The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KruJayPhysics, 2019-07-24 23:50:42

รายงานผลการดำเนินโครงการพัฒนาสื่อนวัตกรรม เทคโนโลยี วิจัย และสารสนเทศ ปีการศึกษา 2560

ReportProject60

Geometer’s Sketchpad (GSP) เร่ือง การแปลงทางเรขาคณิต ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมาบ
ตาพุดพันพิทยาคาร อาเภอเมือง จังหวัดระยอง เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้นักเรียนมี
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีสูงข้ึน มีความรู้ความเข้าใจ เกิดการรับรู้ความรู้ที่มีความหมาย เกิดความ
เช่อื ม่นั ในการคิด เรียนรอู้ ย่างเขา้ ใจและสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ได้

2. วตั ถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพอ่ื เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของวชิ าคณติ ศาสตร์ เร่ือง การแปลงทางเรขาคณิต ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรม The
Geometer’s Sketchpad (GSP)
2. เพ่อื สรา้ งสื่อการสอน โดยใชโ้ ปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) เรอื่ ง การแปลงทาง
เรขาคณติ

3. ประชากร/กลุ่มตัวอยา่ ง
1. ประชากร
ประชากรท่ีใชใ้ นการศึกษาคน้ ควา้ ได้แก่ ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาคร้งั นีเ้ ปน็ นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษา
ปที ี่ 2 โรงเรยี นมาบตาพุดพนั พทิ ยาคาร อาเภอเมอื ง จงั หวัดระยอง จานวน 6 หอ้ งเรียน ไดแ้ ก่ ม.2/3
ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 และ ม.2/12
2. กลุ่มตวั อยา่ ง
กล่มุ ตวั อย่างท่ีใช้ในการศึกษาคน้ ควา้ ไดแ้ ก่ กลมุ่ ตัวอยา่ งเป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรยี น
มาบตาพุดพันพิทยาคาร อาเภอเมือง จังหวดั ระยอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จานวน 1
หอ้ งเรียน ได้มาจากการสมุ่ อย่างง่าย (Cluster random sampling) มีขัน้ ตอนในการสมุ่ ตวั อย่างดังน้ี
ขั้นท่ี 1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีทั้งหมด 6 ห้องเรียน ดังน้ันแบ่งนักเรียนออกเป็น 6 กลุ่มย่อย
ไดแ้ ก่ นักเรียนชั้น ม.2/3, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9 และ ม.2/12
ขั้นท่ี 2 ทาการสุ่มกลุ่มย่อยโดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Sample random sampling) ดังนี้ เขียน
หมายเลขห้อง ม.2/3, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9 และ ม.2/12 ลงในกระดาษ แล้วใส่ในกล่องเพื่อ
ทาการจับฉลาก
ขั้นที่ 3 จากนนั้ ทาการหยบิ หมายเลขห้อง ได้นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2/6 เปน็ กลมุ่ ตวั อยา่ งในการ
วิจยั ใหน้ ักเรยี นทุกคนในหอ้ งท่ีสุ่มได้เป็นกลุ่มตวั อย่าง

4. เคร่อื งมือท่ใี ช้ในการวจิ ัย/นวัตกรรม
เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการวิจยั คร้ังน้ีมี 2 ชนิด คือ เครื่องมือท่ีใชใ้ นการทดลองและเคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการเก็บ
รวบรวมข้อมูล โดยมีรายละเอียดดังน้ี

1. เคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการทดลอง ได้แก่ แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้โดยใชโ้ ปรแกรม The

Geometer’s Sketchpad (GSP) เรื่อง การแปลงทางเลขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 วิชา

คณิตศาสตร์ จานวน 10 แผนการจัดการเรียนรู้ ทงั้ หมด 10 ชัว่ โมง

2. เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ได้แก่ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น

คณติ ศาสตร์ เรื่อง การแปลงทางเลขาคณิต วิชาคณิตศาสตร์

5. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
1. เตรียมเครื่องมือ ได้แก่ สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง การแปลง
ทางเลขาคณิต วิชาคณิตศาสตร์ สร้างแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรม The
Geometer’s Sketchpad (GSP) เร่ือง การแปลงทางเลขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 วิชา
คณติ ศาสตร์ จานวน 10 แผนการจัดการเรียนรู้ ทง้ั หมด 10 ช่ัวโมง
2. ทดสอบก่อนเรียน และดาเนินการสอนตามแผนการสอนที่สรางขึ้น โดยทดลองสอนท้ังหมด 10
คาบ ทดสอบหลังเรียนกับนักเรียน โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ เร่ือง
การแปลงทางเลขาคณติ วิชาคณิตศาสตร์ที่ผวู้ ิจัยสรา้ งข้นึ
3. หลังจากเสรจ็ สนิ้ การทดลองตรวจแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน แลว้ นาคะแนนทไี่ ด้มา
วิเคราะหโ์ ดยใชว้ ิธที างสถติ ิเพื่อการทดสอบสมมตฐิ าน

6. การวิเคราะหข์ ้อมูล/สถิติท่ีใชใ้ นการวจิ ัย
การวเิ คราะหข์ ้อมูล
1. นาคะแนนที่ได้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) มาวิเคราะห์หาค่า
รอ้ ยละ (%) ค่าเฉลยี่ เลขคณติ และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.)
2. การเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของวชิ าคณิตศาสตร์ เรอ่ื ง การแปลงทางเรขาคณิต
ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรม The
Geometer’s Sketchpad (GSP) โดยใชก้ ารทดสอบค่าที (t-test for dependent samples)
ตาราง ผลการวเิ คราะห์คะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรยี นและหลังเรียน ท่ไี ดร้ ับการสอน โดย
ใชโ้ ปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP)
สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู
1. สถติ ิพ้ืนฐาน
1.1 ค่าเฉล่ีย
1.2 คา่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

1.3 คา่ รอ้ ยละ

7. ผลการวจิ ัย
การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) เรอ่ื ง การแปลง
ทางเรขาคณิต ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2 ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้

1. นักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 มผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวชิ าคณติ ศาสตร์ เรื่องการแปลง

ทาง

เรขาคณติ หลงั การจัดกิจกรรมการเรยี นร้สู ูงกวา่ กอ่ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยเฉลีย่ รอ้ ยละ
39.35

8. อภิปรายผลการวจิ ัย
จากการใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) เรื่อง
การแปลงทางเรขาคณิต ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 สามารถอภิปรายผลการศกึ ษาคน้ ควา้ ได้ดังนี้

การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ เร่ือง การแปลงทางเรขาคณิต ช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม The Geometer’s
Sketchpad (GSP) พบว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน มีคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลัง
เรียนสูงกว่าก่อนเรียน การที่ผลการวิจัยเป็นเช่นน้ี แสดงให้เห็นว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้
โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) ทาให้นักเรียนมีการพัฒนา มีความกระตือรือร้นใน
การทากิจกรรมต่างๆ เป็นอย่างดี รวมท้ังเข้าใจในเนื้อจากการใช้ส่ือการสอนทม่ี องเห็นการเคล่ือนทไี่ ด้
อย่างชัดเจน และเข้าใจ รวมท้ังยังส่งผลให้นักเรียนมีความสุขในการเรียน เป็นไปตามงานวิจัยของ
มณฑาทิพย์ ยอดบุตรด (2559) ท่ีพบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการแปลง
เรขาคณิต ของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังได้รับการสอนโดยโปรแกรม GSP สูงกว่าก่อนได้รบั
การสอนโดยโปรแกรม GSP อยา่ ง มีนยั สาคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ .05

9. ขอ้ เสนอแนะ
ควรนาวธิ ีการสร้างส่อื โดยใชโ้ ปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) ไปใช้กับเรือ่ งอนื่ ๆ

รายงานการวิจัยในชนั้ เรียน
โรงเรียนมาบตาพุดพันพทิ ยาคาร ปกี ารศึกษา 2560

ชื่อเรอ่ื ง การพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนวชิ าภาษาอังกฤษพื้นฐาน 4 ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปี
ที่ 2/3 โดยการใช้ชุดฝกึ Present Perfect
ชือ่ ผู้วจิ ยั นางสาวมนัชญา มาตยา
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาต่างประเทศ
รายวชิ า ภาษาอังกฤษพน้ื ฐาน 4 รหสั วิชา อ22102 ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปที ่ี 2

1. ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา
ในปัจจุบัน ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่ใช้กันอยู่ท่ัวโลก ไม่ว่าจะใช้ในการติดต่อสื่อสารในชีวิตประ
จาวัน ในด้านธุรกิจการค้าและการท่องเท่ียว และในปี พ.ศ.2558 ประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นหนึ่ง
สมาชิกสมาชิกประชาคมอาเซียน หรือ AEC (Asean Economics Community) ร่วมกับประเทศใน
เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ อกี 9 ประเทศ ไดแ้ ก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย บรูไน พม่า ลาว เวียดนาม ฟิลิปปนิ ส์
อินโดนีเซีย และกัมพูชา โดยมีเป้าหมายเพ่ือสร้างความเป็นปึกแผ่น และสร้างอานาจต่อรองทางด้าน
การค้าทางเศรษฐกิจในเวทีการค้าโลกได้อย่างเข้มแข็งมากยิ่งข้ึน โดยได้กาหนดให้ภาษาอังกฤษ เป็น
ภาษากลางในการติดต่อส่ือสาร ดังนน้ั หากผู้เรียนมที กั ษะและความสามารถในการใช้ภาษาองั กฤษท้ัง
ส่ีทักษะ คอื ทักษะการพดู การฟงั การอ่าน และการเขียน ผู้เรยี นจะมีขอ้ ได้เปรยี บท้งั ทางด้านการเรียน
การศึกษาตอ่ หรอื การทางานมากยง่ิ ขน้ึ
ทางผูว้ จิ ยั ได้เลง็ เหน็ ถงึ ความสาคญั ของภาษาอังกฤษ จึงไดจ้ ดั การเรียนการสอน โดยเนน้ ใหผ้ ู้เรยี นไดใ้ ช้
ทักษะพูด ฟัง อ่าน และเขียนขั้นพื้นฐาน และจากการท่ีผู้วิจัยได้สอนวิชาภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน แก่
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 และจากการสังเกตในชั้นเรียน พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ยังขาด
ทักษะในเร่ืองการใช้ประโยค Present Perfect โดยผู้เรียนยังไม่สามารถประยุกต์ใช้ประโยคจาก
โครงสร้างของไวยากรณ์เรื่อง Present Perfect ได้ โดยส่วนใหญ่ไม่สามารถเปลี่ยนกริยาช่อง 1 เป็น
ช่อง 3 ได้ เนอ่ื งจากไมส่ ามารถจดจาหรือแยกประเภทของคากรยิ าปรกติ (regular verbs) และ กริยา
อปรกติ (irregular verbs) ได้ หรือไม่สามารถระบุประธานในประโยคได้ว่าเป็นรูปเอกพจน์หรือรูป
พหพู จน์ ซง่ึ จะเป็นปัญหาในการเรียนในระดบั ท่ีสูงข้ึน
จากสาเหตดุ ังกล่าว ผู้วิจยั จงึ พยายามแก้ปญั หาด้วยการสรา้ งชุดฝึก Present Perfect Tense ข้นึ แลว้
นามาใช้ในการเรียนการสอน ทง้ั นี้ เพื่อใหผ้ ู้เรยี นสามารถประยุกต์ใชโ้ ครงสรา้ งไวยากรณ์ของ Present
Perfect ได้ อีกทั้งยังสามารถทาแบบฝึกหัดท่ีมอบหมายให้ได้อย่างถูกต้อง เพ่ือจะให้ผู้เรียนมีพ้ืนฐาน
ภาษาอังกฤษทด่ี แี ละสามารถนาไปเรยี นใช้ในการเรียนระดับท่สี งู ขึ้นได้
2. วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย

1. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของนักนักเรียนในการเรียนเรื่อง Present Perfect Tense ก่อนและ
หลังการสอน โดยการใชช้ ดุ ฝกึ Present Perfect
2. เพอ่ื ศกึ ษาประสทิ ธภิ าพของชดุ ฝกึ Present Perfect Tense โดยการใชค้ า่ t-test เพอื่ เปรยี บเทียบ
ผลการพัฒนาก่อนและหลงั การใชช้ ดุ ฝึก Present Perfect

3. ประชากร/กลุ่มตัวอยา่ ง
1. ประชากร ได้แก่
นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2/3 โรงเรยี นมาบตาพุดพันพทิ ยาคาร อาเภอเมือง จังหวัดระยอง
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2560 ทก่ี าลังเรียนวิชาภาษาองั กฤษพื้นฐาน 4 รหสั อ22102 จานวน 43
คน

2. กลุ่มตวั อยา่ ง ได้แก่
นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2/3 โรงเรยี นมาบตาพุดพันพิทยาคาร อาเภอเมือง จังหวัดระยอง
ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2560 ทก่ี าลงั เรียนวชิ าภาษาองั กฤษพนื้ ฐาน 4 รหสั อ22102 จานวน 43
คน

4. เครอ่ื งมือที่ใช้ในการวจิ ยั /นวัตกรรม
1. เคร่ืองมือในการวิจัยคร้ังน้ี ประกอบดว้ ยเครอ่ื งมือ 2 ชนดิ คือ
1.1 แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาภาษาองั กฤษพนื้ ฐาน 4 ทผี่ ูว้ ิจยั พัฒนาขึ้น โดยใชแ้ บบฝกึ
Present Perfect สาหรบั นักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 2 จานวน 1 แผน 6 คาบ
1.2 แบบฝกึ ทกั ษะการใช้ประโยค Present Perfect สาหรบั นักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2
1.3 แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิก่อนเรียนและหลงั เรยี น (Pre-test และ Post –test) จานวน 2 ชดุ ๆ
ละ 30 ข้อ

5. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
1. ระยะเวลาในการเก็บข้อมลู
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ปฏบิ ตั ใิ นภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2560 การเกบ็ ขอ้ มลู แตล่ ะคร้ังใช้
เวลา 1 คาบ คาบละ 55 นาที สัปดาห์ละ 2 คาบ ท้ังหมด 3 สัปดาห์ เป็นเวลาทั้งสิ้น รวม 6 คาบ
เรมิ่ ทาการเก็บข้อมูลในวันที่ 30 มกราคม 2561 ถงึ วนั ที่ 16 กมุ ภาพนั ธ์ 2561
2. ข้นั ตอนในการสอน หรอื การวจิ ยั
2.1 ทาการทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) กับนักเรียนชนั้ ม. 2/3 จานวน 43 คน โดยใช้
แบบทดสอบประโยค Present Perfect ก่อนเรยี น (Pre-test) ที่ผู้วจิ ยั สร้างขน้ึ

2.2 ดาเนินการสอนวิชาภาษาอังกฤษ โดยสอนเน้ือหาตามแผนการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้

โดยสอนการใช้ประโยค Present Perfect ใชเ้ วลาในการสอน 4 คาบ คาบละ 55 นาที

2.3 ทาการทดสอบหลังเรยี น (Post-test) กบั นักเรียนช้นั ม.2/3 จานวน 43 คน

โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน เรือ่ ง Present Perfect หลงั เรยี น (Post-test) ทีผ่ วู้ ิจัย

สรา้ งขึ้น

2.4 ตรวจผลการทดสอบแลว้ นาผลที่ได้มาวิเคราะห์ดว้ ยวิธีการทางสถติ ิเพือ่ ทดสอบ

สมมตฐิ าน

6. การวเิ คราะห์ข้อมูล/สถิติทใี่ ช้ในการวจิ ยั
การวิเคราะหข์ ้อมูล
การวจิ ัยในช้นั เรยี น เร่ือง การพัฒนาการใชช้ ดุ ฝึก Present Perfect สาหรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปี
ที่ 2/3 จานวน 43 คน ผู้วจิ ัยเก็บรวบรวมขอ้ มลู จากกลมุ่ ตัวอย่าง นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2/3
จานวน 43 คน โดยการใหน้ กั เรยี นวัดผลด้วยการทาแบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน จากนัน้ นา
คะแนนที่ได้มาวเิ คราะห์ทางสถิติ ด้วย คา่ เฉลีย่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน และ t-test ผลการวจิ ยั
ปรากฏดงั ตารางต่อไปนี้

ตารางแสดงผลการพัฒนาการใชช้ ดุ ฝึก Present Perfect
สาหรับนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2/3 จานวน 43 คน

จานวน Pre-test Post-test t-test t-test df
นักเรียน S.D คะแนน คะแนน คะแนน คานวณ ตาราง
(คน) คะแนน คะแนน คะแนน
รวม ตา่ สุด สูงสดุ รวม ตา่ สุด สูงสุด S.D =0.05

43 225 0 10 4.23 2.526 357 2 10 7.65 2.130 14.959 1.685 39

จากตารางพบว่า นักเรียน จานวน 43 คน ทดสอบ Pre-test ได้คะแนนต่าสุด 0 คะแนน ได้คะแนน
สูงสุด 10 คะแนน รวมคะแนน Pre-test ได้ 225 คะแนน ค่าคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 4.23 คะแนน ค่า
เบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 2.526 หลังจากใช้ชุดฝึกทักษะ ปรากฏว่า คะแนน Post-test ต่าสุด ได้ 2
คะแนน สูงสุด ได้ 10 คะแนน รวมคะแนน Post-test ได้ 357 คะแนน ค่าคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 7.65
คะแนน ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน เท่ากบั 2.130
และจากการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ค่า t ท่ีคานวณได้มีค่าเป็น 14.959 ส่วนค่า t ท่ีเปิดจากตาราง
ในระดับนัยสาคัญทางสถิติท่ี 0.05 (ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%) โดยมีค่าองศาแห่งความอิสระ (df)
เท่ากบั 39 ได้คา่ t จากตารางเปน็ 1.685
สถติ ทิ ใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล
1. คา่ เฉล่ยี ( X ) ใชส้ าหรบั วเิ คราะห์ข้อมูลทเ่ี กยี่ วกับการพัฒนาการใชช้ ดุ ฝกึ Present Perfect ก่อน
และหลงั การใชช้ ุดฝึก Present Perfect
2. คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) ใชส้ าหรบั การวดั การกระจายของขอ้ มลู ทีเ่ กี่ยวกับการพัฒนาการใช้
ชุดฝกึ Present Perfect กอ่ นและหลัง การใชช้ ุดฝึก Present Perfect
3. t-test ใชส้ าหรบั ทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบผลการพัฒนาการใช้ชุดฝกึ Present Perfect
กอ่ นและหลังการใช้ชดุ ฝกึ Present Perfect

7. ผลการวจิ ัย
การวิจัยในชัน้ เรียน เรื่อง การพัฒนาการใช้ชุดฝกึ Present Perfect สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี
ที่ 2/3 ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2/3 จานวน 43
คน โดยการให้นักเรียน วัดผลด้วยการทาแบบทดสอบก่อนและหลังเรียนจากน้ันนาคะแนนท่ีได้มา
วิเคราะห์ทางสถติ ิ ดว้ ยค่าเฉลีย่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และ t – test
ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนจานวน 40 คน ทาการทดสอบก่อนเรียน มีค่าคะแนนเฉล่ีย เท่ากับ 4.23
คะแนน เมื่อใช้นวัตกรรมแล้ว ผู้วิจัยจึงทาการทดสอบหลังเรียน ปรากฏว่านักเรียนทาคะแนนเฉลี่ยได้
สูงกว่าคะแนนเฉลย่ี ก่อนเรียน เป็น 7.65 คะแนน ส่วนค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานหรอื S.D น้ัน เมื่อทาการ
ทดสอบก่อนเรียน นักเรียนมีคะแนนเท่ากับ 2.526 เมื่อใช้นวัตกรรมแล้ว ผู้วิจัยจึงทาการทดสอบหลัง
เรียน ปรากฏว่า ค่า S.D ของนักเรียนลดลง เป็น 2.130 และจากการทดสอบสมมติฐาน ที่ผู้วิจัย
กาหนดไว้ว่า ความสามารถในการใช้ประโยค Present Perfect ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2/3
สูงขึ้น เมื่อใช้ชุดฝึกทักษะ พบว่าค่า t ณ ระดับนัยสาคัญทางสถิติท่ี 0.05 ค่าองศาแห่งความอิสระเปน็
39 ได้ค่า t เท่ากับ 1.685 ค่า t ที่คานวณได้เท่ากับ 14.959 ปรากฏว่า ค่า t คานวณสูงกว่าค่า t จาก
ตาราง ดังนั้นสมมติฐานทผี่ วู้ ิจัยกาหนดนนั้ ถอื ว่ายอมรับได้

8. อภปิ รายผลการวจิ ัย
หลังการใชช้ ดุ ฝกึ Present Perfect แลว้ ผูว้ จิ ัยพบว่า ค่าคะแนนเฉลีย่ หลังจากการใชช้ ดุ ฝกึ Present
Perfect สูงข้ึน เมื่อเปรียบเทียบกับค่าคะแนนเฉลี่ยก่อนการใช้ชุดฝึก Present Perfect และจากการ
ทดสอบสมมติฐาน พบว่า ความสามารถของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2/3 หลังจากการใช้ชุดฝึก
Present Perfect สูงข้ึน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ท้ังน้ีผู้วิจัยเห็นว่า ชุดฝึกที่ผู้วิจัยได้จัดทาข้ึนมาได้
อ้างอิงจากหลักการสร้างชุดฝึกทักษะของ ฮาเรส (Haress อ้างถึงใน อังศุมาลินเพิ่มผล, 2542 : 14)
ซ่ึงได้กล่าวถึงหลักการสร้างแบบฝึกว่า แบบฝึกจะต้องใช้ภาษาให้เหมาะสมกับผู้เรียน และควรสร้าง
โดยอาศัยหลักจิตวิทยาในการแก้ปัญหาและการตอบสนอง ดังนั้นผู้วิจัยจึงสร้างชุดฝึกที่มีเน้ือหาจาก
ง่ายไปหายาก โดยการเริ่มให้นักเรียนฝึกการเปลี่ยนกริยา ช่อง 1 เป็น ช่อง 3 ทั้งแบบกริยาปรกติ
(regular verb) คือ เม่ือเป็นช่อง 3 ทาได้โดยการเติม d หรือ ed และกริยาอปรกติ (irregular verb)
คือ กริยาที่มีการเปลี่ยนรูป หรือคงรูปเดิมน่ันเอง โดยอาศัยการท่องจาและฝึกฝน เมื่อฝึกนักเรียน
เปล่ียนกริยาช่อง 1 เป็นช่อง 3 ท้ังสองแบบจนคล่องแคล่วแล้ว จากน้ันจึงให้นักเรียนฝึกสร้างประโยค
บอกเล่าได้อย่างถูกต้อง โดยให้ตัวอย่างประธานของประโยคมาในรูปแบบที่แตกต่างกัน เพ่ือให้
นักเรียนฝึกแยกประธาน ว่าตัวใดเป็นเอกพจน์ ตัวใดเป็นพหูพจน์ เพื่อการใช้ has, have ได้ถูกต้อง
แมน่ ยาขึ้น เม่ือนักเรยี นสามารถสร้างประโยคบอกเล่าได้อย่างถกู ต้องตามโครงสร้าง Present Perfect
แล้ว ผู้วิจัยจึงได้ให้นักเรียนเปล่ียนประโยคบอกเล่าของ Present Perfect เป็นประโยคคาถาม และ
ปฏิเสธตอ่ ไป
การฝึกประโยค Present Perfect จากง่ายไปหายากน้ี ทาให้นักเรียนเข้าใจการใช้ประโยค Present
Perfect ได้ง่ายขึ้น ประกอบกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2/3 ส่วนใหญ่มีพ้ืนฐานภาษาอังกฤษ
ค่อนข้างดี และมีความกระตือรือร้น พร้อมท้ังสนใจท่ีจะเรียนภาษาอังกฤษ จึงทาให้ผลการพัฒนาของ
นักเรียนสูงขึ้น ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ เพตตี้ (Petty 2012 : 269) ที่ได้กล่าวถึงประสิทธิภาพ
ของแบบฝึกเสริมทักษะเป็นส่วนเพ่ิมเติมหรือเสริมหนังสือเรียนในการเรียนทักษะ เป็นอุปกรณ์การ

สอนท่ีช่วยลดภาระของครูได้มาก ช่วยส่งเสริมให้ทักษะทางภาษาคงทน ช่วยในเร่ืองความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล เพราะการให้นักเรียนทาแบบฝึกเสริมทักษะที่เหมาะสมกับความสามารถของตนเอง จะ
ทาใหป้ ระสบผลสาเรจ็ ทางด้านจิตใจมาก ทัง้ ยังช่วยให้นักเรียนสามารถทบทวนส่ิงที่เรียนไดด้ ว้ ยตนเอง
และใชเ้ ปน็ เครื่องมือวัดผลการเรยี นไดอ้ ีกด้วย

9. ข้อเสนอแนะ
เนอ่ื งจากชดุ ฝึก Present Perfect ที่ผ้วู ิจยั สร้างข้ึนเป็นชดุ ฝกึ ท่มี ีการกาหนดเน้ือหาจากเรื่องที่ง่ายไป
ยงั เรอื่ งท่ีซับซ้อนย่ิงขึ้น จงึ จาเป็นต้องอาศัยระยะเวลาในการทาชดุ ฝกึ ซ่ึงเวลาทผี่ วู้ ิจยั กาหนดไว้ 2
คาบเรียน อาจไมเ่ พียงพอสาหรบั นักเรียนท่ีมีพื้นฐานภาษาอังกฤษอ่อน

ภาคผนวก ฎ

ตัวอย่างรายงานการพฒั นา
สอ่ื นวตั กรรมของครู
ปีการศกึ ษา 2560

รายงานการผลติ และใชส้ อื่ นวัตกรรมทางการศึกษา
โรงเรยี นมาบตาพุดพันพิทยาคาร ปีการศึกษา 2560

ชอื่ เรอ่ื ง กล่องปริศนามหาชาติ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4
ช่อื ผู้พัฒนา นางสาวเบญจวรรณ สวา่ งภพ
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย
รายวิชา ภาษาไทยพ้ืนฐาน รหสั วชิ า ท31102
ประกอบการจัดการเรียนรู้ เรอ่ื ง มหาเวสสันดรชาดก

1. ชื่อสอื่ /นวตั กรรมการเรียนการสอน
กลอ่ งปริศนามหาชาติ

2. วัตถุประสงค์ของสือ่ /นวัตกรรมการเรียนการสอน
2.1 เพอื่ ให้นักเรียนมคี วามรู้ความเข้าใจเร่ืองหมาชาตหิ รอื มหาเวสสันดรชาดก

2.2 นักเรยี นสามารถเล่าเร่ืองมหาชาตไิ ดท้ ้ัง 13 กัณฑ์
2.3 นกั เรยี นรกั และหวงแหนในวรรณคดีไทยซง่ึ เป็นสมบัติทางภาษาของชาติ

3. วธิ ีการสร้าง/ขนั้ ตอนในการผลติ สอื่ /นวตั กรรมการเรียนการสอน
3.1 วัสดุ-อุปกรณท์ ีใ่ ชใ้ นการสร้างสอ่ื /งบประมาณ

- กลอ่ งเปลา่ 1 กล่อง
- กระดาษสีแบบออ่ น 2 กระดาษสแี บบแข็ง
- ไมไ้ ผ่
- เทปกาว
- ปากกาเมจิก
3.2 ขนั้ ตอนในการผลติ สือ่ /นวตั กรรมการเรียนการสอน
3.2.1 ศกึ ษาตัวช้ีวัดและหลกั สูตรแกนกลาง 51 วิชาภาษาไทย ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4

3.2.2 ศกึ ษาเนื้อหาเร่อื งมหาเวสสันดรชาดกทงั้ 13 กณั ฑ์ เพอ่ื ออกแบบส่ือ
นวัตกรรม

3.2.3 สรุปเน้ือหาเรอื่ งมหาเวสสันดรชาดก
3.2.4 จดั ทาสื่อนวตั กรรม
3.2.5 ทดลองใช้สือ่ กับนักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 จานวน 3 หอ้ ง
3.2.6 ประเมินและปรบั ปรุงสอ่ื กลอ่ งปรศิ นามหาชาติ

4. วิธกี ารใช้สื่อ/นวตั กรรมการเรยี นการสอน
ใช้สื่อการสอนกล่องมหาชาตใิ นการสอนวรรณคดีเรื่อง มหาชาติหรือมหาเวสสนั ดรชาดก ทั้ง 13 กัณฑ์
ในการเลา่ เรอื่ งและตอบคาถามโดยการหมุนเนื้อหาออกมาทีละกัณฑแ์ ล้วเล่าเรอ่ื งพร้อมกับให้นกั เรยี น
อา่ นประกอบ

5. ภาพประกอบ (ภาพสอื่ การสอน หรือ บรรยากาศการเรยี นท่ีใชส้ ่ือการสอน)

รายงานการผลิตและใช้สื่อนวตั กรรมทางการศึกษา
โรงเรียนมาบตาพุดพนั พทิ ยาคาร ปีการศึกษา 2560

ชื่อเรอื่ ง สร้างรูปการแปลงทางเรขาคณติ โดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP)

ชอื่ ผ้พู ัฒนา นางสาวพิมพ์ศริ ิ กลัดกระยาง

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์

รายวิชา คณติ ศาสตร์ 3 รหัสวิชา ค22101 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2

ประกอบการจดั การเรียนรู้ เรื่อง การแปลงทางเรขาคณติ

1. ช่ือสอ่ื /นวตั กรรมการเรียนการสอน
สรา้ งรูปการแปลงทางเรขาคณิตโดยใชโ้ ปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP)

2. วตั ถุประสงค์ของส่อื /นวัตกรรมการเรียนการสอน
2.1 เพอ่ื ให้นักเรยี นมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียน เรื่องการแปลงทางเรขาคณิต ที่สูงข้นึ

2.2 เพอื่ ให้นักเรียนได้รู้จักการใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) และการ
นาไปใช้ประโยชน์

2.3 เพอ่ื ให้นักเรียนเข้าใจในเนือ้ หา โดยการมองภาพทช่ี ดั เจนและเป็นมติ ิมากข้ึน
2.4 เพอ่ื ให้นักเรยี นมเี จตคติทดี่ ตี ่อการเรยี น วชิ าคณติ ศาสตร์

3. วธิ ีการสรา้ ง/ข้ันตอนในการผลติ สื่อ/นวัตกรรมการเรียนการสอน
3.1 วสั ดุ-อปุ กรณ์ทีใ่ ชใ้ นการสร้างส่ือ/งบประมาณ

3.1.1 คอมพวิ เตอร์
3.1.2 โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP)

3.2 ขั้นตอนในการผลิตสอ่ื /นวัตกรรมการเรียนการสอน
3.2.1 การลงโปรแกรม GSP โดยการศกึ ษาข้อมลู จาก Internet และแหล่งเรียนรู้

อ่ืนๆ
3.2.2 ศกึ ษาจดุ ประสงค์การเรยี นรใู้ นแตล่ ะแผนการจดั การเรียนรู้ เพ่อื นามาสรา้ งใน

โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP)
3.2.3 สรา้ งภาพทไี่ ด้จากการสะท้อน มีปุ่มแสดงภาพที่ได้จากการสะทอ้ น นักเรียน

จะเห็นภาพได้อยา่ งชดั เจนและมีมิติมากกวา่ การสอนบนกระดานตามปกติ

3.2.4 สร้างรูปตน้ แบบและภาพท่ีไดจ้ ากการสะทอ้ น โดยเน้นที่เสน้ สะท้อน
ใหน้ กั เรียนเห็นเส้นสะท้อนได้ชัดเจน มปี ่มุ ตา่ งๆ เพอ่ื แสดงภาพและเฉลย

3.2.5 สร้างตัวอย่างการสะท้อนที่เป็นรูปเรขาคณิต ในรูปต่างๆ ทีแ่ ตกตา่ งกัน มปี ุ่ม
แสดงภาพท่ีได้จากการสะท้อน

3.2.6 สร้างภาพท่ีได้จากการสะทอ้ นโดยเปลย่ี นจากแกน x เป็นแกน y ใหแ้ ตกต่างมาก
ย่ิงขึ้นและรปู เรขาคณติ ใหย้ ากมากย่งิ ขน้ึ

3.2.7 สร้างในเร่ืองการเล่ือนขนานและการหมุน ในลักษณะเดยี วกัน นอกจากนีย้ ังใช้
โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) มาสรา้ งแบบทดสอบ และใบงาน
4. วธิ กี ารใช้ส่ือ/นวตั กรรมการเรียนการสอน

4.1 เม่ือถงึ เร่ืองการแปลงทางเรขาคณติ นาส่ือการสอนมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
4.2 นาคอมพิวเตอร์ฉายภาพข้นึ โปรเจคเตอร์
4.3 จัดการเรียนการสอนโดยเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ ใหผ้ ู้เรยี นมสี ว่ นร่วมในการจดั การเรียนรู้ มีส่วนรว่ ม
ในการตอบคาถาม และการใช้สอ่ื การสอน
5. ภาพประกอบ (ภาพส่อื การสอน หรือ บรรยากาศการเรยี นทใี่ ชส้ ื่อการสอน)
5.1 ใบงาน “กจิ กรรมกลุ่มแบบคละความสามารถ และการแบง่ หน้าทเี่ พือ่ ความสามคั คี”

5.2 ตวั อย่าง ใบงานกิจกรรมเดย่ี ว เรื่องการสะทอ้ น

5.3 “กจิ กรรมลองทาดว้ ยมือ”
5.4 แบบทดสอบ
5.5 บรรยากาศการเรียนการสอน

5.6 ตัวอยา่ ง ส่อื การสอน เรื่องการเล่ือนขนาน



รายงานการผลติ และใชส้ ่อื นวตั กรรมทางการศึกษา
โรงเรยี นมาบตาพุดพันพทิ ยาคาร ปีการศกึ ษา 2560

ช่ือเรือ่ ง Magic Box

ชอ่ื ผ้พู ัฒนา นางสาวมนชั ญา มาตยา

กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาต่างประเทศ

รายวชิ า ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน 4 รหัสวิชา อ22102 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2

ประกอบการจัดการเรียนรู้ เรอื่ ง Occupation

1. ชอื่ สอื่ /นวัตกรรมการเรียนการสอน
Magic Box

2. วตั ถุประสงค์ของส่อื /นวัตกรรมการเรียนการสอน
1. เพือ่ ใหน้ ักเรียนสามารถจาคาศัพทภ์ าษาอังกฤษจากรปู ภาพได้
2. เพื่อฝึกทกั ษะการอ่านภาษาอังกฤษ
3. เพอ่ื ใช้ประกอบการเรยี นการสอนเรื่อง Occupation
4. เพ่อื ใหน้ กั เรยี นได้เรยี นรคู้ าศพั ท์และนาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน

3. วธิ ีการสร้าง/ขนั้ ตอนในการผลิตสอ่ื /นวัตกรรมการเรยี นการสอน
3.1 วัสดุ-อปุ กรณท์ ่ใี ชใ้ นการสรา้ งสอ่ื /งบประมาณ

- กระดาษแข็งสี
- กรรไกร
- เทปใส
- กาว
- รูปภาพคาศัพท์

3.2 ขัน้ ตอนในการผลติ ส่อื /นวตั กรรมการเรยี นการสอน

เมอ่ื ประกอบกล่องเสร็จแลว้ นารูปภาพพร้อมคาศัพทต์ ิดลงบนหนา้ กล่องแต่ละด้าน

4. วธิ ีการใช้ส่ือ/นวัตกรรมการเรียนการสอน
ใช้ประกอบกจิ กรรมกลุม่ เพื่อให้นักเรยี นจาคาศพั ท์ดว้ ยการตอบคาถามจากเพื่อน หรือจากครผู ู้สอน
โดยการสลบั Magic Box แล้วตอบคาถามโดยการอ่านคาท่ีอย่บู น Magic Box

5. ภาพประกอบ (ภาพสอื่ การสอน หรอื บรรยากาศการเรียนท่ใี ชส้ ่ือการสอน)




Click to View FlipBook Version