒.๓ ตารางผลตา่ งคะแนนทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พืน้ ฐาน ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๖
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖2 และ ๒๕๖3 ระดับโรงเรียน เทยี บกับระดับจงั หวัด ระดับสงั กัด และระดับประเทศ

วิชา ผลต่างระดับจังหวัด ผลตา่ งระดบั สังกัด ผลตา่ งระดับประเทศ

ภาษาไทย ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศึกษา ปกี ารศกึ ษา ปีการศึกษา ปกี ารศกึ ษา ปีการศึกษา
คณิตศาสตร์ ๒๕๖๒ ๒๕๖3 ๒๕๖๒ ๒๕๖3 ๒๕๖๒ ๒๕๖3
ภาษาอังกฤษ -12.00 -14.77 -3.36 -3.50 -8.57 -9.07
วทิ ยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ -11.46 -11.97 -2.91 -2.71 -8.71 -7.89

-7.17 -7.60 -1.45 -1.67 -6.61 -7.12

-8.06 -11.53 -2.95 -4.11 -5.86 -7.85

-4.43 -5.86 0.90 -0.86 -1.99 -3.25

ผล ่ตางคะแนนโรงเ ีรยนเ ืม่อเ ีทยบ ักบระ ัดบต่างๆ แผนภมู แิ สดงคา่ ผลต่างคะแนนการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน
ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ระหวา่ งปกี ารศึกษา 2562 และ ปกี ารศกึ ษา
2563

2
0
-2
-4
-6
-8
-10
-12
-14
-16 1 2 3 4 5 6
ภาษาไทย -12 -14.77 -3.36 -3.5 -8.57 -9.07
คณิตศาสตร์ -11.46 -11.97 -2.91 -2.71 -8.71 -7.89
ภาษาอังกฤษ -7.17 -7.6 -1.45 -1.67 -6.61 -7.12
วิทยาศาสตร์ -8.06 -11.53 -2.95 -4.11 -5.86 -7.85
สงั คมศกึ ษาฯ -4.43 -5.86 0.9 -0.86 -1.99 -3.25

ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ ภาษาอังกฤษ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศึกษาฯ

3. จดุ เดน่
จุดเด่นในด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน คือ นักเรียนโรงเรียนกีฬาอบจ.แพร่ (พัฒนาประชาอุปถัมภ์)
ได้รับการพัฒนาอย่างรอบด้าน มีความรู้ความสามารถทั้งดา้ นวิชาการ ดนตรี กีฬา ศิลปะ และมีความสามารถ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๖๗

ทางด้านเทคโนโลยี พัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ใฝ่เรียนรู้ เป็นพลเมืองที่ดีและมีทกั ษะในศตวรรษที่ 21
สง่ ผลให้มีผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาเป็น ดังน้ี

1. ผู้เรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับ
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย และมพี ฒั นาทางการเรยี นทส่ี ูงข้ึน

2. ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณอยู่ในระดับดีเลิศและผล
การปฏิบตั ิสูงกวา่ ค่าเปา้ หมาย

3. ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
และแก้ปญั หาอยู่ในระดบั ดีเย่ยี ม และผลการปฏิบตั สิ ูงกว่าคา่ เป้าหมาย

4. ผเู้ รียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรมอยใู่ นระดับดีเยย่ี ม และผลการปฏิบตั เิ ปน็ ไปตามเป้าหมาย
5. ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารอยู่ในระดับดีเยี่ยม และผลการ
ปฏิบตั สิ ูงกวา่ ค่าเปา้ หมาย
6. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาอยู่ในระดับยอดเยี่ยม และผลการปฏิบัติสูง
กว่าคา่ เปา้ หมาย
7. ผูเ้ รียนมีความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคติท่ีดตี อ่ งานอาชีพ อยู่ในระดบั ยอดเยย่ี ม และผลการปฏบิ ัติสูง
กวา่ คา่ เป้าหมาย
4. จดุ ควรพฒั นา
จุดท่ีควรพัฒนาในด้านผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการของผู้เรยี น ได้แก่
1. สง่ เสริมนกั เรียนเขา้ รว่ มการแข่งขนั ระดับชาติ และนานาชาติให้มากข้ึน เพื่อพฒั นาคุณภาพผู้เรียนให้มี
คุณภาพตามมาตรฐานสากลตอ่ ไป
2. พฒั นากระบวนการคดิ การฝึกทกั ษะดา้ นการแสดงความคิดเหน็ การคน้ หาวิธีการแกป้ ัญหา
3. จัดกิจกรรมส่งเสริมความสามารถสร้างนวัตกรรม และมีความรู้และทักษะพื้นฐานในการสร้าง
นวตั กรรม เพม่ิ เตมิ
4. พัฒนาให้นักเรียน มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง
และสังคมในดา้ นการเรียนรู้ การสอื่ สาร การทางานอยา่ งสรา้ งสรรค์ และมีคุณธรรม
5. แนวทาง/แผนพฒั นาเพอ่ื ใหไ้ ดม้ าตรฐานท่ีสูงข้นึ
1. แผนปฏิบัติงานที่ 1 ส่งเสริมการค้นหาศักยภาพของผู้เรียนด้านกีฬาให้มากขึ้น โดยจัดกิจกรรมการ
ทดสอบสมรรถนะทกั ษะการกฬี า และระบบการคัดเลือกนกั กีฬาอยา่ งเป็นระบบ
2. แผนปฏิบัติงานที่ 2 ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนให้มีการนำศาสตร์ความรู้ด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ
หรือทักษะทจี่ ำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการพฒั นา
คุณภาพมาตรฐานที่ 3 อยใู่ นระดบั ดเี ลศิ
1. วธิ กี ารดำเนนิ การ

โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์) มีการจัดการโครงสร้างการบริหาร
เป็น 5 ฝ่าย ทุกฝ่ายมีนวัตกรรมการทำงานที่ดีเป็นแบบอย่างการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ มีการบริหารจัดการ
โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ภายใต้วงจรคุณภาพ( PDCA) ด้วยการบริหารที่เป็นระบบ เน้นผลสัมฤทธิ์ของงานเป็น

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๖๘

สำคัญ เป็นการกระจายอำนาจและการมีส่วนรว่ มของทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้อง มีการวิเคราะห์ผลการจัดการศกึ ษาท่ี
ผ่านมา ประชุมวางแผนกำหนดเป้าหมายในการจัดการศึกษาเพื่อให้ประสิทธิภาพมากขึ้น ให้ความสำคัญกับ
การเสรมิ สร้างประสิทธภิ าพขององค์กร สถานศกึ ษามกี ระบวนการพฒั นาผู้เรียนท่ีหลากหลาย ครูจัดการเรียนรู้
ให้เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียน และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา ออกแบบ
การจัดการเรียนรู้ที่เหมาะกับผู้เรียน เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนตามความสนใจอย่างแท้จริง พัฒนาครูทุกคนให้มี
ความสามารถด้านการจัดกิจกรรม มีการศึกษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัด
การศึกษาตามนโยบายการ ปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็น จากบุคลากรในสถานศึกษา
คณะกรรมการสถานศึกษา เพ่ือวางแผนรว่ มกันกำหนดเปา้ หมาย ปรบั วิสยั ทศั นก์ ำหนด พันธกจิ กลยุทธ์ในการ
จัดการศึกษาของสถาน ศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา
แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีให้สอดคล้องกบั สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา
พร้อมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ดำเนินการพัฒนา ตามแผนงาน
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมิน ผลการดำเนินงาน และ
สรุปผลการดำเนนิ งาน
2. ผลการดำเนินการ

จากการท่โี รงเรยี นไดป้ ฏิบัตงิ านตามหลกั การบริหารงานคุณภาพ(PDAC) สง่ ผลใหก้ ารบรหิ ารจดั การศึกษา
ของโรงเรียนบรรลุเปา้ หมายที่กำหนดไว้ ครูและบุคลากรของโรงเรียนสามารถปฏิบัติหน้าที่ของตนเองไดอ้ ย่าง
เตม็ ประสิทธิภาพ สง่ ผลให้ผู้เรยี นไดร้ บั การพฒั นาคุณภาพรอบดา้ น สามารถอภิปรายผลการประเมินไดด้ งั นี้

1. สถานศึกษามแี ผนปฏิบัตกิ าร และแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาทส่ี อดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกจิ และ
เปา้ หมายของสถานศึกษา สามารถใชเ้ ป็นแนวทางในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาได้จริง และเป็นแบบอย่าง
ที่ดีแก่สถานศึกษาอื่น ๆ ดังนั้นโครงการและกิจกรรมที่กำหนดไว้ สามารถพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาได้
อยา่ งเปน็ รูปธรรม มรี อ่ งรอยหลกั ฐานการดำเนินงานที่ชดั เจน

2. สถานศึกษามีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพกลุ่มบริหารที่มีความเหมาะสม ครอบคลุมทุกกลุ่มบริหาร
โดยยึดหลักการกระจายอำนาจและหลักธรรมาภิบาล พร้อมทั้งติดตามตรวจสอบการดำเนินงานของบุคลากร
แต่ละกลุ่มบริหารอย่างเป็นระบบ เกิดการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาได้ตามมาตรฐานการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศกึ ษา

3. สถานศึกษามุง่ พฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาใหเ้ ทยี บเคยี งมาตรฐานสากล และพัฒนาทกั ษะในศตวรรษท่ี
21 ให้แก่ผู้เรียน จัดหลักสูตรที่สนองนโยบายของรัฐ ได้แก่ กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ รายวิชาค้นคว้า
อิสระ (IS) สง่ ผลใหผ้ ู้เรยี นได้รบั การพัฒนาอย่างรอบดา้ นและเกิดบรรยากาศใหมๆ่ ในการเรียนรู้

4. ผูบ้ ริหารส่งเสริมใหบ้ ุคลากรพัฒนาตนเอง ได้แก่ การศึกษาตอ่ การท าผลงานทางวิชาการเพื่อให้เลื่อน
หรือมีวิทยฐานะสูงขึ้น การอบรมสัมมนาเพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสิทธิภาพในสายงาน ส่งผลให้ครูและ
บคุ ลากรมคี วามรคู้ วามเชย่ี วชาญในการปฏบิ ัติงานเพอื่ พัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา

5. ผู้บริหารให้ความสำคัญกับการพัฒนาอาคารสถานที่ ห้องเรียนคุณภาพ (ICT)แหล่งเรียนรู้ภายใน
โรงเรียน เพื่อใหผ้ เู้ รียนไดใ้ ช้ประโยชนอ์ ยา่ งเต็มที่

6. โรงเรียนได้จัดหา ปรับปรุงและพฒั นาระบบเครือข่ายเทคโนโลยสี ารสนเทศให้ครอบคลุม เพ่ือใชใ้ นการ
บริหารจดั การขอ้ มูล สง่ ผลใหส้ ถานศึกษามรี ะบบอนิ เทอร์เน็ตเพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รยี นไดใ้ ชศ้ ึกษาค้นควา้ เข้าถึง

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๖๙

แหล่งข้อมูลความรู้ได้อย่างทั่วถึงและบุคลากรสามารถเข้าถึงและเรียกใช้ข้อมูลสารสนเทศที่ต้องการได้ อย่าง
รวดเรว็ และทนั สมยั
3. จุดเดน่

โรงเรียนกีฬาอบจ.แพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์) กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ไว้อย่างชัดเจน
สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนตามความต้องการของชุมชน วัตถุประสงค์ของแผนพัฒนาการศึกษาชาติ
นโยบายของรัฐและต้นสังกัด ทันตอ่ การเปลยี่ นแปลงของสังคม ดาเนนิ การพัฒนางานวชิ าการเน้นคุณภาพของ
ผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา จัดกิจกรรมส่งเสริมและปลูกฝังให้ผู้เรียนเป็นทั้งคนเก่งและคนดี
พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความเชี่ยวชาญตรงตามความต้องการให้ส ามารถสร้างและพัฒนา
นวตั กรรมการเรยี นการสอน เปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ
4. จุดควรพัฒนา

การบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศภายในโรงเรียน เพื่อใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน
โดยบูรณาการข้อมูลให้สามารถใช้ในการบริหารจัดการงานทุกกลุ่มบรหิ ารของโรงเรียน ให้มีความเชื่อมโยงบน
ฐานขอ้ มูลเดยี วกนั เพ่ือลดความซ้าซ้อนของงาน
5. แนวทาง/แผนพฒั นาเพ่อื ใหไ้ ดม้ าตรฐานที่สงู ขน้ึ

1. แผนปฏิบัติงานท่ี ๑ พัฒนาการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้
การนิเทศการสอนและงานวจิ ัย

2. แผนปฏิบัติงานที่ ๒ พัฒนาระบบการจัดการข้อมูลสารสนเทศให้โรงเรียนให้มีความเชื่อมโยงกันทั้ง
โรงเรียน

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ
คณุ ภาพมาตรฐานที่ 3 อยู่ในระดบั ดเี ลศิ
1. วิธีการดำเนนิ การ

กระบวนการพัฒนาสถานศกึ ษาดำเนินการส่งเสริมให้ครจู ัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย
การดำเนินงาน/กิจกรรม ได้แก่ การปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนพอเพียงท้องถิ่น ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ และกิจกรรมตามนโยบายของกรมส่งเสริมการปกครอง
ทอ้ งถ่นิ ปรับโครงสร้างรายวชิ า หนว่ ยการเรยี นรสู้ นับสนุนใหค้ รูจดั การเรียน การสอนทีส่ รา้ งโอกาสให้นักเรียน
ทุกคนมสี ว่ นรว่ ม ได้ลงมือปฏิบตั ิจริงจนสรุปความรูไ้ ดด้ ว้ ยตนเอง จัดการเรียนการสอนและกจิ กรรมทเี่ น้นทักษะ
การคิด โดยใช้เครื่องมือการคิดต่างๆ จัดให้มีรายวิชาเพิ่มเติมตั้งแต่ระดับชั้น ม.1–ม.6 และจัดกิจกรรมตาม
ความต้องการของผู้เรยี น คือ กจิ กรรมกีฬาตามความถนดั จัดบรรยากาศตามสถานท่ีต่าง ๆ ทง้ั ภายในหอ้ งเรียน
และนอกห้องเรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ได้แก่ การจัดป้ายความรู้ต่างๆ ตามอาคารเรียนและอาคารประกอบ
ดูแลเขตพื้นที่ในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีกิจกรรมการฝึกซ้อมกีฬา
ตามความสนใจ เช่น ฟุตซอล ฟุตบอล แบดมินตัน วอลเลย์บอล และ เปตอง เป็นต้น ครูทุกคนทำวิจัยในช้ัน
เรียนอย่างน้อยปีการศึกษาละ ๑ เรื่องการดำเนินงานจากการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย
เพื่อพฒั นาการ จดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ ๗๐

2. ผลการดำเนนิ การ
1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ครูของทุก

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ทำการวิเคราะห์หลักสูตร โดยจัดทำบันทึกข้อตกลงพัฒนาคุณภาพการศึกษารายบุคคล
ระหว่างครูผู้สอนกับหัวหน้ากลุ่มสาระ และหัวหน้ากลุ่มสาระกับรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการและ
ผู้อำนวยการโรงเรียนตามลำดับ จัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการคิดและให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริงตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ประเมินได้จากการตรวจ
แผนการจัดการเรียนรู้ของทุกรายวิชา มีการนิเทศการสอนคิดเป็นร้อยละ 100 ทั้งภาคเรียนที่ 1 และภาค
เรียนท่ี 2 ครูมีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยสร้างความตระหนักและให้ความรู้
ผ่านกระบวนการประชุมชี้แจงในกลุ่มสาระการเรียนรู้ เอกสารเผยแพร่ความรู้ รวมถึงการอบรมพัฒนาครูให้
จัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ีมีโครงสร้างและองค์ประกอบครบตามทีส่ ถานศึกษากำหนดตามแบบวัดประเมิน
แผนการจัดการเรียนรแู้ ละนำไปสู่การปฏบิ ัตจิ ริงในห้องเรยี น นอกจากน้ี ครูได้เผยแพร่นวัตกรรมในการจัดการ
เรียนรู้แบบ Active Learning Web Page และ Website ของโรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่
(พัฒนาประชาอุปถัมภ์)เป็นการเผยแพร่และสรา้ งเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น

2. การใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ครูทุกกลุ่มสาระเรียนรู้จัดการ
เรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มีการใช้ Google classroom ใช้สื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย เพื่อให้
สอดคลอ้ งกบั ความเปน็ หอ้ งเรียนคณุ ภาพ

3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ครูจัดสภาพความพร้อมที่จะดำเนินการเรียนการสอนให้เป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพ มีการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล มีปฏิสัมพันธ์
เชิงบวกเพื่อให้เกิดประสิทธิผลในการเรียนรู้ ผู้เรียนมีความสุข ส่งผลให้นักเรียนนักการเรียนรู้ โดยครูเตรียม
และวางแผนการจัดการเรยี นการสอน จัดกจิ กรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลาย เพมิ่ แรงจงู ใจระหว่างเรียนรู้ด้วย
วิธีการต่าง ๆ ภายใต้การสนับสนุนของโรงเรียนในการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนไว้อย่างดี มีความ
สะดวกสบายอยา่ งมาก และอุปกรณด์ ้าน ICT ครบครัน รวมถึงการดำเนนิ งานของงานแนะแนว ทีใ่ ห้คำปรึกษา
และช่วยเหลือผู้เรียนทางด้านการเรียนและด้านพฤติกรรม มอบทุนการศึกษานอกจากนี้ยังมีการจัดกิจกรรม
พฒั นาผ้เู รยี น อย่างเป็นระบบและหลากหลาย

4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบครบทุกด้านทั้งการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลการ
ประเมินพฤติกรรมนักเรียน การประเมินความรูโ้ ดยการท าแบบทดสอบก่อนเรยี น ระหว่างเรียนและหลังเรียน
และนำผลการประเมินมาพัฒนานักเรียน คำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียน อีกทั้งยังมีการทำวิจัยในชั้นเรียน
เพื่อแก้ปัญหาการเรียนจัดการเรยี นการสอน สร้างเครื่องมือวัดผลและประเมินผลที่เหมาะสมกับเปา้ หมายของ
การเรยี นรู้

5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ครูมีการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยกระบวนการสรา้ งชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (PLC) การนิเทศช้นั เรียน และให้ข้อมูลสะท้อน
กลบั เพอื่ พัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรขู้ องครูทุกคน ทั้งน้ีเป็นผลมาจากการรวมกลุ่มของครูในรูปแบบ
ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ มีการประชุมแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นเกีย่ วกับปัญหาในการจัดการเรียนการสอน เพ่ือหา
แนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน เช่น โครงการบูรณาการลดภาระงานของผู้เรียนในแต่ละ
ระดับชั้น การให้คำปรึกษาเกีย่ วกับการใช้เทคโนโลยีในการจดั การเรียนรู้และการวางแผนการจัดการเรียนรู้ให้
สอดคล้องกับผู้เรียน นอกจากนั้นยังมีการนิเทศ กำกับ ติดตามจากเพื่อนครูและฝ่ายบริหาร ส่งผลให้ครูมีการ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๗๑

ช่วยเหลือแบ่งปัน และสร้างวัฒนธรรมองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยโรงเรียนจัดให้มีชั่วโมงสำหรับจัดกิจกรรม
ชมุ ชนชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและมีการนิเทศติดตามอย่างเปน็ ระบบ ครูมกี ารเผยแพร่นวัตกรรมใน
การจัดการเรียนรู้ แบบ Active Learning โดยโรงเรียนสนับสนุนช่องทางในการเผยแพร่นวัตกรรมผ่านทาง
เว็บไซต์ของโรงเรียน การเปิดโอกาสให้ครูนำนวัตกรรมไปเผยแพร่และสร้างเครือข่ายทั้งภายในและภายนอก
สถานศกึ ษา

3. จุดเดน่
จุดเดน่ ครใู ชเ้ ทคโนโลยี google classroom และ สอ่ื active learning อย่างหลากหลายมีความพยายาม
ในการปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยจดั กจิ กรรมใหน้ กั เรียนได้เรียนรู้ โดยการคิด ได้ปฏิบัติ
จริง มีการใช้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่อย่างคุ้มค่าส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนแสวงหา ความรู้จากส่ือ
เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง มีการแจ้งข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนำไปพัฒนาตนเอง และใช้วิธีการวัดผลตั้งแต่
๒ วธิ ขี ้ึนไป ผู้เรียนไดเ้ รยี นในส่ิงทตี่ นเองสนใจ หรอื มคี วามถนดั
4. จดุ ทค่ี วรพฒั นา
การส่งเสรมิ ใหค้ รูใช้กระบวนการวจิ ัยเพ่ือพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน และพัฒนาการจดั การเรียนรู้แก่
ผ้เู รยี นในรปู แบบการวจิ ยั
จากผลการประเมนิ ในแตล่ ะมาตรฐานสถานศึกษาได้ดำเนินการวางแผนในปีการศกึ ษาต่อไป
5. แผนพฒั นาเพ่อื ใหไ้ ด้มาตรฐานทสี่ ูงขึ้น

แผนปฏิบัติงานที่ ๑ เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ที่องค์การบริหารสว่ นจังหวัดแพร่ดำเนินการ
ในการพัฒนาผลสมั ฤทธแิ์ ละคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ของผเู้ รียน

แผนปฏบิ ัตงิ านที่ ๒ สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้ครูนำแผนการสอนคิดมาใชจ้ ัดการเรยี นการสอน
แผนปฏิบัติงานที่ ๓ ส่งเสริม สนับสนุน การส่งเด็ก และผู้เรียนเข้าแข่งขันทักษะทางวิชาการ
และรายการตา่ งๆ ทัง้ ในและตา่ งสังกดั
แผนปฏิบัติงานที่ ๔ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
และผู้เรียนอยา่ งหลากหลาย
แผนปฏิบัติงานที่ ๕ นิเทศ กำกับ ติดตาม การจัดประสบการณ์ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
และการจดั กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน เพื่อนำผลมาปรับปรงุ พัฒนาการจดั กจิ กรรมตา่ งๆ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ ๗๒

ส่วนที่ 3
Best Practices

ชอ่ื ผลงาน (Best Practices) : PHRAE MODEL FOR FUTSAL SPORT EXCELLENCE

คำสำคัญ PHRAE MODEL / FUTSAL SPORT EXCELLENCE

ปกี ารศกึ ษา 2563

1. บทนำ
โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ (พัฒนาประชาอุปถัมภ์) สังกัดองค์การบริหารส่วน

จังหวัดแพร่ จัดการเรียนแบบสหศึกษา ตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย มีเนื้อที่
ท้ังหมด 94 ไร่ มีอาคารเรียน อาคารประกอบที่พร้อมสำหรับการจัดการศกึ ษาสู่ความเป็นเลิศดา้ นกีฬา

องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่มีนโยบายที่จะพัฒนาโรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่
(พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ให้เป็นเลิศทางด้านกีฬา เพื่อสนับสนุนส่งเสริมเยาวชนให้ตระหนักถึงความสำคัญของ
การเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ และพัฒนาสู่การเล่นกีฬาเพื่ออาชีพ ตลอดจนเป็นการสร้างสรรค์สังคมมนุษย์ให้เป็น
สังคมแห่งการรกั ษาสุขภาพเพื่อการเป็นประชาชนไทย และพลเมืองโลกที่แข็งแรงสมบูรณ์ องค์การบริหารส่วน
จังหวัดแพร่ให้การสนับสนุนงบประมาณในรูปแบบต่างๆ เช่น การสร้างสนามกีฬา การจ้างผู้ฝึกสอนกีฬาชนิด
ต่างๆ การสรา้ งหอพกั อาหาร และอาหารเสรมิ (นม) คา่ ใชจ้ ่ายในการฝกึ ซอ้ ม การแข่งขนั ตลอดจนการพัฒนา
บุคคลอย่างต่อเนื่อง ทำให้โรงเรียนบริหารจัดการเรียนการสอนด้านกีฬาประสบความสำเร็จและได้รับรางวัล
ชนะเลิศในระดับต่างๆมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งกีฬาฟุตซอล เป็นหนึ่งในหลายประเภทกีฬาที่ประสบ
ความสำเรจ็ โดยที่ผ้ฝู กึ ซอ้ มมวี ธิ ีการ ขั้นตอนในการฝึกซ้อมทม่ี ีประสิทธิภาพ และประสทิ ธผิ ลจนเปน็ ท่ยี อมรับใน
กลมุ่ ผ้ฝู กึ ซอ้ มกีฬาฟุตซอล จากทกุ ภาคของประเทศไทย วิธกี ารและขัน้ ตอนดังกลา่ ว คือ PHRAE MODEL FOR
FUTSAL SPORT EXCELLENCE

2. ลักษณะสำคญั ของวิธีหรอื แนวปฏบิ ัตทิ เี่ ปน็ เลศิ
ลักษณะสำคัญของวิธีหรือแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศของ PHRAE MODEL FOR FUTSAL SPORT

EXCELLENCE มี 5 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) การกำหนดแบบผังการฝึกซ้อม และการกำหนดหัวข้อการ
ฝึกซ้อม 2) การเขียน Log Book หัวข้อการฝึกซ้อม และกำหนด Coaching Point 3) การฝึกซ้อมตาม
ระยะเวลา (Time line)4) การฝึกประสบการณ์และ 5) ประเมินการฝึกซ้อมและการแข่งขัน นอกจากการ
ฝึกซ้อม 5 ขั้นตอนแล้วความรับผิดชอบ ความมุ่งมั่นและการตรงต่อเวลาของผู้ฝึกซ้อม และฝึกกีฬามี
ความสำคัญอย่างย่งิ ทจี่ ะทำให้การฝึกซอ้ มเป็นไปตามขน้ั ตอน และการบรหิ ารเวลาไดอ้ ย่างลงตวั

วัตถปุ ระสงค์
๑. เพ่อื ใหน้ กั กฬี าตระหนัก และเหน็ คุณค่าของการเล่นกฬี าเพ่อื สุขภาพ รแู้ พ้ รู้ชนะ ร้อู ภัย
๒. เพ่ือพฒั นาการเล่นกฬี าฟตุ ซอลสู่ความเป็นกฬี าฟตุ ซอลอาชีพ
๓. เพือ่ พัฒนาโรงเรยี นตน้ แบบกับการฝกึ ซ้อมกฬี าให้กับสถานศึกษาหรือองค์กรอนื่ ๆ
๔. เพ่ือพัฒนาศกั ยภาพและจัดการศึกษาและการให้บริการทางการศกึ ษาขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัดแพร่

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ ๗๓

เปา้ หมาย
เชงิ ปริมาณ
1. โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ (พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ได้รับรางวัลชนะเลิศ

การแขง่ ขันกฬี าฟตุ ซอลระดบั ประเทศ อยา่ งนอ้ ย 1 ระดับการแข่งขนั
2. นักเรียนโรงเรยี นกีฬาองค์การบริหารส่วนจงั หวัดแพร่ (พัฒนาประชาอุปถมั ภ์) ร้อยละ 100

ไดร้ ับการฝกึ ซ้อมและได้รบั การพฒั นาด้านกฬี าอยา่ งตอ่ เน่ือง
3. โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ (พัฒนาประชาอุปถัมภ์) เป็นแหล่งเรียนรู้

ฝึกซ้อมใหก้ ับโรงเรียนประถมศกึ ษาในชมุ ชนอย่างน้อย 1 โรงเรยี น

3.ผลลพั ธ/์ ผลการดำเนนิ การ

ประเภท ระดบั รางวลั /ชอ่ื รางวัลท่ไี ดร้ ับ/วันทไี่ ดร้ ับ ผู้ควบคมุ ทมี หนว่ ยงานทจี่ ัด
ฟตุ ซอล
1. รางวัลรองชนะเลิศ อับดับ ๑ การแข่งขันกีฬา นายจกั รพงษ์ การกีฬาแห่ง
ประเทศไทย
Play Sat Game Futsal ครั้งท่ี 1 ประจำปี ๒๕๖๓ แกว้ กุมาร

ระหว่างวันท่ี ๑๒ ตุลาคม ถึง ๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๓ ณ นายพรชัย ออ่ นอทุ ัย

สนามกีฬามหาวิทยาลัยแมโ่ จ้วิทยาเขตแพร่ นายวศิ รุต ยะตาหิ

2.กีฬานักเรียน นักศึกษา แห่งชาติครั้งที่ 42 รอบ นายจกั รพงษ์

คัดเลือกเขตการแข่งขันกีฬาที่ 5 รางวัลรองชนะเลศิ แกว้ กุมาร การท่องเที่ยว
และกีฬาจังหวัด
ฟตุ ซอล อันดับ ๒ ประจำปี ๒๕๖๓ ระหว่างวันที่ ๒๓ นายพรชัย ออ่ นอทุ ัย พะเยา

ฟุตซอล สิงหาคม ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๖๓ ณ จังหวัดพะเยา กรมพลศกึ ษา
ฟุตซอล
กีฬาฟุตซอล รุ่นอายุไม่เกิน 18 ปี ชาย ได้รับรางวัล กรมพลศกึ ษา

รองชนะเลศิ อนั ดับ ๒

3.รางวัลเหรียญทองแดงรายการกีฬาระหว่าง นายทัชชัย รอดน้อย

โรงเรยี นส่วนกลาง(กีฬากรมพลศกึ ษา ประเภท ข)

4.รายการกีฬานกั เรียนนกั ศึกษาจังหวัดแพร่ นายทชั ชัย รอดน้อย

รุ่น 15ปี รางวลั ชนะเลศิ

รุน่ 18ปี รางวลั ชนะเลิศ

หน่วยงานท่ีจัด ท่องเทยี่ วและกฬี าจังหวัดแพร่

4.ปัจจยั เกอ้ื หนนุ /ปจั จยั แห่งความสำเรจ็
4.1 องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ มีนโยบายที่ชัดเจนโดยให้โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วน

จังหวัดแพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์) เป็นโรงเรียนที่ส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีฬาและให้การสนับสนุน
งบประมาณอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

4.2 รูปแบบบริหารสถานศึกษาที่ชัดเจน สนับสนุน ส่งเสริมให้การจัดการเรียนการสอนด้านกีฬา

เน้นรปู ธรรม นำสกู่ ารปฏิบตั ไิ ดส้ อดคลอ้ งกบั หลกั สตู รและศกั ยภาพของผเู้ รยี น

4.3 ผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ตระหนกั และมีส่วนร่วม (Share Value) ในการทำงาน

รว่ มกนั ให้สำเรจ็

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ ๗๔

4.4 การสนับสนุนของชุมชน ผู้ปกครอง หน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน ได้ ให้

ความสำคัญและชว่ ยเหลืออยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

4.5 การทำงานแบบมสี ว่ นร่วมจากทกุ ภาคสว่ น ทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผล

4.6 การกำหนดบทบาทหน้าที่ของบุคลากรมคี วามชัดเจนนำสกู่ ารปฏิบตั ิใหเ้ ป็นรปู ธรรม

4.7 ผฝู้ กึ ซ้อมนกั เรียนมศี กั ยภาพและความสนใจดา้ นกีฬา

4.8 สภาพแวดล้อมทเี่ อื้ออำนวยต่อการพัฒนาศกั ยภาพผเู้ รยี น

เชงิ คณุ ภาพ
1. โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารสว่ นจังหวัดแพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์) มีความพร้อมทั้ง 4 M ได้แก่

Man = บคุ ลากร Money = งบประมาณ Material = วสั ดุอปุ กรณ์ และManagement = การบรหิ ารองคก์ ร
ทดี่ ี

2. ชุมชน ผู้ปกครอง และหน่วยงานต้นสังกัด ยอมรับในการจัดการศึกษาและสามารถเผยแพร่ต่อ
สาธารณะชนได้

3. แนวทาง/ขั้นตอนการดำเนินงาน/Flow Chart แนวทางขั้นตอนและ Flow Chart ของ PHRAE
MODEL FOR FUTSAL SPORT EXCELLENCE มี 5 ขั้นตอน ดงั น้ี

ขั้นตอนที่ 1 P (PLANING) หมายถึง การกำหนดระยะการฝึกซ้อมและกำหนดหัวข้อการฝึกซ้อม
ขั้นตอนที่ 2 H (RE-HEARSAL) หมายถึง การเขียน LOG BOOK ในการฝึกซ้อมและกำหนดประเด็น
การฝึกซอ้ ม (COACHING POINT)
ข้ันตอนท่ี 3 R (Re-Anage) หมายถึง การฝกึ ซอ้ มแบบซำ้ ๆ ตามกำหนดเวลา (Timeline) โดยใช้เวลา
2 ช่ัวโมงดงั น้ี

3.1 Warm-Up (การอบอุ่นร่างกาย 10 นาที
3.2 Basical Practice (การฝกึ ทกั ษะพืน้ ฐาน 30 นาที)
3.3 Advance Practice (การฝกึ ทักษะขน้ั สูง 30 นาท)ี
3.4 Real Play (การลงเล่นเกมจรงิ 30 นาท)ี
3.5 Observation and Improvement (การสงั เกตและการแก้ไขปรบั ปรุง 5 นาท)ี
3.6 Cool Down (การผอ่ นคลายกลา้ มเนือ้ 10 นาท)ี
3.7 Gesture Review (อิรยิ าบถทบทวน 5 นาท)ี
ขั้นตอนที่ 4 A (Acting for Experience) การฝึกซ้อมเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับทีมอื่น มี 2
รูปแบบ ได้แก่
4.1 การลงทมี
4.2 การเข้าร่วมการแข่งขนั
ขั้นตอนที่ 5 E (Evaluation) การประเมินการฝึกซ้อมและประเมินการแข่งขันโดยประเมิน 2 ประเด็น ได้แก่
๕.1Strengthnestประเมนิ จดุ แขง็
๕.2Wearenessการประเมินจุดออ่ น
๕.๓ Self Studyศึกษาการเลน่ ของตนเอง
๕.4Rival Study ศึกษาการเลน่ ของคู่ตอ่ สู้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า๗๕

PHRAE MODEL FOR FUTSAL SPORT EXCELLENCE
FUTSAL SPORT EXCELLENCE

PHRAE

P RE
H A

Planing (Re) Anagement Evaluation
การวางแผน การฝึกซำ้ ๆ
การประเมินการ
- Warm up ฝกึ ซอ้ มและการ
- Basical Practice ประเมินการแข่งขนั
- Advance Practice
- Real Play
- Observatiuon and
Improvement
- Cool down
- Gesture Review

(Re) Hearsal Practice Acting for Experience
การฝกึ ตาม Log Book
การลงแขง่ เพ่ือหา
ประสบการณ์

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๗๖

3.ผลลัพธ์/ผลการดำเนินการ

ประเภท ระดบั รางวัล/ชื่อรางวัลท่ไี ด้รบั /วนั ทไี่ ด้รับ ผคู้ วบคมุ ทมี หน่วยงานทจ่ี ัด
ฟุตซอล 1. รางวัลรองชนะเลิศ อับดับ ๑ การแข่งขัน นายจกั รพงษ์
กฬี า Play Set Game Futsal ครั้งที่ 1 ประจำปี แก้วกมุ าร การกีฬาแหง่
๒๕๖๓ ระหว่างวันที่ ๑๒ ตุลาคม ถึง ๑๓ นายพรชัย อ่อนอุทยั ประเทศไทย
ตุลาคม ๒๕๖๓ ณ สนามกีฬามหาวิทยาลัยแม่ นายวศิ รตุ ยะตาหิ
โจ้วทิ ยาเขตแพร่

ฟุตซอล 2.กีฬานักเรียน นักศึกษา แห่งชาติครั้งที่ 42 นายจักรพงษ์ การท่องเที่ยว
ฟตุ ซอล รอบคัดเลือกเขตการแข่งขันกีฬาที่ 5 รางวัล แกว้ กมุ าร และกีฬาจังหวัด
ฟุตซอล รองชนะเลิศ อันดับ ๒ ประจำปี ๒๕๖๓ นายพรชัย อ่อนอทุ ยั พะเยา
ระหว่างวันท่ี ๒๓ สิงหาคม ถึง ๓๐ กันยายน
๒๕๖๓ ณ จังหวัดพะเยา กีฬาฟุตซอล รุ่นอายุ กรมพลศกึ ษา
ไม่เกิน 18 ปี ชาย ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ
อนั ดบั ๒ กรมพลศึกษา
3.รางวัลเหรียญทองแดงรายการกีฬาระหว่าง นายทัชชัย รอดน้อย
โรงเรียนส่วนกลาง(กีฬากรมพลศึกษา ประเภท
ข)
4.รายการกฬี านักเรยี นนกั ศึกษาจังหวัดแพร่ นายทชั ชยั รอดน้อย
รุ่น 15ปี รางวัลชนะเลิศ
รนุ่ 18ปี รางวัลชนะเลิศ
หน่วยงานท่จี ัด ทอ่ งเท่ียวและกีฬาจังหวัดแพร่

4.ปัจจยั เก้อื หนนุ /ปจั จยั แห่งความสำเร็จ
4.1 องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ มีนโยบายที่ชัดเจนโดยให้โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วน

จังหวัดแพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์) เป็นโรงเรียนที่ส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีฬาและให้การสนับสนุน
งบประมาณอย่างตอ่ เนอ่ื ง

4.2 รูปแบบบริหารสถานศึกษาที่ชัดเจน สนับสนุน ส่งเสริมให้การจัดการเรียนการสอนด้านกีฬา
เนน้ รปู ธรรม นำสกู่ ารปฏิบตั ไิ ดส้ อดคลอ้ งกบั หลกั สูตรและศักยภาพของผเู้ รียน

4.3 ผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ตระหนกั และมสี ว่ นร่วม (Share Value) ในการทำงาน
รว่ มกนั ให้สำเร็จ

4.4 การสนับสนุนของชุมชน ผู้ปกครอง หน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน ได้ ให้
ความสำคญั และชว่ ยเหลืออย่างต่อเนือ่ ง

4.5 การทำงานแบบมสี ว่ นร่วมจากทกุ ภาคส่วน ทมี่ ีประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล
4.6 การกำหนดบทบาทหนา้ ท่ีของบุคลากรมีความชัดเจนนำสู่การปฏิบตั ิใหเ้ ปน็ รูปธรรม

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๗๗

4.7 ผฝู้ ึกซ้อมนักเรียนมศี ักยภาพและความสนใจด้านกีฬา

4.8 สภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ อำนวยต่อการพฒั นาศกั ยภาพผเู้ รียน
5. แนวทางการพัฒนาที่ย่งั ยืน

5.1 ความต่อเนือ่ งของนโยบาย และการสนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัด ชุมชนและผู้ปกครอง
5.2 อุดมการณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียนและผู้ปกครองที่
ตระหนักในความสำคญั ของกีฬาและภาพอนาคตของผเู้ รียน
5.3 การพัฒนาการศึกษาสู่การเป็นสถานศึกษาต้นแบบและย่ังยนื ด้านกีฬา โดยการมีส่วนร่วมจากทุก
ภาคสว่ น
5.4 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้เป็นหลักสูตรสถานศึกษาที่ส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีฬาท่ี
หลากหลาย
5.5 ระดมทรัพยากรบคุ คลที่เช่ียวชาญดา้ นกฬี า ให้มีส่วนรว่ มในการบริหารจัดการการศกึ ษา

6. การเป็นต้นแบบตอ่ หนว่ ยงานอนื่ ๆการขยายผลและหรอื แนวทางท่ีไดร้ ับ
6.1 ให้ความช่วยเหลือด้านบุคลากรและสถานที่ในการฝึกซ้อมในชุมชนและโรงเรยี นประถมศึกษาใน

ชุมชน
6.2 นำผลงานไปจัดนทิ รรศการการแลกเปลี่ยนเรยี นรกู้ บั สถานศกึ ษาและหนว่ ยงานอ่ืน
6.3 นำเสนอผลการวิจยั ในชน้ั เรียนในงานมหกรรมศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียนท้องถิน่ ระดับประเทศ
6.4รางวัลชนะเลิศ รองชนะเลิศ กีฬาฟุตซอล ทั้งระดับจังหวัด ระดับภาคและระดับประเทศในปี

2562

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๗๘

ผลงานดเี ดน่ ในรอบปีทผี่ า่ นมา

ผลงานดเี ด่นทางด้านกีฬา

ประเภท ระดบั รางวัล/ช่อื รางวลั ท่ีได้รบั /วันทไ่ี ดร้ บั ผู้ควบคมุ ทมี หนว่ ยงานทจ่ี ัด
ฟตุ ซอล
1. รางวลั รองชนะเลิศ อับดบั ๑ การแขง่ ขนั นายจกั รพงษ์ การกีฬาแห่ง
ฟตุ ซอล ประเทศไทย
ฟตุ ซอล กีฬา Play Set Game Futsal ครงั้ ท่ี 1 แก้วกุมาร
ฟตุ ซอล
ประจำปี ๒๕๖๓ ระหวา่ งวันที่ ๑๒ ตลุ าคม ถึง นายพรชัย อ่อนอุทยั

๑๓ ตลุ าคม ๒๕๖๓ ณ สนามกฬี ามหาวทิ ยาลัย นายวศิ รุต ยะตาหิ

แม่โจว้ ิทยาเขตแพร่

2.กีฬานกั เรียน นกั ศกึ ษา แห่งชาติครั้งท่ี 42 นายจักรพงษ์ การท่องเที่ยว
รอบคดั เลือกเขตการแขง่ ขันกีฬาท่ี 5 รางวัล แก้วกุมาร และกีฬาจงั หวัด
รองชนะเลิศ อันดบั ๒ ประจำปี ๒๕๖๓ นายพรชยั ออ่ นอุทยั พะเยา
ระหว่างวันท่ี ๒๓ สงิ หาคม ถงึ ๓๐ กันยายน
๒๕๖๓ ณ จังหวดั พะเยา กีฬาฟุตซอล รุ่นอายุ นายทชั ชยั รอดน้อย กรมพลศกึ ษา
ไมเ่ กนิ 18 ปี ชาย ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ
อนั ดบั ๒ นายทัชชยั รอดนอ้ ย กรมพลศกึ ษา

3.รางวัลเหรียญทองแดงรายการกีฬาระหว่าง
โรงเรียนส่วนกลาง(กีฬากรมพลศึกษา ประเภท
ข)

4.รายการกีฬานักเรยี นนกั ศึกษาจังหวดั แพร่
รุน่ 15ปี รางวลั ชนะเลิศ
รนุ่ 18ปี รางวัลชนะเลศิ
หนว่ ยงานท่จี ดั ทอ่ งเท่ยี วและกฬี าจังหวัดแพร่

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ ๗๙

สว่ นท่ี 4
ภาคผนวก

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๘๐

วันพฤหัสบดี ท่ี 23 กรกฎาคม 2563 โรงเรียนกฬี าองค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั แพร่
(พฒั นาประชาอุปถัมภ์) จัดกิจกรรมพิธีไหว้ครู ประจำปีการศึกษา 2563

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๘๑

วันท่ี 23 กรกฎาคม 2563 ผบู้ ริหาร ข้าราชการครู บุคลากรทางการศึกษา และนกั เรียน โรงเรยี น
กฬี าองค์การบริหารสว่ นจังหวัดแพร่(พัฒนาประชาอปุ ถัมภ)์ รว่ มกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ

พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว เน่ืองในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั
28 กรกฎาคม 2563

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ ๘๒

วนั ท่ี 30 กรกฎาคม 2563 ดร. พงษ์ไทย บัววดั ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนกฬี าองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดแพร่ (พฒั นาประชาอปุ ถมั ภ์) พร้อมดว้ ยนางสาวปวีณา ใจกระเสน รองผู้อำนวยการ
สถานศึกษา และหัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรไู้ ด้ใหก้ ารตอ้ นรบั คณะศกึ ษานิเทศก์ จากสำนักงาน

ศึกษาธิการจังหวดั แพร่ และกองการศึกษาศาสนา และวฒั นธรรม องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัดแพร่ นำโดย
นางสาวณฐั มน สุดแดน นกั บรหิ ารการศึกษา องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดแพร่ ในการนเิ ทศ ตดิ ตาม และ
ประเมนิ ผลการบรหิ ารจดั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐานในระดับจงั หวดั แพร่ PHRAE M-ICT (plus) Coaching

Model ตามโครงการ Coaching Teams เพ่อื ยกระดับคณุ ภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2563

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า๘๓

วนั ท่ี 30 กรกฎาคม 2563 โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจงั หวัดแพร่(พัฒนาประชาอปุ ถัมภ์)
จดั กิจกรรมเน่ืองในวนั เฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ประจำปี 2563 โดยให้
ลูกเสือ ยวุ กาชาด ผู้บังคบั บัญชาลกู เสอื ผูน้ ำยวุ กาชาด ตลอดจนสมาชกิ ผ้บู ำเพญ็ ประโยชน์ จัดกจิ กรรม
บำเพญ็ ประโยชนเ์ พ่ือถวายเป็นพระราชกุศล ภายใต้ชือ่ การจัดงาน ลกู เสอื รวมใจ เทิดไท้องค์ราชนั

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๘๔

โรงเรียนกฬี าองค์การบริหารสว่ นจังหวดั แพร่(พฒั นาประชาอปุ ถมั ภ)์ จัดกจิ กรรมถวายพระพรชัย
มงคลแด่ สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปหี ลวง
และกจิ กรรมวันแม่แหง่ ชาติ 12 สิงหาคม

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า๘๕

วันที่ 12 กนั ยายน 2563 นายทชั ชยั รอดนอ้ ย รองผู้อำนวยการสถานศกึ ษา
เปิดงานกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น : ค่ายวิชาการ โดยไดจ้ ดั กิจกรรมแบ่งเปน็ ฐานความรู้ภาษาไทย

ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน จากวิทยากรเจา้ ของภาษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๘๖

วันท่ี 16 กนั ยายน 2563
โครงการพัฒนาการจดั การศกึ ษาโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาทอ้ งถิ่น (School Based
Management for Local Development : SBMLD) กจิ กรรมอบรมการผลติ ชาสมุนไพรตะไคร้
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ณ อาคารอเนกประสงค์โรงเรยี นกีฬาองค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดแพร่

(พฒั นาประชาอปุ ถมั ภ์)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๘๗

วนั ที่ 17 กนั ยายน 2563
โครงการพฒั นาการจัดการศึกษาโดยใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐานในการพัฒนาทอ้ งถนิ่ (School Based
Management for Local Development : SBMLD) กจิ กรรมอบรมการผลิตชาสมุนไพรตะไคร้
ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โดยมวี ทิ ยากรจากชุมชนตำบลทุ่งแคว้ มาถ่ายทอดความรู้ ดา้ นการปลูก

การวางแผน การตลาดและการแปรรูปสมุนไพร
ณ อาคารอเนกประสงคโ์ รงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจงั หวัดแพร่(พัฒนาประชาอปุ ถมั ภ)์

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ ๘๘

วนั ที่ 18 กันยายน 2563
โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารสว่ นจงั หวดั แพร(่ พฒั นาประชาอปุ ถมั ภ)์ จดั กิจกรรม ทำความดี
ร่วมบญุ จิตอาสาพัฒนาวัด ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ณ พระธาตุตงุ คำ และช้นั มธั ยมศึกษาตอน
ปลาย ณ วัดท่งุ แค้ว ประจำปีการศึกษา2563 โดยการจดั กจิ กรรมคร้ังน้ี เพ่ือปลูกฝงั การทำ

ความดีของนกั เรยี น ทำให้วดั มสี ภาพแวดล้อมทด่ี ี

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า๘๙

วันพุธ ที่ 14 ตุลาคม 2563 นายพงษ์ไทย บัววดั ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นกีฬาองคก์ ารบริหารสว่ น
จงั หวดั แพร่(พัฒนาประชาอุปถมั ภ)์ นำขา้ ราชการครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา และนกั เรยี น ร่วมพิธีวาง

พวงมาลาและพธิ ีถวายบงั คมเบอื้ งหนา้ พระบรมฉายาลกั ษณ์
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร

ณ โรงเรยี นกีฬาองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัดแพร่(พฒั นาประชาอปุ ถัมภ์)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ ๙๐

วนั ท่ี 22 ตุลาคม 2563 ผู้บรหิ าร ข้าราชการครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรยี น
รว่ มกิจกรรมน้อมรำลึกเน่ืองในวนั คลา้ ยวันสวรรคตพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั

พธิ วี างพวงมาลา ณ อาคารอเนกประสงค์โรงเรียนกฬี าองค์การบริหารสว่ นจังหวัดแพร่
(พฒั นาประชาอุปถัมภ์)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า๙๑

วันศกุ ร์ ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๖๓ ผู้บรหิ าร ขา้ ราชการครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียน
โรงเรียนกฬี าองค์การบริหารสว่ นจงั หวัดแพร่ (พฒั นาประชาอุปถมั ภ)์ จัดกจิ กรรมถวายพระ
ราชกศุ ล พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
เนอ่ื งในโอกาสวนั คล้ายวันพระบรมราชสมภพ ๕ ธนั วาคม ๒๕๖๓ ณ หอประชุมโรงเรียนกฬี า

องค์การบริหารสว่ นจงั หวดั แพร่ (พฒั นาประชาอปุ ถัมภ)์

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๙๒

การแขง่ ขนั กรีทานกั เรียนมธั ยมศกึ ษาจังหวัดแพร่ ประจำปีงบประมาณ 2564
ระหวา่ งวันท่ี 22 ธันวาคม 2563 ณ สนามกฬี าองค์การบริหารส่วนจงั หวัดแพร่

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ ๙๓

กิจกรรมวันครสิ ตมาส 25 ธันวาคม 2563

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๙๔

กจิ กรรมทำบญุ ตักบาตรข้าวสาร อาหารแหง้ เนื่องในวนั ขึ้นปีใหม่ พ.ศ. 2564

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า๙๕

กจิ กรรมเดนิ ทางไกลและการอยูค่ า่ ยพกั แรม ลูกเสอื -ยวุ กาชาด ประจำปกี ารศึกษา 2563
วันที่ 10-11 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

ณ คา่ ยลกู เสือชั่วคราวโรงเรยี นกีฬา อบจ.แพร่ (พัฒนาประชาอุปถมั ภ์)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า๙๖

วันที่ 9 มีนาคม 2564 โครงการโรงเรียนพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา
จดั กจิ กรรมอบรมให้ความรเู้ ก่ียวกับการดำรงชวี ิตพอเพียงการเย็บหนา้ กากอนามัย

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า๙๗

คณะทำงาน

๑. นายพงษ์ไทย บัววัด
๒. นางสาวปวณี า ใจกระเสน
๓. นายธัชชัย รอดน้อย

ผูร้ ับผดิ ชอบงานประกันคุณภาพของโรงเรยี น

๑. นางสาวปวีณา ใจกระเสน
๒. นายผดุง บญุ ชมุ
๓. นางสุกานดา ลาวัณยศ์ ลิ ป
๔. คณะครูบุคลากรโรงเรยี นกฬี า อบจ.แพร(่ พฒั นาประชาอุปถัมภ์)

คณะกรรมการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา
๑. ผู้บรหิ าร คณะครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
๒. คณะกรรมการสถานศึกษา

คณะผจู้ ดั ทำเอกสาร
๑. นางสาวปวณี า ใจกระเสน
๒. นายธีระพงษ์ จันทรย์ าง
๒. นายผดงุ บญุ ชุม
๓. นางสุกานดา ลาวัณยศ์ ลิ ป
๔. นางเพญ็ ศิริ จันทวาด
5. นางสาวจีรพรรณ คำปวง


Click to View FlipBook Version