สมดุลเคมี
(Chemical Equilibrium)
ตรวจสอบความเขา้ ใจ
ใสเ่ ครื่องหมาย หน้าข้อความที่ถกู ต้อง และเครื่องหมาย
หน้าข้อความท่ไี ม่ถูกต้อง
…... 1. น้าแข็งในแก้วเกบ็ ความเย็นเป็นระบบปดิ
…... 2. ปฏิกิริยาเคมรี ะหว่างหินปนู กับกรดเกลอื ในบีกเกอร์
…... 3. เปน็ การเปลยี่ นแปลงในระบบเปดิ (ΔE)
ปฏิกริ ยิ าดดู พลังงานมีค่าพลงั งานของปฏกิ ริ ิยา
เป็นบวก
ตรวจสอบความเขา้ ใจ
…... 4. ปฏกิ ิรยิ าคายพลังงาน ให้ผลิตภณั ฑ์และพลงั งาน
…... 5. ปฏกิ ริ ิยาคายพลังงาน เม่อื เพ่มิ อณุ หภูมิจะทาให้
อตั ราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมีลดลง
(ท้งั ปฏกิ ิริยาคายพลังงานและปฏกิ ิรยิ าดูดพลังงาน เมื่อเพิม่
อณุ หภมู ิ อตั ราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมีจะสูงข้ึน)
…... 6. อัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมีในช่วงเริ่มตน้ มคี า่ นอ้ ย และคอ่ ยๆ
เพม่ิ ขึ้นเม่ือเวลาผ่านไป
(อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมใี นช่วงเร่มิ ต้นมีค่ามาก และค่อย ๆ
ลดลงเม่ือเวลาผา่ นไป)
ตรวจสอบความเขา้ ใจ
…... 7. ปฏกิ ิรยิ า H2(g) + I2(g) 2HI(g) เมอ่ื H2 ลดลง
0.5 โมล จะมี HI เกดิ ขน้ึ 0.5 โมล
(มี HI เกดิ ขน้ึ 1.0 โมล)
…... 8. ละลายโซเดยี มไฮดรอกไซด์ (NaOH) ในนา้ 4.0 กรัม
แลว้ เติมน้าจนสารละลายมีปรมิ าตร 100 มิลลิลิตร
สารละลายมีความเข้มข้น 1.0 โมลาร์
การเปลี่ยนแปลงของสาร
การเผาไหมน้ า้ มันเชอื้ เพลงิ การระเหิดของน้าแขง็ แหง้
การบดู เนา่ ของอาหาร หนิ งอกหินย้อย
การเปลย่ี นแปลงต่อไปนี้ สามารถสงั เกตการเปลย่ี นแปลงได้อยา่ งไร
และใชเ้ วลาการเปล่ียนแปลงมากนอ้ ยอย่างไร
“การเผาไหมน้ ้ามนั เชื้อเพลิง การบูดเนา่ ของอาหาร
การระเหิดของนา้ แข็งแห้ง”
(สังเกตเหน็ ได้ง่ายเน่อื งจากการเปล่ยี นแปลงดงั กลา่ ว
เกดิ ข้นึ คอ่ นข้างเรว็ และดาเนินไปในทศิ ทางเดียว)
ใหน้ ักเรียนยกตวั อยา่ งปรากฏการณใ์ นธรรมชาตหิ รอื ใน
ชีวิตประจาวนั ทดี่ เู สมอื นวา่ ไมม่ กี ารเปลีย่ นแปลงของสารเกดิ ขนึ้
(หินงอกหินยอ้ ยทพี่ บเห็นในถ้า การเกดิ สนิมเหล็ก
ระดบั น้าท่ีบรรจุอยู่ในภาชนะปดิ )
- ปรากฏการณ์เหลา่ น้มี กี ารเปล่ียนแปลงของสารเกดิ ขึ้นหรอื ไม่
(ม)ี
- เพราะเหตุใดจึงไม่สามารถสังเกตเห็นการเปล่ียนแปลง
(อตั ราการเปลีย่ นแปลงไปและกลบั เกิดขน้ึ เท่ากัน)
- หากต้องการตรวจสอบวา่ มกี ารเปล่ียนแปลงของ
สารอยู่หรือไม่จะทาได้อยา่ งไร
- นกั เรยี นคดิ ว่าเมื่อเวลาผ่านไปปริมาตรน้าทอี่ ย่ใู นภาชนะท่ีเปดิ และปดิ
ฝาจะมกี ารเปลีย่ นแปลงอยา่ งไร
- นา้ ในภาชนะปิดมีการระเหยเปน็ ไอนา้ หรือไม่
- มกี ระบวนการใดทีท่ าใหน้ ้าในภาชนะทปี่ ิดฝามีระดบั คงท่ี
กจิ กรรม 9.1 การเปล่ยี นแปลงทีผ่ นั กลบั ได้
1. ปัญหา :
การเปลี่ยนแปลงทผี่ นั กลบั ไดเ้ กิดขึน้ ไดอ้ ย่างไร
2. จดุ ประสงคก์ ารทดลอง :
เพ่อื ศกึ ษาการเปล่ยี นแปลงท่ีผันกลบั ไดข้ องระบบ
3. สมมตุ ฐิ าน :
การยา้ ยลวดเสยี บกระดาษแตล่ ะครั้งจะทาให้จานวนรวมของ
ลวดเสยี บกระดาษในแตล่ ะกลุม่ แต่งตากจากเดิม
4. ตัวแปรทใ่ี ชใ้ นการทดลอง :
- ตวั แปรตน้ คอื จานวนลวดเสียบกระดาษทีย่ ้ายไป
- ตวั แปรตาม คอื จานวนรวมของลวดเสยี บกระดาษ
ในแตล่ ะกลมุ่
- ตวั แปรควบคุม คอื จานวนเสียบกระดาษท้งั หมดทใ่ี ช้
5. วธิ กี ารทดลอง: ตอนท่ี 1
แบ่งลวดเสียบกระดาษ
กลุม่ A 30 อนั กล่มุ B 10 อนั
ย้ายลวดเสียบกระดาษจากกลมุ่ ทงั้ 2 พร้อมกนั
ยา้ ยลวดเสียบกระดาษ ยา้ ยลวดเสียบกระดาษ
จานวนคร่ึงหนง่ึ ของ จานวนหนงึ่ ในสี่ของ B
A ไป B ไป A
กล่มุ A 30 อนั กลุ่ม B 10 อนั
ถา้ เป็นเลขทศนยิ ม 0.5 ให้ปดั ข้ึน นอ้ ยกวา่ 0.5 ปัดลง
กลุ่ม A ?? อัน กลุม่ B ?? อัน
บันทึก 1. จานวนลวดเสียบกระดาษทย่ี ้ายไป
2. จานวนรวมของลวดเสียบกระดาษในแตล่ ะกลมุ่
ทาซ้าอกี 4 คร้ัง
ยา้ ยลวดเสยี บกระดาษจากกลมุ่ ทง้ั 2 พร้อมกนั
ยา้ ยลวดเสยี บกระดาษ ย้ายลวดเสียบกระดาษ
จานวนคร่ึงหนง่ึ ของ จานวนหนง่ึ ในสข่ี อง
A ไป B B ไป A
กลุ่ม A ?? อนั กลุม่ B ?? อนั
กลุ่ม A ?? อนั กลมุ่ B ?? อัน
บนั ทึก 1. จานวนลวดเสยี บกระดาษทยี่ า้ ยไป
2. จานวนรวมของลวดเสียบกระดาษในแตล่ ะกลมุ่
ทาซา้ อกี 4 ครง้ั
ตอนท่ี 2
ทากิจกรรมเชน่ เดยี วกบั ตอนท่ี 1
แบง่ ลวดเสยี บกระดาษ
กลมุ่ A 40 อนั กล่มุ B 0 อนั
6. ผลการทดลอง ตอนท่ี 1
คร้ังท่ี จานวนลวดเสยี บกระดาษ A จานวนลวดเสยี บกระดาษ B
ที่ย้าย (อัน) รวม A (อนั ) ที่ยา้ ย (อัน) รวม B (อนั )
เรมิ่ ต้น
1
2
3
4
5
6. ผลการทดลอง ตอนท่ี 2
ครงั้ ที่ จานวนลวดเสยี บกระดาษ A จานวนลวดเสยี บกระดาษ B
ท่ยี ้าย (อนั ) รวม A (อัน) ทีย่ ้าย (อัน) รวม B (อนั )
เร่ิมต้น
1
2
3
4
5
6. ผลการทดลอง ตอนที่ 1
ครัง้ ที่ จานวนลวดเสยี บกระดาษ A จานวนลวดเสยี บกระดาษ B
ทย่ี ้าย (อนั ) รวม A (อัน) ท่ยี า้ ย (อนั ) รวม B (อนั )
เรมิ่ ต้น - 30 - 10
1 15 18 3 22
2 9 15 6 25
3 8 13 6 27
4 7 13 7 27
5 7 13 7 27
6. ผลการทดลอง ตอนที่ 2
ครั้งท่ี จานวนลวดเสยี บกระดาษ A จานวนลวดเสยี บกระดาษ B
ทยี่ า้ ย (อัน) รวม A (อัน) ทีย่ ้าย (อนั ) รวม B (อัน)
เร่ิมตน้
1 - 40 -0
2 20 20 0 20
3 10 15 5 25
4 8 13 6 27
5 7 13 7 27
7 13 7 27
9. ตอบคาถามทา้ ยการทดลอง
- จานวนลวดเสียบกระดาษที่ยา้ ยจากกลุ่ม A ไปกลุ่ม B ในแต่ละคร้งั
มแี นวโน้มเป็นอยา่ งไร
(จานวนลวดเสียบกระดาษทย่ี า้ ยจากกลมุ่ A ไป B มีแนวโนม้ ลดลง
แลว้ คงที่)
- จานวนลวดเสียบกระดาษทยี่ ้ายจากกลุม่ B ไปกล่มุ A ในแตล่ ะคร้ัง
มีแนวโน้มเปน็ อยา่ งไร
(จานวนลวดเสยี บกระดาษทยี่ ้ายจากกลุ่ม B ไป A มแี นวโนม้ เพ่ิมข้นึ
แลว้ คงท)่ี
9. ตอบคาถามทา้ ยการทดลอง
- เม่ือจานวนลวดเสียบกระดาษทย่ี า้ ยจากกลุ่ม A ไปกลุม่ B เทา่ กบั
จานวนลวดเสยี บกระดาษท่ียา้ ยจากกลมุ่ B ไปกลมุ่ A จานวนรวมของ
ลวดเสยี บกระดาษในแต่ละกลุ่มหลังการย้ายในคร้งั ต่อ ๆ ไป เปน็
อย่างไร
(ตงั้ แต่การย้ายครั้งท่ี 4 จานวนลวดเสียบกระดาษที่ยา้ ยระหว่าง 2 กลุ่ม
มีจานวนเท่ากนั สง่ ผลให้จานวนรวมของลวดเสยี บกระดาษในแต่ละ
กลมุ่ คงที่ตง้ั แตห่ ลงั การยา้ ยคร้ังที่ 3)
9. ตอบคาถามทา้ ยการทดลอง
- หากใหจ้ านวนลวดเสียบกระดาษในกลุ่ม A และกลุม่ B เป็น
ปริมาณสาร A และสาร B และใหจ้ านวนลวดเสยี บกระดาษท่ียา้ ยจาก
แตล่ ะกลมุ่ ในแตล่ ะคร้ังเปน็ อัตราการเปลี่ยนแปลงไปข้างหนา้ จากสาร
A ไปเปน็ สาร B และอัตราการเปลย่ี นแปลงยอ้ นกลับจากสาร B ไป
เปน็ สาร A อาจสรปุ ไดว้ ่าปริมาณของสาร A และสาร B คงท่เี มอ่ื ใด
(ปริมาณของสาร A และสาร B คงทเ่ี มือ่ อตั ราการเปล่ียนแปลงไป
ข้างหนา้ เทา่ กบั อัตราการเปล่ยี นแปลงยอ้ นกลบั แสดงวา่ สารในระบบมี
การเปล่ยี นแปลงทผ่ี ันกลบั ได้)
7. วเิ คราะหผ์ ลการทดลอง
จากกจิ กรรมตอนที่ 1 พบวา่ จานวนลวดเสียบกระดาษท่ีย้ายจากกลมุ่
A ไป B มีแนวโน้มลดลงแล้วคงที่ ในขณะท่จี านวนลวดเสียบกระดาษที่
ย้ายจากกล่มุ B ไป A มีแนวโน้มเพ่มิ ข้ึนแล้วคงที่ โดยตั้งแต่การยา้ ยคร้งั ที่
4 จานวนลวดเสียบกระดาษทีย่ ้ายระหว่าง 2 กลุ่ม มจี านวนเท่ากัน สง่ ผลให้
จานวนรวมของลวดเสียบกระดาษในแต่ละกลุ่มคงที่ต้ังแตห่ ลังการยา้ ยครง้ั ที่
3 ทง้ั นี้กิจกรรมตอนท่ี 2 ได้ผลการทดลองเชน่ เดียวกับกิจกรรมตอนที่ 1
หากใหจ้ านวนลวดเสียบกระดาษในกลมุ่ A และกลุม่ B เปน็ ปรมิ าณสาร A
และสาร B และให้จานวนลวดเสียบกระดาษท่ยี ้ายจากแต่ละกลุ่มในแต่ละ
ครัง้ เปน็ อตั ราการเปลย่ี นแปลงไปข้างหน้าจากสาร A ไปเป็นสาร B และ
อตั ราการเปลย่ี นแปลงย้อนกลบั จากสาร B ไปเปน็ สารA อาจสรปุ ได้ว่า
ปรมิ าณของสาร A และสาร B คงที่เม่ืออตั ราการเปลย่ี นแปลงไปขา้ งหนา้
เท่ากบั อัตราการเปลี่ยนแปลงย้อนกลับ
8. สรปุ ผลการทดลอง
จานวนลวดเสียบกระดาษในแต่ละกลุ่มมี
คา่ คงท่ี เน่ืองจากการยา้ ยลวดเสยี บกระดาษจาก
กลุ่ม A ไป B และจากกล่มุ B ไป A ในแต่ละ
ครง้ั มจี านวนเทา่ กัน
สมดุลเคมี
(Chemical Equilibrium)
24
การเปลย่ี นแปลงทผ่ี ันกลับได้
สารต้งั ตน้ ผลติ ภณั ฑ์
สภาวะสมดุล (Equilibrium state)
สภาวะสมดุล หมายถงึ การเปล่ยี นแปลงสารใน
ระบบมีการเปลีย่ นแปลงท่ผี นั กลบั ได้ ทาใหเ้ กดิ การ
เปล่ยี นแปลงปรมิ าณสารแตล่ ะชนดิ ในระบบด้วยจนถงึ
สภาวะหนง่ึ ระบบจะมีปริมาณสารแต่ละชนดิ คงที่
สมดลุ พลวัต (Dynamic equilibrium) หรือ
สมดุล (Equilibrium)
สมดุลพลวัต หรอื สมดลุ หมายถงึ สภาวะสมดุลท่ี
เกิดข้ึน ขณะท่สี ารยังมีการเปลยี่ นแปลงอยู่
ตลอดเวลา โดยมีอัตราการเปลย่ี นแปลงไปข้างหน้า
เทา่ กับอตั ราการเปลย่ี นแปลงย้อนกลบั จึงทาให้
ปรมิ าณสารแตล่ ะชนดิ คงท่ี
การเขา้ สภู่ าวะสมดลุ ของนา้ และไอนา้ ในภาชนะทปี่ ิดฝา
- ระบบจะเขา้ สสู่ มดลุ เมอื่ ใด
เมือ่ ปรมิ าณไอนา้ เพมิ่ ขน้ึ จนกระทง่ั อตั ราการ
ควบแนน่ ของไอนา้ เทา่ กบั อตั ราการระเหยของนา้
- สงั เกตอยา่ งไดอ้ ย่างไรวา่ ระบบจะเขา้ สสู่ มดลุ
ระดบั นา้ ในแกว้ คงท่ี แสดงวา่ ระบบไดเ้ ขา้ สสู่ มดลุ แลว้
การเปล่ียนแปลงทีผ่ นั กลับได้
การเกิดสมดุลเคมี จาแนกได้ 3 ประเภท
I) การละลายเปน็ สารละลาย
KNO3(s) K+(aq) + NO3- (aq)
การเปลี่ยนแปลงทีผ่ นั กลับได้
II) การเปลี่ยนสถานะของสาร
ของเหลว
แกส๊
III) การเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี
1. ปฏกิ ริ ยิ าไปข้างหนา้ อยา่ งเดียว หรือ
ปฏิกริ ยิ าสมบรู ณ์ (Irreversible reaction)
(สารตั้งตน้ หมด เกดิ ผลิตภัณฑ์สมบรู ณ์ ไม่ย้อนกลับ)
C(s) + O2 (g) CO2(g)
Zn(s) + 2H+(aq) Zn2+(aq) + H2(g)
2. ปฏกิ ิรยิ าแบบมสี มดลุ หรอื ปฏกิ ิริยาไมส่ มบูรณ์
(สารตงั้ ตน้ ทาปฏกิ ิรยิ ากนั เกดิ ผลิตภณั ฑ์และขณะเดยี วกัน
ผลติ ภณั ฑบ์ างสว่ นทาปฏกิ ริ ิยากนั กลับเป็นสารตงั้ ตน้ ใหม่)
เรยี กว่า ปฏิกริ ิยาผนั กลบั ได้ (Reversible reaction)
2NO2 (g) N2O4(g)
สีนา้ ตาลแก่ ไมม่ สี ี
NO2 NO2 N2O4
การเปลยี่ นแปลงทท่ี าใหเ้ กดิ ภาวะสมดลุ
- การเปลยี่ นแปลงทางเคมี
- การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ
จากรปู เปน็ การเปลยี่ นแปลงประเภทใด และ
เกี่ยวขอ้ งกบั สมดลุ หรือไม่ อย่างไร
การเปลี่ยนแปลงท่ผี นั กลบั ได้
ปฏิกิรยิ าผันกลับได้ เขียนสมการ
[Cu(H2O)4]2+(aq)+ 4Cl–(aq) [CuCl4]2–(aq)+ 4H2O(l)
สฟี ้า ไมม่ ีสี สเี หลือง ไม่มีสี
การเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีผันกลับได้
สารละลาย [Co(H2O)6]2+ มี
สชี มพู เมอื่ หยดสารละลาย HCl ทีไ่ ม่
มีสเี กิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
สีชมพู ???
HCl
สชี มพู สนี า้ เงิน
[Co(H2O)6]2+ [CoCl4]2-
สารละลายจะเปลยี่ นจากสชี มพเู ปน็ สนี า้ เงนิ
-จากปฏิกิรยิ าดงั กลา่ วสามารถเขียนเปน็ สมการ
เคมไี ดว้ ่าอย่างไร
[Co(H2O)6]2+(aq)+ 4Cl–(aq) [CoCl4]2-(aq) + 4H2O(l)
เป็นปฏกิ ริ ยิ าไปขา้ งหนา้
- สนี า้ เงนิ ท่ีเกดิ ข้นึ เป็นสีของสารใด [CoCl4]2-
- เมอื่ เราเติมน้าลงไปในผลิตภัณฑ์จะเกดิ การ
เปลย่ี นแปลงอย่างไร
สารละลายจะเปลีย่ นจากสนี ้าเงนิ เป็นสีชมพู
- นักเรยี นคิดว่าสีทเ่ี กดิ ข้นึ เป็นสขี องสารใด
Co(H2O)6]2+ ซึง่ มีสีชมพู
- จากการเปลี่ยนแปลงดงั กล่าว นกั เรยี นสามารถเขยี น
เป็นสมการเคมไี ดว้ ่าอย่างไร
[Co(H2O)6]2+ + 4Cl- ← [CoCl4]2- + 6H2O
สชี มพู สีนา้ เงนิ
- จากการเปลีย่ นสีกลับไปกลบั มาของสารละลาย เขยี น
ปฏกิ ิริยาผนั กลับได้ คือ
[Co(H2O)6]2+ + 4Cl- ⇌ [CoCl4]2- + 6H2O
- ถ้าเราเติมสารกลับไปกลบั มา สขี องสารละลายยงั คง
เปลีย่ นสเี หมอื นเดิมหรือไม่ อยา่ งไร
เปล่ียนเหมือนเดมิ คอื เมอื่ เราเตมิ
กรดไฮโดรคลอรกิ ลงไปในสารละลาย [Co(H2O)6]2+ สารละลายจะ
เปลยี่ นจากสชี มพเู ปน็ สีน้าเงินและเราเติมน้าลงไปในผลิตภัณฑท์ ี่
ได้สารละลายจะเปลยี่ นจากสีน้าเงินเป็นสีชมพู แต่การเปลย่ี นสี
ของสารละลายจะไม่ชัดเจน
- นักเรียนคดิ วา่ ถ้าเติมสารกลบั ไปกลับมาเรอ่ื ยๆจะมโี อกาสที่
สีของสารละลายจะไม่เปลี่ยนแปลงหรือไม่ นกั เรียนคดิ วา่ เปน็
เพราะเหตุใด
มีโอกาส เพราะว่าระบบนั้นเขา้ สภู่ าวะสมดลุ แล้ว
การเกิดปฏกิ ริ ยิ าระหวา่ งสารละลาย [Co(H2O)6]2+ กับ
กรด HCl เกิดภาวะสมดลุ ที่เรยี กวา่ ภาวะสมดลุ ในปฏกิ ริ ิยา
เคมี
- นกั เรียนคิดว่าเมือ่ สขี องสารละลายไม่เปล่ียนแปลงแลว้
ปฏิกิรยิ าไปข้างหนา้ และปฏิกิรยิ ายอ้ นกลบั ยงั คงเกิดข้ึนหรอื ไม่
มีการเปลี่ยนแปลงเกดิ ข้ึนอยตู่ ลอดเวลา
ณ ภาวะสมดลุ ระบบยังคงมีการเปลย่ี นแปลงไปข้างหน้า
และย้อนกลบั เกดิ ขนึ้ ตลอดเวลาด้วยอัตราเรว็ เทา่ กันสมดุลเชน่ น้ี
เรยี กว่า (สมดุลไดนามิก)
การทดสอบปฏิกิรยิ าผันกลับได้
มขี ้นั ตอนดังน้ี
1. ทดสอบปฏกิ ริ ยิ าไปข้างหนา้
(โดยนาสารตั้งตน้ มาทาปฏกิ ริ ิยากนั สงั เกตลกั ษณะของสารท่ี
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม)
2. ทดสอบปฏกิ ริ ยิ ายอ้ นกลับวา่ เกดิ ขน้ึ ได้จริง
(โดยนาผลติ ภัณฑม์ าทาปฏิกริ ยิ าเพ่ือสงั เกตว่าเปลยี่ นไปเปน็
สารตั้งตน้ ไดห้ รอื ไม่)
• ถ้าตรวจสอบได้ว่า )
- เกดิ ปฏกิ ิริยาไปข้างหน้า () และ
- เกิดปฏกิ ิรยิ าย้อนกลบั () ได้
• จงึ สรปุ ได้ว่า ปฏิกริ ิยาผันกลับได้ (
การทดสอบปฏกิ ริ ิยาผนั กลบั ได้
3. สงั เกตสมบตั ขิ องระบบว่าคงที่หรือไม่
อาจสังเกตสวี ่าคงท่ีหรอื ไม่ ความเข้มขน้
เปล่ียนแปลงหรือไม่ เป็นต้น
ตวั อย่าง
การเปลีย่ นแปลงของระบบใดตอ่ ไปน้ผี นั กลบั ได้
ก. ถ้วยใส่น้าแขง็ วางไว้ในหอ้ ง
ข. นา้ โซดาในขวดปิดฝา
ค. เกลด็ ไอโอดีนในขวดชมพู่ปิดฝา
ง. ละลายน้าตาลในนา้ จนอ่ิมตัวมีน้าตาลเหลอื ในบกี เกอร์
จ. ผสม NaOH กบั NH4Cl ในบกี เกอร์ทไี่ มไ่ ดป้ ิดฝา
ฉ. การน่งึ ข้าวเหนยี ว
เงื่อนไขของการเกดิ ภาวะสมดุลเคมี
1. อยู่ในระบบปิด
2. สมบตั ิของระบบคงที่
3. เปน็ การเปล่ียนแปลงท่ผี นั กลบั ได้
4. อัตราการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้าเทา่ กบั
อตั ราการเปลยี่ นแปลงย้อนกลบั
5. ระบบนนั้ ต้องมีสารต้งั ตน้ เหลือ และสารผลติ ภณั ฑ์
เกดิ ขึน้ สารทกุ ชนิดในระบบต้องมีปรมิ าณคงท่ี
- ภาวะสมดลุ มกี ป่ี ระเภท อะไรบา้ ง
ภาวะสมดุลมี 3 ไดแ้ ก่ ภาวะสมดลุ ระหวา่ งสถานะ ภาวะสมดุล
ในสารละลายอิม่ ตวั และภาวะสมดุลในปฏิกิริยาเคมี
- นักเรียนทราบได้อย่างไรว่า การเปลี่ยนแปลงในปฏิกิริยาเคมี
อยใู่ นภาวะสมดุล
เมื่อสารต้งั ต้นทาปฏกิ ริ ิยากันแล้วได้สารผลติ ภณั ฑ์ (สาร
ใหม)่ แล้วสารผลติ ภัณฑ์นนั้ สามารถเปลยี่ นกลับเปน็ สารต้ังต้นไดอ้ กี
โดยมอี ัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าไปข้างและยอ้ นกลับเทา่ กัน ซึง่ อาจ
สังเกตจากการเปลีย่ นสีของสารละลาย
กจิ กรรมการทดลอง 9.2
การทดสอบปฏกิ ริ ยิ าของไอร์ออน (III) ไอออน
(Fe3+) และไอรอ์ อน (II) ไอออน (Fe2+)
1. ปญั หา :
ทดสอบปฏิกริ ยิ าระหวา่ งไอร์ออน (III) ไอออน
(Fe3+) กบั ไอโอไดด์ไอออน (I-) และไอร์ออน (II)
ไอออน (Fe2+) กับไอโอดนี (I2) ได้อย่างไร