The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2563 วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร (Annual Report 2020)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ptheera, 2024-03-18 04:47:17

รายงานประจำปี 2563 วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร

รายงานประจำปี 2563 วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร (Annual Report 2020)

การใหการศึกษาถือวาเปนการใหสิ่งสําคัญที่สุด… “การใหการศึกษาถือวาเปนการใหสิ่งสําคัญที่สุด เพราะเปนการหลอ หลอมวางรูปแบบใหแกอนุชน ทั้งทางความรูความสามารถ ทั้งทางจิตวิญญาณ ผูมี หนาที่ใหการศึกษาทุกตําแหนงหนาที่ จึงมีความรับผิดชอบอยางยิ่งตอชาติบานเมือง ในการสรางพลเมืองที่ดี…” พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก บัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 20 มิถุนายน พ.ศ.2520


“ที่สําคัญอยาเปลี่ยนสถานภาพวิทยาลัยชุมชนไปสอน ปริญญาตรีโดยเด็ดขาด..ถาไปสอนปริญญาตรีเมื่อใด จะดูด ทรัพยากรทั้งเวลา คน เงินและจะเลิกทําหนาที่วิทยาลัยชุมชนไป โดยอัตโนมัติ” ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี


สารจากผูอํานวยการ ปงบประมาณ พ.ศ.2563 ประเทศของเราตองเผชิญกับการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโค โรนาโควิด (COVID 19) ทําใหเกิดผลกระทบดานเศรษฐกิจ สังคม การทองเที่ยวและวิถีชีวิตของ ประชาชนในทุกๆดานซึ่งเปนเหตุการณที่ไมเคยเกิดขึ้นมากอนในประวัติศาสตรไทย ถึงกระนั้น ชาววิทยาลัยชุมชนมุกดาหารก็ไดทําหนาที่ทามกลางสถานการณนี้อยางองอาจ ดวยการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรอนุปริญญา การฝกอบรม การดําเนินงานในชุมชน ที่เนน การปรับตัวเขากับวิถีชีวิตใหม (New Normal) ทําใหเกิดผลงานเปนที่ประจักษและเปนที่พึ่งหวัง ของสังคม ยกระดับเปน “สถาบันที่สังคมเชื่อถือและไววางใจ” โดยเฉพาะอยางยิ่งการรวมมือรวมใจระดมสรรพกําลังกันในการจัดการแขงขันกีฬา นักศึกษาระดับชาติครั้งที่ 7 “มุกดาหารเกมส” ขึ้นในระหวางวันที่ 9 – 11 กุมภาพันธ 2563 ณ สนามกีฬากลางจังหวัดมุกดาหาร ถือเปนผลงานเดนแหงปที่สรางความประทับใจใหกับผูมาเยือน และเปนการประกาศพลานุภาพของระบบวิทยาลัยชุมชนทั้งระบบใหเปนที่ประจักษ จึงขอขอบคุณกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร อนุกรรมการวิชาการ คณะกรรมการสงเสริมกิจการวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร บุคลากรวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ผูบริหาร หนวยจัดการศึกษา ศิษยเกา นักศึกษา ผูสอน ผูสอนพิเศษ ภายใตการนําของ ผูอํานวยการวิทยาลัยชุมชนมุกดาหารที่เปนผูขับเคลื่อนและสรางสรรคงานพัฒนาจังหวัดมุกดาหาร อยางตลอดมาและตลอดไป


สารจากผูอํานวยการ “ทุกอณูของพื้นที่จังหวัดมุกดาหาร คือสถานที่ทํางานของเรา” จึงทําใหบุคลากร ของวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ไดแสวงหา เครือขายพันธมิตรในการทํางานในรูปแบบ ตางๆอยางหลากหลาย เพราะสําเหนียกวา “ทุกชีวิตของคนมุกดาหารคือเปาหมายการ ทํางานของเรา” จึงทําใหบุคลากรวิทยาลัย ชุมชนมุกดาหารไดทําหนาที่ยกระดับคุณภาพ ชีวิตผานหลักสูตรหรือเครื่องมือตางๆในการ ตอบสนองคนทุกชวงวัยในการทํางาน ดวยวิธีคิดและการทํางานดังกลาว ทําใหผูมีสวนเกี่ยวของกับวิทยาลัยชุมชน มุกดาหารทั้งในฐานะกรรมการชุดตางๆหรือผู ไดรับประโยชนจากระบบวิทยาลัยชุมชน มุกดาหารที่จัดบริการไดรวมกันแสดงพลัง แหงความสามัคคี โครงการรวมกันเปน เจาภาพ “กีฬามุกดาหารเกมส” ในการ รวมมือของนักศึกษา บุคลากรจากสถาบัน วิทยาลัยชุมชนและวิท ยาลัยชุมชนทั่ว ประเทศที่ใหเกียรติวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร เปนเจาภาพเมื่อวันที่ 9-11 กุมภาพันธ 2563 ซึ่งถือเปนประวัติศาสตรอีกอยางหนึ่ง ที่ควรจดจารบันทึกไว นอกจากนี้ในการทํางานนอกพื้นที่ (Area based)ที่บานบุง ตําบลภูวง อําเภอ หนองสูง จังหวัดมุกดาหาร ที่คณะทํางานได เขาไปดําเนินการอยางตอเนื่องมา 3 ป เห็น ผลเปนประจักษที่ชุมชนสามารถเติบโตทาง ความคิดและสามารถจัดการตนเองในดาน ตางๆไดอยางมั่นคง จึงอาจกลาวไดวาปงบประมาณ พ.ศ. 2563 นี้ แมเราจะตองเผชิญกับภัยคุกคาม ของโรคติดเชื้อโคโรนา (Covid 19) ทําให ตองปรับเปลี่ยนวิธีการทํางานแบบฉับพลัน แตทางวิทยาลัยชุมชนมุกดาหารก็ยังมุงมั่น ดําเนินงานตาม 5 พันธกิจ ไดแก ดานการ จัดการศึกษา ดานการบริการวิชาการ ดาน การวิจัยดานการอนุรักษศิลปวัฒนธรรม และดานการบริหารจัดการไดอยางภาคภูมิใจ ขอขอบพระคุณสภาวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร อนุกรรมการวิชาการ คณะกรรมการสงเสริม กิจการวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร บุคลากร นักศึกษา ภาคีเครือขาย รวมทั้งพื้นที่การ ดําเนินงานในดานตางๆที่ทําใหวิทยาลัย ชุมชนมุกดาหารไดดําเนินงานตามพันธกิจ ที่ตั้งไวไดอยางบรรลุตามวัตถุประสงคทุก ประการ


สารบัญ สารจากประธานสภาวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร สารจากผูอํานวยการ สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร 1 ประวัติความเปนมา 2 ปรัชญา 3 วิสัยทัศน 3 พันธกิจ 3 อัตลักษณ 3 เอกลักษณ 3 คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค 3 เปาประสงค 4 ประเด็นยุทธศาสตร 4 สวนที่ 2 การบริหารจัดการวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร 5 โครงสรางองคกร 6 คณะกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร 7 คณะกรรมการสงเสริมกิจการวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร 8 อนุกรรมการวิชาการ 9 ผูบริหารวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร 10 บุคลากรวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร 11 หัวหนาหนวยจัดการศึกษา 14 ทําเนียบผูบริหาร 15 ขอมูลดานบุคลากร 16 สวนที่ 3 ผลการดําเนินงานตามพันธกิจของวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร 18 ผลการดําเนินงานดานการจัดการศึกษา 19 ผลการดําเนินงานดานการจัดหลักสูตรพัฒนาทักษะอาชีพ 20 ผลการดําเนินงานดานการวิจัย 34 ผลการดําเนินงานดานศิลปวัฒนธรรม 43 สวนที่ 4 ผลการดําเนินงานตามแผนงานโครงการ/กิจกรรมตางๆของวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร 49 โครงการพัฒนาคุณภาพ/มาตรฐานการจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร 50 โครงการภายใตแผนงานยุทธศาสตรสรางความเสมอภาคทางการศึกษา 57 โครงการภายใตแผนงานบูรณาการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู 58 สวนที่ 5 ผลการประเมินความสําเร็จ 69 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ประจําปการศึกษา พ.ศ.2562 70 ผลการดําเนินงานเบิกจายงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ.2563 76 การทําบันทึกขอมตกลงความรวมมือ ( MOU) 78 สวนที่ 6 ผลงานเดน / ผลงานที่ไดรับรางวัล 80 ผลงานเดนและภาคภูมิใจ 81 แหลงเรียนรูของวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร 86 รายชื่อผูจัดทํา 89


1 1 สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของวิทยาลัยชุมชน มุกดาหาร


2 2 ประวัติความเปนมา วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร เปน 1 ใน 10 จังหวัดนํารองที่จัดตั้งวิทยาลัยชุมชนขึ้นตาม นโยบายของรัฐบาลในการกระจายการศึกษาสู ท อ ง ถิ่ น พ ร อ ม กั บ อี ก 9 จั ง ห วั ด ไ ด แ ก แมฮองสอน ตาก พิจิตร อุทัยธานี สระแกว หนองบัวลําภู ระนอง บุรีรัมย และนราธิวาส พ.ศ. 2545 จัดตั้งวิทยาลัยชุมชน มุกดาหาร ขึ้นเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ 2545 มี การแตงตั้งคณะกรรมการจัดตั้งวิทยาลัยชุมชน มุกดาหาร ผูวาราชการจังหวัดมุกดาหารเปน ประธานกรรมการจัดตั้ง ในระยะแรกใชสถานที่ ของศู นย กา รศึกษา นอกโรงเรีย นจังหวั ด มุกดาหาร เปนสถานที่ตั้งสํานักงานวิทยาลัย ชุมชนแมขาย และมีผูอํานวยการศูนยการศึกษา นอกโรงเรียนจังหวัดมุกดาหาร นางอุไรวรรณ อินทยารัตน ทําหนาที่รักษาราชการแทน ผูอํานวยการวิทยาลัยชุมชนอีกตําแหนงหนึ่ง พ.ศ. 2546 ไดยายสํานักงานวิทยาลัย ชุมชนมุกดาหารจากศูนยการศึกษานอกโรงเรียน จังหวัดมุกดาหารมาอยูที่อาคารที่วาการอําเภอ เมืองหลังเดิม ถนนพิทักษพนมเขต อําเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร โดยมี ผศ.นิพนธ อินสิน อาจารยจากสถาบันราชภัฏสกลนคร ทําหนาที่ รักษาราชการแทนผูอํานวยการวิทยาลัยชุมชน มุกดาหารจนหมดวาระหกเดือนจนถึง พ.ศ. 2557 ซึ่งไดยายมาอยูที่เลขที่ 199 หมู 10 บาน บุงอุทัย ตําบลนาสีนวน อําเภอเมือ จังหวัด มุกดาหาร พ.ศ. 2547 มีการสรรหาผูอํานวยการ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารในป 2547 จากการสรร หาสภาวิทยาลัยชุมชนมุกดาหารเสนอชื่อนาย พงษ ลิ้มวงษสกุล ใหสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาแตงตั้งเปนผูอํานวยการวิทยาลัย ชุมชนมุกดาหาร ตั้งแตเดือนสิงหาคม 2547 พ.ศ. 2548 แตงตั้งนายวิรัตน พรหมดี รักษาราชการแทนผูอํานวยการ เปนการ ชั่วคราว และเดือนมิถุนายน 2548 นางอัญญา ทวีโคตร ขาราชการไดรับการโอนมา ดํารง ตําแหนงครู วิทยฐานะชํานาญการพิเศษ ไดทํา หนาที่รักษาราชการแทนผูอํานวยการวิทยาลัย ชุมชนมุกดาหาร จนถึง มิถุนายน 2553 พ.ศ. 2553-2554 นายพลเดช ศรีบุญ เรือง ได รับกา รส รรหาแล ะคั ด เลื อกเป น ผูอํานวยการวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร โดยเปน ขาราชการไดรับการโอนมาดํารงตําแหนงครู วิทยฐานะเชี่ยวชาญ และทําหนาที่ผูอํานวยการ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร อีกตําแหนงหนึ่ง พ.ศ.2554 - 2559 นางอัญญา ทวีโคตร เปนผูอํานวยการวิทยาลัย และมีนายไชยยง อาจวิชัย เปนประธานกรรมการสภาวิทยาลัย ชุมชน และไดกอสรางสถานที่ตั้งวิทยาลัยชุมชน มุกดาหารแหงใหมโดยไดรับความเห็นชอบจาก กรมปาไม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ในการอนุญาตให วิทยาลัยชุมชน มุกดาหาร สํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา ใชที่ดินเนื้อที่ประมาณ 34 ไร 86 ตา ราวา ณ บานบุงอุทัย ตําบลนาสีนวน อําเภอ เมือง จังหวัดมุกดาหาร และไดเงินงบประมาณ ในการกอสรางอาคารศูนยวิทยบริการ วงเงิน 18,000,000 บาท พ.ศ.2559 – 2559 ดร.ทิวากร เหลาลือ ชา ครู คศ.3 วิทยฐานะ ครู ชํานาญการพิเศษ ไดรับการแตงตั้งรักษาราชการผูอํานวยการ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร และมีนายไชยยง อาจ วิชัย เปนประธานกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. 2559 – ปจจุบัน นายศศิพงษา จันทราสาขา เปนผูอํานวยการวิทยาลัย และมี นายสมศักดิ์ สีบุญเรือง เปนประธานกรรมการสภาวิทยาลัย ชุมชน


3 3 เสริมสรางโอกาสทางการศึกษาของบุคคลและชุมชนเพื่อลดความเหลื่อมล้ํา วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารพัฒนาคุณภาพคนและชุมชน 1.จัดการศึกษาระดับอนุปริญญาที่มี คุณภาพและสามารถสรางคุณภาพชีวิตที่ดี อยูใน สังคมอยางมีความสุข 2. ฝกอบรม บริการวิชาการโดยจัดหลักสูตรที่สอดคลองกับความตองการของชุมชน และใหชุมชนเกิดความเขมแข็งอยางยั่งยืน 3. พัฒนางานวิจัย งานสรางสรรคที่เปนประโยชนตอชุมชน 4. อนุรักษ สืบสาน ศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดลอมและภูมิปญญาทองถิ่น 5. มีระบบบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล รวมทั้งบุคลากรมีคุณภาพ “ยึดมั่นวินัย ใจรักสามัคคี มีความเสียสละ จิตสาธารณะเพื่อชุมชน” แหลงวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพคนและชุมชน 1.กิจกรรมสงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคที่กําหนดโดยวิทยาลัยชุมชน 2. กิจกรรมสงเสริมกีฬา หรือสงเสริมสุขภาพ 3. กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนหรือรักษาสิ่งแวดลอม 4. กิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรม 5. กิจกรรมสงเสริมศิลปะและวัฒนธรรม วิสัยทัศน พันธกิจ เอกลักษณ คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค อัตลักษณ ปรัชญา


4 4 เปาประสงคที่1: ผูสําเร็จการศึกษาสามารถสรางอาชีพและพัฒนาตนเองจนเกิดประโยชน แกตนเองและชุมชน เปาประสงคที่2 : ชุมชนไดรับการพัฒนาเกิดความเขมแข็งและคุณภาพชีวิตดีขึ้น เปาประสงคที่3 : งานวิจัย นวัตกรรมหรืองานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชนกับการเรียน การสอนและชุมชน เปาประสงคที่4 : มีการอนุรักษ สืบสาน ฟนฟู พัฒนาและเผยแพรศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดลอมหรือภูมิปญญาทองถิ่นรวมกับพันธกิจอื่นของสถานศึกษา เปาประสงคที่5 : มีรูปแบบการบริหารจัดการเชิงธรรมาภิบาลสามารถบริหารจัดการให งานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 1.จัดการศึกษาที่มีคุณภาพโดยชุมชนมีสวนรวม และสามารถสรางประโยชนใหกับชุมชน 2.สงเสริมใหมีชุมชนและบุคคลมีศักยภาพและความเขมแข็งอยางยั่งยืน 3.สงเสริมใหมีการพัฒนางานวิจัย นวัตกรรม หรืองานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชนกับการเรียนการสอนและชุมชน 4.สงเสริมใหมีการอนุรักษ สืบสาน ฟนฟู พัฒนา และเผยแพรศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดลอมและภูมิปญญาทองถิ่น 5.สงเสริมใหมีระบบกลไกความรวมมือของชุมชน 6.สงเสริมสนับสนุนใหมีการบริหารจัดการโดยนําหลักธรรมาภิบาลเปนแนวทางในการ บริหารจัดการและใหความสําคัญกับคุณภาพชีวิตที่ดีของบุคลากร เปาประสงค ประเด็นยุทธศาสตร


5 5 สวนที่ 2 การบริหารจัดการวิทยาลัยชุมชน มุกดาหาร


6 โครงสรวิทยาลัยชุมสถาบันวิสภาวิทผูอํานวยการองผูอํานวยการวิทยาลัยชุมชน รองผูอํานวผูอํานวยการสํานักวิชาการ ผูอํานวยการงานพัฒนาหลักสูตร งานหลักสูตรฝกอบรม งานหลักสูตรประกาศนียบัตร งานหลักสูตรอนุปริญญา งานหนวยจัดการศึกษา งานปรับฐานความรู งานกิจการนักศึกษา งานกยศ./กรอ. งานนิเทศ ติดตามและ ประเมินผล งานพัฒนาครูผูสอนประจํา/ พิเศษ งานทะเบียน งานวัดผล งานประกันคุณภาพการศึกษา งานอื่นๆที่ไดรับมอบหมาย งานธุรการ งานเลขานุการสภาวิทยาลังานนโยบายและแผน งานการเงิน งานบัญชี งานพัสดุ งานบุคลากร


รางองคกร มชนมุกดาหาร วิทยาลัยชุมชน ทยาลัยชุมชน ารวิทยาลัยชุมชน คณะกรรมการสงเสริมกิจการวิทยาลัย รองผูอํานวยการวิทยาลัยชุมชน วยการวิทยาลัยชุมชน ผูอํานวยการศูนยวิจัยและสงเสริม การเรียนรูตลอดชีวิต รสํานักงานผูอํานวยการ ัย งานอาคารสถานที่/ยานพาหนะ งานรักษาความปลอดภัย งานระบบสารสนเทศ งานคํารับรองปฏิบัติราชการ งานควบคุมภายในและความ เสี่ยง งานอื่นๆที่ไดรับมอบหมาย งานวิจัยและพัฒนาองคกรอาชีพและชุมชน งานสนับสนุนความรวมมือระหวางวิทยาลัยชุมชน กับองคกรอื่น งานศูนยวิทยบริการ งานศูนยภาษา งานศูนย OKMD งานศูนยบริการนักศึกษา งานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม งานประชาสัมพันธ งานพัฒนาและนําเสนอผลงานทางวิชาการ งานอื่นๆที่ไดรับมอบหมาย


7 คณะกรรมการสภา วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร นายสมศัประธานสภาวิทนายเรืองศรี ยืนยง กรรมการผูแทนองคกรชุมชน นายสมเกียรติ ศรีปดถา กรรมการผูแทนสถาบันอุดมศึกษา นายนราวิชญ มณีฤทธิ์ กรรมการผูทรงคุณวุฒิ นายเชิดศักดิ์ ยงกิจถาวร กรรมการผูทรงคุณวุฒิ นายสุวัฒน ผานิตกุลวัฒน กรรมการผูทรงคุณวุฒิ นายศศิพงษา จันทรสาขา กรรมการโดยตําแหนง


ศักดิ์ สีบุญเรือง ทยาลัยชุมชนมุกดาหาร นายอรรครัตน รัตนจันทร กรรมการผูทรงคุณวุฒิ นายพรรณณา ราชิวงค กรรมการผูแทนศิษยเกา นายบูรณ อินธิรัตน กรรมการผูทรงคุณวุฒิ นางอัญญา ทวีโคตร กรรมการผูทรงคุณวุฒิ นายสนอง แสนเสร็จ เลขานุการ ดร.ทิวากร เหลาลือชา กรรมการและผูชวยเลขานุการ


8 คณะกรรมการสงวิทยาลัยชุมชนดร.อิดิธ นามปรประธานคณะกรรพระครูประจักร บุญญาทร กรรมการ นายเฉลิมเกียรติ แสนวิเศษ กรรมการ นางสาวพรพัฎ วิริยพันธ กรรมการ นายทวีจิตร จันทรสาขา กรรมการ


งเสริมกิจการ นมุกดาหาร ะกาย รมการ นายชัยพล เกิดวงศบัณฑิต กรรมการ นายครองทรัพย บุญทศ กรรมการ นายพินิจ เจริญสุข กรรมการ นางวิลาสินี เจริญสุข กรรมการ


9 อนุกรรมการวิวิทยาลัยชุมชนมุนายศศิพงษา จันทรสาขา ประธานอนุกรรมการ นางมัลลิกา โภคสวัสดิ์ รองประธานอนุกรรมการ ผูชวยศาสตราจารย ดร.กุลภา โภคสวัสดิ์ อนุกรรมการ นายพิน สุวรรณไตรย อนุกรรมการ นางอุทร อารัมภวิโรจน อนุกรรมการ นายสนอง แสนเสร็จ อนุกรรมการและเลขานุการ อนุกรรมการ


วิชาการ กดาหาร นางปรียาภรณ กิตติพร อนุกรรมการ นายวินิจ คงทอง อนุกรรมการ นายชัยพล เกิดวงศบัณฑิต อนุกรรมการ นายสุริยะ พิศิษฐอรรถการ อนุกรรมการ นางศิริพร พันนุมา ผูชวยเลขานุการอนุกรรมการ


10 ผูบริหาร วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร นายศศิพงษา จันทรสาขา ผูอํานวยการวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร นายสนอง แสนเสร็จ รองผูอํานวยการวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร สํานักอํานวยการ นายสุริยะ พิศิษฐอรรถการ ครูชํานาญการ ผูอํานวยการศูนยวิจัยและสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต นายวิรัตน พรหมดี ครูอันดับ คศ.3 ผูอํานวยการสํานักวิชาการ


11 ขาราชการ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร นายทิวากร เหลาลือชา ครูเชี่ยวชาญ หัวหนาสํานักวิจัยฯ นางศิริพร พันนุมา ครูชํานาญการ หัวหนาสํานักวิชาการ นายพรวุฒิ คําแกว ครูชํานาญการ หัวหนางานพัสดุ นางมยุรา คําปาน ครูชํานาญการ หัวหนางานโครงการพิเศษ นางสาวกิตติกา เที่ยงธรรม ครูชํานาญการ หัวหนางานการเงินและบัญชี นางสาวพิมพประภา คําจันทร ครูชํานาญการ หัวหนางานแผนและงบประมาณ นางสาวดารินี บุตดีวงศ ครูชํานาญการ หัวหนางานศูนยภาษาและอาเซียน นางสาวพิริยาพร สุวรรณไตรย ครูชํานาญการ หัวหนางานศูนยความรูกินได นายธีระวัฒน สุวรรณพันธุ ครู ค.ศ.1 หัวหนางานอาคารสถานที่ นายรัฐธรรมนูญ อาจหาญ ครูค.ศ.1 หัวหนางานบุคลากร นางสาววัชราภรณ ชนะเคน ครูค.ศ.1 หัวหนางานประชาสัมพันธ นางสาวเยาวตรี ศรีหาวงศ ครูผูชวย หัวหนางานประกันคุณภาพฯ


12 นางกัญญาภัค สิงหคํา เจาหนาที่งานทะเบียน นางสาวเนตรนรินทร มรรควิจิตร นักวิชาการเงินและบัญชี นางสาวกุลนารี นิยมไทย เจาหนาที่งานทะเบียน นางประกายดาว สุริยวรรณ นักวิชาการศึกษา นางสาววนิดา สังคะลุน เจาพนักงานธุรการ นางปยะนุช ทวีสุข นักวิชาการวัดและประเมินผล นางสาวเบญจมาภรณ กลางประพันธ นักวิชาการศึกษา นางปทมา คุมแถว นักวิชาการศึกษา นางสาวสุนันทา พิลาวุธ เจาพนักงานธุรการ นางสุพรรณี ทองนอย นักวิชาการเงินและบัญชี นางวัฒนา ผานเมือง นักวิชาการพัสดุ นายสุรัตน สิงหทอง นักวิชาการคอมพิวเตอร นางสาวธิดารัตน สุขวิพัฒน นักวิชาการพัสดุ นางณัฐริกา ล้ําเลิศ นักวิชาการวัดและประเมินผล พนักงานราชการ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร มุกดาหาร


13 จางเหมาบริการ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร นางเชษฐธิดา ศรีโยหะ บรรณารักษ/ผูชวยเจาหนาที่พัสดุ นางสาวนันทกา สกุลไทย เจาหนาที่ประจําศูนยอาเซียน และหองสมุด นายชาญชัย ขันสิงห พนักงานรักษาความปลอดภัย นางสาวพิศมัย ทวีสุข พนักงานทําความสะอาด นายเรืองเดช คํานนท พนักงานขับรถ นายสาโรช ถิ่นระหา พนักงานรักษาความปลอดภัย นายอําพล ประจวบสุข นักจัดการงานทั่วไป นายวิศรุต ศรแมน นักการภารโรง นายดาว ราชิวงค หัวหนาพนักงานทําความ นายสุพล ทองสวัสดิ์ พนักงานรักษาความปลอดภัย นายไกรวิชกรณ บัญชา พนักงานทําสวน


14 หัวหนาหนวยจัดการศึกษา วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร นายสุพจน พละพร หัวหนาหนวยจัดการศึกษาอําเภอนิคมคําสรอย นางทัศนีย อัฐนาค หัวหนาหนวยจัดการศึกษาสานแว – นาโคกกุง นางพัชรี บุตดีวงค หัวหนาหนวยจัดการศึกษาอําเภอคําชะอี รอยเอกหญิงมาลา ยาสาไชย หัวหนาหนวยจัดการศึกษาอําเภอดงหลวง นายมาโนช โพธิ์เมือง หัวหนาหนวยจัดการศึกษาอําเภอหนองสูง นายสุนทร ปาวงศ หัวหนาหนวยจัดการศึกษาอําเภอดอนตาล นายวิรัตน พรหมดี หัวหนาหนวยจัดการศึกษาอําเภอเมือง


15 รายงานผูบริหาร ทําเนียบประธานกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ปที่ดํารงตําแหนง รายนาม ป พ.ศ.2545 -2546 นายเฉิดศักดิ์ แสนวิเศษ ปพ.ศ.2546 – 2546 นายสนอง แสนเสร็จ ป พ.ศ.2546 -2547 นายมนูญ วงศนารี ป พ.ศ.2547 -2552 นายวิรุฬห ศุภกุล ป พ.ศ.2552 – 2554 นายอรรครัตน รัตนจันทร ป พ.ศ.2554 – 2559 นายไชยยง อาจวิชัย ป พ.ศ.2559 – ปจจุบัน นายสมศักดิ์ สีบุญเรือง ปที่ดํารงตําแหนง รายนาม ป พ.ศ.2545-2546 นางอุไรวรรณ อินทยารัตน ป พ.ศ.2546-2547 นางสาวนพกนก บุรุษนันทน ป พ.ศ.2547-2547 ผศ.นิพนธ อินสิน ป พ.ศ.2547-2548 นายพงษ ลิ้มวงษสกุล ป พ.ศ.2548-2548 นายวิรัตน พรหมดี(รักษาราชการ) ป พ.ศ.2548-2553 นางอัญญา ทวีโคตร(รักษาราชการ) ป พ.ศ.2553-2554 นายพลเดช ศรีบุญเรือง ป พ.ศ.2554-2559 นางอัญญา ทวีโคตร ป พ.ศ.2549-2549 ดร.ทิวากร เหลาลือชา(รักษาราชการ ป พ.ศ.2549-ปจจุบัน นายศศิพงษา จันทรสาขา


16 ดานบุคลากร จํานวนบุคลากรในป พ.ศ.2563 วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร มีบุคลากรทั้งสิ้น 44 คน แบงเปน จํานวนบุคลากรวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ประเภท จํานวน รอยละ ขาราชการ 14 33 พนักงานราชการ 14 33 พนักงานจางเหมาบริการ 15 34 รวม 43 100 จํานวนขาราชการ ตําแหนง และเพศ เพศ ชาย หญิง รวม 1.ครูเชี่ยวชาญ 1 0 1 2. ครูอันดับ คศ.3 1 0 1 3. ครูชํานาญการ 2 6 8 4. ครู 2 2 4 5. ครูผูชวย 1 1 รวม 7 8 15 จํานวนพนักงานราชการ ตําแหนงและเพศ เพศ ชาย หญิง รวม 1. นักวิชาการศึกษา 0 3 3 2. นักวิชาการเงินและบัญชี 0 2 2 3. เจาหนาที่งานทะเบียน 0 2 2 4. เจาหนาที่งานวัดผล 0 1 1 5.นักวิชาการวัดและประเมินผล 0 1 1 6. นักวิชาการคอมพิวเตอร 1 0 1 7.เจาหนาที่ธุรการ 0 2 2 7. นักวิชาการพัสดุ 0 2 2 รวม 1 13 14


17 จํานวนจางเหมาบริการ ประเภทตําแหนงและเพศ เพศ ชาย หญิง รวม 1. เจาหนาที่บรรณารักษ - 1 1 2. พนักงานขับรถ 1 - 1 3. พนักงานรักษาความปลอดภัย 2 - 2 4. พนักงานทําความสะอาด 1 1 2 5. นักการภารโรง 1 - 1 6. พนักงานทําสวน 2 - 2 7. เจาหนาที่ประจําศูนยอาเซียน - 1 1 8. นักจัดการงานทั่วไป 1 - 1 9. เจาหนาที่ประจําหนวยจัดการศึกษาอําเภอคําชะอี - 1 1 10. เจาหนาที่ประจําหนวยจัดการศึกษาอําเภอดงหลวง - 1 1 11. เจาหนาที่ประจําหนวยจัดการศึกษาอําเภอดอนตาล 1 - 1 12.เจาหนาที่ประจําหนวยจัดการศึกษาสานแว – นาโคกกุง - 1 1 รวม 9 6 15


18 สวนที่ 3 ผลการดําเนินงานตามพันธกิจของวิทยาลัย ชุมชนมุกดาหาร


19 1. การดําเนินงานตามพันธกิจดานการจัดการศึกษา พัน ธกิ จ หลั ก ขอ ง วิท ย าลั ย ชุม ช น มุกดาหารคือจัดการศึกษาระดับอนุปริญญาที่มี คุณภาพและสามารถสรางคุณภาพชีวิตที่ดีอยูใน สังคมอยางมีความสุข และฝกอบรม บริการ วิชาการโดยจัดหลักสูตรที่สอดคลองกับความ ตองการของชุมชนและใหชุมชนเกิดความ เขมแข็งอยางยั่งยืน พัฒ นางานวิจัยงาน สรางสรรคที่เปนประโยชนตอชุมชน รวมทั้ง อนุรักษสืบสานศิลปวัฒนธรรมสิ่งแวดลอมและ ภูมิปญญาทองถิ่น และมีระบบบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล การจัดหลักสูตรอนุปริญญา 7 สาขาวิชา ไดแก สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น สาขาวิชา การศึกษาปฐมวัย สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชา การจัดการทั่วไป สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส ส า ข า ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ธุ ร กิ จแ ล ะ ส า ข า วิ ช า เทคโนโลยีการเกษตร ปงบประมาณ พ.ศ.2563 ไดรับการ จัดสรรงบประมาณภายใต 1 ผลผลิต คือ ผลผลิต ผูรับบริการการศึกษาในวิทยาลัยชุมชน


20 ผลการดําเนินงานระดับผลผลิต ปงบประมาณ พ.ศ.2563 ตัวชี้วัด หนวยนับ เปาหมาย ผลการ ดําเนินงาน ผลผลิตผูรับบริการการศึกษาในวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร เชิงปริมาณ : จํานวนผูรับบริการหลักสูตรประกาศนียบัตร คน 60 57 เชิงประมาณ : จํานวนนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาระดับ อนุปริญญา/เทียบเทา คน 123 85 เชิงปริมาณ : จํานวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา/เทียบเทาที่ คงอยู คน 250 439 เชิงปริมาณ : จํานวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา/เทียบเทาที่ เขาใหม คน 250 264 เชิงคุณภาพ : รอยละผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรดานอาชีพ นําความรู ทักษะและประสบการณไปประกอบอาชีพและ พัฒนางานที่ทําอยู รอยละ 80 95 เชิงคุณภาพ : รอยละผูสําเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา/ เทียบเทาจากวิทยาลัยชุมชนมุกดาหารสามารถศึกษาตอใน ระดับที่สูงขึ้นหรือประกอบอาชีพหรือพัฒนางานที่ทําอยู รอยละ 70 83


21 จํานวนนักศึกษาหลักสูตรอนุปริญญาใหมและนักศึกษาคงอยู ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 จําแนกตามสาขาวิชาดังนี้ รวม นักศึกษาใหม นักศึกษาคงอยู จํานวน นักศึกษา จํานวน หองเรียน จํานวน นักศึกษา จํานวน หองเรียน จํานวน นักศึกษา จํานวน หองเรียน 1. การปกครองทองถิ่น 99 6 77 3 22 3 2. การศึกษาปฐมวัย 140 8 72 3 68 5 3. การบัญชี 29 2 20 1 9 1 4. การจัดการทั่วไป 31 2 21 1 10 1 5.การจัดการโลจิสติกส 124 3 60 2 64 1 6.สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ - - - - - - 7.สาขา เทคโนโลยีการเกษตร 16 1 16 1 0 0 รวมทั้งสิ้น 439 21 266 11 173 11


22 จํานวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา แยกเปนสาขาภาคเรียนที่ 1/2563 สาขาวิชา จํานวนนักศึกษา รอยละ 1. การปกครองทองถิ่น 99 26 2. การศึกษาปฐมวัย 140 36 3. การบัญชี 29 8 4. การจัดการทั่วไป 31 7 5.การจัดการโลจิสติกส 124 19 6.สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ - - 7.สาขาเทคโนโลยีการเกษตร 16 4 รวม 439 100


23 จํานวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา ภาคเรียนที่ 1/2563 แยกเปนหนวยจัดการศึกษาหรือหองเรียน หนวยจัดการศึกษา สาขาวิชา จํานวนนักศึกษา หนวยจัดการศึกษาอําเภอเมือง 1.สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น 32 2.สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 44 3.สาขาวิชาการบัญชี 29 4.สาขาวิชาการจัดการทั่วไป 26 5.สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส 74 6. สาขาเทคโนโลยีการเกษตร 16 รวม 221 หนวยจัดการศึกษาอําเภอคําชะอี 1.สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 34 หนวยจัดการศึกษาอําเภอดอนตาล 1.สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น 29 2.สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 28 รวม 57 หนวยจัดการศึกษาอําเภอดงหลวง 1.สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น 39 2.สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 12 รวม 51 หนวยจัดการศึกษาสานแว-นาโคกกุง 1.สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 21 หองเรียนไทวัสดุ สาขาการจัดการ 5 หองเรียนเรือนจํา สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส 50 รวม 439


24 ปรับปรุงหลักสูตรอนุปริญญา มีการปรับปรุงหลักสูตรอนุปริญญาของวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ไดแก สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ ซึ่งจะทําการเปดสอนใน


25 2.การดําเนินงานตามพันธกิจดานการจัดหลักสูตรพัฒนาทักษะอาชีพ 2.1หลักสูตรประกาศนียบัตร (“การดูแลสุขภาพวิถีธรรมตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง”) หลักสูตรประกาศนียบัตรในปการศึกษา พ.ศ.2563 วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารไดมีการเปดรับสมัคร นักศึกษาในหลักสูตรประกาศนียบัตร 1 หลักสูตร ไดแกหลักสูตรการดูแลสุขภาพวิถีธรรมตามแนว เศรษฐกิจพอเพียง โดยไดรับความรวมมือจากคายสุขภาพหมอเขียว “สวนปานาบุญ” อําเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร เปนสถานที่ในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งในปการศึกษา พ.ศ.2563 รับสมัครจํานวน นักศึกษาไดทั้งหมด 60 คน สําเร็จการศึกษาจํานวน 57 คน และพรอมจะเปดสอนใหภาคเรียนที่ 2/2563


26 2.2 การจัดหลักสูตรฝกอบรมและบริการวิชาการ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารจัดหลักสูตรฝกอบรมที่สอดคลองกับความตองการและบริบทของชุมชน ตางๆในจังหวัดมุกดาหารและจังหวัดใกลเคียง โดยมีหลักสูตรที่หลากหลายที่สามารถนําไปประยุกตใชใน การดําเนินชีวิตและสามารถสรางรายไดใหกับชุมชน ในปงบประมาณ พ.ศ.2563 มีจํานวนประชาชนที่ สนใจและรับบริการหลักสูตรฝกอบรมดานวิชาการและดานอาชีพ จํานวน 473 คน และมีผูรับบริการที สําเร็จการศึกษา จํานวน 455 คน คิดเปนรอยละ 96 หลักสูตร ผูรับบริการ ผูสําเร็จ จํานวน (คน) % ตอผูรับบริการ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 25 25 100 ภาษาอังกฤษเพื่อการทองเที่ยว 29 26 90 การแปรรูปสมุนไพร 51 51 100 นักการตลาดชุมชน 26 26 100 ขนมไทยในพิธีมงคล 25 25 100 อาหารสําหรับผสูงอายุ 120 120 100 การดูแลผูสูงอายุ 74 74 100 การแปรรูปผลิตภัณฑจากผาทอมือ 24 9 37.5 การสรางสรรคดวยวัสดุตาง ๆ (พาน บายศรี ขันหมากเบง และงาน ใบตอง) 99 99 100 รวม 473 455 96


27


28 นางสาวชัญญา ดุมกลาง ผูผานการฝกอบรมอาชีพ ภูมิลําเนา บานเลขที่ 5/1 หมู 3 ต.รองกาศ อ.สูงเมน จ.แพร 54130 อายุ 48 ป การศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง จากสถาบัน วิทยาเขตตาก ปจจุบันกําลังศึกษาระดับ – อาชีพปจจุบันที่ทํา ไดแก จําหนายของชํารวยจากผา, วิทยากรอิสระ รายไดเฉลี่ยตอเดือน 7,000 บาท ไดผานการฝกอบรมหลักสูตรพัฒนาทักษะและเสริมสรางประสบการณดานอาชีพและคุณภาพชีวิต (ฝกอบรม อาชีพ) ปงบประมาณ 2563 ในหลักสูตร การแปรรูปจากผลิตภัณฑจากผาทอมือ อาชีพ/รายไดเสริม หลังจากผานการฝกอบรมอาชีพ จากวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ไดแก พัฒนางาน ผลิตภัณฑของตัวเอง มีรายไดเฉลี่ยตอเดือน 7,000 บาท/เดือน เปนวิทยากร ผูใหขอมูล : นางสาวภัสราพร โคตรพรม ผูเก็บขอมูล : นางปทมา คุมแถว สิงหาคม 2563


29 นางจินตนา จันทรสิตางกูร ผูผานการฝกอบรมอาชีพ ภูมิลําเนา บานเลขที่ 45 ซ.รวมใจ 3 ถ.มุกดาหาร-ดอนตาล ต.ศรีบุญเรือง อ.เมือง จ.มุกดาหาร 49000 อายุ 61 ป การศึกษา ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตรและ ผดุง ครรภชั้นสูง จากสถาบัน วิทยาลัยพยาบาลนครราชสีมา ปจจุบันกําลังศึกษาระดับ - อาชีพปจจุบันที่ทํา ไดแก ขาราชการบํานาญ รายไดเฉลี่ยตอเดือน 35,000 บาท ไดผานการฝกอบรมหลักสูตรพัฒนาทักษะและเสริมสรางประสบการณดานอาชีพและคุณภาพชีวิต (ฝกอบรม อาชีพ) ปงบประมาณ 2563 ในหลักสูตร 1. การแปรรูปจากผลิตภัณฑจากผาทอมือ 2.รวมกิจกรรมงานกีฬานักศึกษา วิทยาลัยชุมชนทั่วประเทศ โดยรวมรําพิธีเปดงานกับนางรํากวา 1,000 คน อาชีพ/รายไดเสริม หลังจากผานการฝกอบรมอาชีพจากวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ไดแก 1.สรางสรรคงานแปรรูปผลิตภัณฑดวยตนเองและใชเองกอน 2.สามารถสรางสรรคผลงานเพื่อจําหนายหนารานคาที่เปนธุรกิจสวนตัวของตนเอง ผูใหขอมูล : นางจินตนา จันทรสิตางกูร ผูเก็บขอมูล : นางปทมา คุมแถว สิงหาคม 2563


30 นางศุภนุช พันนุมา ผูผานการฝกอบรมอาชีพ ภูมิลําเนา บานเลขที่ 70 หมู 6 ต.เหลาสรางถอ อ.คําชะอี จ.มุกดาหาร อายุ 50 ป การศึกษา ปริญญาตรี จากสถาบัน - ปจจุบันกําลังศึกษาระดับ – อาชีพปจจุบันที่ทํา ไดแก เลขานุการนายก องคการบริหาร สวนตําบลเหลาสรางถอ รายไดเฉลี่ยตอเดือน 15,000 บาท ไดผานการฝกอบรมหลักสูตรพัฒนาทักษะและเสริมสราง ประสบการณดานอาชีพและคุณภาพชีวิต (ฝกอบรมอาชีพ) ปงบประมาณ 2563 ในหลักสูตร การแปรรูปจากผลิตภัณฑ จากผาทอมือ อาชีพ/รายไดเสริม หลังจากผานการฝกอบรมอาชีพ จากวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ไดแก งานแปรรูปผลิตภัณฑจากผา เศษผา มีรายไดเฉลี่ยตอเดือน ผูใหขอมูล : นางศุภนุช พันนุมา ผูเก็บขอมูล : นางปทมา คุมแถว สิงหาคม 2563


31 นางสาวประยูร ไชยบัน ผูผานการฝกอบรมอาชีพ ภูมิลําเนา บานเลขที่ 333 หมู 4 ต.คําอาฮวน อ.เมือง จ.มุกดาหาร 49000 อายุ 37 ป การศึกษา ปริญญาโท จากสถาบัน - ปจจุบันกําลังศึกษาระดับ – อาชีพปจจุบันที่ทํา ไดแก รับราชการ ที่ทํางานเทศบาลตําบลคําอาฮวน รายไดเฉลี่ยตอเดือน 30,000 บาท ไดผานการฝกอบรมหลักสูตรพัฒนาทักษะและเสริมสรางประสบการณดานอาชีพและคุณภาพชีวิต (ฝกอบรม อาชีพ) ปงบประมาณ 2563 ในหลักสูตร 1.การแปรรูปจากผลิตภัณฑจากผาทอมือ อาชีพ/รายไดเสริม หลังจากผานการฝกอบรมอาชีพ จากวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ไดแก งานแปรรูปผลิตภัณฑจากผา เศษผา มีรายไดเฉลี่ยตอเดือน 1,000 บาท/ เดือน ผูใหขอมูล : นางสาวประยูร ไชยบัน ผูเก็บขอมูล : นางปทมา คุมแถว สิงหาคม 2563


32 นางสาวพิชชาภรณ ชาธิพา ผูผานการฝกอบรมอาชีพ ภูมิลําเนา บานเลขที่ 132 หมู 13 ต.คําอาฮวน อ.เมือง จ.มุกดาหาร 49000 อายุ 36 ป การศึกษา ปริญญาตรี จากสถาบัน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต อาชีพปจจุบันที่ทํา ไดแก ลูกจางรัฐ ที่ทํางานเทศบาล ตําบลคําอาฮวน รายไดเฉลี่ยตอเดือน 13,000 บาท ไดผานการฝกอบรมหลักสูตรพัฒนาทักษะและเสริมสรางประสบการณดานอาชีพและคุณภาพชีวิต (ฝกอบรมอาชีพ) ปงบประมาณ 2563 ในหลักสูตรการแปรรูปจากผลิตภัณฑจากผาทอมือ อาชีพ/รายไดเสริม หลังจากผานการฝกอบรมอาชีพ จากวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ไดแกงานแปรรูปผลิตภัณฑจากผา เศษผามีรายไดเฉลี่ยตอเดือน 1,000 บาท/เดือน ผูใหขอมูล : นางสาวพิชชาภรณ ชาธิพา ผูเก็บขอมูล : นางปทมา คุมแถว สิงหาคม 2563


33 นางสาวกาญจนารัตน วงศศรีทา ผูผานการฝกอบรมอาชีพ ภูมิลําเนา บานเลขที่ 192 หมู 2 ต.คําอาฮวน อ.เมือง จ.มุกดาหาร 49000 อายุ 37 ป การศึกษา ปริญญาโท จากสถาบัน มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ปจจุบันกําลังศึกษาระดับ – อาชีพปจจุบันที่ทํา ไดแก รับราชการ ที่ทํางานเทศบาล ตําบลคําอาฮวน รายไดเฉลี่ยตอเดือน 21,170 บาท ไดผานการฝกอบรมหลักสูตรพัฒนาทักษะและเสริมสรางประสบการณดานอาชีพและคุณภาพชีวิต (ฝกอบรมอาชีพ) ปงบประมาณ 2563 ในหลักสูตร 1.การแปรรูปจากผลิตภัณฑจากผาทอมือ


34 3.การดําเนินงานตามพันธกิจดานการวิจัย วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารมุงมั่นพัฒนากระบวนการทางดานการวิจัย เพื่อสรางองคความรูในการ พัฒนาการจัดการเรียนการสอน การแกปญหาในชั้นเรียน รวมทั้งเพื่อพัฒนาชุมชน นวัตกรรม หรืองาน สรางสรรค พรอมทั้งพัฒนาอาชีพ ความเปนอยูของคนในชุมชน และสามารถนําเอาผลการศึกษาวิจัยไปใช ใหเกิดประโยชนไดจริง ตลอดจนการพัฒนาคุณภาพ ของวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร สังคม ชุมชน หรือ ประเทศชาติ โดยสอดคลองกับปรัชญาและเจตนารมณของการจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนของตน วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ไดรับงบประมาณดานการวิจัยจากหนวยงานภายในและภายนอกวิทยาลัยชุมชน มุกดาหาร โดยไดรับจัดสรรเงินงบประมาณทั้งสิ้น 2,679,150 บาท โดยมีรายชื่องานวิจัย ดังนี้ ที่ ชื่องานวิจัย งบประมาณ ประเภทงานวิจัย 1. ทุนพัฒนานักวิจัยและนวัตกรรมประเภททุนพัฒนานักวิจัยรุน ใหม (แมไก-ลูกไก) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 เรื่อง “การพัฒนาและสรางมูลคาเพิ่มผลิตภัณฑจากเกลือทะเลเพื่อ การทองเที่ยวชุมชนจังหวัดสมุทรสาคร” 256,650 สัญญาทุนสํานักงานการวิจัย แหงชาติ 2. ทุนวิจัยโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่เพื่อแกไขปญหาความ ยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแมนยําในพื้นที่จังหวัดมุกดาหาร ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 1,740,000 หนวยบริหารและจัดการทุน ดานการ พัฒนาร ะดับพื้นที่ (บพท.) สํานักงานสภานโยบาย การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรมแหงชาติ (ส อ ว ช. ) ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร อุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัย และนวัตกรรม 3. โครงการวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรูทางการตลาด ของชุมชนทองเที่ยวในจังหวัดมุกดาหาร ภายใตแนวคิด CMLT: Community Marketing Learning Tourism (การตลาดเพื่อ การทองเที่ยวชุมชน) 200,000 4. โครงการวิจัยและพัฒนาหัวขอรูปแบบการจัดการความรูภูมิ ปญญาทางการตลาดของชุมชนผูสูงอายุในจังหวัดมุกดาหาร KME : Knowledge Marketing Elderly Model for Marketing Knowledge Management of Elderly Community in Mukdahan Province (KME Model) 200,000 5. รายงานวิจัยเรื่อง การจัดการความรูเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ สมุนไพรพรอมบริโภค กรณีศึกษาบานผาสุก ตําบลดอนตาล อําเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร 6. ผลการจัดประสบการณเพื่อเสริมพัฒนาการสมองดานบริหาร จัดการ ในเด็กปฐมวัยตําบลกกตูม อําเภอดงหลวง จังหวัด มุกดาหาร 65,000 7. การพัฒนาหนังสือรายวิชา การเปนผูประกอบการธุรกิจชุมชน รหัสวิชา บธ 0205หลักสูตรอนุปริญญาบริหารธุรกิจ (หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ. 2556) สาขาวิชาการจัดการทั่วไป วิทยาลัย ชุมชนมุกดาหาร - 8. การศึกษาและพัฒนาลายอัตลักษณผาทอพื้นถิ่น ของคนไทยเชื้อ สายภูไทชุมชนบานนาโสก จังหวัดมุกดาหาร 200,00


35 โครงการวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรูทางการตลาดของชุมชนทองเที่ยวในจังหวัด มุกดาหาร ภายใตแนวคิด CMLT: Community Marketing Learning Tourism (การตลาดเพื่อการทองเที่ยวชุมชน) โดย ดร.ทิวากร เหลาลือชา ครูเชี่ยวชาญ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร การวิจัยและพัฒนาครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาสภาพและปญหาการจัดการเรียนรูทางการตลาด 2) ศึกษาองคประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรูทางการตลาด 3) สรางและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู ทางการตลาด 4) เพื่อดําเนินการตามรูปแบบการจัดการเรียนรูทางการตลาด และ 5) หาประสิทธิผลของรูปแบบการ จัดการเรียนรูทางการตลาดของชุมชนทองเที่ยวในจังหวัดมุกดาหาร กลุมเปาหมาย จํานวน 3 กลุม ประกอบดวย กลุม ชุมชน กลุมภาครัฐ กลุมภาคเอกชนและลูกคา และกลุมผูเชี่ยวชาญ เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือ แบบสัมภาษณที่มี คา IOC=0.89-0.91 และแบบสอบถามชุดที่ 1-4 มีคา α=0.98 สถิติที่ใชวิเคราะหไดแก รอยละ คาเฉลี่ย และคา เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบวา สภาพการดําเนินการทางการตลาด พบวา ขาดการพัฒนาการเรียนรู ทางดานการตลาด การพัฒนาผลิตภัณฑ และการจัดการหวงโซมูลคาของชุมชนทองเที่ยว ทําการวิเคราะห องคประกอบรูปแบบการจัดการเรียนรูทางการตลาดของชุมชน มีจํานวน 9 องคประกอบ และมีองคประกอบการ จัดการทางตลาด 9P ผูวิจัยสรางและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรูทางการตลาดของชุมชน ภายใตแนวคิด CMLT (Community marketing learning tourism) ทําใหไดรูปแบบและหลักสูตรที่มีความเหมาะสม ( X =4.62) นําไปทําการฝกอบรม พบวา ภาพรวมมีความพึงพอใจอยูในระดับมากที่สุด ( X =4.48) และ ประสิทธิผล ของรูปแบบที่พัฒนาขั้นโดยใชแนวคิด BSC พบวา มุมมองการเงิน จํานวนยอดขายเพิ่มขึ้น ( X =4.66) มุมมอง ลูกคา มีการสนับสนุนจากหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน ( X =4.51) มุมมองกระบวนการภายใน มีการรวมกลุม ทางการตลาด ( X =4.61) และมุมมองการเรียนรูและการพัฒนา มีการประเมินทางการตลาด ( X =4.58)


36


37 การจัดการความรูเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑสมุนไพรพรอมบริโภค: กรณีศึกษา บานผาสุก ตําบลดอนตาล อําเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร Knowledge Management to Develop Consumed Herbal Products: A Case Study of Ban Phasuk, DonTan Subdistrict, DonTan District, Mukdahan Province โดย พิริยาพร สุวรรณไตรย การวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการจัดการความรูเรื่องสมุนไพรพรอมบริโภค และสัมฤทธิผลของ การเรียนรูเรื่องผลิตภัณฑสมุนไพรพรอมบริโภค ประชากร คือผูแปรรูปสมุนไพรและภูมิปญญาทองถิ่นดาน สมุนไพรในจังหวัดมุกดาหารและกลุมตัวอยางสมาชิกกลุมสมุนไพรบานผาสุก อําเภอดอนตาล จังหวัด มุกดาหาร จากการศึกษาการจัดการความรูเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑสมุนไพรพรอมบริโภค พบวาเกิด กระบวนการจัดเก็บความรูจากปราชญชาวบาน กระบวนจัดการปฏิทินการปลูก การเก็บรักษาสมุนไพร กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรูเกี่ยวกับสรรพคุณของสมุนไพร การนําสมุนไพรมาแปรรูปเปนผลิตภัณฑ สมุนไพร การถายทอดองคความรูใหกับผูอื่นอยางเปนระบบ และไดรับการยอมรับเปนสมาชิกของกลุม เกษตรกรกลุมสมุนไพรเมืองมุกดาหาร ผลการศึกษาสัมฤทธิผลของการเรียนรูเรื่องผลิตภัณฑสมุนไพรพรอม บริโภคจากการศึกษาพบวาสัมฤทธิผลของการเรียนรูเรื่องผลิตภัณฑสมุนไพรพรอมบริโภคมีสัมฤทธิผล ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน และกลุมสมุนไพรผูรวมโครงการมีความพึงพอใจตอการบริหาร จัดการโครงการ อยูที่ระดับมาก


38 รายงานการศึกษา การใชเกมการศึกษาเพื่อสงเสริมทักษะทักษะสมองเชิงบริหารจัดการ (EF) สําหรับเด็กปฐมวัยศูนยพัฒนาเด็ก เล็กบานแกงนาง ตําบลกกตูม อําเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร โดย ดร.พรวุฒิ คําแกว ,นางกัญญาภัค สิงหคํา ,ดร.ปยะนุช ทวีสุข และนางเชษฐธิดา ศรีโยหะ การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อสรางและใชเกมการศึกษาสงเสริมทักษะสมองดานบริหารจัดการ (EF) และเพื่อศึกษาผลการใชเกมการศึกษาเพื่อสงเสริมทักษะสมองดานบริหารจัดการ (EF) ของเด็กปฐมวัย กลุมเปาหมาย ไดแก นักเรียนชั้นเตรียมอนุบาล ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 ที่ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานแกง นาง ตําบลกกตูม อําเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร จํานวน 40 คน เครื่องมือที่ใชในการศึกษา ประกอบดวย 1) เกมการศึกษา จานวน 5 เกม 2) แบบประเมินทักษะสมองดานบริหารจัดการ (EF) วิเคราะหขอมูล โดยการหาคาเฉลี่ย แลวนําคะแนนไปเปรียบเทียบกอนและหลังการทดลอง นําเสนอขอมูล โดยใชตารางประกอบ คําบรรยาย ผลการศึกษา สรุปไดดังนี้ 1. ไดเกมการศึกษาเพื่อฝกทักษะสมองดานบริหารจัดการ (EF) เกมการศึกษามีเนื้อหา รูปภาพ คําสั่งที่ หลากหลาย เหมาะสมกับผูเรียน ซึ่งสามารถใชสงเสริมทักษะสมองดานบริหารจัดการ (EF) ของนักเรียนได 2. คะแนนเฉลี่ยของทักษะสมองดานบริหารจัดการ (EF) ของเด็กปฐมวัย โดยการใชเกมการศึกษาคะแนน เฉลี่ยโดยรวมกอนการทดลองเทากับ 3.53 และคะแนนเฉลี่ยโดยรวมหลังการทดลองเทากับ 4.44 ซึ่งคะแนนเฉลี่ย ของทักษะสมองดานบริหารจัดการ (EF) ของเด็กปฐมวัย โดยรวมหลังการทดลองสูงกวากอนการทดลอง


39 รายงานการศึกษา การศึกษาและพัฒนาลายอัตลักษณผาทอพื้นถิ่น ของคนไทยเชื้อสายภูไทชุมชนบานนาโสก จังหวัดมุกดาหาร โดย กิตติกา เที่ยงธรรม, ดร.พรวุฒิ คําแกว, รัฐธรรมนูญ อาจหาญ เยาวตรี ศรีหาวงศ, ปทมา คุมแถว, สุรัตน สิงหทอง เชษฐธิดา ศรีโยหะและธิดารัตน สุขวิพัฒน การศึกษาและพัฒนาลายอัตลักษณผาทอพื้นถิ่น ของคน ไทยเชื้อสายภูไทชุมชนบานนาโสก จังหวัดมุกดาหาร เปนการศึกษาองคความรู และกระบวนการถายทอด ความรูการทอผาพื้นถิ่น โดยกลุมตัวอยางที่ใชใน การศึกษา คือ กลุมทอผาพื้นเมืองบานนาโสก ตําบลนา โสก อําเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร โดยการเลือกจาก กลุมชาวบานที่ยังคงมีการทอผาแบบดั้งเดิมที่ไดรับการ สืบทอดตอกันมา ของกลุมทอผาเชื้อสายภูไท บานนา โสก ตําบลนาโสก อําเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร ได รวบรวมขอมูลจากการสังเกต การสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) ผลการศึกษาพบวา ผาทอลายหมากหวาย เปนลายที่อยูคูกับชุมชนบานนาโสกมาอยางยาวนาน และเปนลายที่ เกี่ยวของกับความเชื่อดานศาสนา ซึ่งผูเฒาผูแกบานนาโสกเลาตอ ๆ กันมาวา “ผาทอสไบลายหมากหวาย” เปนที่ นิยมใชสืบทอดกันมาตั้งแตยังเปนเด็ก โดยสวนใหญจะใชสวมใสไปวัด ไปงานมงคล งานพิธีการสําคัญตาง ๆ ซึ่ง ชาวบานนาโสก มีความเชื่อวาการสวมใสผาทอสไบลายหมากหวาย จะแสดงถึงความรักความสามัคคีที่มีอยูใน ชุมชนบานนาโสก เปรียบเสมือนสายสิญจนที่ใชคลองพันรอบกาย หากไดสวมใสไปรวมงานพิธีสําคัญตาง ๆ แลว จะทําใหอยูเย็นเปนสุข เสริมดวงชะตา และเปนสิริมงคลในชีวิต เปนลายอัตลักษณของชุมชนบานนาโสก การศึกษาและพัฒนาการออกแบบผาทอลายหมากหวาย โดยการแกะแบบ จากสไบขิดฝายลายหมากหวาย ที่มี ลายที่ชัดเจนสวยงาม และโดดเดน โดยอาศัยเทคนิคและความชํานาญในการขิดลาย ทําใหเกิดลวดลายที่สวยงาม โดยผาทอสไบลายหมากหวายนั้น จะประกอบไปดวย 1) ลายหลักคือ ลายหมากหวาย และ2) ลายประกอบ คือ ลายดอกผักแวน และลายซิกแซก สวนการศึกษาภูมิปญญา และการถายทอดภูมิปญญา พบวา ชาวบานทอผาไว เพื่อจําหนาย และสวมใสในเทศกาลสําคัญ โดยมีการทอผาแบบดั้งเดิม คือการทอขัด การทอผาขิด


Click to View FlipBook Version