The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เรื่อง การศึกษาความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning
ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร จังหวัดระยอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KruJayPhysics, 2019-07-23 13:08:27

งานวิจัยโรงเรียน ปีการศึกษา 2561

เรื่อง การศึกษาความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning
ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร จังหวัดระยอง

งานวจิ ัยเรอื่ ง
การศึกษาความเข้าใจเกี่ยวกบั การจัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning

ของครูในโรงเรยี นมาบตาพุดพันพิทยาคาร จงั หวัดระยอง

งานส่ือนวัตกรรม เทคโนโลยี และสารสนเทศ
กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร

สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 18
ปีการศึกษา 2561

คณะผู้บริหารโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร ได้พิจารณางานวิจัย เร่ือง การศึกษาความ
เข้าใจเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร
จังหวัดระยองฉบับน้ีแล้ว เห็นสมควรรับเป็นส่วนหน่ึงของงานวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร ได้

(นายศริ ิชยั หอมดวงศรี)
รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ

9 เมษายน 2562

(นายพรศักด์ิ ทิพย์วงษท์ อง)
ผูอ้ านวยการโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร

9 เมษายน 2562



ชอ่ื เรอื่ ง การศกึ ษาความเข้าใจเกย่ี วกับการจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning
ผูว้ ิจัย ของครใู นโรงเรยี นมาบตาพดุ พันพิทยาคาร จังหวัดระยอง
ปกี ารศกึ ษา งานสอื่ นวตั กรรม วจิ ยั และเทคโนโลยี
กลุ่มบรหิ ารวิชาการ โรงเรยี นมาบตาพุดพนั พทิ ยาคาร
2561

บทคัดยอ่

การวิจัยในคร้ังนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจ วัตถุประสงค์ในการวจิ ัยครั้งน้ี คือ 1) เพ่ือศึกษาความ
เข้าใจเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร
จังหวัดระยอง และ 2) เพ่ือศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันของครูโรงเรียนมาบตาพุดพัน
พทิ ยาคาร ประชากรในการศึกษา คือ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร
จานวน 126 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร
จานวน 62 คน ได้จากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ตามสัดส่วนของครูในแต่ละ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเพ่ือการวิจัย เรื่อง การศึกษาความ
เข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร
จังหวัดระยอง แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉล่ีย
และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัย พบว่า 1) ระดบั ความเข้าใจเก่ยี วกบั การจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning ของ
ครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.76, S.D. = 1.05) เม่ือ
พิจารณารายด้านพบว่า ครูโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร มีความเข้าใจบทบาทและหน้าที่ของ
ครูผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning สูงสุด ในระดับมาก ( X = 3.99, S.D. = 1.04)
รองลงมาคือ ครูโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร มีความเข้าใจบทบาทหน้าท่ขี องผู้เรียนในการจดั การ
เรียนรู้แบบ Active Learning ในระดับมาก ( X = 3.86, S.D. = 1.10) ด้านการวัดและประเมินผล
ในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ในระดับมาก ( X = 3.76, S.D. = 1.14) ด้านลักษณะ
ของสื่อการเรียนรู้แบบ Active Learning ในระดับมาก ( X = 3.68, S.D. = 1.10) และด้านลักษณะ
ของกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ในระดับปานกลาง ( X = 3.46, S.D. = 1.06)
และ 2) ในปีการศึกษา 2561 ครู โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร ร้อยละ 90.32 มีการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้แบบ Active Learning และครูร้อยละ 9.68 ไม่จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active
Learning และพบว่าครูท่ีมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยส่วนใหญ่ประสบ
ความสาเร็จในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ
40.32 รองลงมาคือ ระดับมาก ร้อยละ 35.48 ระดับมากที่สุด ร้อยละ 8.06 ระดับน้อย ร้อยละ 3.23
และระดับน้อยทส่ี ดุ รอ้ ยละ 1.61



ประกาศคณุ ปู การ

การจัดทารายงานฉบับนี้ สาเร็จลงได้เพราะความร่วมมือและช่วยเหลือจากบุคคลหลายฝ่าย
ผจู้ ัดทาจึงขอขอบพระคณุ เป็นอยา่ งสงู ไว้ ณ โอกาสนี้

ขอขอบพระคุณ ท่านผู้อานวยการโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร ผู้อานวยการ ดร.พรศักด์ิ
ทิพย์วงษ์ทอง รองผู้อานวยการศิริชัย หอมดวงศรี ท่ีได้ให้การสนับสนุนส่งเสริมจนทาให้รายงานนี้
สาเรจ็ ลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดี

ขอขอบพระคุณ ครูโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร ท่ีเป็นกลุ่มตัวอย่างในการตอบ
แบบสอบถามเพ่ือการวจิ ัย และให้ข้อเสนอแนะท่ีเป็นประโยชน์ในการพัฒนางานวชิ าการ จนวจิ ัยเล่มน้ี
สาเร็จลุล่วงได้ดว้ ยดี

งานสือ่ นวตั กรรม วิจยั และเทคโนโลยี
กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร



สารบัญ

หน้า

บทคัดย่อ ก

ประกาศคณุ ปู การ ข

สารบัญ ค

สารบญั ตาราง ง

บทที่ 1 บทนา 1

ทม่ี าและความสาคัญของปัญหา 1

คาถามวิจยั ……………………………………………………………………………………………………………. 3

วตั ถปุ ระสงคก์ ารศกึ ษา 3

ขอบเขตของการศึกษา 3

กรอบแนวคดิ วจิ ัย………………………………………………………………………………………………….. 4

นยิ ามศัพท์เฉพาะ 4

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง 6

พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542……………………………………………………………….… 6

แนวคดิ เกย่ี วกบั การจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning………………………………. 9

ตัวอยา่ งเทคนคิ การจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning 13

บทท่ี 3 วิธีดาเนนิ การวจิ ยั 15

พนื้ ท่ีท่ีใชใ้ นการวิจยั ……………………………………………………………………………………………….. 15

ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง 15

เครื่องมือในการวจิ ยั และการตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมือ 15

การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 16

การวิเคราะห์ข้อมลู และสถิติทใี่ ช้ 16



สารบญั (ต่อ)

บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล หนา้
19

สัญลักษณ์ที่ใชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูล 19

ลาดับข้ันตอนในการนาเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูล………………………………………………….. 19

ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล 19

บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 35

สรปุ ผลการวจิ ัย 35

ขอ้ เสนอแนะ 40

บรรณานุกรม 42

ภาคผนวก 43

แบบสอบถามเพ่ือการวจิ ยั เรอ่ื ง การศึกษาความเขา้ ใจเก่ียวกบั การจัดการเรยี นรู้แบบ

Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร จังหวดั ระยอง................... 44



สารบญั ตาราง

ตารางท่ี หน้า

1 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามสถานภาพส่วนตวั 20

2 ค่าคะแนนเฉลีย่ ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับ และอนั ดับความเข้าใจเก่ยี วกบั

การจัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร

โดยรวมและรายดา้ น………………………........................................................………………….. 22

3 คา่ คะแนนเฉลย่ี ความเบีย่ งเบนมาตรฐาน ระดับ และอันดบั ความเข้าใจเก่ียวกับ

การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร

ด้านลกั ษณะของกิจกรรมการเรียนร้แู บบ Active Learning …………………………………… 23

4 คา่ คะแนนเฉลย่ี ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับ และอนั ดับความเข้าใจเก่ยี วกับ

การจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูในโรงเรยี นมาบตาพุดพนั พทิ ยาคาร

ด้านบทบาทและหน้าท่ีของครูผู้สอนในการจัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning….....… 25

5 ค่าคะแนนเฉลีย่ ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับ และอันดบั ความเข้าใจเกย่ี วกับ

การจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพทิ ยาคาร

ด้านบทบาทหน้าท่ขี องผเู้ รยี นในการจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning………………… 27

6 ค่าคะแนนเฉล่ีย ความเบยี่ งเบนมาตรฐาน ระดับ และอันดับความเข้าใจเกีย่ วกับ

การจดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร

ด้านลักษณะของสื่อการเรยี นรูแ้ บบ Active Learning ……………………………..…………… 29

7 ค่าคะแนนเฉล่ีย ความเบย่ี งเบนมาตรฐาน ระดบั และอนั ดบั ความเข้าใจเกยี่ วกับ

การจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร

ดา้ นการวดั และประเมนิ ผลในการจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning…………………… 30

8 สภาพการจัดการเรียนรใู้ นปัจจุบันของครู โรงเรยี นมาบตาพุดพนั พิทยาคาร.....………… 32

บทที่ 1

บทนำ

ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ

พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 กาหนดความม่งุ หมาย และหลกั การในการจัด
การศึกษาไว้ว่า “ตอ้ งเป็นไปเพอื่ พฒั นาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ทส่ี มบรู ณ์ทง้ั ทางร่างกายและจิตใจ สต.ิ ....
ความสุข” ในการจัดการศึกษาน้ันจะต้องจัดระบบการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความมุ่งหมาย
ของการจัดการศึกษาดังกล่าวและต้องให้สอดคล้องและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม ดังนั้นใน
การจัดการศึกษา แม้ครูผู้สอนจะใช้วิธีการอย่างไรก็ตาม แต่ท้ายท่ีสุดมีเป้าหมายเดียวกันคือ เพ่ือ
เตรียมความพรอ้ มใหน้ กั เรียนมีทักษะสาคญั สาหรบั การออกไปดารงชีวติ และประกอบอาชีพ

ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตใน
ศตวรรษท่ี 21 เป็นเรอ่ื งสาคญั ของกระแสการปรบั เปล่ยี นทางสังคมท่เี กดิ ข้นึ ในศตวรรษที่ 21 สง่ ผลต่อ
วิถีการดารงชีพของสังคมอย่างท่ัวถึง ครูผู้สอนจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการ
เรียนรู้เพื่อเตรียมความพรอ้ มให้นักเรียนมีทักษะสาหรบั การออกไปดารงชีวิตในโลก น่ันคือ ทักษะการ
เรียนรู้ (Learning Skill) ท่ีส่งผลให้มีการเปล่ียนแปลงการจัดการเรียนรู้เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้
ความสามารถ และทักษะจาเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการ
สอน ตลอดจนการเตรยี มความพร้อมด้านต่าง ๆ ซง่ึ วิจารณ์ พานชิ (2555: 16-21) ได้กลา่ วถึง ทักษะ
เพ่ือการดารงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วย 1) สาระวิชาหลัก (Core Subjects) ประกอบด้วย
ภาษาแม่ และภาษาสาคัญของโลก ศลิ ปะ คณิตศาสตร์ การปกครองและหนา้ ที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์
วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และประวัติศาสตร์ โดยวิชาแกนหลักนี้จะนามาสู่การกาหนดเป็นกรอบ
แนวคิดและยุทธศาสตร์สาคัญต่อ การจัดการเรียนรู้ในเน้ือหาเชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary)
หรือหัวข้อสาหรับศตวรรษท่ี 21 โดยการส่งเสริมความเข้าใจในเน้ือหาวิชาแกนหลัก และสอดแทรก
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เข้าไปในทุกวิชาแกนหลัก อันได้แก่ ความรู้เก่ียวกับโลก (Global
Awareness) ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial,
Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองท่ีดี (Civic
Literacy) และความรดู้ ้านสุขภาพ (Health Literacy) 2) ทักษะด้านการเรียนรแู้ ละนวัตกรรม จะเป็น
ตัวกาหนดความพร้อมของนักเรียนเข้าสู่โลกการทางานที่มีความซับซ้อนมากขึ้นในปัจจุบัน ได้แก่
ความริเร่ิมสร้างสรรค์และนวัตกรรม การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา การสื่อสารและ
การร่วมมือ 3) ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี เนื่องด้วยในปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูล
ข่าวสารผ่านทางสื่อและเทคโนโลยีมาก มาย ผู้เรียนจึงต้องมีความสามารถในการแสดงทักษะการคิด
อย่างมีวิจารณญาณและ ปฏิบัติงานได้หลากหลาย โดยอาศัยความรู้ในหลายด้าน ดังนี้ ความรู้ด้าน
สารสนเทศ ความรู้เกี่ยวกับส่ือและความรู้ด้านเทคโนโลยี 4) ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ในการ
ดารงชีวิตและทางาน ในยุคปัจจุบันให้ประสบความสาเร็จ นักเรียนจะต้องพัฒนาทักษะชีวิตท่ีสาคัญ
คือ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง ทักษะสังคมและสังคม
ข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได้

2

(Accountability) ภาวะผนู้ าและความรับผดิ ชอบ (Responsibility) และ 5) ทกั ษะของคนในศตวรรษ
ท่ี 21 ท่ีทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C ทักษะการเรียนรู้ 3R คือ Reading
(อ่านออก), (W) Riting (เขียนได้), และ (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น) ส่วนทักษะการเรียนรู้ 7C
ประกอบด้วย Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
และทกั ษะในการแก้ปัญหา) Creativity and Innovation (ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)
Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และ
ภาวะผู้นา) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่ อส าร
สารสนเทศ และรู้เท่าทันส่ือ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) และ Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะ
การเรียนร้)ู

การจัดการเรียนรู้เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดทักษะเพ่ือการดารงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 ได้น้ัน
จะต้องสอดคล้องกับชีวิตจริงของผู้เรียนมากที่สุด ครูจึงต้องเปลี่ยนเป้าหมายการเรียนรู้จากการเน้น
เรียนวิชาเพื่อได้ความรู้ ไปสู่การพัฒนาทักษะที่สาคัญต่อชีวิตของผู้เรียน วิธีการสอนจะต้องเน้นไปท่ี
การให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากลงมือปฏิบัติจริง (learning by doing) ให้ความสาคัญกับค้นคว้าหา
ความรู้มากกว่าตัวความรู้ เน้นการทางานเป็นทีมมากขึ้น ซ่ึงวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมสาหรับ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางดังกล่าว คือ การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เป็น
กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทางปัญญา ( Constructivism) ท่ีเน้น
กระบวนการเรยี นรู้มากกวา่ เน้ือหาวิชา เพื่อชว่ ยใหผ้ ้เู รียนสามารถเช่ือมโยงความรู้ หรอื สรา้ งความรู้ให้
เกิดขึ้นในตนเอง ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงผ่านส่ือหรือกิจกรรมการเรียนรู้ ท่ีมีครูผู้สอนเป็นผู้แนะนา
กระตุ้น หรืออานวยความสะดวก ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ข้ึน โดยกระบวนการคิดขั้นสูง กล่าวคือ
ผเู้ รียนมกี ารวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และการประเมนิ ค่าจากสิ่งท่ีไดร้ ับจากกิจกรรมการเรียนรู้ ทาให้การ
เรียนรู้เป็นไปอย่างมีความหมายและนาไปใช้ในสถานการณ์อ่ืน ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (สถาพร
พฤฑฒิกุล, 2558) การจัดการเรียนรู้ดังกล่าว ประกอบด้วยลักษณะสาคัญ คือ 1) เป็นการเรียนรู้ท่ีมุ่ง
ลดการถ่ายทอดความรูจ้ ากผู้สอนสผู่ ูเ้ รยี นใหน้ ้อยลงและพัฒนาทักษะให้เกิดกับผ้เู รียน 2) ผ้เู รยี นมสี ่วน
ร่วมในชั้นเรียนโดยลงมือกระทามากกว่าน่ังฟังเพียงอย่างเดียว 3) ผู้เรียนมีส่วนในกิจกรรมเช่นอ่าน
อภิปรายและเขียน 4) เน้นการสารวจเจตคติและคุณค่าท่ีมีอยู่ในผู้เรียน 5) ผู้เรียนได้พัฒนาการคิด
ระดับสูงในการวเิ คราะห์สังเคราะห์และประเมินผลการนาไปใช้ และ 6) ทั้งผู้เรียนและผ้สู อนรับข้อมูล
ปอ้ นกลับจากการสะท้อนความคดิ ได้อย่างรวดเร็ว (เยาวเรศ ภกั ดีจิตร, 2557)

จากหลักการและเหตุผลดังกล่าวทาให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการ

เรยี นรแู้ บบ Active Learning และสภาพการจดั การเรียนรู้ในปัจจุบนั ของครูในโรงเรยี นมาบตาพุดพัน

พิทยาคาร จังหวัดระยอง เพื่อนาข้อมูลท่ีได้ไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาครูให้สามารถจัดกิจกรรม

การเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผเู้ รยี นให้มที ักษะท่ีจาเปน็ สาหรบั ศตวรรษที่ 21 ต่อไป

3

คำถำมวิจัย

1. ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูโรงเรียนมาบตาพุด
พนั พทิ ยาคาร เป็นอยา่ งไร

2. สภาพการจัดการเรียนรู้ในปัจจบุ นั ของครโู รงเรียนมาบตาพุดพนั พทิ ยาคารเป็นอย่างไร

วตั ถุประสงค์ของกำรวจิ ยั

1. เพอื่ ศกึ ษาความเขา้ ใจเก่ียวกบั การจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning ของครูในโรงเรียน
มาบตาพดุ พนั พทิ ยาคาร จังหวัดระยอง

2. เพื่อศึกษาสภาพการจดั การเรียนรู้ในปัจจบุ นั ของครโู รงเรยี นมาบตาพุดพนั พิทยาคาร

ขอบเขตของกำรวิจัย
ประชำกร
ครู โรงเรยี นมาบตาพุดพันพทิ ยาคาร จานวน 126 คน

กลมุ่ ตวั อยำ่ ง
ครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร จานวน 62 คน ได้จาก

การสมุ่ อย่างงา่ ย (Simple Random Sampling) ตามสัดสว่ นของครูในแต่ละกลมุ่ สาระการเรยี นรู้

เครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นกำรวิจัย
แบบสอบถามเพอ่ื การวจิ ัย เรอื่ ง การศกึ ษาความเข้าใจเกย่ี วกับการจัดการเรียนรแู้ บบ Active
Learning ของครูในโรงเรยี นมาบตาพุดพนั พิทยาคาร จังหวดั ระยอง แบง่ ออกเปน็ 3 ตอน คือ

ตอนที่ 1 เปน็ แบบสอบถามขอ้ มูลพ้ืนฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ

Active Learning
ตอนท่ี 3 เป็นแบบสอบถามเก่ียวกับสภาพการจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันของ

ผตู้ อบแบบสอบถาม
มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ โดยสังเคราะห์แนวคิด
เกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน โดยยึดตามขอบข่ายการจัดการเรียนรู้แบบ Active
Learning 5 ด้าน ได้แก่ 1) ลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้ 2) บทบาทและหน้าที่ของครูผู้สอน
3) บทบาทหน้าทีข่ องผเู้ รยี น 4) ลกั ษณะของสอ่ื การเรียนรู้ และ 5) การวดั และประเมนิ ผล

4

กรอบแนวคิดในกำรวิจัย

สถำนภำพของผใู้ ห้ขอ้ มูล ควำมเข้ำใจเกีย่ วกับกำรจดั กำรเรียนรู้แบบ
Active Learning ของครูโรงเรียนมำบตำพดุ พันพิทยำคำร
1. ครู โรงเรียนมาบตาพดุ
พนั พิทยาคาร 1) ลักษณะของกิจกรรมการเรยี นรู้
2) บทบาทและหนา้ ทีข่ องครผู ้สู อน
3) บทบาทหนา้ ท่ีของผเู้ รยี น
4) ลักษณะของสอ่ื การเรยี นรู้
5) การวดั และประเมนิ ผล

นยิ ำมศัพทเ์ ฉพำะ

กำรจัดกำรเรียนรู้แบบ Active Learning หมายถึง เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ตาม
แนวคิดการสร้างสรรค์ทางปัญญา (Constructivism) ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้มากกว่าเน้ือหาวิชา
เพ่ือช่วยให้ผู้เรียนสามารถเช่ือมโยงความรู้ หรือสร้างความรู้ให้เกิดข้ึนในตนเอง ด้วยการลงมือปฏิบัติ
จริงผ่านส่ือหรือกิจกรรมการเรียนรู้ ท่ีมีครูผู้สอนเป็นผู้แนะนา กระตุ้น หรืออานวยความสะดวก ให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ข้ึน โดยกระบวนการคิดข้ันสูง กล่าวคือ ผู้เรียนมีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และ
การประเมินค่าจากสิ่งที่ได้รับจากกิจกรรมการเรียนรู้ ทาให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างมีความหมายและ
นาไปใชใ้ นสถานการณ์อื่น ๆ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

เข้ำใจเก่ียวกับกำรจัดกำรเรียนรู้แบบ Active Learning หมายถึง ความคิดรวบยอด
เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ตามขอบข่ายการจัดการเรียนรู้แบบ Active
Learning 5 ด้าน ได้แก่ 1) ลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้ 2) บทบาทและหน้าที่ของครูผู้สอน
3) บทบาทหน้าท่ีของผู้เรียน 4) ลักษณะของส่ือการเรียนรู้ และ 5) การวัดและประเมินผล วัดโดยใช้
แบบสอบถามเพื่อการวิจัย เร่ือง การศึกษาความเข้าใจเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active
Learning ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร จังหวัดระยอง มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วน
ประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดบั ขอ้ คาถามประกอบดว้ ยขอ้ คาถามเชงิ บวกและเชงิ ลบ

5

สภำพกำรจัดกำรเรียนรใู้ นปัจจุบันของครูโรงเรียนมำบตำพดุ พันพิทยำคำร หมายถึง แนว
ปฏิบัติในการจดั การเรียนรู้ในปีการศึกษา 2561 ของครูโรงเรียนมาบตาพุดพนั พิทยาคาร หมายรวมถึง
รูปแบบและวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการจัดการเรียนรู้ การประสบความสาเร็จในการจัด
กิจกรรมการเรยี นรู้ ปัญหาและอุปสรรคที่เกดิ ขึ้นจากการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

ครู โรงเรียนมำบตำพุดพันพิทยำคำร หมายถึง ผู้ปฏิบัติการสอนในโรงเรียนมาบตาพุดพัน
พทิ ยาคาร ในปีการศกึ ษา 2561

บทท่ี 2
เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ยี วข้อง

ในการวจิ ยั ครัง้ น้ี ผู้วจิ ัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ ก่ียวข้อง มีประเด็นตามลาดับ
ดังตอ่ ไปน้ี

1. พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542
2. แนวคิดเกีย่ วกบั การจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning

2.1 ความหมายของการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning
2.2 ลกั ษณะของการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
2.3 วธิ ีการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning
2.4 บทบาทของครใู นการจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning
2.5 บทบาทของนักเรียนในการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning
2.6 ลักษณะของสอื่ การเรยี นร้แู บบ Active Learning
2.7 การวัดและประเมนิ ผลในการจัดการเรยี นรแู้ บบ Active Learning

3. ตัวอยา่ งเทคนิคการจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning

1. พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542

พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ได้กาหนดแนวการจัดการศึกษาของชาติไวใน
หมวดท่ี 4 ตง้ั แตม่ าตรา 22 ถึงมาตรา 30 ซ่งึ สรปุ สาระสาคัญได้ดังนี้ (พงษศักด์แิ ปนแกว, 2555)

1.1 การจัดการศึกษาตองเน้นผู้เรยี นเปน็ ศูนย์กลาง การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน
ประสบการณการเรียนรูยึดหลกั ดังน้ี

1) ผู้เรยี นทกุ คนมีความสามารถเรยี นรูและพัฒนาตนเองได้ ดงั น้ันจงึ ตองจัดสภาวะแวดล
อม บรรยากาศรวมทั้งแหงเรียนรูต่าง ๆ ใหหลากหลาย เพ่ือเอ้ือตอความสามารถของแต่ละบุคคล
เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นสามารถพฒั นาตามธรรมชาติทีส่ อดคลองกบั ความถนดั และความสนใจ เหมาะสมกับวัย
และ ศักยภาพของผู้เรียน เพื่อใหการเรยี นรูเกดิ ข้ึนได้ทุกเวลาทกุ สถานท่ีและเป็นการเรยี นรูกนั และกนั
อันกอใหเกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ เพอ่ื การมสี วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคมและ
ประเทศชาติ โดยการประสานความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับผู้ปกครอง บุคคล ชุมชน และทกุ
ส่วนของสงั คม

2) ผู้เรียนมคี วามสาคัญทส่ี ุด การเรยี นการสอนมุ่งเน้นประโยชนของผู้เรยี นเป็นสาคญั
จึงตองจดั ใหผู้เรียนไดเ้ รยี นรูจากประสบการณจรงิ ฝึกปฏิบัติใหทาได้ คิดเปน็ มนี สิ ัยรักการเรยี นรู และ
เกดิ การใฝรูใฝเรียนอย่างต่อเนือ่ งตลอดชวี ติ

1.2 มงุ่ ปลูกฝังและสร้างลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคใหกบั ผู้เรยี น โดยเนนความรู คณุ ธรรม คานิยม
ทดี่ งี ามและบรู ณาการความรูในเร่ืองตา่ ง ๆ อย่างสมดลุ รวมท้งั การฝกทักษะและกระบวนการคดิ

7

การจดั การ การเผชญิ สถานการณ และการประยุกตใชความรูโดยให ผู้เรยี นมคี วามรูและประสบการณ
ในเรอ่ื ง ตา่ ง ๆ ดังน้ี

1) ความรูเรอ่ื งเกย่ี วกับตนเองและความสัมพนั ธข์ องตนเองกับสงั คม ได้แก ครอบครัว
ชุมชน ชาติ และสงั คมโลก รวมถึงความรูเกี่ยวกบั ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของสงั คมไทยและระบบ
การเมืองการปกครองในระบบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ

2) ความรูและทักษะด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทงั้ ความรูความเขาใจและ
ประสบการณเรื่องการจดั การ การบารงุ รักษา และการใชประโยชนจากการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
ส่ิงแวดลอมอย่างสมดุลยง่ั ยืน

3) ความรูเกยี่ วกับศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม การกฬี า ภมู ิปัญญาไทย และการรูจัก
ประยุกตใชภูมิปัญญา

4) ความรูและทักษะด้านคณิตศาสตร์และดา้ นภาษา เนนการใชภาษาไทยอย่างถูกตอง

5) ความรูและทกั ษะในการประกอบอาชีพ และการดารงชีวิตอย่างมคี วามสุข

1.3 กระบวนการเรียนรู ในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ได้กาหนดแนวทางในการจัด
กระบวนการเรียนรูของ สถานศกึ ษาและหน่วยงานท่เี กยี่ วของ ดังนี้

1) จัดเน้อื หาสาระและกจิ กรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผู้เรยี น
โดย คานงึ ถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล

2) ใหมีการฝกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการ ประ
ยุกตความรูมาใชเพื่อปองกันและแกไขปญหา

3) การจดั กจิ กรรมใหผู้เรียนได้เรียนรูจากประสบการณจรงิ ฝกการปฏิบัตใิ หทาได้ คดิ
เปน็ ทาเป็น รักการอ่าน และเกดิ การใฝรู้อย่างต่อเน่ือง

4) การจดั การเรยี นการสอนโดยผสมผสานสาระความรูดา้ นต่าง ๆ อยา่ งได้สัดสวนสมดุล
กนั รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม คานยิ มท่ีดีงาม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคไวในทุกวชิ า

5) สงเสริมสนับสนุนใหผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม สอื่ การเรยี นและ
อานวยความสะดวก เพ่ือใหผู้เรียนเกดิ การเรยี นรูและมีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวจิ ยั เป็นสวน
หน่ึงของกระบวนการเรยี นรู

6) ผู้เรียนและผู้สอนเรียนรูไปพรอมกันจากสื่อการเรยี นการสอนและแหล่งวทิ ยาการ
ประเภทต่าง ๆ

7) การเรยี นรูเกิดข้ึนได้ทกุ เวลา ทุกสถานที่ มกี ารประสานความรว่ มมอื กับบิดามารดา
ผู้ปกครอง และบคุ คลในชมุ ชนทกุ ฝ่าย เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศกั ยภาพ

8

1.4 การสงเสริมการจดั กระบวนการเรียนรู ในพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหงชาติ ได้กาหนด
บทบาทในการสงเสริมการเรยี นรูของรัฐและสถานศึกษาต่าง ๆ ดังนี้

1) รัฐตองสงเสรมิ การดาเนนิ งาน และการจัดตั้งแหล่งเรยี นรูตลอดชวี ติ ทุกรูปแบบ ไดแ้ ก
หองสมดุ ประชาชน พิพธิ ภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสตั วสวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยาน
วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ศูนย์การกีฬาและนนั ทนาการ แหล่งขอ้ มูล และแหล่งการเรียนรู้อย่าง
พอเพียงและมีประสิทธิภาพ

2) ใหคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน กาหนดหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้
พ้นื ฐานเพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองดีของชาติ การดารงชีวติ และการประกอบอาชพี ตลอดจน
เพอ่ื การศึกษาตอ

3) ใหสถานศึกษาข้นั พืน้ ฐานมีหนาท่จี ดั ทาสาระของหลักสตู รในสวนท่ีเก่ยี วของกับสภาพ
ปญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาทองถนิ่ คุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อเป็นสมาชิกท่ีดขี อง
ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ

4) หลกั สตู รการศึกษาระดบั ต่าง ๆ ตองมลี ักษณะหลากหลายเหมาะสมกับแต่ละระดับ
โดยมุ่งพฒั นาคุณภาพชีวติ ของบุคคล สาระของหลักสตู ร ทั้งทเี่ ป็นวชิ าการ วชิ าชพี ตองมุ่งพัฒนา
คนใหมคี วามสมดลุ ทง้ั ดานความรู ความคิด ความสามารถ ความดงี าม และความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม

5) ใหสถานศึกษาร่วมกบั บุคคล ครอบครวั ชมุ ชน องคกรชมุ ชน องคกรปกครองสวน
ทอ้ งถ่ิน เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสงั คม
อ่ืน ๆ สงเสรมิ ความเขมแขง็ ของชมุ ชน โดยจัดกระบวนการเรียนรูภายในชุมชน เพอื่ ใหชุมชนมีการจดั
การศึกษา อบรม มีการแสวงหาความรู ข้อมูล ข่าวสาร และรูจัดเลือกสรรภูมิปญั ญา และวิทยาการ
ต่าง ๆ เพื่อพฒั นาชมุ ชนใหสอดคลองกบั สภาพปญหาและความตองการ รวมทง้ั หาวิธกี ารสนบั สนนุ ให
มกี ารเปลี่ยนแปลง ประสบการณการพฒั นาระหว่างชุมชน

6) ใหสถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนทีม่ ีประสิทธิภาพรวมท้ังการสงเสริม
ใหผูสอนสามารถวิจยั เพ่ือพัฒนากระบวนการเรียนรูท่เี หมาะสมกบั ผู้เรียนในแต่ละระดบั การศกึ ษา

1.5 การประเมนิ ผลการเรยี นรู ในพระราชบญั ญัติการศึกษาแหงชาติ ไดร้ ะบถุ ึงวิธีการ
ประเมินผลการจัดกระบวนการเรยี นรูไววา ใหสถานศกึ ษาจัดการประเมนิ ผลผู้เรยี น โดยพจิ ารณาจาก
พัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การ สังเกตพฤตกิ รรมการเรียน การ่วมกจิ กรรมและการทดสอบ
ควบคไู ปในกระบวนการเรยี นการสอนตาม ความเหมาะสมของแต่ละระดบั และรปู แบบการศกึ ษา
นอกจากนนั้ การประเมนิ ผลผู้เรียนยงั ตองเกี่ยวของ กบั หลกั การสาคัญ คือ

1) ใชวิธีการทห่ี ลากหลายในการประเมินผู้เรยี น

2) ใชวิธกี ารทห่ี ลากหลายในการจัดสรรโอกาสเขาศึกษาตอ

3) ใชการวจิ ยั เพื่อพฒั นากระบวนการเรยี นการสอนท่เี หมาะสมกบั ผู้เรียน

9

4) มงุ่ การประกนั คณุ ภาพ โดยสถานศึกษาทาการประเมนิ ผลภายในทุกปและรายงานผล
การประเมนิ ผลต่อตนสังคมและสาธารณชน

5) สถานศึกษาได้รบั การประเมนิ ภายนอกอย่างน้อย 1 คร้ัง ทกุ 5 ปี

2. แนวคิดเกยี่ วกับการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning

2.1 ความหมายของการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning

Active Learning เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทางปัญญา
(Constructivism) ท่ีเน้นกระบวนการเรียนรู้มากกว่าเนื้อหาวิชา เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยง
ความรู้ หรือสร้างความรู้ให้เกิดข้ึนในตนเอง ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงผ่านสื่อหรือกิจกรรมการเรียนรู้
ท่ีมีครูผู้สอนเป็นผู้แนะนา กระตุ้น หรืออานวยความสะดวก ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ข้ึน โดย
กระบวนการคิดขั้นสูง กล่าวคือ ผู้เรียนมีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินค่าจากสิ่งที่ได้รับ
จากกิจกรรมการเรยี นรู้ ทาให้การเรยี นร้เู ปน็ ไปอยา่ งมีความหมายและนาไปใช้ในสถานการณ์อน่ื ๆ ได้
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ (สถาพร พฤฑฒิกลุ , 2558)

Active Learning เป็นการจัดการเรียนการสอนแบบเน้นพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริม
ให้ผูเ้ รยี นประยุกตใ์ ชท้ ักษะและเชื่อมโยงองค์ความรู้นาไปปฏบิ ัติเพื่อแก้ไขปัญหาหรือประกอบอาชีพใน
อนาคตหลักการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning เป็นการนาเอาวิธีการสอน เทคนิคการ
สอนท่ีหลากหลายมาใช้ออกแบบแผนการสอนและกิจกรรมกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
ส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนและผู้เรียนกับผู้สอน Active Learning จึงถือเป็นการ
จัดการเรียนการสอนประเภทหนึ่งท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงใน
ยุคปัจจุบัน อีกทั้งยังช่วยส่งเสริม student’s engagement, enhance relevance, and improve
motivation ของผู้เรยี น

2.2 ลักษณะของการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning

ลักษณะของการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning เปน็ ดงั น้ี
(ไชยยศ เรืองสวุ รรณ, 2553)

1. เป็นการเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแกป้ ัญหา และการ
นาความร้ไู ปประยุกต์ใช้

2. เป็นการเรยี นการสอนท่ีเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนมีสว่ นร่วมในกระบวนการเรยี นรูส้ งู สดุ

3. ผเู้ รยี นสร้างองคค์ วามรู้และจดั กระบวนการเรียนรดู้ ้วยตนเอง

4. ผู้เรยี นมีสว่ นรว่ มในการเรียนการสอนทง้ั ในด้านการสร้างองค์ความรู้ การสรา้ งปฏิสัมพันธ์
ร่วมกนั ร่วมมือกันมากกว่าการแขง่ ขนั

10

5. ผเู้ รียนเรยี นรู้ความรับผดิ ชอบรว่ มกัน การมีวินัยในการทางาน และการแบ่งหน้าที่ความ
รับผดิ ชอบ

6. เป็นกระบวนการสรา้ งสถานการณ์ให้ผู้เรยี นอา่ น พดู ฟัง คิดอยา่ งลุ่มลึก ผู้เรยี นจะเป็นผู้
จดั ระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง

7. เปน็ กจิ กรรมการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ทักษะการคิดขั้นสงู

8. เปน็ กิจกรรมทีเ่ ปิดโอกาสให้ผู้เรยี นบรู ณาการข้อมูลข่าวสาร หรอื สารสนเทศ และหลกั การ
ความคิดรวบยอด

9. ผู้สอนจะเป็นผู้อานวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วย
ตนเอง

10. ความร้เู กิดจากประสบการณ์ การสรา้ งองค์ความรู้ และการสรปุ ทบทวนของผู้เรียน

2.3 วธิ กี ารจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning

จากลักษณะโดยท่ัวไปของกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning เราสามารถนา
กระบวนการนี้มาประยุกต์ใช้ในการจัดเรียนการสอนได้ ซ่ึง เยาวเรศ ภักดีจิตร (2557) ได้นาเสนอถึง
รูปแบบการจัดการเรียนการสอน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning มาประยุกต์ใช้
ไว้ดังนี้

1. การเรียนรู้ผ่านการทางาน (Work-based Learning) เป็นการจัดการเรียนการสอนที่
ส่งเสริมผู้เรียนให้เกิดพัฒนาการทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้เนื้อหาสาระ การฝึกปฏิบัติจริง ฝึกฝน
ทักษะทางสังคม ทักษะชีวิต ทักษะวิชาชีพการพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง โดยสถาบันการศึกษามัก
ร่วมมือกับแหล่งงานในชุมชน รับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนร่วมกัน ต้ังแต่การกาหนด
วัตถปุ ระสงค์ การกาหนดเนื้อหากจิ กรรม และวธิ กี ารประเมิน

2. การเรียนรู้ผ่านโครงงาน (Project-based Learning) การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็น
การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญรูปแบบหนึ่ง ที่เป็นการให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงใน
ลักษณะของการศึกษา สารวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐค์ ิดคน้ โดยครเู ปล่ยี นบทบาทจากการเป็นผู้ให้
ความรู้ (teacher) เป็นผู้อานวยความสะดวก (facilitator) หรือผู้ให้คาแนะนา (guide) ทาหน้าท่ี
ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทางานเป็นทีม กระตุ้น แนะนา และให้คาปรึกษา เพ่ือให้
โครงการสาเร็จลุล่วง ประโยชน์ของการเรียนรู้ด้วยโครงงาน สิ่งที่ผู้เรียนได้รับจากการเรียนรู้ด้วย PBL
จึงมิใช่ตัวความรู้ (knowledge) หรือวิธีการหาความรู้ (searching) แต่เป็นทักษะการเรียนรู้และ
นวัตกรรม (learning and innovation skills) ทักษะชีวิตและประกอบอาชีพ (Life and Career
skills) ทักษะดา้ นขอ้ มลู ขา่ วสาร การสื่อสารและเทคโนโลยี (Information Media and Technology
Skills) การออกแบบโครงงานท่ีดีจะกระตุ้นให้เกิดการค้นคว้าอย่างกระตือรือร้นและผู้เรียนจะได้ฝึก
การใช้ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์และแก้ปัญหา (critical thinking & problem solving) ทักษะการ

11

ส่ือสาร (communicating) และทักษะการสร้างความร่วมมือ(collaboration)ประโยชน์ที่ได้สาหรับ
ครทู นี่ อกจากจะเป็นการพัฒนาคุณภาพด้านวชิ าชีพแล้ว ยงั ช่วยใหเ้ กดิ การทางานแบบรว่ มมอื กับเพ่ือน
ครูด้วยกัน รวมทง้ั โอกาสท่จี ะได้สรา้ งสัมพันธ์ท่ดี กี บั นกั เรียนด้วย

3. การเรียนรู้ผ่านกิจกรรม (Activity-based Learning) ในการยึดหลักการให้ผู้เรียน
สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง “Child Centered” การเรียนโดยการปฏิบัติจริง Learning by Doing
และปฏิบัติเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้และแก้ปัญหาได้ Doing by Learning จึงถูกนามาใช้อย่างจริงจังใน
การปฏิรูปการศึกษาของไทย การเรียนรู้ชนิดนี้เอง ท่ีมีผู้ต้ังฉายาว่า “สอนแต่น้อย ให้เรียนมาก ๆ
Teach less..Learn More” การเรียนแบบ Learning by Doing นั้นใช้ “กิจกรรม Activity” เป็น
หลักในการเรียนการสอน โดยการ “ปฏิบัติจริง Doing” ในเนื้อหาทุกขั้นตอนของการเรียนรู้ เป็นการ
เรียนรู้ด้วยตนเอง ทกุ คนในกลุ่มเปน็ ผู้ปฏิบัติ คุณครูเปน็ พี่เลีย้ งและเทรนเนอร์ แต่กิจกรรมทน่ี ามาใช้นี้
ต้องมีประสิทธภิ าพในการเรียนรูเ้ น้ือหานั้น ๆ มีจุดมงุ่ หมาย สนุก และน่าสนใจ ไมซ่ ้าซากจนก่อให้เกิด
ความเบ่อื หน่าย ดังน้ัน คุณครจู ึงเป็น “นักออกแบบกิจกรรม Activity Designer” มอื อาชพี ทีส่ ามารถ
“มองเห็นภาพกิจกรรม” ไดท้ ันที

4. การเรียนรผู้ า่ นการแก้ปัญหา (Problem-based Learning) เปน็ รปู แบบการเรียนอีก
รูปแบบหนง่ึ ทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ ศนู ย์กลาง และรจู้ กั การทางานรว่ มกันเปน็ ทมี ของผ้เู รยี น โดยผสู้ อนมสี ่วน
ร่วมน้อยแต่ก็ท้าทายผู้สอนมากท่ีสุด กระบวนการการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน จะจัดผู้เรียนเป็น
กลุ่มย่อย ขนาดประมาณ 8 -10 คน โดยมีครูหรือผู้สอนประจากลุ่ม 1 คน ทาหน้าท่ีเป็นผู้สนับสนุน
การการเรยี นรู้ (facilitator)

5. การเรียนรู้ผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตรหรือวิธีวิจัย (Research-based
Learning) การเรียนรู้ท่ีเน้นการวิจัยถือได้ว่าเป็นหัวใจของบัณฑิตศึกษา เพราะเป็นการเรียนที่เน้น
การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองของผู้เรียนโดยตรง เป็นการพัฒนากระบวนการแสวงหาความรู้ และ
การทดสอบความสามารถทางการเรียนรดู้ ้วยตนเองของผู้เรียน

1.4 บทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning

บทบาทของครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางของ Active Learning ดังน้ี
(ณัชนนั แกว้ ชยั เจรญิ กจิ , 2550)

1. สร้างบรรยากาศของการมีส่วนร่วม และการเจรจาโต้ตอบที่สง่ เสริมให้ผ้เู รียนมีปฏิสัมพันธ์
ท่ีดกี บั ผสู้ อนและเพือ่ นในชน้ั เรียน

2. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นพลวัต ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในทุกกิจกรรม
รวมท้ังกระตุ้นให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จในการเรียนรู้

3. จัดสภาพการเรยี นรแู้ บบรว่ มมือ สง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการร่วมมอื ในกลุ่มผู้เรียน

12

4. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ท้าทาย และให้โอกาสผู้เรียนได้รับวิธีการสอนท่ี
หลากหลาย

5. วางแผนเก่ียวกับเวลาในจัดการเรียนการสอนอย่างชัดเจน ท้ังในส่วนของเน้ือหา และ
กจิ กรรม

6. ครูผู้สอนตอ้ งใจกวา้ ง ยอมรบั ในความสามารถในการแสดงออก และความคดิ เของทผี่ ู้เรยี น

1.5 บทบาทของนกั เรยี นในการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning

1. มีทัศนคตทิ ด่ี ีและเหน็ ความสาคญั ของ Active Learning
2. เป็นผเู้ ปิดกว้างทางความคดิ
3. มีส่วนรว่ มกบั ทกุ กระบวนการเรียนรู้
4. เต็มใจท่ีจะแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกนั และกนั
5. ยอมรบั ฟังความคิดเหน็ ท่แี ตกต่างและคาวจิ ารณ์
6. มเี ปา้ หมายการเรยี นร้ทู ่ีชดั เจน
7. มสี ่วนร่วมกบั กจิ กรรมอย่างกระตอื รือร้น
8. เกิดความรู้ความเข้าใจในสิง่ ท่ีกาลงั ทาอยู่
9. มีสว่ นร่วมในกระบวนการคิดขนั้ สูง
10.เป็นผู้ลงมือปฏบิ ัติหรือทากจิ กรรม
11.กาหนดวัตถปุ ระสงค์และมีส่วนรว่ มในทกุ ขัน้ ตอนของการเรียน
12.มที ักษะในการคน้ ควา้ ศึกษาหาความรดู้ ว้ ยตนเอง
13.เป็นผูค้ ดิ หรือลงมือทากจิ กรรมดว้ ยตนเองอย่างกระตือรอื ร้น
14.เปน็ ผ้ดู าเนนิ กจิ กรรมหลัก ๆ โดยมีครูเป็นผูใ้ หค้ าปรึกษา
15.เป็นผู้ค้นควา้ หาความรู้จากกิจกรรมและจากการแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ จากเพ่ือนที่ทา
กจิ กรรมรว่ มกัน
16.ยอมรับความแตกตา่ ง
17.เป็นผู้มีวินัย

1.6 ลักษณะของสื่อการเรียนรู้แบบ Active Learning

1. สือ่ การเรยี นรู้แบบ Active Learning ควรเป็นสื่อที่พบในชวี ติ จริง (authentic
materials)

2. ควรมีความทันสมยั และรว่ ม สมยั
3. ควรนาส่ือผสมผสานมาใช้
4. ควรมคี วามหลากหลาย

13

5. ผ้เู รยี นควรมสี ว่ นร่วมในการ เลือก materials ต่าง ๆ รวมถึงวธิ กี ารทากจิ กรรม
6. ควรใช้เทคโนโลยีหรือส่ิงสนับสนุนกจิ กรรมการมีสว่ นร่วม เชน่ การด์ เกมส์

1.7 การวดั และประเมินผลในการจัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning

1. ทกุ คนควรมีโอกาสในการประเมนิ เช่น ครูประเมินผูเ้ รียน ผู้เรยี นประเมนิ เพอ่ื น ผเู้ รยี น
ประเมนิ ตนเองควรให้ผู้เรียนไดส้ ะทอ้ นประสบการณ์การเรียนรู้และนามาแลกเปลีย่ นกนั

2. ผเู้ รยี นควรได้รับผลปอ้ นกลับเพอ่ื เกดิ การพฒั นา
3. ควรใช้วธิ ีการประเมนิ ทห่ี ลากหลายวธิ ีและเนน้ การปฏบิ ัติจรงิ
4. ควรมีเกณฑ์ในการวัดและประเมินผลชัดเจน
5. การประเมินควรสอดคล้องกับจดุ ประสงค์การเรียนรู้
6. ควรมีวิธกี ารประเมนิ ถูกต้องเหมาะสมกับทักษะที่ต้องการประเมิน
7. ผู้เรยี นควรมีสว่ นรว่ มในการกาหนดการวดั และประเมินผล
8. ควรมีแบบประเมนิ ตามกิจกรรมทก่ี าหนด
9. ครคู วรสงั เกตนักเรียนระหว่างทากิจกรรม

3. ตัวอย่างเทคนิคการจัดการเรยี นร้แู บบ Active Learning

การจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning สามารถสร้างให้เกิดข้นึ ได้ท้ังในห้องเรียนและนอก
ห้องเรียน รวมทั้งสามารถใช้ได้กับนักเรียนทุกระดับ ท้ังการเรียนรู้เป็นรายบุคคล การเรียนรู้แบบกลมุ่
เล็ก และการเรียนรู้แบบกลุ่มใหญ่ McKinney (2008) ได้เสนอตัวอย่างรูปแบบหรือเทคนิค การจัด
กจิ กรรมการเรยี นรู้ทจ่ี ะช่วยใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรียนรแู้ บบ Active Learning ได้ดี ไดแ้ ก่

1. การเรียนรแู้ บบแลกเปลยี่ นความคดิ (Think-Pair-Share) คอื การจัดกจิ กรรมการ
เรยี นร้ทู ่ใี ห้ผูเ้ รียนคดิ เก่ยี วกับประเด็นท่ีกาหนดแตล่ ะคน ประมาณ 2-3 นาที (Think) จากนน้ั ให้
แลกเปลย่ี นความคิดกบั เพื่อนอีกคน 3-5 นาที (Pair) และนาเสนอความคดิ เหน็ ตอ่ ผเู้ รยี นทั้งหมด
(Share)

2. การเรยี นรแู้ บบร่วมมือ (Collaborative learning group) คือการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ทีใ่ ห้ผู้เรยี นไดท้ างานร่วมกบั ผอู้ ่ืน โดยจดั เป็นกล่มุ ๆ ละ 3-6 คน

3. การเรียนร้แู บบทบทวนโดยผ้เู รียน (Student-led review sessions) คือการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่เปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นได้ทบทวนความรู้และพิจารณาข้อสงสัยตา่ ง ๆ ในการปฏบิ ัติ
กิจกรรมการเรียนรู้ โดยครจู ะคอยชว่ ยเหลือกรณที ่มี ปี ัญหา

4. การเรียนรู้แบบใชเ้ กม (Games) คือการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูท้ ่ีผสู้ อนนาเกมเขา้ บูรณา
การในการเรยี นการสอน ซึ่งใชไ้ ด้ท้งั ในขนั้ การนาเขา้ สู่บทเรียน การสอน การมอบหมายงาน และหรือ
ขน้ั การประเมินผล

14

5. การเรียนรู้แบบวิเคราะหวีดีโอ (Analysis or reactions to videos) คือการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ดูวีดีโอ 5-20 นาที แล้วให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น หรือสะท้อน
ความคิดเกีย่ วกับส่ิงทไี่ ดด้ ู อาจโดยวธิ ีการพดู โต้ตอบกนั การเขยี น หรอื การรว่ มกันสรุปเปน็ รายกลุ่ม

6. การเรียนรู้แบบโต้วาที (Student debates) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่จัดให้
ผู้เรียนไดน้ าเสนอขอ้ มูลทไ่ี ด้จากประสบการณ์และการเรียนรู้ เพ่ือยนื ยันแนวคดิ ของตนเองหรอื กลุม่

7. ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ ผู้ เ รี ย น ส ร้ า ง แ บ บ ท ด ส อ บ ( Student generated exam
questions) คือการจดั กจิ กรรมการเรียนร้ทู ใ่ี ห้ผู้เรียนสร้างแบบทดสอบจากสิง่ ที่ได้เรียนรู้มาแล้ว

8. การเรียนรู้แบบกระบวนการวิจัย (Mini-research proposals or project) คือการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีอิงกระบวนการวจิ ยั โดยให้ผู้เรียนกาหนดหัวข้อท่ีต้องการเรียนรู้ วางแผนการ
เรียน เรียนรู้ตามแผน สรุปความรู้หรือสร้างผลงาน และสะท้อนความคิดในสิ่งที่ได้เรียนรู้ หรืออาจ
เรียกว่า การสอนแบบโครงงาน (project-based learning) หรือ การสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
(problem-based learning)

9. การเรียนรู้แบบกรณีศึกษา (Analyze case studies) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่
ให้ผูเ้ รยี นได้อ่านกรณีตวั อยา่ งที่ต้องการศึกษา จากน้ันใหผ้ เู้ รยี นวิเคราะห์และแลกเปล่ียนความคิดเห็น
หรือแนวทางแก้ปญั หาภายในกลมุ่ แล้วนาเสนอความคิดเห็นต่อผ้เู รยี นทงั้ หมด

10. การเรียนรู้แบบการเขียนบันทึก (Keeping journals or logs) คือการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ที่ผู้เรียนจดบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ที่ได้พบเห็น หรือเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในแต่ละวัน รวมท้ัง
เสนอความคิดเพมิ่ เติมเกย่ี วกบั บนั ทกึ ทีเ่ ขยี น

11. การเรียนรู้แบบการเขียนจดหมายข่าว (Write and produce a newsletter)
คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนร่วมกันผลิตจดหมายข่าว อันประกอบด้วย บทความ ข้อมูล
สารสนเทศ ขา่ วสาร และเหตุการณ์ที่เกดิ ข้ึน แลว้ แจกจ่ายไปยังบุคคลอน่ื ๆ

12. การเรยี นรู้แบบแผนผังความคิด (Concept mapping) คอื การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
ที่ให้ผู้เรียนออกแบบแผนผังความคิด เพ่ือนาเสนอความคิดรวบยอด และความเชื่อมโยงกันของกรอบ
ความคิด โดยการใช้เส้นเปน็ ตัวเชื่อมโยง อาจจดั ทาเป็นรายบคุ คลหรืองานกลุ่ม แลว้ นาเสนอผลงานต่อ
ผู้เรยี นอื่น ๆ จากน้นั เปิดโอกาสให้ผเู้ รียนคนอ่นื ได้ซักถามและแสดงความคดิ เห็นเพิ่มเติม

บทที่ 3
วธิ ีดำเนนิ กำรวิจัย

การวิจัยครง้ั นเ้ี ป็นการวิจยั เชิงสารวจ (Survey Research) เพอ่ื ศกึ ษาความเขา้ ใจเก่ียวกับการ
จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร จังหวัดระยอง
โดยผวู้ ิจยั ได้ดาเนนิ การตามขน้ั ตอน ดงั นี้

1. พ้ืนท่ที ใ่ี ช้ในการวจิ ยั
2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
3. เคร่อื งมือในการวจิ ยั และการตรวจสอบคุณภาพเครือ่ งมือ
4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
5. การวิเคราะหข์ ้อมูล และสถติ ิทีใ่ ช้

1. พนื้ ที่ทใ่ี ชใ้ นกำรวจิ ัย
โรงเรียนมาบตาพุดพนั พทิ ยาคาร จังหวัดระยอง สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18

2. ประชำกรและกลมุ่ ตัวอย่ำง
ประชำกร
ครู โรงเรยี นมาบตาพุดพนั พทิ ยาคาร จานวน 126 คน

กลมุ่ ตวั อยำ่ ง
ครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร จานวน 62 คน ได้จาก

การสุม่ อย่างงา่ ย (Simple Random Sampling) ตามสดั ส่วนของครูในแต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรู้

3. เครือ่ งมือในกำรวจิ ยั และกำรตรวจสอบคณุ ภำพเครื่องมอื

3.1 เครอื่ งมือในกำรวิจัย

แบบสอบถามเพ่ือการวจิ ัย เรอื่ ง การศึกษาความเข้าใจเก่ียวกับการจัดการเรยี นรู้แบบ Active
Learning ของครใู นโรงเรยี นมาบตาพุดพนั พิทยาคาร จังหวัดระยอง แบง่ ออกเปน็ 3 ตอน คอื

ตอนท่ี 1 เป็นแบบสอบถามขอ้ มูลพนื้ ฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม

ตอนท่ี 2 เป็นแบบสอบถามความเขา้ ใจเกี่ยวกับการจัดการเรยี นร้แู บบ Active Learning

ตอนท่ี 3 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพการจัดการเรยี นรใู้ นปจั จุบันของ

16

มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ ยึดตามขอบข่ายการ
จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning 5 ด้าน ได้แก่ 1) ลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้ 2) บทบาท
และหน้าที่ของครูผู้สอน 3) บทบาทหน้าท่ีของผู้เรียน 4) ลักษณะของส่ือการเรียนรู้ และ 5) การวัด
และประเมนิ ผล

3.2 กำรสร้ำงเคร่อื งมือและหำคณุ ภำพเครอื่ งมือทีใ่ ช้ในกำรวจิ ยั

1. ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับขอบข่ายการจัดการ
เรียนรูแ้ บบ Active Learning เพอ่ื นาขอ้ มลู ทไี่ ด้สร้างแบบสอบถาม

2. ศึกษาการสร้างเคร่ืองมือแล้วนาข้อมูลมาสร้างแบบสอบถามเพ่ือการวิจัย เรื่อง การศึกษา
ความเข้าใจเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยา
คาร จังหวดั ระยอง

3. กาหนดขอบข่ายการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning 5 ด้าน ได้แก่ 1) ลักษณะของ
กิจกรรมการเรียนรู้ 2) บทบาทและหน้าที่ของครูผู้สอน 3) บทบาทหน้าที่ของผู้เรียน 4) ลักษณะของ
สื่อการเรียนรู้ และ 5) การวัดและประเมินผล ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า
5 ระดบั จานวน 40 ข้อ

4. สร้างและพฒั นาแบบสอบถามเพ่ือการวจิ ัย เรื่อง การศึกษาความเข้าใจเกี่ยวกบั การจัดการ
เรียนรแู้ บบ Active Learning ของครูในโรงเรยี นมาบตาพดุ พนั พิทยาคาร จังหวัดระยอง

5. นาแบบสอบถามทพ่ี ัฒนาขนึ้ เสนอต่อรองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ โรงเรียนมาบตา
พดุ พันพิทยาคาร เพื่อตรวจสอบความเท่ียงตรงเชงิ เนือ้ หา (Content validity) สานวนภาษา

4. กำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล

1. ผู้วิจัยดาเนินการส่งและเก็บแบบสอบถามด้วยตนเอง โดยส่งแบบสอบถามไปตามกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ ในโรงเรียนมาบตาพุดพันพทิ ยาคาร จานวน 62 ฉบบั

2. ตรวจสอบความถูกต้องของแบบสอบถามก่อนนาไปวิเคราะห์ตามวธิ สี ถิติ

5. กำรวเิ ครำะหข์ ้อมลู และสถิติที่ใช้

5.1 กำรวิเครำะหข์ อ้ มูล

ผู้วิจัยนาข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบสอบถาม มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
ทางสถิติ มีข้ันตอนการดาเนินการ ดังนี้

17

1. วิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับข้อมูลท่ัวไปของสถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม โดยนาข้อมูลมา
แจกแจงความถ่ี (Frequency Distribution) และหาค่าร้อยละ (Percentage) นาเสนอผลการ
วิเคราะห์ข้อมูลในรูปตารางประกอบความเรยี ง

2. วิเคราะห์ความเข้าใจเกี่ยวกับการจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูในโรงเรียน
มาบตาพุดพันพิทยาคาร จังหวัดระยอง โดยนามาหาค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(Standard Deviation) นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปตารางประกอบความเรียง สาหรับการ
แปลความหมายของแบบสอบถามแยกเป็นรายข้อ รายด้าน และรวมทุกด้าน ถือเกณฑ์ ในการแปล
ความของค่าเฉล่ียโดยใช้เกณฑ์มาตรฐานของลิเคิร์ท (Likert อ้างถึงใน บุญชม ศรีสะอาด (2554) ซ่ึง
แปลค่าเฉล่ียตามลาดบั ดงั น้ี

4.51 – 5.00 หมายความวา่ เห็นด้วยอยู่ในระดบั มากทีส่ ุด
3.51 – 4.50 หมายความวา่ เห็นด้วยอยู่ในระดับมาก
2.51 – 3.50 หมายความวา่ เหน็ ด้วยอย่ใู นระดับปานกลาง
1.51 – 2.50 หมายความว่า เห็นด้วยอยู่ในระดับน้อย
1.00 – 1.50 หมายความวา่ เห็นดว้ ยอยู่ในระดับน้อยทีส่ ุด

5.2 สถิติท่ใี ช้

การศกึ ษาครงั้ นี้ ใช้สถิติพนื้ ฐานในการวเิ คราะหข์ ้อมลู ได้แก่ คา่ ความถ่ี ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย
และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน

5.2.1 ร้อยละ (Percentage) ใช้สูตร (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2554)

P = f 100
N

เมือ่ P แทน ร้อยละ
แทน ความถี่ทตี่ ้องการแปลงให้เป็นร้อยละ
f แทน จานวนความถท่ี ้งั หมด
N

5.2.2 ค่าเฉลีย่ (Mean) ของคะแนนใช้สูตร (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2554)

X = X

N

18

เมื่อ X แทน คา่ เฉลี่ย

 X แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมด

N แทน จานวนนกั เรยี นในกลุ่มตัวอยา่ ง

5.2.3 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใช้สูตร (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2554)

S.D. = n X 2 − (  X)2
n(n − 1)

เมือ่ S.D. แทน สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน

 X 2 แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะตวั ยกกาลังสอง
( X )2 แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมดยกกาลังสอง

n แทน จานวนนักเรยี นในกลุม่ ตวั อย่าง

บทที่ 4
ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล

การศึกษาความเขา้ ใจเกยี่ วกับการจัดการเรียนร้แู บบ Active Learning ของครูในโรงเรียน
มาบตาพุดพนั พิทยาคาร จังหวัดระยอง โดยผ้วู จิ ยั ขอนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ตามลาดบั ดงั น้ี

1. สัญลักษณ์ทใี่ ชใ้ นการนาเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมลู
2. ลาดบั ขน้ั ตอนในการนาเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
3. ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล

สญั ลกั ษณ์ทีใ่ ช้ในการนาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล
เพ่อื ให้การนาเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูลเป็นท่ีเข้าใจตรงกันในการส่ือความหมาย ผู้รายงาน

ได้กาหนดความหมายของสญั ลักษณ์ที่ใช้ในการนาเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ดังน้ี

n แทน จานวนกลมุ่ ตัวอย่าง
X แทน ค่าเฉลี่ย
S.D. แทน สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน

ลาดับขนั้ ตอนในการนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู
การวเิ คราะห์ขอ้ มูลในการศกึ ษาน้ี ผรู้ ายงานแบง่ การวเิ คราะหข์ ้อมูลออกเป็น 3 ตอน

ตามลาดับ ดงั นี้
ตอนท่ี 1 เปน็ แบบสอบถามข้อมลู พ้นื ฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 2 เปน็ แบบสอบถามความเข้าใจเก่ียวกบั การจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning
ตอนท่ี 3 เปน็ แบบสอบถามเก่ียวกบั สภาพการจดั การเรียนรู้ในปัจจบุ นั ของ

ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู
การศึกษาความเข้าใจเกีย่ วกบั การจัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning ของครูในโรงเรยี นมาบ

ตาพุดพันพิทยาคาร จังหวดั ระยอง มผี ลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ดังน้ี

20

ตอนท่ี 1 ข้อมลู พ้นื ฐานของผูต้ อบแบบสอบถาม

ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลเกย่ี วกับสถานภาพส่วนตัวของครแู ละบุคลากรทางการศึกษาท่ีตอบ
แบบสอบถาม ปรากฏผลดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม จาแนกตามสถานภาพส่วนตวั

สถานภาพ n = 62
จานวน รอ้ ยละ
1. เพศ
1.1 ชาย 17 27.42
1.2 หญิง 45 72.58

2. อายุ 32 51.61
2.1 ไม่เกนิ 30 ปี 18 29.03
2.2 31-40 ปี 10 16.13
2.3 41-50 ปี 1 1.61
2.4 51-60 ปี
44 70.97
3. วุฒิการศกึ ษาสงู สดุ 18 29.03
3.1 ปรญิ ญาตรี
3.2 สงู กว่าปริญญาตรี 4 6.45
12 19.35
4. ประสบการณท์ างาน 16 25.81
4.1 มากกว่า 20 ปี 28 45.16
4.2 11 – 20 ปี
4.3 5 – 10 ปี 6 9.68
4.4 นอ้ ยกวา่ 5 ปี 14 22.58
17 27.42
5. ตาแหนง่ วชิ าการ 25 40.32
5.1 ครู ชานาญการพเิ ศษ
5.2 ครู ชานาญการ
5.3 ครู
5.4 ครผู ู้ชว่ ย

21

ตารางที่ 1 (ต่อ) n = 62
สถานภาพ จานวน รอ้ ยละ

6. กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 3 4.84
6.1 ภาษาไทย 9 14.52
6.2 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 12 19.35
6.3 คณิตศาสตร์ 12 19.35
6.4 วิทยาศาสตร์ 4 6.45
6.5 ศลิ ปะ 1 1.61
6.6 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 11 17.74
6.7 ภาษาต่างประเทศ 8 12.90
6.8 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 3.23
6.9 กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพส่วนตัวของครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีตอบ
แบบสอบถามจากตารางที่ 1 แสดงว่า กลมุ่ ตวั อย่างเปน็ เพศหญงิ รอ้ ยละ 72.58 และเป็นเพศชาย ร้อย
ละ 27.42 กลุ่มตัวอย่างมีอายุไม่เกิน 30 ปี ร้อยละ 51.61 อายุระหว่าง 31 - 40 ปี ร้อยละ29.03
อายรุ ะหว่าง 41 - 50 ปี ร้อยละ 16.13 และอายรุ ะหว่าง 51 – 60 ปี ร้อยละ 1.61 กลุ่มตัวอยา่ งมีวุฒิ
การศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 70.97 และวุฒิการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 29.03
ตาแหน่งทางวิชาการ ครู ชานาญการพิเศษ ร้อยละ 9.68 ครู ชานาญการ ร้อยละ 22.58 ครู ร้อยละ
27.42 และครูผู้ช่วย ร้อยละ 40.32 กลุ่มตัวอย่างเป็นครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ร้อยละ 4.84
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ร้อยละ 14.52 คณิตศาสตร์ ร้อยละ 19.35 วิทยาศาสตร์ ร้อยละ
19.35 ศิลปะ ร้อยละ 6.45 สุขศึกษาและพลศึกษา ร้อยละ 1.61 ภาษาต่างประเทศ ร้อยละ 17.74
การงานอาชพี และเทคโนโลยี รอ้ ยละ 12.90 และกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น รอ้ ยละ 3.23

22

ตอนท่ี 2 ความเขา้ ใจเกยี่ วกับการจัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning
ผลการวเิ คราะห์ความเข้าใจเกย่ี วกบั การจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning ของครูใน

โรงเรียนมาบตาพดุ พันพิทยาคาร จงั หวัดระยอง ปรากฏผลดังตารางที่ 2 - 7

ตารางที่ 2 ค่าคะแนนเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับ และอันดับความเข้าใจเกี่ยวกับการ
จัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning ของครใู นโรงเรยี นมาบตาพุดพันพทิ ยาคาร โดยรวม
และรายด้าน

ขอบขา่ ยการจดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning X ระดบั ความเขา้ ใจ
S.D. ระดบั อนั ดับ
1. ลกั ษณะของกจิ กรรมการเรียนรแู้ บบ Active 3.46 1.06 ปานกลาง 5
Learning
2. บทบาทและหนา้ ทข่ี องครผู ู้สอนในการจัดการ 3.99 1.04 มาก 1
เรียนรูแ้ บบ Active Learning
3. บทบาทหน้าท่ีของผเู้ รียนในการจดั การเรยี นรแู้ บบ 3.86 0.93 มาก 2
Active Learning
4. ลกั ษณะของสอ่ื การเรียนรแู้ บบ Active Learning 3.68 1.10 มาก 4
5. การวัดและประเมินผลในการจัดการเรียนร้แู บบ 3.76 1.14 มาก 3
Active Learning
3.76 1.05 มาก -
รวม

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามรางท่ี 2 พบว่า ระดับความเข้าใจเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้แบบ
Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.76,
S.D. = 1.05) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ครูโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร มีความเข้าใจบทบาท
และหน้าท่ีของครูผ้สู อนในการจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning สูงสุด ในระดบั มาก ( X = 3.99,
S.D. = 1.04) รองลงมาคือ ครโู รงเรยี นมาบตาพุดพนั พทิ ยาคาร มีความเขา้ ใจบทบาทหน้าท่ขี องผู้เรียน
ในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ในระดับมาก ( X = 3.86, S.D. = 1.10) ด้านการวัด
และประเมินผลในการจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning ในระดับมาก ( X = 3.76, S.D. = 1.14)
ดา้ นลกั ษณะของสื่อการเรยี นรู้แบบ Active Learning ในระดับมาก ( X = 3.68, S.D. = 1.10) และ
ด้านลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ในระดับปานกลาง ( X = 3.46, S.D. =
1.06)

23

ตารางที่ 3 ค่าคะแนนเฉล่ยี ความเบย่ี งเบนมาตรฐาน ระดับ และอันดบั ความเข้าใจเกย่ี วกับการ
จดั การเรียนร้แู บบ Active Learning ของครใู นโรงเรียนมาบตาพุดพนั พิทยาคาร ดา้ น
ลกั ษณะของกจิ กรรมการเรียนรูแ้ บบ Active Learning

ขอบข่ายการจดั การเรยี นร้แู บบ Active Learning ระดบั ความเขา้ ใจ
X S.D. ระดบั
1. ลกั ษณะของกิจกรรมการเรยี นรแู้ บบ Active Learning 4.44 0.61 มาก
1.1 Active Learning เปน็ กระบวนการเรยี นรู้ผ่านการปฏบิ ัติ หรอื 2.24 1.01 นอ้ ย
การลงมอื ทา เพื่อฝกึ ทกั ษะการแก้ปญั หา และการคิดขั้นสูง 3.27 1.00 ปานกลาง
*1.2 การจดั การเรยี นรู้ไม่จาเป็นตอ้ งมีความหลากหลาย แต่ควรเปน็ 3.85 1.22 มาก
กจิ กรรมท่นี ักเรียนได้ลงมือปฏบิ ตั กิ ิจกรรมดว้ ยตนเอง 2.76 1.08 ปานกลาง
*1.3 การจดั กิจกรรมการเรียนร้แู บบ Active Learning ต้องจัด 4.32 0.59 มาก
กิจกรรมเป็นกลมุ่ เท่าน้ัน 1.79 0.83 น้อย
1.4 การใชค้ าถามสืบสอบของครูผู้สอน ถอื เป็นกิจกรรมการเรยี นรู้ 4.65 0.68 มากที่สดุ
แบบ Active Learning 4.37 0.60 มาก
*1.5 กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบ Active Learning ท่ีดี ควรเป็นกจิ กรรม 2.90 1.18 ปานกลาง
นอกห้องเรียนทใ่ี หน้ ักเรียนได้เคลอื่ นไหวรา่ งกาย 3.46 1.06 ปานกลาง
1.6 กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ีใหน้ ักเรียนสารวจ และเสาะแสวงหาความรู้
ด้วยตนเอง เป็นกจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบ Active Learning แบบหนึ่ง
*1.7 จดุ มุ่งหมายหลกั ของการจดั การเรยี นร้แู บบ Active Learning
คือ นักเรยี นเรียนแบบสนกุ สนาน ไมเ่ บ่ือหน่ายกับการเรยี น
1.8 กจิ กรรมการเรยี นรูแ้ บบ Active learning ควรส่งเสริมใหน้ กั เรียน
ได้แบง่ ปันความรู้ คดิ /วิเคราะห์ และแสดงความคดิ เหน็
1.9 กิจกรรมการเรยี นร้แู บบ Active Learning เป็นกระบวนการสร้าง
สถานการณ์ให้ผเู้ รียนอา่ น พูด ฟงั คิด
*1.10 กิจกรรมการเรยี นรแู้ บบ Active Learning เป็นกจิ กรรมการ
เรยี นรูท้ ม่ี ุ่งเนน้ ให้ผู้เรยี นเกิดการแขง่ ขัน

รวม

หมายเหตุ * แทน ขอ้ คาถามแสดงพฤตติ ามขอบขา่ ยการจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning แบบเชงิ ลบ

24

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากตารางที่ 3 พบว่า ระดับความเข้าใจเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้
แบบ Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร ด้านลักษณะของกิจกรรมการ
เรียนรู้แบบ Active Learning ในระดับปานกลาง ( X = 3.46, S.D. = 1.06) เม่ือพิจารณาเป็นราย
ข้อ พบว่า ครูโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร มีความเข้าใจที่ถูกต้องเก่ียวกับลักษณะของกิจกรรม
การเรียนรู้แบบ Active Learning 3 ลาดับแรก คือ กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active learning ควร
ส่งเสริมให้นักเรียนได้แบ่งปันความรู้ คิด/วิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็น ( X = 4.65, S.D. =
0.68) รองลงมาคือ Active Learning เป็นกระบวนการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ หรือการลงมือทา เพื่อ
ฝึกทักษะการแก้ปัญหา และการคิดขั้นสูง ( X = 4.44, S.D. = 0.61) การใช้คาถามสืบสอบของ
ครูผู้สอน ถือเป็นกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ( X = 3.85, S.D. = 1.22) นอกจากน้ี
พบว่า ครูโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร มีความเข้าใจคลาดเคล่ือนมากเกี่ยวกับลักษณะของ
กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ใน 2 ประเด็น คือ จุดมุ่งหมายหลักของการจัดการเรียนรู้
แบบ Active Learning คือ นักเรียนเรียนแบบสนุกสนาน ไม่เบ่ือหน่ายกับการเรียน ( X = 1.79,
S.D. = 0.83) และการจดั การเรียนรู้ไมจ่ าเปน็ ต้องมีความหลากหลาย แต่ควรเปน็ กจิ กรรมท่นี ักเรียนได้
ลงมอื ปฏิบัตกิ ิจกรรมดว้ ยตนเอง ( X = 2.24, S.D. = 1.01)

25

ตารางท่ี 4 คา่ คะแนนเฉลีย่ ความเบยี่ งเบนมาตรฐาน ระดับ และอันดับความเข้าใจเกย่ี วกบั การ
จดั การเรียนรูแ้ บบ Active Learning ของครใู นโรงเรียนมาบตาพุดพนั พิทยาคาร
ดา้ นบทบาทและหนา้ ที่ของครูผสู้ อนในการจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning

ขอบข่ายการจดั การเรยี นร้แู บบ Active Learning ระดับความเขา้ ใจ

X S.D. ระดับ
2. บทบาทและหนา้ ที่ของครผู ูส้ อนในการจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning

2.1 เปน็ ผู้เปดิ กว้างทางความคิด ยอมรับในความสามารถในการ 4.68 0.50 มากทสี่ ดุ

แสดงออก และความคิดเหน็ ของท่ผี ูเ้ รยี น

*2.2 เป็นผู้ดาเนินกิจกรรมการเรยี นรหู้ ลกั 2.60 1.20 ปานกลาง

2.3 เป็นผู้กระตุ้นให้กิจกรรมดาเนินไปอย่างสนุกสนานและบรรลุผล 4.55 0.5 มากทส่ี ุด

2.4 เป็นผ้จู ดั สภาพการเรียนรู้แบบรว่ มมอื ส่งเสริมให้เกดิ การรว่ มมือ 4.61 0.52 มากทส่ี ุด

ในกลมุ่ ผ้เู รียน

*2.5 เปน็ ผู้บอกความรู้ให้แก่นักเรยี นโดยตรง เพื่อปอ้ งกันแนวคิด 2.97 1.18 ปานกลาง

คลาดเคลือ่ นที่จะเกดิ ข้นึ ในการเรยี นรู้

2.6 เป็นผู้วางแผนเกยี่ วกบั เวลาในจดั การเรยี นการเรยี นรู้อยา่ งชดั เจน 4.05 0.75 มาก

ทงั้ ในสว่ นของเนอ้ื หา และกิจกรรม

*2.7 เปน็ ผจู้ ัดสภาพห้องเรยี นให้เกดิ บรรยากาศของการแข่งขนั 2.77 1.36 ปานกลาง

2.8 เปน็ ผูค้ อยอานวยความสะดวก (Facilitator) ในขณะท่ีนกั เรียนทา 4.60 0.49 มากทสี่ ดุ

กจิ กรรม

2.9 เป็นผู้กระต้นุ และตัง้ คาถามใหผ้ ูเ้ รียนไดค้ ิด 4.50 0.71 มาก

2.10 เขา้ ใจวา่ ผูเ้ รียนมคี วามแตกต่างกันหลาย ๆ ด้าน ไมว่ ่าจะเป็น 4.63 0.51 มากทีส่ ดุ

ด้านรปู แบบการเรียนรู้ แรงจูงใจ ความสนใจ ความชอบ และระดับ

ความสามารถ

รวม 3.99 1.04 มาก

หมายเหตุ * แทน ขอ้ คาถามแสดงพฤตติ ามขอบข่ายการจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning แบบเชงิ ลบ

26

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากตารางที่ 4 พบว่า ระดับความเข้าใจเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้
แบบ Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร ด้านบทบาทและหน้าท่ีของ
ครูผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ในระดับมาก ( X = 3.99, S.D. = 1.04) เม่ือ
พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ครูโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร มีความเข้าใจที่ถูกต้องเก่ียวกับ
บทบาทและหน้าท่ีของครูผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning 3 ลาดับแรก คือ ในการ
จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ครูควรเป็นผู้เปิดกว้างทางความคิด ยอมรับในความสามารถใน
การแสดงออก และความคิดเห็นของท่ีผู้เรียน ( X = 4.68, S.D. = 0.50) ครูควรเข้าใจว่าผู้เรียนมี
ความแตกต่างกันหลาย ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านรูปแบบการเรียนรู้ แรงจูงใจ ความสนใจ ความชอบ
และระดับความสามารถ ( X = 4.63, S.D. = 1.04) และครูควรเปน็ ผู้จัดสภาพการเรียนรแู้ บบร่วมมือ
สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การร่วมมือในกล่มุ ผู้เรียน ( X = 4.61, S.D. = 0.52) นอกจากน้พี บว่า ครโู รงเรียนมาบ
ตาพุดพันพิทยาคาร มีความเข้าใจคลาดเคล่ือนในระดับปานกลางเก่ียวกับบทบาทและหน้าท่ีของ
ครูผู้สอนในการจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning ใน 3 ประเด็น คือ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
แบบ Active Learning ครูต้องเป็นผู้ดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้หลัก ( X = 2.60, S.D. = 1.20) ครู
ต้องเป็นผู้จัดสภาพห้องเรียนให้เกิดบรรยากาศของการแข่งขัน ( X = 2.77, S.D. = 1.36) และครู
ต้องเป็นผู้บอกความร้ใู หแ้ ก่นักเรียนโดยตรง เพื่อป้องกันแนวคิดคลาดเคลอื่ นท่ีจะเกิดข้ึนในการเรยี นรู้
( X = 2.97, S.D. = 1.18)

27

ตารางที่ 5 ค่าคะแนนเฉลีย่ ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน ระดับ และอนั ดับความเข้าใจเกีย่ วกบั การ
จดั การเรียนรูแ้ บบ Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพนั พิทยาคาร ดา้ น
บทบาทหน้าท่ีของผู้เรยี นในการจัดการเรียนรูแ้ บบ Active Learning

ขอบขา่ ยการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ระดบั ความเขา้ ใจ

X S.D. ระดบั

3. บทบาทหนา้ ท่ขี องผู้เรียนในการจัดการเรยี นรแู้ บบ Active Learning

*3.1 เปน็ ผู้ตัง้ ใจฟัง และจดจาความรูจ้ ากครผู สู้ อนให้มากท่ีสดุ 2.71 1.28 ปานกลาง

3.2 เป็นผูค้ ดิ หรอื ลงมือทากิจกรรมด้วยตนเองอย่างกระตือรือร้น 4.52 0.64 มากทีส่ ดุ

*3.3 ในการทากจิ กรรมกลมุ่ สามารถทาแตก่ ิจกรรมตามท่ีได้รบั

มอบหมาย ไมจ่ าเป็นต้องมีสว่ นร่วมในทุกข้นั ตอนของกิจกรรม 2.69 1.03 ปานกลาง

3.4 เป็นผ้มู สี ่วนร่วมในการทากจิ กรรม มีการสร้างองคค์ วามรู้ การ

สรา้ งปฎสิ ัมพนั ธ์ร่วมกัน และร่วมมือกันมากกว่าการแข่งขนั 4.32 0.74 มาก

3.5 เป็นผู้ดาเนินกจิ กรรมหลัก โดยมีครูเปน็ ผใู้ ห้คาปรึกษา 4.50 0.64 มาก

3.6 เป็นผ้คู ้นควา้ หาความร้จู ากกจิ กรรมและจากการแลกเปลีย่ นความ

คิดเหน็ จากเพ่ือนทที่ ากจิ กรรมรว่ มกนั 4.48 0.53 มาก

3.7 เปน็ ผู้มเี ป้าหมายในการเรียนรู้ทีช่ ดั เจน 4.21 0.60 มาก

*3.8 เปน็ ผู้ลงมอื ปฏิบัตกิ ิจกรรมตามหน้าที่ที่ไดร้ บั มอบหมาย เกิด

ความรคู้ วามเข้าใจในส่งิ ท่ีกาลังทาอยู่ ไมจ่ าเป็นต้องเกิดความรู้ความ

เขา้ ใจในทุกข้ันตอน 2.32 1.02 นอ้ ย

3.9 เปน็ ผู้มสี ่วนรว่ มในกระบวนการคดิ ข้นั สูง 4.34 0.57 มาก

3.10 เป็นผู้เปิดกว้างทางความคิด เตม็ ใจที่จะแลกเปลย่ี นเรียนรู้

ร่วมกนั 4.55 0.53 มากที่สุด

รวม 3.86 0.93 มาก

หมายเหตุ * แทน ข้อคาถามแสดงพฤติตามขอบขา่ ยการจัดการเรียนร้แู บบ Active Learning แบบเชงิ ลบ

28

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากตารางที่ 5 พบว่า ระดับความเข้าใจเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้
แบบ Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร ด้านบทบาทหน้าที่ของผู้เรียนใน
การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ในระดับมาก ( X = 3.86, S.D. = 0.93) เมื่อพิจารณาเป็น
รายข้อ พบว่า ครูโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร มีความเข้าใจท่ีถูกต้องเกี่ยวกับบทบาทหน้าท่ีของ
ผู้เรียนในการจดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning 3 ลาดับแรก คอื ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรแู้ บบ
Active Learning ผู้เรียนควรเป็นผู้เปิดกว้างทางความคิด เต็มใจที่จะแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน ( X
= 4.55, S.D. = 0.53) ผเู้ รยี นควรเปน็ ผคู้ ดิ หรือลงมอื ทากจิ กรรมด้วยตนเองอย่างกระตือรือรน้ ร่วมกนั
( X = 4.52, S.D. = 0.64) และในการทากิจกรรมการเรียนรู้ผู้เรียนควรเป็นผู้ดาเนินกิจกรรมหลัก
โดยมีครูเป็นผู้ให้คาปรึกษา ( X = 4.50, S.D. = 0.64) นอกจากนี้พบว่า ครูโรงเรียนมาบตาพุดพัน
พิทยาคาร มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนเก่ียวกับบทบาทหน้าท่ีของผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้แบบ
Active Learning ใน 1 ประเดน็ คอื ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ผู้เรียนเป็น
ผู้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย เกิดความรู้ความเข้าใจในส่ิงที่กาลังทาอยู่ ไม่
จาเปน็ ตอ้ งเกิดความรคู้ วามเขา้ ใจในทุกขน้ั ตอน

29

ตารางท่ี 6 ค่าคะแนนเฉลย่ี ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน ระดับ และอนั ดับความเข้าใจเกย่ี วกบั การ
จัดการเรยี นร้แู บบ Active Learning ของครใู นโรงเรียนมาบตาพดุ พันพิทยาคาร ดา้ น
ลักษณะของสือ่ การเรยี นรูแ้ บบ Active Learning

ขอบข่ายการจัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning ระดับความเขา้ ใจ
X S.D. ระดบั
4. ลกั ษณะของสอ่ื การเรยี นรู้แบบ Active Learning 4.27 0.75 มาก
4.1 สอ่ื การเรยี นรทู้ ี่ควรนามาใช้ในการจดั การเรยี นรู้แบบ Active 2.40 1.28 น้อย
Learning ควรเป็นส่ือที่พบในชวี ิตจรงิ (authentic materials)
*4.2 สอ่ื การเรียนรูแ้ บบ Active Learning ที่ดคี วรเปน็ สอ่ื ท่นี กั เรยี น 4.37 0.60 มาก
ใหค้ วามสนใจ มีการใชเ้ ทคโนโลยที ท่ี นั สมยั จะสอดคล้องกับ 4.32 0.69 มาก
จุดประสงค์การเรียนรู้หรือไม่ก็ได้ 3.02 1.28 ปานกลาง
4.3 ควรเปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนมีสว่ นรว่ มในการเลอื กสื่อการเรียนรตู้ ่าง 3.68 1.10 มาก
ๆ รวมถงึ วิธีการทากิจกรรมด้วย
4.4 ส่ือการเรียนร้แู บบ Active Learning ควรใช้เทคโนโลยหี รือสิง่
สนบั สนนุ กิจกรรมการมสี ่วนร่วม เช่น การ์ดเกม หรอื ส่ืออปุ กรณ์
*4.5 ส่อื การเรียนรู้แบบ Active Learning ไมจ่ าเป็นต้องมีความ
หลากหลาย และไมจ่ าเป็นต้องใชส้ ่ือผสมมาใช้

รวม

หมายเหตุ * แทน ขอ้ คาถามแสดงพฤติตามขอบข่ายการจัดการเรยี นรแู้ บบ Active Learning แบบเชงิ ลบ

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากตารางท่ี 6 พบว่า ระดับความเข้าใจเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้
แบบ Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร ด้านลักษณะของสื่อการเรียนรู้
แบบ Active Learning ในระดับมาก ( X = 3.68, S.D. = 1.10) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ครู
โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร มีความเข้าใจท่ีถูกต้องเกี่ยวกับลักษณะของส่ือการเรียนรู้แบบ
Active Learning 3 ลาดับแรก คือ ในการเลือกสื่อการเรียนรู้ที่จะนามาใช้ในการจัดการเรียนรู้แบบ
Active Learning ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเลือกส่ือการเรียนรู้ต่าง ๆ รวมถึงวิธีการ
ทากิจกรรมด้วย ( X = 4.37, S.D. = 0.60) ส่ือการเรียนรู้แบบ Active Learning ควรใช้เทคโนโลยี
หรือสิ่งสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วม เช่น การ์ดเกม หรือสื่ออุปกรณ์ ( X = 4.32, S.D. = 0.69)
และส่ือการเรียนรู้ที่ควรนามาใช้ในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ควรเป็นสื่อที่พบในชีวิต

30

จริง (authentic materials) ( X = 4.27, S.D. = 0.75) นอกจากน้ีพบว่า ครูโรงเรียนมาบตาพุดพนั
พิทยาคาร มีความเข้าใจคลาดเคล่ือนเกี่ยวกับลักษณะของสื่อการเรียนรู้แบบ Active Learning ใน 1
ประเด็น คือ ส่ือการเรียนรู้แบบ Active Learning ท่ีดีควรเป็นส่ือท่ีนักเรียนให้ความสนใจ มีการใช้
เทคโนโลยที ่ที นั สมยั จะสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรูห้ รอื ไมก่ ็ได้ ( X = 2.40, S.D. = 1.28)

ตารางท่ี 7 ค่าคะแนนเฉลยี่ ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน ระดับ และอันดบั ความเข้าใจเกีย่ วกับการ
จดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning ของครูในโรงเรยี นมาบตาพุดพันพิทยาคาร ดา้ นการ
วดั และประเมินผลในการจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning

ขอบข่ายการจัดการเรยี นร้แู บบ Active Learning ระดบั ความเขา้ ใจ

X S.D. ระดบั

5. การวัดและประเมนิ ผลในการจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning

*5.1 การประเมนิ ควรสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรียนรูเ้ ทา่ นน้ั ไม่ 2.90 1.30 ปานกลาง

จาเป็นตอ้ งใชว้ ิธกี ารประเมินหลากหลายวธิ ี

5.2 การใหผ้ เู้ รียนไดส้ ะท้อนประสบการณ์การเรียนรแู้ ละนามา 4.34 0.59 มากทีส่ ุด

แลกเปลี่ยนกนั เปน็ วิธีการวดั และประเมินผลในการจดั การเรยี นรแู้ บบ

Active Learning แบบหนึ่ง

*5.3 การวดั และประเมินผลผู้เรยี นควรทาโดยครูผูส้ อนเท่านน้ั เพอื่ ให้ 2.81 1.29 ปานกลาง

ทราบผลการเรยี นรู้ตามสภาพจรงิ ของผูเ้ รยี น

5.4 การวดั และประเมนิ ผลควรมเี กณฑใ์ นการวดั และประเมินผล 4.26 0.59 มาก

ชัดเจน และผู้เรียนควรมสี ่วนรว่ มในการกาหนดเกณฑ์การวัดและ

ประเมนิ ผล

5.5 การวัดและประเมนิ ผลในการจดั การเรยี นรู้แบบ Active 4.48 0.69 มากที่สดุ

Learning ผู้เรยี นควรไดร้ บั ผลสะทอ้ นกลับเพ่ือให้เกดิ การพัฒนา

รวม 3.76 1.14 มาก

หมายเหตุ * แทน ข้อคาถามแสดงพฤตติ ามขอบข่ายการจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning แบบเชงิ ลบ

31

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากตารางท่ี 7 พบว่า ระดับความเข้าใจเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้
แบบ Active Learning ของครใู นโรงเรยี นมาบตาพุดพนั พิทยาคาร ดา้ นการวัดและประเมนิ ผลในการ
จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ในระดับมาก ( X = 3.76, S.D. = 1.14) เมื่อพิจารณาเป็นราย
ข้อ พบว่า ครูโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร มีความเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับลักษณะของสื่อการ
เรียนรู้แบบ Active Learning 3 ลาดับแรก คือ การวัดและประเมินผลในการจัดการเรียนรู้แบบ
Active Learning ผู้เรียนควรได้รับผลสะท้อนกลับเพ่ือให้เกิดการพัฒนา ( X = 4.48, S.D. = 0.69)
การให้ผู้เรียนได้สะท้อนประสบการณ์การเรียนรู้และนามาแลกเปล่ียนกัน เป็นวิธีการวัดและ
ประเมินผลในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning แบบหน่ึง ( X = 4.34, S.D. = 0.59) และ
การวัดและประเมินผลควรมีเกณฑ์ในการวัดและประเมินผลชัดเจน และผู้เรียนควรมีส่วนร่วมในการ
กาหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผล ( X = 4.26, S.D. = 0.59) นอกจากนพ้ี บว่า ครูโรงเรียนมาบตา
พุดพันพิทยาคาร มีความเข้าใจคลาดเคล่ือนในระดับปานกลางเก่ียวกับการวัดและประเมินผลในการ
จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ใน 2 ประเด็น คือ การวัดและประเมินผลผู้เรียนควรทาโดย
ครผู ู้สอนเท่านน้ั เพ่ือใหท้ ราบผลการเรียนรู้ตามสภาพจรงิ ของผูเ้ รยี น ( X = 2.81, S.D. = 1.29) และ
การประเมินควรสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้เท่านั้น ไม่จาเป็นต้องใช้วิธีการประเมิน
หลากหลายวธิ ี ( X = 2.90, S.D. = 1.30)

32

ตอนท่ี 3 การศกึ ษาสภาพการจัดการเรียนรู้ในปจั จุบันของครู โรงเรยี นมาบตาพดุ พนั พิทยาคาร

ผลการประมวลสภาพการจดั การเรยี นรูใ้ นปจั จุบันของครู โรงเรียนมาบตาพดุ พันพทิ ยาคาร
จากแบบสอบถามตอนท่ี 3 โดยเรยี งลาดับตามอนั ดบั ความถี่ในแตล่ ะดา้ น รายละเอยี ดดังแสดงใน
ตารางที่ 8

ตารางท่ี 8 สภาพการจัดการเรียนรูใ้ นปจั จุบนั ของครู โรงเรียนมาบตาพุดพันพทิ ยาคาร

ลาดบั สภาพการจัดการเรยี นรู้ในปจั จุบันของครู ความถี่ ร้อยละของ

ที่ โรงเรียนมาบตาพดุ พนั พิทยาคาร ความถ่ี

การจดั กจิ กรรมการเรียนรูแ้ บบ Active Learning ในปีการศึกษา 2561

1 จดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning 56 90.32

2 ไมจ่ ัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning 6 9.68

ระดบั ความสาเรจ็ ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรแู้ บบ Active Learning ในปกี ารศกึ ษา 2561

1 มากทส่ี ุด 5 8.06

2 มาก 22 35.48

3 ปานกลาง 25 40.32

4 นอ้ ย 2 3.23

5 นอ้ ยทีส่ ุด 1 1.61

ลักษณะของกจิ กรรมการเรียนร้แู บบ Active Learning ท่ีใชใ้ นปกี ารศกึ ษา 2561

1 การเรียนรู้จากการปฏิบัติจรงิ เชน่ การปฏิบตั เิ คร่อื ง 22 39.29

ดนตรี การใช้อปุ กรณ์ เคร่ืองมือจรงิ ในการเรยี นการสอน

การทดลองวิทยาศาสตร์

2 การจดั การเรยี นการสอนโดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม 18 32.14

3 กิจกรรมท่ีใหน้ กั เรียนได้สบื คน้ คน้ คว้าหาขอ้ มูลดว้ ย 9 16.07

ตนเอง แลกเปล่ียนความรู้เป็นกลุม่

4 การทาแผนผังความคิดเป็นกลุ่ม 2 3.57

5 การจดั กจิ กรรมกลมุ่ แบบร่วมมือ ที่ให้ผู้เรียนมีการคิด 2 3.57

แกป้ ัญหาในโจทย์ที่กาหนดให้

6 สาธติ ให้นักเรียนปฏบิ ตั ติ าม ใหส้ ร้างสรรคผ์ ลงานด้วย 2 3.57

ตนเอง

7 กิจกรรมการเรียนรแู้ บบโครงงาน 1 1.79

33

ตารางท่ี 8 (ต่อ)

ลาดับ สภาพการจัดการเรยี นรูใ้ นปจั จบุ นั ของครู ความถ่ี รอ้ ยละของ

ท่ี โรงเรยี นมาบตาพดุ พันพิทยาคาร ความถี่

สื่อการเรียนร้ทู ี่ใช้ประกอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้แู บบ Active Learning ในปกี ารศึกษา 2561

1 สื่ออปุ กรณ์ของจรงิ /ชดุ การทดลอง 22 35.48

2 วดิ ีทศั น์ 16 25.81

3 ชดุ การสอน/แบบฝึกทักษะ/ใบงาน 16 25.81

4 บตั รคา/แผ่นป้าย 5 8.06

5 เกมการเรยี นรู้ 3 4.84

ปญั หา/อุปสรรค ในการจดั กิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Active Learning ในปีการศกึ ษา 2561

1 นกั เรียนไม่ให้ความร่วม/ขาดความกระตอื รืรน้ ในการทา 10 27.03

กิจกรรม

2 จานวนผ้เู รยี นในแต่ละหอ้ งมมี ากเกินไป 7 18.92

3 ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมไมเ่ พียงพอ เนื่องจาก 7 18.92

เนอื้ หาวิชาค่อนขา้ งมาก

4 ครูขาดความรู้ ประสบการณ์ เทคนคิ การสอนแบบ 5 13.51

Active Learning

5 งบประมาณ คา่ ใช้จา่ ยค่อนข้างเยอะ 3 8.11

6 วัสดอุ ปุ กรณ์/สื่อการสอนไม่เพียงพอ 3 8.11

7 ภาระงานอื่นทีท่ าให้ไม่สามารถจดั เตรยี มการสอนแบบ 2 5.41

Active Learning ได้

จากตารางท่ี 8 พบว่า สภาพการจัดการเรียนรูใ้ นปัจจุบันของครู โรงเรยี นมาบตาพดุ พนั พิทยา
คาร เป็นดังน้ี

1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ในปีการศึกษา 2561 ครูร้อยละ
90.32 มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning และครูร้อยละ 9.68 ไม่จัดกิจกรรมการ
เรยี นรู้แบบ Active Learning

2. ระดับความสาเร็จในการจัดกิจกรรมการเรยี นรูแ้ บบ Active Learning ในปีการศกึ ษา
2561 พบวา่ ครทู ่ีมีการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยส่วนใหญ่ประสบความสาเร็จ

34

ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 40.32
รองลงมาคือ ระดับมาก ร้อยละ 35.48 ระดับมากท่ีสุด ร้อยละ 8.06 ระดับน้อย ร้อยละ 3.23 และ
ระดบั น้อยท่ีสดุ ร้อยละ 1.61

3. ลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่ใช้ในปีการศึกษา 2561
พบว่าลักษณะของกิจกรรมครูที่มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยส่วนใหญ่ใช้
การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง เช่น การปฏิบัติเครื่องดนตรี การใช้อุปกรณ์ เครื่องมือจริงในการเรียน
การสอน การทดลองวิทยาศาสตร์ ร้อยละ 39.29 นอกจากนี้ครูใช้การจัดการเรียนการสอนโดยใช้
กระบวนการกลุ่ม ร้อยละ 32.14 กิจกรรมที่ให้นักเรียนได้สืบค้น ค้นคว้าหาข้อมูลด้วยตนเอง
แลกเปลี่ยนความรู้เป็นกลมุ่ ร้อยละ 16.07 การทาแผนผังความคิดเปน็ กล่มุ การจัดกิจกรรมกลุม่ แบบ
ร่วมมือ ท่ีให้ผู้เรียนมีการคิดแก้ปัญหาในโจทย์ท่ีกาหนดให้ และ การสาธิตให้นักเรียนปฏิบัติตาม ให้
สรา้ งสรรคผ์ ลงานด้วยตนเอง รอ้ ยละ 3.57 และกิจกรรมการเรยี นรูแ้ บบโครงงาน ร้อยละ 1.79

4. สื่อการเรียนรู้ที่ใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ในปี
การศึกษา 2561 พบว่าสื่อการเรียนรู้ท่ีครูใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active
Learning มีหลากหลาย ได้แก่ ส่ืออุปกรณ์ของจริง/ชุดการทดลอง ร้อยละ 35.48 วิดีทัศน์ ร้อยละ
25.81 ชุดการสอน/แบบฝึกทักษะ/ใบงาน รอ้ ยละ 25.81 บตั รคา/แผ่นป้าย รอ้ ยละ 8.06 และเกมการ
เรยี นรู้ รอ้ ยละ 4.84

5. ปญั หา/อุปสรรค ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ในปกี ารศึกษา
2561 ทีค่ รูพบได้แก่ นกั เรยี นไม่ให้ความร่วม/ขาดความกระตอื รรื ้นในการทากจิ กรรม ร้อยละ 27.03
จานวนผู้เรยี นในแต่ละหอ้ งมมี ากเกินไป และระยะเวลาในการจดั กิจกรรมไมเ่ พียงพอ เนื่องจาก
เน้อื หาวิชาคอ่ นข้างมาก ร้อยละ 18.92 ครูขาดความรู้ ประสบการณ์ เทคนิคการสอนแบบ Active
Learning รอ้ ยละ 13.51 งบประมาณ ค่าใชจ้ ่ายค่อนขา้ งเยอะ และวสั ดอุ ปุ กรณ์/ส่ือการสอนไม่
เพียงพอ ร้อยละ 8.11 และภาระงานอนื่ ที่ทาให้ไม่สามารถจัดเตรียมการสอนแบบ Active Learning
ได้ รอ้ ยละ 5.41

บทท่ี 5
สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

การวิจัยคร้ังนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active
Learning ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร จังหวัดระยอง สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 18 โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ ครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนมาบตาพุดพัน
พิทยาคาร จานวน 62 คน ได้จากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ตามสัดส่วนของ
ครใู นแต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรู้ เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูลเปน็ แบบสอบถามเพ่ือการวิจัย
เร่ือง การศึกษาความเข้าใจเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบ
ตาพุดพนั พิทยาคาร จังหวดั ระยอง ซง่ึ สามารถสรุปผลของการวิจยั ตามลาดับ ดงั น้ี

1. สรุป อภิปรายผลการวิจัย

1.1 ความเข้าใจเกีย่ วกบั การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning

ระดับความเข้าใจเกี่ยวกบั การจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบตา
พุดพันพทิ ยาคาร โดยรวมอยใู่ นระดบั มาก ( X = 3.76, S.D. = 1.05) เมือ่ พิจารณารายด้านพบวา่ ครู
โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร มีความเข้าใจบทบาทและหน้าที่ของครูผู้สอนในการจัดการเรียนรู้
แบบ Active Learning สงู สดุ ในระดบั มาก ( X = 3.99, S.D. = 1.04) รองลงมาคอื ครโู รงเรยี นมาบ
ตาพุดพันพิทยาคาร มีความเข้าใจบทบาทหน้าท่ีของผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้แบบ Active
Learning ในระดับมาก ( X = 3.86, S.D. = 1.10) ด้านการวัดและประเมินผลในการจัดการเรียนรู้
แบบ Active Learning ในระดบั มาก ( X = 3.76, S.D. = 1.14) ดา้ นลกั ษณะของส่ือการเรยี นรู้แบบ
Active Learning ในระดับมาก ( X = 3.68, S.D. = 1.10) และด้านลักษณะของกิจกรรมการเรยี นรู้
แบบ Active Learning ในระดับปานกลาง ( X = 3.46, S.D. = 1.06)

ระดบั ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั การจดั การเรียนรูแ้ บบ Active Learning ของครูในโรงเรยี นมาบตา
พุดพนั พิทยาคาร เม่อื พิจารณาเป็นรายด้าน มีดงั น้ี

1) ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั ลักษณะของกจิ กรรมการเรียนร้แู บบ Active Learning

ระดบั ความเขา้ ใจเกีย่ วกับการจดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning ของครใู นโรงเรียนมาบตา
พุดพันพทิ ยาคาร ดา้ นลักษณะของกจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบ Active Learning ในระดับปานกลาง

36

( X = 3.46, S.D. = 1.06) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ครูโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร มี
ความเข้าใจทถ่ี ูกตอ้ งเกี่ยวกบั ลกั ษณะของกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning 3 ลาดับแรก คือ
กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active learning ควรส่งเสริมให้นักเรียนได้แบ่งปันความรู้ คิด/วิเคราะห์
และแสดงความคดิ เห็น ( X = 4.65, S.D. = 0.68) รองลงมาคือ Active Learning เปน็ กระบวนการ
เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ หรือการลงมือทา เพ่ือฝึกทักษะการแก้ปัญหา และการคิดขั้นสูง ( X = 4.44,
S.D. = 0.61) การใช้คาถามสืบสอบของครผู ู้สอน ถือเป็นกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning (
X = 3.85, S.D. = 1.22) นอกจากน้ีพบว่า ครูโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร มีความเข้าใจ
คลาดเคลื่อนมากเกี่ยวกับลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ใน 2 ประเด็น คือ
จุดมุ่งหมายหลักของการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning คือ นักเรียนเรียนแบบสนุกสนาน ไม่
เบ่ือหน่ายกับการเรียน ( X = 1.79, S.D. = 0.83) และการจัดการเรียนรู้ไม่จาเป็นต้องมีความ
หลากหลาย แต่ควรเป็นกิจกรรมที่นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง ( X = 2.24, S.D. =
1.01)

2) ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทและหน้าที่ของครูผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบ Active
Learning

ระดบั ความเข้าใจเกี่ยวกับการจดั การเรียนรูแ้ บบ Active Learning ของครูในโรงเรยี นมาบตา
พุดพันพิทยาคาร ด้านบทบาทและหน้าท่ีของครผู ู้สอนในการจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning ใน
ระดับมาก ( X = 3.99, S.D. = 1.04) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ครูโรงเรียนมาบตาพุดพัน
พิทยาคาร มีความเข้าใจท่ีถูกต้องเกี่ยวกับบทบาทและหน้าที่ของครูผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบ
Active Learning 3 ลาดบั แรก คอื ในการจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning ครคู วรเปน็ ผู้เปดิ กวา้ ง
ทางความคิด ยอมรับในความสามารถในการแสดงออก และความคิดเห็นของท่ีผู้เรียน ( X = 4.68,
S.D. = 0.50) ครูควรเข้าใจว่าผู้เรียนมีความแตกต่างกันหลาย ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านรูปแบบการ
เรียนรู้ แรงจงู ใจ ความสนใจ ความชอบ และระดับความสามารถ ( X = 4.63, S.D. = 1.04) และครู
ควรเป็นผจู้ ัดสภาพการเรียนรู้แบบรว่ มมือ ส่งเสริมให้เกดิ การรว่ มมือในกลุ่มผู้เรียน ( X = 4.61, S.D.
= 0.52) นอกจากนพ้ี บว่า ครูโรงเรยี นมาบตาพุดพันพทิ ยาคาร มีความเขา้ ใจคลาดเคลือ่ นในระดับปาน
กลางเกี่ยวกับบทบาทและหน้าท่ีของครูผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ใน 3
ประเด็น คือ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ครูต้องเป็นผู้ดาเนินกิจกรรมการ
เรียนรู้หลัก ( X = 2.60, S.D. = 1.20) ครูต้องเป็นผู้จัดสภาพห้องเรียนให้เกิดบรรยากาศของการ

37

แข่งขัน ( X = 2.77, S.D. = 1.36) และครูต้องเป็นผู้บอกความรู้ให้แก่นักเรียนโดยตรง เพ่ือป้องกัน
แนวคิดคลาดเคลอ่ื นทจ่ี ะเกดิ ข้ึนในการเรียนรู้ ( X = 2.97, S.D. = 1.18)

3) ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าท่ีของผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้แบบ Active
Learning

ระดับความเข้าใจเกยี่ วกับการจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning ของครูในโรงเรยี นมาบตา
พุดพันพิทยาคาร ด้านบทบาทหน้าท่ีของผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ในระดับ
มาก ( X = 3.86, S.D. = 0.93) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ครูโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร
มีความเขา้ ใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับบทบาทหน้าทขี่ องผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning 3
ลาดับแรก คือ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ผู้เรียนควรเป็นผู้เปิดกว้างทาง
ความคิด เตม็ ใจที่จะแลกเปลยี่ นเรียนร้รู ว่ มกัน ( X = 4.55, S.D. = 0.53) ผู้เรยี นควรเป็นผคู้ ดิ หรือลง
มือทากิจกรรมด้วยตนเองอย่างกระตือรือร้น ร่วมกัน ( X = 4.52, S.D. = 0.64) และในการทา
กิจกรรมการเรียนรู้ผู้เรียนควรเป็นผู้ดาเนินกิจกรรมหลัก โดยมีครูเป็นผู้ให้คาปรึกษา ( X = 4.50,
S.D. = 0.64) นอกจากนพี้ บวา่ ครูโรงเรยี นมาบตาพุดพนั พทิ ยาคาร มีความเข้าใจคลาดเคลือ่ นเกย่ี วกับ
บทบาทหน้าที่ของผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ใน 1 ประเด็น คือ ในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามหน้าที่ท่ีได้รับ
มอบหมาย เกิดความรู้ความเข้าใจในสิ่งที่กาลังทาอยู่ ไม่จาเป็นต้องเกิดความรู้ความเข้าใจในทุก
ขน้ั ตอน

4) ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ลักษณะของส่อื การเรยี นรู้แบบ Active Learning

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากตารางที่ 6 พบว่า ระดับความเข้าใจเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้
แบบ Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร ด้านลักษณะของส่ือการเรียนรู้
แบบ Active Learning ในระดับมาก ( X = 3.68, S.D. = 1.10) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ครู
โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร มีความเข้าใจท่ีถูกต้องเกี่ยวกับลักษณะของสื่อการเรียนรู้แบบ
Active Learning 3 ลาดับแรก คือ ในการเลือกสื่อการเรียนรู้ที่จะนามาใช้ในการจัดการเรียนรู้แบบ
Active Learning ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเลือกส่ือการเรียนรู้ต่าง ๆ รวมถึงวิธีการ
ทากิจกรรมด้วย ( X = 4.37, S.D. = 0.60) ส่ือการเรียนรู้แบบ Active Learning ควรใช้เทคโนโลยี
หรือสิ่งสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วม เช่น การ์ดเกม หรือส่ืออุปกรณ์ ( X = 4.32, S.D. = 0.69)
และสื่อการเรียนรู้ที่ควรนามาใช้ในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ควรเป็นสื่อที่พบในชีวิต

38

จริง (authentic materials) ( X = 4.27, S.D. = 0.75) นอกจากน้ีพบว่า ครูโรงเรียนมาบตาพุดพัน
พิทยาคาร มีความเข้าใจคลาดเคล่ือนเกี่ยวกับลักษณะของส่ือการเรียนรู้แบบ Active Learning ใน 1
ประเด็น คือ ส่ือการเรียนรู้แบบ Active Learning ท่ีดีควรเป็นสื่อท่ีนักเรียนให้ความสนใจ มีการใช้
เทคโนโลยีทท่ี นั สมัย จะสอดคล้องกับจดุ ประสงค์การเรยี นรูห้ รือไม่ก็ได้ ( X = 2.40, S.D. = 1.28)

5) ความเข้าใจเก่ียวกับการวัดและประเมินผลในการจัดการเรียนรู้แบบ Active
Learning

ระดบั ความเขา้ ใจเกีย่ วกับการจัดการเรยี นรูแ้ บบ Active Learning ของครูในโรงเรียนมาบตา
พุดพันพิทยาคาร ด้านการวัดและประเมินผลในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ในระดับ
มาก ( X = 3.76, S.D. = 1.14) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ครูโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร
มีความเข้าใจทีถ่ ูกตอ้ งเกีย่ วกบั ลักษณะของส่ือการเรยี นรแู้ บบ Active Learning 3 ลาดับแรก คือ การ
วัดและประเมินผลในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ผูเ้ รยี นควรไดร้ บั ผลสะท้อนกลับเพื่อให้
เกิดการพัฒนา ( X = 4.48, S.D. = 0.69)การให้ผู้เรียนได้สะท้อนประสบการณ์การเรียนรู้และนามา
แลกเปล่ียนกัน เป็นวิธีการวัดและประเมินผลในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning แบบหน่ึง (
X = 4.34, S.D. = 0.59) และการวัดและประเมินผลควรมีเกณฑ์ในการวัดและประเมินผลชัดเจน
และผู้เรียนควรมีส่วนร่วมในการกาหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผล ( X = 4.26, S.D. = 0.59)
นอกจากน้ีพบว่า ครูโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนในระดับปานกลาง
เกีย่ วกับการวดั และประเมนิ ผลในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ใน 2 ประเด็น คือ การวัด
และประเมินผลผูเ้ รยี นควรทาโดยครผู ูส้ อนเท่านั้น เพอ่ื ใหท้ ราบผลการเรียนรู้ตามสภาพจริงของผู้เรียน
( X = 2.81, S.D. = 1.29) และการประเมินควรสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้เท่านั้น ไม่
จาเป็นตอ้ งใช้วธิ กี ารประเมินหลากหลายวิธี ( X = 2.90, S.D. = 1.30)

39

1.2 สภาพการจัดการเรยี นรใู้ นปจั จบุ ันของครู โรงเรยี นมาบตาพดุ พนั พทิ ยาคาร

สภาพการจดั การเรียนรู้ในปจั จุบันของครู โรงเรยี นมาบตาพุดพนั พทิ ยาคาร เป็นดงั น้ี

1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ในปีการศึกษา 2561 ครูร้อยละ
90.32 มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning และครูร้อยละ 9.68 ไม่จัดกิจกรรมการ
เรียนร้แู บบ Active Learning

2. ระดับความสาเร็จในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ในปีการศึกษา
2561 พบว่าครูทีม่ ีการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้แบบ Active Learning โดยสว่ นใหญ่ประสบความสาเร็จ
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 40.32
รองลงมาคือ ระดับมาก ร้อยละ 35.48 ระดับมากท่ีสุด ร้อยละ 8.06 ระดับน้อย ร้อยละ 3.23 และ
ระดบั น้อยทสี่ ดุ รอ้ ยละ 1.61

3. ลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่ใช้ในปีการศึกษา 2561
พบว่าลักษณะของกิจกรรมครูท่ีมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยส่วนใหญ่ใช้
การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง เช่น การปฏิบัติเครื่องดนตรี การใช้อุปกรณ์ เครื่องมือจริงในการเรียน
การสอน การทดลองวิทยาศาสตร์ ร้อยละ 39.29 นอกจากน้ีครูใช้การจัดการเรียนการสอนโดยใช้
กระบวนการกลุ่ม ร้อยละ 32.14 กิจกรรมที่ให้นักเรียนได้สืบค้น ค้นคว้าหาข้อมูลด้วยตนเอง
แลกเปล่ียนความรู้เป็นกลมุ่ ร้อยละ 16.07 การทาแผนผังความคิดเปน็ กลมุ่ การจัดกิจกรรมกลุม่ แบบ
ร่วมมือ ที่ให้ผู้เรียนมีการคิดแก้ปัญหาในโจทย์ท่ีกาหนดให้ และ การสาธิตให้นักเรียนปฏิบัติตาม ให้
สรา้ งสรรคผ์ ลงานด้วยตนเอง รอ้ ยละ 3.57 และกิจกรรมการเรยี นรู้แบบโครงงาน ร้อยละ 1.79

4. สื่อการเรียนรู้ท่ีใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ในปี
การศึกษา 2561 พบว่าสื่อการเรียนรู้ท่ีครูใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active
Learning มีหลากหลาย ได้แก่ สื่ออุปกรณ์ของจริง/ชุดการทดลอง ร้อยละ 35.48 วิดีทัศน์ ร้อยละ
25.81 ชุดการสอน/แบบฝกึ ทกั ษะ/ใบงาน รอ้ ยละ 25.81 บตั รคา/แผ่นป้าย ร้อยละ 8.06 และเกมการ
เรยี นรู้ รอ้ ยละ 4.84

5. ปญั หา/อปุ สรรค ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้แบบ Active Learning ในปกี ารศกึ ษา
2561 ท่คี รูพบได้แก่ นักเรียนไม่ใหค้ วามรว่ ม/ขาดความกระตอื รืรน้ ในการทากิจกรรม รอ้ ยละ 27.03
จานวนผเู้ รียนในแต่ละห้องมมี ากเกินไป และระยะเวลาในการจัดกิจกรรมไมเ่ พียงพอ เน่ืองจาก
เนือ้ หาวิชาค่อนข้างมาก รอ้ ยละ 18.92 ครขู าดความรู้ ประสบการณ์ เทคนิคการสอนแบบ Active

40

Learning ร้อยละ 13.51 งบประมาณ คา่ ใช้จา่ ยค่อนขา้ งเยอะ และวสั ดุอปุ กรณ์/สือ่ การสอนไม่
เพยี งพอ ร้อยละ 8.11 และภาระงานอ่นื ท่ีทาให้ไม่สามารถจดั เตรยี มการสอนแบบ Active Learning
ได้ รอ้ ยละ 5.41

2. ข้อเสนอแนะ

ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวจิ ัยไปใช้

จากการศึกษาความเข้าใจเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning และสภาพการ
จัดการเรียนรู้ในปัจจุบันของครู โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร ผลการศึกษาพบว่า ครูในโรงเรียน
มาบตาพุดพันพิทยาคารมีความเข้าใจเก่ียวกบั การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยรวมอยู่ใน
ระดับมาก แต่ก็ยังพบว่า ครูโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร มีความเข้าใจคลาดเคล่ือนเกี่ยวกับการ
จดั กิจกรรมการเรยี นรู้แบบ Active Learning ในบางประเด็น จากการศึกษา สามารถนาผลการศึกษา
ดงั กลา่ วไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาและส่งเสริมการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning
ของครูโรงเรียนมาบตาพดุ พนั พทิ ยาคาร ดงั นี้

1) ดา้ นความรูค้ วามเข้าใจเกยี่ วกับการจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning ควรมกี าร
ส่งเสริมใหค้ รูมีการพัฒนาตนเองและแลกเปล่ียนเรยี นรรู้ ่วมกันดา้ นการจัดการเรยี นรแู้ บบ Active
Learning อย่างต่อเนื่อง โดยจดั อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารเพื่อให้ครไู ดร้ บั ความรแู้ ละเกดิ ทักษะสาคัญ
สาหรบั การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรูแ้ บบ Active Learning ท่ถี ูกตอ้ ง นอกจากนค้ี วรเปดิ โอกาส
ใหค้ รไู ดเ้ ข้ารว่ มการอบรมทีจ่ ัดโดยหนว่ ยงานต่าง ๆ การนาเสนอผลงานวชิ าการ เพื่อใหเ้ กดิ การ
แลกเปลี่ยนเรยี นรู้

2) ด้านการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครู โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร ควรมีการ
ส่งเสริมให้ครูมีการออกแบบและพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning สาหรับใช้ใน
ห้องเรียนท่ีเน้นให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยมีการสนับสนุนงบประมาณในการจัดหาส่ือวัสดุ
อุปกรณ์สาหรับจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
นอกจากน้ีควรเปิดโอกาสให้ครูได้นาเสนอผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ท่ี
ประสบความสาเร็จให้กับเพ่ือครู ส่งเสริมให้ครูมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันผ่านกระบวนการ PLC
เพอ่ื เปน็ แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรใู้ หก้ บั เพือ่ นครู

41

ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ัยคร้ังต่อไป
1) ควรมีการทาวิจัยเพ่ือสารวจสภาพการจดั การเรยี นรู้ของครู โรงเรยี นมาบตาพดุ พันพทิ ยา
คาร อยา่ งต่อเนื่อง และควรทาวิจัยเพื่อศึกษาสภาพการจักการเรียนรูแ้ บบ Active Learning ของครู
แยกตามกลุ่มสาระอยา่ งละเอียด เพอ่ื ให้การจัดการเรยี นรู้ของครเู กิดประสิทธิภาพสูงสดุ
2) ควรศึกษาผลสมั ฤทธิ์ ทักษะกระบวนการ และเจตคตขิ องนักเรยี นควบคู่ไปกับการศึกษา
สภาพการจดั กจิ กรรมการเรียนร้แู บบ Active Learning

42

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546).พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พุทธศักราช 2542 แกไ้ ขเพม่ิ เติม
(ฉบับท่2ี ) พทุ ธศกั ราช 2545. กรุงเทพมหานคร : ครุ สุ ภา.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). แนวทางการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ.
กรุงเทพมหานคร: ที.เอส.บี.โปรดักส์.

ไชยยศ เรอื งสวุ รรณ. (2553). เทคโนโลยกี ารศกึ ษา : ทฤษฎีและการวิจัย. กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตร.
ณชั นัน แกว้ ชัยเจรญิ กิจ. (2550) บทบาทของครูผู้สอนในการจดั กจิ กรรมและวิธกี ารปฏิบตั ติ าม

แนวทางของ Active Learning. [Online] เขา้ ถึงได้จาก http://www.itie.org
เมอ่ื 25 ธันวาคม 2561.

บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบือ้ งต้น. พมิ พค์ ร้ังที่ 9. กรงุ เทพฯ : สุวรี ยิ าสาสน์ .

เยาวเรศ ภกั ดีจิตร. (2557). Active Learning กับการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21. เอกสาร
ประกอบการเสวนาทางวชิ าการ “วันสง่ เสริมวชิ าการสู่คณุ ภาพการเรยี นการสอน”
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์.

วรพจน์ วงศ์กิจร่งุ เรอื ง และอธิป จิตตฤกษ.์ (2554) ทักษะแหง่ อนาคตใหม่ : การศกึ ษาเพอื่
ศตวรรษที่ 21.กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพ์ Open Worlds. .

วจิ ารณ์ พานชิ . (2555).วถิ สี ร้างการเรียนรู้เพอื่ ศษิ ย์ ในศตวรรษที่ 21. พมิ พค์ รั้งท่ี 3. กรงุ เทพฯ :
มลู นธิ ิสดศรี-สฤษวงศ์.

สถาพร พฤฑฒิกลุ . (2558). “คณุ ภาพผู้เรียน...เกิดจากกระบวนการเรยี นรู้”. เอกสารประกอบการ
ฝกึ อบรม มหาวิทยาลยั บรู พา วิทยาเขตสระแกว้ .


Click to View FlipBook Version