The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2563 วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร (Annual Report 2020)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ptheera, 2024-03-18 04:47:17

รายงานประจำปี 2563 วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร

รายงานประจำปี 2563 วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร (Annual Report 2020)

40


41 งานวิจัยที่ไดการพัฒนาและลงตีพิมพในวารสารระดับประเทศ โครงการวิจัยและพัฒนาหัวขอ รูปแบบการจัดการความรูภูมิปญญาทางการตลาดของชุมชนผูสูงอายุในจังหวัดมุกดาหาร KME : Knowledge Marketing Elderly Model for Marketing Knowledge Management of Elderly Community in Mukdahan Province (KME Model) โดย ดร.ทิวากร เหลาลือชา ครูเชี่ยวชาญ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ก า ร วิ จั ยแ ล ะ พั ฒ นาครั้ ง นี้ มี วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อศึกษาสภาพ และปญหาของการจัดการความรูภูมิปญญา ทางการตลาด เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการ ความรูภูมิปญญาทางการตลาด เพื่อทดลอง ใชรูปแบบการจัดการความรูภูมิปญญาทาง การตลาดของชุมชนผูสูงอายุในจังหวัด มุกดาหาร และเพื่อหาประสิทธิผลของรูปแบบ การจัดการความรูภูมิปญญาทางการตลาดของ ชุมชนผูสูงอายุในจังหวัดมุกดาหาร มีการ ดําเนินการวิจัยในป พ.ศ. 2561-2563 มี กลุมเปาหมายการวิจัย ประกอบดวย กลุมผูสูงอายุ กลุมภาครัฐ กลุมภาคเอกชนและลูกคา และกลุมผูเชี่ยวชาญ รวมกลุมเปาหมายการวิจัยจํานวน 600 คน ผลการวิจัยพบวา 1) สภาพและปญหาการดําเนินการจัดการเรียนรู ของชุมชน โดยใชเครื่องมือ SWOT,Value chain, SECI Model และ KM Marketing ผลการวิจัยพบวา ดาน สภาพขาดการพัฒนาการจัดการความรูภูมิปญญาทางการตลาดของชุมชนผูสูงอายุ ขาดการจัดการหวงโซมูลคา ของชุมชนผูสูงอายุเชิงระบบตนทาง กลางทาง และปลายทาง แนวทางกลยุทธการจัดการความรูภูมิปญญาคือ E = Externalization และแนวทางกลยุทธการจัดการความรูคือ Customer 2) การพัฒนาของรูปแบบการจัดการ ความรูภูมิปญญาทางการตลาดของชุมชนผูสูงอายุ พบวา มีองคประกอบการจัดการความรูภูมิปญญา 5KM และมี องคประกอบการจัดการทางตลาด 6P 3) ผูวิจัยไดพัฒนารูปแบบการจัดการความรูภูมิปญญาทางการตลาดของ ชุมชนผูสูงอายุ ภายใตแนวคิด KME: Knowledge Marketing Elderly ประกอบดวยกระบวนการเรียนรู 3 กระบวนการ และมีขั้นตอนการจัดการความรูภูมิปญญา 5 ขั้น ไดพัฒนาหลักสูตรนักจัดการความรูภูมิปญญาทาง การตลาดชุมชนหรือรูปแบบ CME (Community Marketing Elderly) มีจํานวน 45 ชั่วโมง 4) ไดนํารูปแบบ และหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นไปทดลองใชโดยการฝกอบรมกับชุมชนเปาหมาย จํานวน 3 กลุม พบวา มีผลการเรียนรู ระดับมาก และ 5) การหาประสิทธิผลของรูปแบบที่พัฒนาขั้นโดยใชแนวคิด BSC ใน 4 มุมมอง มีผลการเรียนรูใน มุมมองกระบวนการภายในมากที่สุด รองลงมาคือมุมมองการเรียนรูและการพัฒนา มุมมองการเงิน และมุมมอง ลูกคาตามลําดับ และอยูในระดับมากที่สุดทุกมุมมอง


42


43 4.ผลการดําเนินงานตามพันธกิจดานศิลปวัฒนธรรม การดําเนินงานตามพันธกิจดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมของวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ในปงบประมาณ พ.ศ.2563 ภายใตผลผลิตงานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม วงเงิน 75,000 บาท มี ผลการดําเนินงานดังนี้ ตัวชี้วัด หนวยนับ เปาหมาย ผลการ ดําเนินงาน ผลผลิตงานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เชิงปริมาณ : จํานวนนักศึกษาและประชาชนที่เขารวม กิจกรรมเพื่อพัฒนาภูมิปญญาทองถิ่น และอนุรักษ ศิลปวัฒนธรรมไทย คน 250 250 เชิงปริมาณ : จํานวนโครงการ/กิจกรรมศิลปวัฒนธรรมและ ภูมิปญญาทองถิ่น โครงการ 2 2 เชิงคุณภาพ : รอยละความพึงพอใจของผูเขารวมโครงการ/ กิจกรรมศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น รอยละ 80 100 1.โครงการจัดการความรูดานศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาเพื่อยกระดับสูเศรษฐกิจสรางสรรค วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารไดจัดโครงการจัดการความรูดาน ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาเพื่อยกระดับสูเศรษฐกิจ สรางสรรค เพื่อจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อสืบสาน ถายทอด องคความรู และเผยแพรศิลปวัฒนธรรมของชุมชนทองถิ่นใน พื้นที่เปาหมายสูสากล และใหเปนแหลงศึกษา เรียนรู วัฒนธรรม ประเพณีและประวัติศาสตรของชุมชน รวมถึงสราง คุณคาและคุณประโยชนใหแกชุมชนในดานการพัฒนาโดยใช วัฒนธรรมชุมชนเปนตัวขับเคลื่อนงานพัฒนาเพื่อยกระดับสู เศรษฐกิจสรางสรรค โดยมีพื้นที่เปาหมาย 4 ชุมชน ไดแก (1) บานหนองหลม ต.โพธิ์ไทร อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร (2) บาน เปา ต.บานเปา อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร (3) บานคอ ต.คําชะอี อ.คําชะอี จ.มุกดาหาร และ (4) บานนาอุดม – โนนหนองหอ อ.นิคมคําสรอย จ.มุกดาหาร


44 ที่ ชื่อโครงการยอย งบประมาณ จํานวนผูรับ บริการ (คน) ชื่อชุมชนที่ใหบริการ รวมทั้งสิ้น 136,250 750 คน - 1. โครงการจัดการความรูดาน ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญา เพื่อยกระดับสูเศรษฐกิจ สรางสรรค 50,000 200 คน 1.พิพิธภัณฑบานหนองหลม ต.โพธิ์ไทร อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร 2.พิพิธภัณฑชุมชนบานเปา ต.บานเปา อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร 3.พิพิธภัณฑบานคอ ต.คําชะอี อ.คําชะอี จ.มุกดาหาร 4.บานนาอุดม – โนนหนองหอ อ.นิคมคําสรอย จ.มุกดาหาร


45 2. โครงการสงเสริมทํานุบํารุงศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารไดจัดโครงการสงเสริมทํานุบํารุงศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อจัดกระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการสืบสาน ถายทอด และเผยแพรศิลปวัฒนธรรมของชุมชนทองถิ่น ในพื้นที่เปาหมายรวมกับประเทศเพื่อนบานและนานาชาติสูสากล รวมทั้งใหนักศึกษารวมสืบสาน ถายทอด และเผยแพร วัฒนธรรม ประเพณีและประวัติศาสตรของชุมชน ผานกรบวนการรายวิชาที่เกี่ยวของ และ ยกระดับกิจกรรมการสืบสานวัฒนธรรมชุมชนโดยนักศึกษาแกนนํา รวมแลกเปลี่ยนเรียนรูกับตางชาติ มี กลุมเปาหมายทั้งหมด 50 คน ที่ ชื่อโครงการยอย งบประมาณ จํานวนผูรับ บริการ (คน) ชื่อชุมชนที่ใหบริการ 1. โครงการสงเสริมทํานุบํารุง ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิ ปญญาทองถิ่น 25,000 50 คน 1.พิพิธภัณฑบานหนองหลม ต.โพธิ์ไทร อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร 2.พิพิธภัณฑชุมชนบานเปา ต.บานเปา อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร 3.พิพิธภัณฑบานคอ ต.คําชะอี อ.คํา ชะอี จ.มุกดาหาร 4.บานนาอุดม – โนนหนองหอ อ. นิคมคําสรอย จ.มุกดาหาร


46 3. โครงการไหวครูและตอนรับนักศึกษาใหม ปการศึกษา 2562 ปงบประมาณ 2563 วิทยาลัย ชุมชนมุกดาหารไดจัดโครงการไหวครูแ ละตอนรับนักศึกษาใหม ในวัน ที่ 9 สิงหาคม 2563 เพื่อตระหนักและระลึกถึงบุญคุณของครูบาอาจารยผูสอน รวมทั้งเปนการสืบสาน วัฒนธรรมประเพณีวันไหวครูใหสืบไปสูรุนตอรุน และเพื่อสานความสัมพันธที่ดีระหวาง ครูและนักศึกษา และระหวางนักศึกษาและนักศึกษาดวยกัน ที่ ชื่อโครงการยอย งบประมาณ จํานวนผูรับ บริการ (คน) ชื่อชุมชนที่ใหบริการ 1. โครงการไหวครูและตอนรับ นักศึกษาใหม ปการศึกษา 2562 ปงบประมาณ 2563 30,000 200 คน วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร


47 4. โครงการปจฉิมนิเทศนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารไดจัดโครงการปจฉิมนิเทศนักศึกษา ในวันที่ 29 กุมภาพันธ 2563 เพื่อ 1. เพื่อเตรียมความพรอมในการศึกษาตอหรือหางานทําใหแกนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษา รวมทั้งเพื่อเปน การสรางความภาคภูมิใจในวันสําเร็จการศึกษาใหแกนักศึกษาที่กําลังจะจบการศึกษา ที่ ชื่อโครงการยอย งบประมาณ จํานวนผูรับ บริการ (คน) ชื่อชุมชนที่ใหบริการ 1.โครงการปจฉิมนิเทศนักศึกษา 16,250 50 คน วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร


48 5. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร จัดโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2563 เพื่อใหนักศึกษาไดรูจักวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ในเรื่อง หลักปรัชญา พันธกิจ วิสัยทัศนและนโยบาย ของวิทยาลัยชุมชนมุกดาหา และ เพื่อใหนักศึกษาไดทราบถึงกฎระเบียบ ตลอดจนขอปฏิบัติตางๆ ที่ จําเปนตองปฏิบัติในระหวางที่ยังศึกษาอยูเพื่อจะไดประพฤติปฏิบัติตนไดอยางถูกตอง เหมาะสม มี ความรัก ความสามัคคี เปนพลเมืองที่ดี เทิดทูนชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย ในฐานะที่เปน นักศึกษาวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ที่ ชื่อโครงการยอย งบประมาณ จํานวนผูรับ บริการ (คน) ชื่อชุมชนที่ใหบริการ 1. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษา ใหม 15,000 250 คน วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร


49 สวนที่ 4 ผลการดําเนินงานตามแผนงานโครงการ/กิจกรรมตางๆ ของวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร


50 กิจกรรม/โครงการเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ปงบประมาณ พ.ศ.2563 การดําเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ภายใตโครงการพัฒนา คุณภาพ/มาตรฐานการจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร โครงการกิจการนักศึกษา มีกิจกรรม/ โครงการและผลการดําเนินงานสําคัญ ดังนี้ 1.โครงการพัฒนาคุณภาพ/มาตรฐานการจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร 1.1งานประกันคุณภาพการศึกษา จัดทํารายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยชุมชนมุกดาหารประจําปการศึกษา พ.ศ. 2562 ในวันที่ 30 ตุลาคม 2563– 1 พฤศจิกายน 2563 ณ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร โดย ผูชวย ศาสตราจารย ดร.กาญจนา วงษสวัสดิ์ เปนประธานกรรมการประเมิน


51 1.2 กิจกรรมพัฒนามาตรฐานการจัดการศึกษา วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ไดมีการจัดโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อ ผูเรียนในศตวรรษที่ 21 และตามนโยบายประเทศ ไทย 4.0 โดยมีการบูรณาการกิจกรรมตางๆเพื่อ เปนการพัฒนาทักษะทางดานวิชาการใหกับ บุคลากร ซึ่งประกอบดวย การปรับปรุง/พัฒนา หลักสูตรเพื่อใหตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของ โลก รวมทั้ง การพัฒนานวัตกรรม สื่อการเรียน การสอน เพื่อสนับสนุนใหบุคลากรทํางานวิจัยเพื่อ พัฒนาทางดานวิชาการใหตรงตามพันธกิจของวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร นอกจากนี้มีการประชุม เครือขายการจัดการศึกษาที่ประกอบดวยหนวย จัดการศึกษา 5 แหง ไดแก หนวยจัด การศึกษาอําเภอเมือง หนวยจัดการศึกษาอําเภอ ดอนตาล หนวยจัดการศึกษาอําเภอคําชะอี หนวยจัดการศึกษาอําเภอดงหลวง และ หนวย จัดการศึกษาศูนยศิลปาชีพสานแว-นาโคกกุง โดยมีการจัดประชุมเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อวางแผน พัฒนา ปรับปรุงการจัดการศึกษารวมกันระหวาง แมขายและหนวยจัดการศึกษา รวมทั้งการวิเคราะหจุดออน จุดแข็ง อุปสรรค และแนวทางแกไข ของแตละหนวยจัดการศึกษาดวย


52 1.3 โครงการพัฒนากิจการนักศึกษา การจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาในดานตางๆ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร การจัด กิจกรรมพัฒนานักศึกษาใหตรงตามคุณลักษณะ บัณฑิตที่พึงประสงคตามอัตลักษณ ภายใตโครงการ พัฒนากิจการนักศึกษา ดังนี้ (1)พัฒนาคุณลักษณะทึ่พึงประสงคของนักศึกษา ตามคุณธรรม อัตลักษณของวิทยาลัยชุมชน มุกดาหาร ไดแก โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม โ ครงการปจฉิมนิเทศนักศึกษา (2) กิจกรรมกีฬาหรือการสงเสริมสุขภาพ โครงการกีฬาสีภายในวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร (3) กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนหรือรักษา สิ่งแวดลอม เชน การรักษาสิ่งแวดลอมรอบๆ บริเวณวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร การพัฒนาจิต เพื่อสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม สําหรับนักศึกษา และกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน (4) กิจกรรมสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม เชน โครงการไหวครูและตอนรับนักศึกษาใหม ป การศึกษา 2563 (5) กิจกรรมสงเสริมศิลปะและวัฒนธรรม เชน โครงการไหวครู โครงการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมของนักศึกษาวิทยาลัยชุมชน มุกดาหาร กิจกรรมลอยกระทง (6) กิจกรรมปองกันและแกไขยาเสพติด เชน โครงการคายกิจกรรมการเรียนรูสูชุมชน เขมแข็งตานภัยยาเสพติด


53 1.4 งานสงเสริมการจัดการศึกษาสําหรับผูพิการ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร เปดโอกาสทางดานการศึกษาใหกับประชาชนทุกกลุม ซึ่งมี นักศึกษาที่มีความสนใจที่จะเขารับการศึกษาโดยมีความพิการทางดานรางกาย มีนักศึกษาพิการ จํานวน 4 คน โดยแบงเปนนักศึกษาสาขาการจัดการโลจิสติกส จํานวน 3 คน และสาขา การเกษตรและเทคโนโลยี จํานวน 1 คน


54 1.5 โครงการพัฒนาบุคลากรวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร (1) โครงการศึกษาดูงานศาสตรพระราชาการบริหารจัดการดิน น้ํา การปลุกพืชอินทรียและ การแปรรูปพืชผักผลไม และการสรุปผลการดําเนินงาน ปงบประมาณ พ.ศ.2563 ตามคํารับรองการ ปฏิบัติราชการ (กพร.) และการจัดเตรียมขอมูลเพื่อรองรับงานประกันคุณภาพการศึกษาวิทยาลัย ชุมชนมุกดาหาร ในระหวางวันที่ 10 – 11 กันยายน 2563 ณ วังรีรีสอรท จังหวัดนครนายก และ โรงแรมเดอะกรีนเนอรี่ รีสอรท จ.นครราชสีมา


55 1.6 โครงการพัฒนาหลักสูตรสปาเพื่อสุขภาพระดับสัมฤทธิบัตร วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร มีการพัฒนา หลักสูตรสปาเพื่อสุขภาพระดับสัมฤทธิบัตร เพื่อ สรางโอกาสทางการศึกษาและการพัฒนาทักษะ อาชีพ และใชในการจัดการเรียนการสอน ระดับสัมฤทธิบัตร ซึ่งการพัฒนาหลักสูตรในครั้ง นี้ทําใหไดหลักสูตรระดับสัมฤทธิบัตร จํานวน 2 หลักสูตร ไดแก (1) หลักสูตรสัมฤทธิบัตร ( น ว ด ไ ท ยแ ล ะน ว ด ฝา เ ทา เ พื่อ สุ ขภ า พ ) (2) หลักสูตรสัมฤทธิบัตร (สุขภาพและความงาม)


56 1.7 โครงการสงเสริมกระบวนการเรียนรูดานการเกษตรเพื่อการ “พึ่งตนเอง” ตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง(พัฒนาหลักสูตร การเรียนรูแนวคิดโคกหนองนา โมเดล) วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร มีการพัฒนา หลักสูตรการเรียนรูแนวคิดโคกหนองนา โมเดล ระดับสัมฤทธิบัตร เพื่อการจัดการเรียนการสอนหรือ พัฒนาเกษตรกรในพื้นที่เปาหมายไดเรียน แนวคิด หลักการของการประยุกตใช ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ภายใตรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล ให เกษตรกรนําไปประยุกตใช


57 2. โครงการภายใตแผนงานยุทธศาสตรสรางความเสมอภาคทางการศึกษา วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารไดดําเนินงานภายใตแผนงานยุทธศาสตรสรางความเสมอภาคทางการศึกษา เพื่อพัฒนาทางการศึกษาของประชาชนที่ขาดโอกาสทางการศึกษาใหไดรับความเทาเทียมกัน รวมทั้ง เปนการปูนพื้นฐานทางดานการศึกษาใหกับชุมชนที่หางไกลสถาบันทางการศึกษาไดรับการศึกษาที่ เทาเทียมกับชุมชนเมือง ซึ่งในปงบประมาณ พ.ศ.2563 วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารไดรับการจัดสรร งบประมาณ 1 โครงการ แก โครงการการสงเสริม พัฒนาการตามชวงวัยของเด็กปฐมวัย ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ในตําบลกกตูม อ.ดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร โครงการการสงเสริมพัฒนาการตามชวงวัยของเด็ก ปฐมวัย ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ในตําบลกกตูม อ.ดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาศักยภาพ ครู/ผูดูแลเด็ก และผูปกครอง ใหมีความรู ความเขาใจที่ ถูกตองเกี่ยวกับการสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย พรอม ทั้งใหครู/ผูดูแลเด็ก และผูปกครอง ไดเรียนรูนวัตกรรมระดับปฐมวัยเพื่อชวยใหเกิดการใฝรูอยาง ตอเนื่องตลอดเวลา รวมทั้งใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวาง ครู/ผูดูแลเด็ก และผูปกครอง เพื่อ รวมกันพัฒนาศักยภาพเด็กรวมกัน ซึ่งในการดําเนินงานของปงบประมาณ พ.ศ.2563 ไดมีผลการ ดําเนินดังนี้ เด็กไดรับการพัฒนาและมีทักษะทางสมองดานบริหารจัดการ EF (Executive Function) ที่เพิ่มขึ้นจากผลการประเมินทักษะกอน หลังการจัดกิจกรรมสงเสริม EF (Executive Function) ให เด็กนักเรียน โดยมีกลุมเปาหมายที่เขารวมโครงการ ทั้งหมด 80 คน โดยแบงเปน ครูศูนยเด็กเล็ก จํานวน 20 คน เด็กนักเรียน จํานวน 40 คน และผูปกครอง จํานวน 20 คน


58 3.โครงการภายใตแผนงานบูรณาการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู 3.1 โครงการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาเพื่อความสุขของชุมชน ในปงบประมาณ พ.ศ.2563 วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ไดรับจัดสรรงบประมาณในการดําเนินงาน โครงการตามแผนงานบูรณาการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู จํานวน 600,000 บาท ซึ่งไดแบงออกเปน 3 โครงการ ดังนี้ 1.โครงการพัฒนาการจัดการความรูทางการตลาดเพื่อพัฒนา ธุรกิจและความสุขของชุมชนทองเที่ยวในจังหวัดมุกดาหาร (CMT) (ชุมชนทองเที่ยวยุค 4.0) 2. โครงการการจัดการความรูภูมิปญญาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนานวัตกรรมทางการตลาดและความสุข ของชุมชนผูสูงอายุในจังหวัดมุกดาหาร (CME:สินคาสูงวัย) และ 3.โครงการจัดการความรูผาทอมือ เพื่อสืบสานศิลปะ หัตถศิลป ในจังหวัดมุกดาหาร ประจําปงบประมาณ 2563


59 3.1.1 โครงการพัฒนาการจัดการความรูทางการตลาดเพื่อพัฒนาธุรกิจและความสุขของ ชุมชนทองเที่ยวในจังหวัดมุกดาหาร (CMT) (ชุมชนทองเที่ยวยุค 4.0) โครงการพัฒนาการจัดการความรูทางการตลาดเพื่อพัฒนาธุรกิจและความสุขของชุมชน ทองเที่ยวในจังหวัดมุกดาหาร (CMT) (ชุมชนทองเที่ยวยุค 4.0) มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพและ ปญหาการจัดทําสินคาและบริการเพื่อการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดมุกดาหาร พรอมทั้งออกแบบ รูปแบบสินคาและบริการเพื่อการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดมุกดาหาร รวมทั้งเพื่อดําเนินฝกอบรม หลักสูตรรูปแบบสินคาและบริการเพื่อการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดมุกดาหาร และเพื่อประเมินผล การพัฒนา รูปแบบสินคาและบริการเพื่อการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดมุกดาหาร ตัวชี้วัด หนวยนับ เปาหมาย ผลการ ดําเนินงาน 1.โครงการพัฒนาการจัดการความรูทางการตลาดเพื่อพัฒนาธุรกิจและความสุขของชุมชนทองเที่ยวใน จังหวัดมุกดาหาร (CMT) (ชุมชนทองเที่ยวยุค 4.0) เชิงปริมาณ : จํานวนประชาชนที่ไดรับการพัฒนาศักยภาพที่ สอดคลองกับบริบทที่เปลี่ยนแปลง คน 90 90 เชิงปริมาณ : จํานวนชุมชนที่เขารวมโครงการ ชุมชน 3 3 เชิงคุณภาพ : รอยละความพึงพอใจของผูรับบริการ รอยละ 80 95


60 3.1.2 โครงการการจัดการความรูภูมิปญญาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนานวัตกรรมทางการตลาด และความสุขของชุมชนผูสูงอายุในจังหวัดมุกดาหาร (CME:สินคาสูงวัย) โครงการการจัดการความรูภูมิปญญาและ วัฒนธรรมเพื่อพัฒนานวัตกรรมทางการตลาดและ ความสุขของชุมชนผูสูงอายุในจังหวัดมุกดาหาร (CME:สินคาสูงวัย) มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา สภาพและปญหา การประกอบอาชีพสําหรับคน ในชุมชนผูมีรายไดนอยจังหวัดมุกดาหาร พรอม ทั้งออกแบบรูปแบบการประกอบอาชีพสําหรับคน ในชุมชนผูมีรายได นอยจังหวัด มุกดาหาร รวมทั้งดําเนินการฝกอบรมอาชีพตามรูปแบบการประกอบอาชีพสําหรับคนในชุมชนผูมีรายไดนอย จังหวัดมุกดาหารและประเมินผลตามรูปแบบการประกอบอาชีพสําหรับคนในชุมชนผูมีรายไดนอย จังหวัดมุกดาหาร ตัวชี้วัด หนวยนับ เปาหมาย ผลการ ดําเนินงาน โครงการการจัดการความรูภูมิปญญาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนานวัตกรรมทางการตลาดและความสุขของ ชุมชนผูสูงอายุในจังหวัดมุกดาหาร (CME:สินคาสูงวัย) เชิงปริมาณ : จํานวนประชาชนที่ไดรับการพัฒนาศักยภาพที่ สอดคลองกับบริบทที่เปลี่ยนแปลง คน 90 90 เชิงปริมาณ : จํานวนผลิตภัณฑชุมชนที่ไดรับการยกระดับ ชิ้น 3 3 เชิงปริมาณ : จํานวนชุมชนที่เขารวมโครงการ ชุมชน 3 3 เชิงคุณภาพ : รอยละความพึงพอใจของผูรับบริการ รอยละ 80 93


61 3.1.3 โครงการจัดการความรูผาทอมือเพื่อสืบสานศิลปะ หัตถศิลป ในจังหวัดมุกดาหาร โครงการจัดการความรูผาทอมือเพื่อสืบสานศิลปะ หัตถศิลป ในจังหวัดมุกดาหาร ) มีวัตถุประสงค เพื่อใหตระหนักและเห็นคุณคาของศิลปะ หัตถศิลป ดานการทอผา ของจังหวัดมุกดาหาร เพื่ออนุรักษและ ดํารงไวซึ่งงานหัตถศิลปดานการทอผาในจังหวัด มุกดาหาร รวมทั้งเพื่อสงเสริมความรูดานการแปรรูป ผาทอมือจังหวัดมุกดาหารและสงเสริมและสนับสนุน การจัดจําหนายผลิตภัณฑผาทอมือจังหวัดมุกดาหาร ตัวชี้วัด หนวยนับ เปาหมาย ผลการ ดําเนินงาน โครงการจัดการความรูผาทอมือเพื่อสืบสานศิลปะ หัตถศิลป ในจังหวัดมุกดาหาร ประจําปงบประมาณ 2563 เชิงปริมาณ : จํานวนประชาชนที่ไดรับการพัฒนาศักยภาพที่ สอดคลองกับบริบทที่เปลี่ยนแปลง คน 50 50 เชิงปริมาณ : จํานวนผลิตภัณฑชุมชนที่ไดรับการยกระดับ ชิ้น 3 3 เชิงปริมาณ : จํานวนชุมชนที่เขารวมโครงการ ชุมชน 1 1 เชิงคุณภาพ : รอยละความพึงพอใจของผูรับบริการ รอยละ 80 98


62 4. โครงการที่ไดรับสนับสนุนงบประมาณจากหนวยงานภายนอก ในปงบงบประมาณ พ.ศ.2563 วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ไดรับจัดสรรงบประมาณโครงการ จากหนวยงานภายนอก โดยใชในการดําเนินงานตรงตามพันธกิจของวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ซึ่งใน ปงบประมาณ พ.ศ.2563 ไดรับจัดสรรเงินงบประมาณจากหนวยงานภายนอกทั้งสิ้น 2,889,092 บาท ชื่อโครงการ หนวยงานที่ สนับสนุน จํานวนเงิน ผลการดําเนินงาน 1.โครงการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาและพัฒนาทองถิ่นโดยมี สถาบันอุดมศึกษาเปนพี่เลี้ยง มหาวิทยาลัยขอนแกน 450,016 บาท ดําเนินการเสร็จสิ้นแลว 2.โครงการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อ การถายทอดเทคโนโลยีสูชุมชน ฐานรากประจําปงบประมาณ 2563 มหาวิทยาลัยขอนแกน 279,588 บาท ดําเนินการเสร็จสิ้นแลว 3.โครงการคลีนิคเทคโนโลยี(แผน บริการใหคําปรึกษาและขอมูล เทคโนโลยี)ประจําป 2563 สํานักสงเสริมและ ถายทอดเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี 205,500 บาท ดําเนินการเสร็จสิ้นแลว 4.โครงการวิจัยเรื่องการพัฒนา และสรางมูลคาเพิ่มผลิตภัณฑจาก เกลือทะเลเพื่อการทองเที่ยว ชุมชนจังหวัดสมุทรสาคร สํานักงานการวิจัย แหงชาติ 213,988 บาท กําลังดําเนินการ 5.โครงการวิจัย การวิจัยเพื่อ พัฒนาพื้นที่เพื่อแกไขปญหาความ ยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแมนยํา ในพื้นที่จังหวัดมุกดาหาร หนวยบริหารและ จัดการทุนดานการ พัฒนาพื้นที่ (บพท) 1,740,000 บาท กําลังดําเนินการ รวมทั้งสิ้น 2,889,092 บาท


63 4.1 โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนาทองถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเปนพี่ เลี้ยง ผูรับผิดชอบ ดร.พรวุฒิ คําแกว วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ในฐานะสถาบันอุดมศึกษา สมาชิกเครือขายอุดมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน ไดเสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุน งบประมาณจากสํานักงานปลัดกระทรวงการ อุดมศึกษาฯ เพื่อดําเนินการภายใตโครงการพัฒนา คุณภาพการศึกษาและการพัฒนาทองถิ่นโดยมี สถาบันอุดมศึกษาเปนพี่เลี้ยง ประจําปงบประมาณ 2563 โครงการพัฒนาทักษะการอาน การเขียนของ นักเรียนในจังหวัดมุกด าหาร โดยมีโรงเรียน ประถมศึกษา เขารวมโครงการ จํานวน 18 โรงเรียน ในพื้นที่จังหวัดมุกดาหาร รวม ๗ อําเภอ เพื่อ ดําเนินการแกไขปญหาการอานและการเขียนของเด็กประถมศึกษา ประกอบดวยครูที่เขารวม โครงการจํานวนทั้งสิ้น 54 คน นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1 จํานวน 298 คน ผูบริหารทั้ง 18 โรงเรียน ซึ่งโครงการมีวัตถุประสงคเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปจจุบันและปจจัยที่มีผลตอการอานและ การเขียนของนักเรียน 2) เพื่อศึกษาและกําหนดกิจกรรมการพัฒนาทักษะการอานและการเขียนของ นักเรียน 3) เพื่อพัฒนาสื่อสงเสริมความสามารถดานการอานและการเขียนของนักเรียน และ 4) พัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส เพื่อสงเสริมการอานออกเขียนไดนอกเวลาเรียน ผลการดําเนินงานโครงการพบวา 1) สภาพปญหาการอานออกเขียนไดที่พบจากคณะครูที่เขารวมโครงการ พบวา ขาด งบประมาณในการหาสื่อการเรียนรูมาใช ครูที่สอนไมตรงเอกทําใหขาดทักษะในการสอนอานสะกด คํา ครูไมครบชั้น ครูบางทาน ตองรับผิดชอบในการสอน มากกวา 1 หองเรียน 2) ใชกระบวนการ LS PLC ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ มาเปนตัวกําหนดการพัฒนาทักษะ การอาน การเขียนของนักเรียน รวมกันวิเคราะหและกําหนดหนวยการเรียนรูจํานวน 18 หนวยการ เรียนรูเรียงตามลําดับหนวยการเรียนรู โดยใหแตละโรงเรียนรับผิดชอบคนละ 1 หนวยการเรียนรู วางแผนออกแบบการจัดการเรียนรู และนําเสนอโดยมีเพื่อน ศึกษานิเทศชวยวิพากษในการฝกอบรม เชิงปฏิบัติการในครั้งแรก หลังจากนั้นใหกลับไปดําเนินการจัดตั้งกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ของแตละโรงเรียน 3) ออกแบบพัฒนาสื่อสงเสริมทักษะการอาน การเขียนของแตละหนวยการเรียนรูที่ รับผิดชอบ แลวนํามาสาธิตการสอน และมีคณะครูและศึกษานิเทศกที่เปนผูเชี่ยวชาญคอยวิพากษ แลวนําไปปรับแกแลวลองใชจริงกับนักเรียน มีการเก็บคาคะแนนกอนและหลังเรียนของแตละหนวย การเรียนรูจากทุกโรงเรียน ซึ่งคาคะแนนเฉลี่ยกอนเรียน รอยละ 46.11 และหลังเรียนมีคาคะแนน เฉลี่ย รอยละ 86.16 ซึ่งแสดงใหเห็นวามีผลสัมฤทธิ์ทางการอาน การเขียนที่เพิ่มขึ้น 4) พัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส เพื่อสงเสริมการอานออกเขียนไดนอกเวลาเรียน อัพโหลดไวในเว็บไซต www.thaiforkid.com ไดใหโรงเรียนไดนําไปใชรวมในการจัดการเรียนรูใหกับนักเรียนตอไป


64


65 4.2 โครงการวิจัยการวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่เพื่อแกไขปญหาความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและ แมนยําในพื้นที่จังหวัดมุกดาหาร ผูรับผิดชอบ ดร.ทิวากร เหลาลือชา ครูเชี่ยวชาญ หนวยบริหารและจัดการทุนดานการพัฒนาระดับ พื้นที่ (บพท.) รับผิดชอบใน Platform ที่ 4 จาก มุงสรางการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่จังหวัดใหเกิด การบูรณาการความรวมมือ โดยใชขอมูลความรู แ ล ะ เ ส ริ ม ส ร า ง ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง มหาวิทยาลัยในการสรางความรูเพื่อตอบโจทย การพัฒนาของพื้นที่ สูการ สราง Sustainable Growth ภายใตความทาทายใหม วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ในฐานะสถาบันอุดมศึกษา จึงเห็น ความสําคัญของการสนับสนุนการจัดทําระบบขอมูลความยากจนและติดตามการชวยเหลือในการ แกปญหาความยากจนของจังหวัดมุกดาหาร รวมถึงการติดตามวิเคราะห และหนุนเสริมกลไกการ พัฒนาเชิงพื้นที่ของจังหวัดมุกดาหาร สังเคราะหขอมูลพื้นที่ระดับครัวเรือน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ ระบบสงเคราะหของกลุมครัวเรือนยากจนที่ไมสามารถชวยเหลือตัวเองไดใหสามารถเขาถึงระบบ สงเคราะหและชวยเหลือ และหาแนวทางในการพัฒนา สงเสริมในการเพิ่มศักยภาพของครัวเรือนที่ ยากจนและชุมชนในการพึ่งพาตนเองและปรับตัวใหเทาทันการเปลี่ยนแปลง ในระดับการจัดการไดใน พื้นที่ และสงตอแนวทางการแกปญหาและเปนแรงหนุนตอการพัฒนาในดานอื่นๆ โดยมุงหวังการ การพัฒนาคนในมิติตางๆ เพื่อแกปญหาความอยากจน จากจังหวัดมุกดาหารมีความกาวหนาในการ พัฒนาคนดานรายไดเปนลําดับที่ 57 ของ ระดับดัชนีที่ 0.5796 วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร สังกัด สถาบันวิทยาลัยชุมชน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัย และนวัตกรรม ไดเห็นความสําคัญของการสนับสนุนการจัดทําระบบขอมูลความยากจนและ ติดตามการชวยเหลือในการแกปญหาความยากจน จึงไดจัดทําโครงการวิจัยการวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ เพื่อแกไขปญหาความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแมนยําในพื้นที่จังหวัดมุกดาหาร โดยมีวัตถุประสงค เพื่อสนับสนุนการจัดทําระบบขอมูลความยากจน และติดตามการชวยเหลือในการแกปญหาความ ยากจนของจังหวัดมุกดาหาร เพื่อออกแบบกลไก กระบวนการวิจัย และเครื่องมือในการพัฒนาเชิง พื้นที่เพื่อสนับสนุนการทํางานชวยเหลือแกไขปญหาความยากจนของจังหวัดมุกดาหารรวมทั้งติดตาม วิเคราะหขอมูลคนจน และหนุนเสริมกลไกพัฒนาเชิงพื้นที่เพื่อแกไขปญหาความยากจนของจังหวัด มุกดาหาร และสังเคราะหขอมูลพื้นที่ระดับครัวเรือน และการทํางานเชิงพื้นที่แกไขปญหาความ ยากจนจังหวัดมุกดาหาร เพื่อจัดทําขอเสนอแนะเชิงนโยบายเชิงพื้นที่ ซึ่งไดรับจัดสรรงบประมาณใน การดําเนินโครงการจํานวน 5,940,000 บาท ซึ่งเปนโครงการตอเนื่อง แตในปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ไดรับจัดสรรมา 1,740,000 บาท


66 โดยในการดําเนินงานโครงการวิจัยในครั้งนี้ มีทีมวิจัยจากวิทยาลัยชุมชน จํานวน 10 คน และเครือขายทีมวิจัยในพื้นที่ 300 คน ครอบคลุมทั้ง 7 อําเภอ ประกอบดวยภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคชุมชน อสม./อพม./อพช./พช./สสส./อพปร.


67 4.3 โครงการสงเสริมการจัดการความรูทางดานเทคโนโลยีและคุณภาพเพื่อพัฒนา ผลิตภัณฑถั่วลิสงในจังหวัดมุกดาหาร ประจําปงบประมาณ 2563 ผูรับผิดชอบ ดร.ทิวากร เหลาลือชา ครูเชี่ยวชาญ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ไดมีการจัดทํา โครงการพัฒนาการจัดการความรูเพื่อพัฒนาธุรกิจ ถั่วลิสงในจังหวัดมุกดาหารมาตั้งแต ปงบประมาณ พ.ศ. 2556-พ.ศ.2560 (Project Based) โดยไดมี การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑถั่วลิสงทําใหชุมชนใน กลุมเปาหมายเดิม 4 ชุมชน ในพื้นที่บานทาไค บานนาแล บานหนองขา และบานนามหาราช ทํา ใหชุมชนมีรายไดและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น พบวามี จุดออนในการพัฒนาเทคโนโลยีและพัฒนาคุณภาพ ผลผลิตภัณฑสมัยใหม ซึ่งในป พ.ศ. 2562-2563 ไดเสนอโครงการฯ โดยมีแผนการดําเนินงานในการ พัฒนาหลักสูตรบริการวิชาการพัฒนาเทคโนโลยีและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑใหมในกลุมเปาหมาย เดิม และเพื่อเปนการสงเสริมการจัดการความรูเพื่อเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนในรูปแบบการ พัฒนาอยางยั่งยืน (Development) โดยไดทําความรวมมือกับกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในการจัดตั้งศูนยคลินิกเทคโนโลยีวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีและคุณภาพกับ ชุมชนในจังหวัดมุกดาหาร จากหลักการและเหตุผลดังกลาวขางตน วิทยาลัย ชุมชนมุกดาหาร จึงไดจัดทําโครงการสงเสริมการ จัดการความรูทางดานเทคโนโลยีและคุณภาพเพื่อ พัฒนาผลิตภัณฑถั่วลิสงในจังหวัดมุกดาหาร ประจําปงบประมาณ 2563 ขึ้นเพื่อดําเนินงานใน การพัฒนาหลักสูต รบริการวิชาการพัฒ นา เทคโนโลยีและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑใหมใน กลุมเปาหมายเดิม และเพื่อเปนการสงเสริมการจัดการความรูเพื่อเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน ในรูปแบบการพัฒนาอยางยั่งยืน (Development) เพื่อตอบสนองการพัฒนาตามนโยบายของรัฐบาล และนโยบายที่เนนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม โดยมีกลุมเปาหมายจํานวน 250 คน ซึ่งพื้นที่ดําเนินการ 5 พื้นที่ แบงเปน (1) บานปงแดง ต.หนองแวง อ.นิคมคําสรอย จ. มุกดาหาร (2) บานเหลาตนยม ต.หนองแวง อ.นิคมคําสรอย จ. มุกดาหาร (3) บานหนองน้ําเตา ต.นาโสก อ. เมืองมุกดาหาร จ.มุกดาหาร (4) บานเหลาหมีต.ดอนตาล อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร และ (5) บาน หนองขา หมูที่ 2 ต.หนองแวง อ.นิคมคําสรอย จ.มุกดาหาร


68


69 สวนที่ 5 ผลการประเมินความสําเร็จ


70 1.ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ประจําป การศึกษา พ.ศ.2562 วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ไดรับการประเมินประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยชุมชน มุกดาหารในระหวางวันที่ 30 ตุลาคม - 1 พฤศจิกายน 2563 โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร. กาญจนา วงษสวัสดิ์ เปนประธานกรรมการประเมิน โดยมีผลการประเมินคุณภาพดังนี้ ผลการประเมินคุณภาพภายในของวิทยาลัยชุมชนมุกดาหารโดยภาพรวมไดคะแนนเฉลี่ย 3.90 ผลการประเมินอยูในระดับดี โดยมีรายละเอียดดังนี้ องคประกอบที่ 1 การจัดการศึกษา ไดคะแนน เฉลี่ย 2.69 ผลการประเมิน อยูในระดับพอใช องคประกอบที่ 2 การวิจัย ไดคะแนนเฉลี่ย 5 อยูในระดับดีมาก องคประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ ไดคะแนนเฉลี่ย 5 อยูในระดับดีมาก องคประกอบที่ 4 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ไดคะแนนเฉลี่ย 3 อยูในระดับพอใช องคประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ ไดคะแนนเฉลี่ย 4 อยูในระดับดี


71 ผลการประเมินคุณภาพภายในรายตัวบงชี้และองคประกอบคุณภาพ ตัวบงชี้คุณภาพ ผลการดําเนินงาน คะแนน ประเมิน หมาย ตัวตั้ง ตัวหาร ผลลัพธ เหตุ องคประกอบที่1 การจัดการศึกษา 2.68 พอใช ตัวบงชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตร โดยรวม 13.26 6 2.21 2.21 ตัวบงชี้ที่ 1.2 การดํารงตําแหนงวิทยฐานะของ ขาราชการครู 10 100 14 71.42 2.85 ตัวบงชี้ที่ 1.3 กิจกรรมพัฒนานักศึกษา 4 ขอ(1,2,3,4) 3 องคประกอบที่2 การวิจัย 5 ดีมาก ตัวบงชี้ที่ 2.1 คุณภาพของงานวิจัย นวัตกรรม หรืองานสรางสรรคที่นํามาใชประโยชนใหกับ ชุมชน 5 ขอ 5 ตัวบงชี้ที่ 2.2 งบประมาณในการดําเนินงานวิจัย นวัตกรรม หรืองานสรางสรรคที่นํามาใ ช ประโยชนใหกับชุมชน 1,983,150 14 141,653 5 5ตัวบงชี้ที่ 2.3 งานวิจัย นวัตกรรม หรืองาน สรางสรรคที่นํามาใชประโยชนใหกับชุมชน 6 100 14 42.85 5 องคประกอบที่3 การบริการทางวิชาการ 5 ดีมาก ตัวบงชี้ที่ 3.1 ผลการบริการทางวิชาการแก สังคม 6 ขอ 5 องคประกอบที่4 การทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 3 พอใช ตัวบงชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกลการทะนุบํารุง ศิลปะและวัฒนธรรม หรืภูมิปญญาทองถิ่น 4 ขอ (1,2,3,4) 3 องคประกอบที่5 การบริหารจัดการ 4 ดี ตัวบงชี้ที่ 5.1 การบริหารของวิทยาลัยชุมชนเพื่อ กํากับติดตามผลลัพธตามพันธกิจ 6 ขอ (1,2,3,4,7,8) 4 ภาพรวมผลประเมิน 3.90 ดี


72 สรุปผลการประเมินคุณภาพศึกษาภายในตามองคประกอบคุณภาพ องคประกอบคุณภาพ คะแนนการประเมินเฉลี่ย ผลการประเมิน I P O รวม 0.00-1.50 การดําเนินงานตองปรับปรุง เรงดวน 1.51–2.50 การดําเนินงานตองปรับปรุง 2.51–3.50 การดําเนินงานระดับพอใช 3.51-4.50 การดําเนินงานระดับดี 4.51-5.00 การดําเนินงานระดับดีมาก องคประกอบที่ 1 การจัดการศึกษา 2.85 3 2.21 2.68 พอใช องคประกอบที่ 2 การวิจัย 5 5 5 5.00 ดีมาก องคประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ 5 5.00 ดีมาก องคประกอบที่ 4 การทํานุบํารุงศิลปะ และวัฒนธรรม 3 3.00 พอใช องคประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ 4 4.00 ดี เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของทุก องคประกอบ 3.39 4.00 3.61 3.90 ดี ผลการประเมิน ดี ดี ดี ดี ดี


73 ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของคณะกรรมการการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ปการศึกษา พ.ศ. 2562 องคประกอบ การประเมิน ขอเสนอแนะ องคประกอบ ที่ 1 ก า ร จั ด ก า ร ศึกษา 1.อาจารยประจําหลักสูตรควรมีการวางแผนในการบริหารจัดการหลักสูตรของตนเอง ตั้งแตการกํากับมาตรฐานในเรื่องของอาจารยประจําหลักสูตร การปรับปรุงหลักสูตรใหตรงตาม กรอบ การบริหารและพัฒนาอาจารยควรมีแผนพัฒนารายบุคคลของหลักสูตร การบริหารจัดการ ในเรื่องของการเรียนการสอนและการประเมินผลหลักสูตรใหเปนไปตามตัวบงชี้ผลการดําเนินงาน ของหลักสูตรอนุปริญญา โดยเนนการมีสวนรวมของอาจารยประจําหลักสูตร และภายใตระบบ และกลไกการติดตามผลลัพธของผูสําเร็จการศึกษาพรอมทั้งการจัดการขอมูลของหลักสูตรใหมีความ ถูกตอง บทบาทของสถาบันวิทยาลัยชุมชนตองานประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรควรมี ระบบและกลไกในการกํากับติดตามการดําเนินงาน การสงเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการ ของหลักสูตรการดําเนินกิจกรรมรวมของทุกหลักสูตร และบริหารจัดการขอมูลที่จะใหหลักสูตร นําไปใช และมีการปรับใหเปนปจจุบันอยางสม่ําเสมอ 2.บุคลากรสายวิชาการ ควรมีแผนพัฒนารายบุคคลในประเด็นของการเขาสูตําแหนงวิทย ฐานะของขาราชการครู และมีการกํากับติดตามของสถาบันวิทยาลัยชุมชน 3. แผนการจัดกิจกรรมนักศึกษา ควรวิเคราะหวัตถุประสงค ตัวชี้วัด ของแผนใหสามารถ บรรลุถึงเปาหมายของการเกิดคุณลักษณะตามมาตรฐานผลการเรียนรูมาตรฐานการอุดมศึกษาอยาง แทจริง องคประกอบ ที่ 2 การวิจัย สถาบันวิทยาลัยชุมชนควรมีระบบและกลไกในการสงเสริมใหบุคลากรทางสายวิชาการทุกคนพัฒนา ทางดานการวิจัย การนําผลงานวิจัยไปใชกับชุมชนและกระบวนการของการจดลิขสิทธิ์ / อนุ สิทธิบัตรของสถาบันวิทยาลัยที่กอเกิดประโยชนตอสถาบันวิทยาลัยชุมชนและชุมชน องคประกอบ ที่ 3 กา ร บ ริ ก า ร ท า ง วิชาการ ควรมีการสงเสริมและสนับสนุนการเขียนรายงานผลการปฏิบัติงานตามขั้นตอน PDCA (Plan Do Check Act) ในหลักสูตรฝกอบรมที่เปนตัวอยางที่ดี Good Practice องคประกอบ ที่ 4 การ ท ะ นุ บํ า รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ วัฒนธรรม การประเมินโครงการทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ควรพิจารณาใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของ โครงการ และตัวชี้วัดของโครงการควรพิจารณามากกวาจํานวนผูเขารวมโครงการและความพึง พอใจของผูรวมโครงการ รวมทั้งควรมีการประเมินแผนการทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมใหชัดเจน องคประกอบ ที่ 5 การ บริหารจัดการ จุดที่ควรพัฒนา แผนปฏิบัติการ ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา


องคประกอบ การประเมิน ขอเสนอแนะ ควรทบทวนการจัดทําแผนปฏิบัติการและจัดทําใหมีความสมบูรณที่ประกอบดวย วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค กลยุทธ ตัวชี้วัดหลักที่มีการกําหนดคา เปาหมายชัดเจน โครงการ/กิจกรรม และมีความสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรของวิทยาลัย จุดที่ควรพัฒนา แผนกลยุทธทางการเงิน ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยควรจัดจัดทําแผนกลยุทธทางการเงินใหสมบูรณ โดยดําเนินการดังนี้ 1.วิเคราะหทบทวนแผนกลยุทธของวิทยาลัย โดยใหมีรายละเอียดของเงินที่ใชในแตละแผนงาน ในแตละกิจกรรม/โครงการที่ใชเพื่อทําใหทราบวาจะใชงบประมาณในการขับเคลื่อนแผนกลยุทธใน แตละปเทาไหร และตลอดระยะเวลาของแผนจํานวนเทาไหร 2.วิเคราะหประมาณการรายรับของวิทยาลัยในแตละป ที่ไดรับงบประมาณจัดสรรจาก งบประมาณแผนดิน เงินรายได และเงินอื่น ๆ 3.นําประมาณการรายรับที่คาดวาจะไดรับในขอ 2 มาเปรียบเทียบกับประมาณการที่ตองใช (ประมาณการรายจาย) ในวงเงินแตละป ถาหากมีผลตางที่ประมาณการรายรับนอยกวาจําเปนตอง มีกลยุทธในการจัดหาเงินเพื่อใหเพียงพอ ตอการขับเคลื่อนแผนกลยุทธ 4.ดําเนินการวิเคราะห SWOT ทางการเงินของวิทยาลัย เพื่อที่จะนําไปเปนแนวทางในการ กําหนดกลยุทธในการหารายได ของแผนกลยุทธทางการเงิน 5.ประเมินแผนผลยุทธทางการเงิน ถาหากการดําเนินการตามแผลกลยุทธทางการเงินไม สามารถจัดหารายไดเพิ่มเติมไดตามแผนยุทธศาสตรที่ตองใช ก็จะตองปรับแผนกลยุทธใหสามารถ ดําเนินการไดภายใตกรอบวงเงินงบประมาณที่สามารถจัดหาได จุดที่ควรพัฒนา การจัดการความรูเพื่อคนหาแนวปฏิบัติที่ดี ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยควรดําเนินการจัดการความรูอยางนอยครอบคลุมพันธกิจดานการผลิตผูสําเร็จ การศึกษาและดานการวิจัย และจัดเก็บความรูอยางเปนระบบ แลวเผยแพรออกมาเปนลายลักษณ อักษร แลวนําไปใชจริง มีขั้นตอนดังนี้ 1.กําหนดประเด็นความรูสําคัญหรือจําเปนที่จะจัดการความรูเพื่อเปนประโยชนตอการ ขับเคลื่อน วิสัยทัศน พันธกิจดานที่ตองการ 2.กําหนดกลุมเปาหมายที่จะนําความรูไปใช ประโยชน (ชุมชนนักปฏิบัติ 3.เชิญผูที่เกี่ยวของ/ผูมีความรูในประเด็นความรูนั้น ของวิทยาลัยมาแลกเปลี่ยนเรียนรู อาจ เชิญผูทรงคุณวุฒิมาแลกเปลี่ยนเรียนรูถาหากมีความจําเปน โดยมีผูรับผิดชอบทําหนาที่สกัดความรู จากการจัดกิจกรรมดังกลาว 4.ใหผูรับผิดชอบรวบรวมองคความรูในแตละประเด็น วิเคราะหเปนองคความรูในรูปของ เอกสารอยางเปนระบบที่สามารถเผยแพรได 5.สนับสนุน สงเสริมใหชุมชนกลุมเปาหมาย(ชุมชนนักปฏิบัติ) นําองคความรูไปใชประโยชน จุดที่ควรพัฒนา แผนบริหารบุคลากรและแผนพัฒนาบุคลากร ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 74


องคประกอบ การประเมิน ขอเสนอแนะ ควรจัดทําแผนบริหารบุคลากรและแผนพัฒนาบุคลากร โดยแผนบริหารบุคลากรตองมีระบบ บริหารบุคคลเกี่ยวกับระบบการสรรหา ระบบการพัฒนา ระบบการธํารงไว ระบบความกาวหนา เปนตน โดยมีขอมูลบุคลากรที่รองรับพันธกิจของวิทยาลัย แผนพัฒนาบุคลากร บุคลากรสายวิชาการ ดําเนินการ ดังนี้ 1.ใหอาจารย/ขาราชการครู วิเคราะหเพื่อสํารวจตนเองเกี่ยวกับทักษะ หรือสมรรถนะของ อาจารยระดับอุดมศึกษาที่ควรมี เชน การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ การวัดผล ประเมินผล การวิจัย(การพัฒนาโจทยวิจัย การเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ) การใชเทคโนโลยี สารสนเทศ การสรางสื่อออนไลน การผลิตเอกสารตํารา การจัดผลงานวิชาการเพื่อเพิ่มวิทยฐานะ และการศึกษาตอใหมีคุณวุฒิสูงขึ้นเปนตน สายสนับสนุนก็ดําเนินการเชนเดียวกันเพื่อใหเปนขอมูล ในการจัดทําแผนพัฒนาบุคลากร นอกจากนั้นใหบุคลากรทุกคนจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล เพื่อวางแผนพัฒนาตนเองและนําขอมูลทั้งสองสวนมาจัดทําแผนบริหารและแผนพัฒนาบุคลากรของ ระดับวิทยาลัยและสถาบันตอไป 2.จัดทํารายงานการกํากับ ติดตาม การดําเนินการตามแผนตั้งแตแผนระดับรายบุคคลและ วิทยาลัยอยางตอเนื่องและเปนระบบ และมีการประเมินแผนทุกระดับเพื่อนําไปสูการปรับปรุง พัฒนา 3.ควรวางระบบการธํารงรักษาบุคลากร เชน จัดสรรสวัสดิการ สรางแรงจูงใจ ยกยองชมเชย 75


2.ผลการดําเนินงานเบิกจายงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ.2563 ในปงบประมาณ พ.ศ.2563 วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารมีงบประมาณที่ไดรับจัดสรรทั้งสิ้น เงินงบประมาณ จํานวน 17,786,640 บาท และงบประมาณรายได จํานวน 635,000 บาท รวมทั้งสิ้น 18,421,640 บาท โดยแบงเปนงบประมาณดังนี้ ประเภท งบประมาณ รายจาย รอยละ งบดําเนินงาน 1,566,570 1,566,570 100 งบบุคลากร 3,834,600 3,834,600 100 งบรายจายอื่น 0 0 0 งบเงินอุดหนุน 12,193,970 12,156,405.46 99.69 งบลงทุน 191,500 191,500 100 รวม 17,786,640 17,749,075.46 100 ตารางที่ ผลการเบิกจายงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ.2563 แผนภูมิที่ การเบิกจายงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ.2563 1,566,570 3,834,600 0 12,193,970 191,500 งบประมาณรายจ่ายปี งบประมาณ พ.ศ.2563 งบดําเนินงาน งบบุคลากร งบรายจ่ายอื น งบเงินอุดหนุน งบลงทุน 76


ตารางเปรียบเทียบงบประมาณรายจายประจําป พ.ศ.2562-2563 แผนงาน/ผลผลิต/โครงการ ป 2562 ป 2563 เพิ่ม/ลด รวมทั้งหมด งบบุคลากรภาครัฐ 5,016,276 5,401,170 384,894 แผนงานพื้นฐานดานการพัฒนาและเสริมสราง ศักยภาพคน 14,949,955 12,495,310 -2,454,645 ผลผลิต ผูรับบริการการศึกษาในวิทยาลัย ชุมชน 14,500,355 12,023,610 -2,454,645 ผลผลิต ผลงานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 90,000 75,000 -15,000 ผลผลิต ผลงานการใหบริการวิชาการ 359,600 396,700 37,100 แผนงานยุทธศาสตรสรางความเสมอภาคทาง การศึกษา 334,160 65,000 -269,160 โครงการพัฒนาศักยภาพเด็กปฐมวัย 124,800 65,000 -59,800 โครงการพัฒนาแหลงเรียนรูตลอดชีวิต 209,360 - -209,360 แผนงานบูรณาการพื้นที่ระดับภาค 1,200,000 - -1,200,000 โครงการพัฒนารูปแบบสินคาและบริการดาน การทองเที่ยว 500,000 - -500,000 โครงการพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตผูมี รายไดนอย ลดความเหลื่อมล้ําทางสังคม 700,000 - -700,000 แผนงานบูรณาการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และการเรียนรู - 640,000 640,000 โครงการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาเพื่อ ความสุขของชุมชน - 600,000 600,000 โครงการพัฒนาและสงเสริมการเรียนรูผาน กาเรียนออนไลน - 40,000 40,000 ตารางที่ ตารางเปรียบเทียบงบประมาณรายจายประจําป พ.ศ.2562 -2563 77


วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารกับองคการบริหารสวนจังหวัด วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารกับมูลนิธิแพทยวิถีธรรมแหงประเทศไทย 3. การทําบันทึกขอมตกลงความรวมมือ ( MOU) วันที่ 8 มกราคม 2561 พิธีลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือทางวิชาการระหวางวิทยาลัย ชุมชนมุกดาหารและองคการบริหารสวนจังหวัดมุกดาหาร ณ ศาลากลางจังหวัดมุกดาหาร โดยมีนายไพฑูรย รักษประเทศ ผูวาราชการจังหวัด มุกดาหาร รวมเปนสักขีพยานในการลงนามความ รวมมือระหวาง นายศศิพงษา จันทรสาขา ผูอํานวยการวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร และ นายบุญรู บุตดีวงค รองนายกองคการบริหารสวน จังหวัดมุกดาหาร เปนความรวมมือเพื่อพัฒนา ผูเรียนในพื้นที่จังหวัดมุกดาหารตามที่หนวยงาน การศึกษาและสถานศึกษาทั้งในและนอกระบบ การศึกษาที่ได ทําบันทึกความเขาใจการจัด การศึกษารวม (MOU)พัฒนาการศึกษารวมกับองคการบริหารสวนจังหวัด วันที่ 9 เมษายน 2562 พิธีลงนามบันทึกขอตกลง ความรวมมือทางวิชาการระหวางวิทยาลัยชุมชน มุกดาหารและมูลนิธิแพทยวิถีธรรมแหงประเทศไทย การลงนามความรวมมือระหวาง นายศศิพงษา จันทรสาขา ผูอํานวยการวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร และ ดร.ใจเพชร กลาจน ประธานมูลนิธิมูลนิธิ แพทยวิถีธรรมแหงประเทศไทย เปนความรวมมือ เพื่อการพัฒนาบุคลากรและทรัพยากรที่จําเปนใน การจัดการศึกษา รวมทั้งเพื่อการพัฒนาหลักสูตรที่ เกี่ยวกับการแพทยวิถีธรรมของวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร 78


วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารกับเรือนจําจังหวัดมุกดาหาร วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ.2561 พิธีบันทึกขอตกลง ความรวมมือการจัดการศึกษาระหวางวิทยาลัย ชุมชนมุกดาหารและเรือนจําจังหวัดมุกดาหาร ลง นามความรวมมือระหวาง นายศศิพงษา จันทรสา ขา ผูอํานวยการวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร และ นาย สมศักดิ์ ยุทธโอภาส ผู บัญชาการเรือนจําจังหวัดมุกดาหาร เปนความ รวมมือในการจัดการศึกษาแกผูตองขังเพื่อยกระดับ ความรูความสามารถทักษะตางๆนําไปใชประโยชน ในการประกอบสัมมาอาชีพและเปนพลเมืองดี รวมทั้งเพื่อการจัดการเรียนการสอนทางดานการ บริการวิชาการแกชุมชน 79


สวนที่ 6 ผลงานเดน / ผลงานที่ไดรับรางวัล 80


1.ผลงานเดนและภาคภูมิใจ กีฬา “มุกดาหารเกมส”: รางวัลแหงความสามัคคี โดย วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารไดรับความเห็นขอบจาก สถาบันวิทยาลัยชุมชนเพื่อใหเปนเจาภาพการแขงขัน กีฬานักศึกษาระดับชาติครั้งที่ 7 ขึ้นในระหวางวันที่ 9 – 11 กุมภาพันธ 2563 ณ สนามกีฬากลาง จังหวัดมุกดาหาร และสนามกีฬาวิทยาลัยชุมชน มุกดาหาร มีวัตถุประสงคเพื่อสรางเครือขาย นักศึกษาของวิทยาลัยชุมชน ความสมัครสมาน สามัคคีภายในหมูคณะ การทํางานเปนทีม การคิด ริเริ่มสรางสรรคในการทํางาน ของนักศึกษา ครู อาจารย และเจาหนาที่ รวมทั้งให นักศึกษาไดออกกําลังกายและหางไกลจาก อบายมุขตาง ๆ รวมทั้งการปองกันและแกไข ปญหายาเสพติดในสถานศึกษา นอกจากนี้ ยังเปนการพัฒนาและสงเสริมใหนักศึกษาเปน นักกีฬาในระดับที่สูงขึ้นไป และเพื่อให นักศึกษาวิทยาลัยชุมชนไดมีกระบวนการ แลกเปลี่ยนรู สืบสาน ถายทอด เกี่ยวกับการทะนุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น ซึ่ง การจัดงานกีฬาในครั้งนี้ไดรับการจัดสรรงบประมาณในการดําเนินงานจํานวน 1,000,000 บาท (หนึ่งลานบาทถวน) จากสถาบันวิทยาลัย ชุมชนมุกดาหาร โดยใชงบประมาณจาก แผนงานพื้นฐานด านการพัฒนาและ เสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ผลผลิตที่ 1 ผูรับบริการการศึกษาใน วิทยาลัยชุมชน โครงการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาเพื่อผูเรียนในศตวรรษที่ 21 และ ตามนโยบายประเทศไทย 4.0 กิจกรรม การแขงขันกีฬานักศึกษาวิทยาลัยชุมชน ครั้งที่ 7 “มุกดาหารเกมส” ประกอบดวย กีฬาสากล 6 ประเภท ไดแก ฟุตบอล ฟุตซอล วอลเลยบอล เซปกตระกรอ เปตอง แชรบอล และกีฬาพื้นบาน จํานวน ๔ ประเภท ไดแก กินวิบาก วิ่งผลัดกระสอบ วิ่งผลัดซุปเปอรแมน และชักเยอ แบงทีมกีฬา ออกเปน ๔ ทีม จาก ๔ ภาค ไดแก (1) ภาคกลาง (สีชมพู) ประกอบดวย วิทยาลัยชุมชนตราด 81


วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร วิทยาลัยชุมชนสระแกว และวิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี(2) ภาคเหนือ (สีมวง) ประกอบดวย วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน วิทยาลัยชุมชนแพร วิทยาลัยชุมชนนาน วิทยาลัยชุมชน พิจิตร วิทยาลัยชุมชนตาก (3) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (สีแสด) ประกอบดวย วิทยาลัยชุมชน ยโสธร วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลําภู และวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย และ (4) ภาคใต (สีฟา) ประกอบดวย วิทยาลัยชุมชนพังงา วิทยาลัยชุมชนสตูล วิทยาลัยชุมชนระนอง วิทยาลัย ชุมชนสงขลา วิทยาลัยชุมชนปตตานี วิทยาลัยชุมชนยะลา และวิทยาลัยชุมชนนราธิวาส ปจจัยความสําเร็จ การดําเนินงานในครั้งนี้ไดรับความรวมมือใน การดําเนินงานจากหนวยงานภายนอกทั้ง ภาครัฐและเอกชน รวมทั้งไดรับความรวมมือ จากภาคีเครือขายจากทองถิ่นและวิทยาลัย ฒ ผูเฒา จํานวน 28 ตําบล ซึ่งปจจัย ความสําเร็จสามารถแบงได ดังนี้ 1.การสนับสนุนจากสถาบันวิทยาลัย ชุมชน การจัดโครงการในครั้งนี้ไดรับความ เห็นชอบใหจากสถาบันวิทยาลัยชุมชนอนุมัติงบประมาณในการดําเนินงาน และใหนโยบายในการจัด งานในครั้งนี้เพื่อสรางเครือขายนักศึกษาของวิทยาลัยชุมชน ความสมัครสมานสามัคคีภายในหมูคณะ การทํางานเปนทีม การคิดริเริ่มสรางสรรคในการทํางาน ของนักศึกษา ครู อาจารย และเจาหนาที่ 2.ความรวมมือของวิทยาลัยชุมชน 20 แหง ในการจัดงานในครั้งนี้ไดมีการประชุมเพื่อเตรียม ความพรอมในการจัดงานจากวิทยาลัย ชุมชนทั้ง 20 แหง เพื่อสรางความเขาใจ และแนวทางในการดําเนินงานรวมกัน ทําใหการดําเนินงานลุลวงไปดวยดี 3.ความรวมมือจากหนวยงาน ตางๆนอกระบบวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร และภาคีเครือขาย ไดแก สภาวิทยาลัย ชุมชนมุกดาหาร อนุกรรมการวิชาการ คณะกรรมการสงเสริมกิจการวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร หนวยจัดการศึกษา ผูสอนพิเศษ สวน ราชการ ภาคประชาสังคมตางๆ ในรูปแบบการสนับสนุนทุนทรัพย 4.ความสามัคคีในบุคลากรภายในวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร นักศึกษา ในการเปนกําลังสําคัญ ในการดําเนินงานและอุทิศตนใหงานอยางทุมเทและเสียสละ 82


การดําเนินงานในครั้งนี้ไดรับความรวมมือจาก ชุมชนและสังคมที่มีผลจากการดําเนินงานโครงการ ตางๆที่วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารไดลงพื้นที่ในการ พัฒนาทางดานวิชาการ วิชาชีพ การฝกอบรม บริการวิชาการ รวมทั้งการนําโครงการตามแผนบูรณา การดานตางๆลงไปพัฒนารวมกับพื้นที่ชุมชน จึงทําให ภาคีเครือขายของวิทยาลัยชุมชนมุกดาหารมีจํานวน มาก 83


กระบวนการจัดการความรูสูการสรางคุณภาพชีวิตดวยสมุนไพรในทองถิ่น โดย นางสาวพิริยาพร สุวรรณไตรย และนางสาววัชราภรณ ชนะเคน วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ไดดําเนินงานดานการวิจัย ที่สงเสริมละพัฒนากระบวนการจัดการความรูดานสมุนไพร ใหกับชุมชน มีวัตถุประสงคเพื่อใหชุมชนเกิดความรู ความ เขาใจ และทักษะจากการใชสมุนไพรอยางถูกตอง เกิดการ อนุรักษพันธุสมุนไพร การประยุกตสมุนไพรมาใชใน ชีวิตประจําวัน รวมทั้งการมีรายไดจากสมุนไพร โดยมีการ ดําเนินงานดานการวิจัยตั้งแตป 2561 - 2563 เพื่อใหเกิด รูปแบบการจัดการความรูที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชน ในป 2561 ไดวิจัยรูปแบบของการจัดการ ความรูเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑสมุนไพรในพื้นที่อําเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร ป 2562 ไดนําโมเดลที่ ไดจากการวิจัยไปใชในพื้นที่บานบุง อําเภอหนองสูงจังหวัดมุกดาหาร เพื่อจัดการความรูเกี่ยวกับตัวยา สมุนไพรและตํารับยาสมุนไพรที่ใชในการดูแลรักษาสุขภาพของชุมชน และชุมชนรู เขาใจและใชยา สมุนไพรในการดูแลรักษาสุขภาพเบื้องตน เนื่องจากชุมชนบานบุง มีภูมิประเทศที่ลอมรอบดวยภูเขา ทั้ง 4 ดานและเปนแหลงของสมุนไพรจํานวนมาก และมีการถายทอดภูมิปญญาในการใชสมุนไพรเพื่อ การรักษาจากบรรพบุรุษ หากแตเปนการถายทอดรุนสูรุนดวยวาจาไมมีการจดบันทึกถึงสรรพคุณตัว ยาและตํารับยา ลักษณะ ตัวยา สงผลใหเกิดการขาดหายของตํารับยา สงผลใหสรรพคุณยาไมเปนไป ตามการบอกเลา ภูมิปญญาการใชสมุนไพรในการรักษาโรคก็จะลดลง และสูญหายไปในที่สุด ในการ ดําเนินงานวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ไดลงพื้นที่และ รวมกับคนในชุมชนบานบุงกอตั้งกลุมสมุนไพรบานบุง โดยมีสมาชิก จํานวน 15 คน ซึ่งประกอบไปดวยหมอ ยา กลุมผูสูงอายุ กลุมเยาวชน และ บุคลากรจาก วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ในระยะเวลาที่ดําเนินงาน ผลที่ไดรับ คือ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารและกลุม สมุนไพรบานบุง ไดทําการรวบรวมตัวยาและตํารับยา จํานวน 12 ตํารับ ซึ่งทั้ง 12 ตํารับเปนผลผลิตที่เกิด จากสมุนไพรในทองถิ่นทั้งสิ้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ อนุรักษ สูตรยาสมุนไพรพื้นบาน การถายทอดใหกับเยาวชนใหรูจักและสามารถใชตํารับยาใหตรงกับ อาการ และกอตั้งศูนยสมุนไพรบานบุง เพื่อเปนแหลงเรียนรูและสรางรายไดใหกับสมาชิกของกลุม ใน ป 2563 วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารไดรับงบสนับสนุนจาก OKMD จํานวน 60,000 บาท เพื่อใชในการ พัฒนาผลิตภัณฑชุมชนในจังหวัดมุกดาหาร จํานวน 2 ผลิตภัณฑ เพื่อใหเปนผลิตภัณฑที่สามารถเขา สูตลาดสากลไดอยางมีมาตรฐาน จากความรวมมือครั้งนั้น วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารไดเลือกกลุม สมุนไพรบานบุง เขารวมในกิจกรรม โดยใชผลิตภัณฑเดิมของกลุมที่มีอยูแลว มาพัฒนาใหสะทอน ความเปนตัวตนของบานบุง เพิ่มมูลคาและเปนผลิตภัณฑที่ใชตนทุนในชุมชนเปนสําคัญ ในการ ดําเนินงานครั้งนี้แบงเปน 3 กิจกรรม คือ กิจกรรมที่ 1 เปนกิจกรรมการสรางแนวคิดเกี่ยวกับการ สรางตัวตนของผลิตภัณฑและวิเคราะหกลุมเปาหมายในการจําหนายผลิตภัณฑ จากการดําเนินงาน 84


ทําใหเกิดตราสินคาของกลุมสมาชิก “BUNG BEE” ซึ่ง BUNG มากจากชื่อหมูบาน คือ บานบุง และ BEE มาจากวัตถุดิบที่ใชในการผลิตสินคามาจาก “ผึ้ง” กิจกรรมที่ 2 การสรางผลิตภัณฑภายใตตรา สินคา จํานวน 4 ผลิตภัณฑ ไดแก 1) Body Balm ขนาด 150 กรัม ราคา 199 บาท 2) Massage Balm ขนาด 150 กรัม ราคา 299 บาท 3) ลิปบาลมสมุนไพร จํานวน 2 สูตร คือ ลิปบาลมสมุนไพร จากดอกคําแสด ขนาด 10 กรัม และลิปบาลมสมุนไพรกลิ่นดอกปบ ขนาด 10 กรัมราคาขาย 35 บาท และ4) น้ําผึ้งเดือน 5 จากภูเขาของบานบุง จํานวน 2 ขนาด คือ หลอดบีบ 100 ML ราคา 199 บาท และ กระปุก ขนาด 250 ML ราคา 399 บาท กิจกรรมที่ 3 การจําหนายผลิตภัณฑภายใตตรา ผลิตภัณฑ “BUNG BEE” ทั้งรูปแบบ Online ไดแก Facebook LINE IG และOffline ไดแก ขายให รานนวด นิทรรศการออกราน จําหนายในศูนยสมุนไพรบานบุงเปนตน ซึ่งกลุมเปาหมายในการ จําหนายผลิตภัณฑ คือกลุม นักทองเที่ยว รานนวด กลุมทํางานOffice และผูรักสุขภาพ เปนตน ทําให กลุมสมุนไพรบานบุงมีรายไดเฉลี่ยอยูที่ 4,000 – 5,000 บาท/เดือน 85


2.แหลงเรียนรูของวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร 2.1 ศูนยความรูกินไดจังหวัดมุกดาหาร วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ไดรับการสนับสนุนงบประมาณ จากสํานักงานบริหารและพัฒนาองคความรู (องคกร มหาชน) เพื่อจัดทําศูนยความรูกินไดจังหวัดมุกดาหาร ผานธนาคารกรุงไทย สาขามุกดาหาร บัญชีเลขที่ 420-0- 63386-8 ชื่อบัญชี แหลงเรียนรูตามแนวศูนยความรูกินได จังหวัดมุกดาหาร จํานวน 170,000.-บาท (-หนึ่งแสนเจ็ด หมื่นบาทถวน-) โดยนําเงินงบประมาณที่ไดรับการ สนับสนุนนี้ ไปบริหารจัดการเพื่อสรางศูนยความรูกินไดจังหวัดมุกดาหาร โดยมีองคประกอบคือ ชั้น หนังสือทํามาหากิน สื่อเผยแพรแนวความคิดและ กระบวนการศูนยความรูกินได สื่อองคความรูที่ สอดคลองกับผลงานวิจัยและจัดกิจกรรมเผยแพรและ แลกเปลี่ยนเรียนรู โดยไมตองดําเนินการจัดซื้อ-จัดจาง ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการพัสดุของ หนวยการบริหารราชการแตใหดําเนินการสงสําเนา ใบเสร็จการจัดซื้อ-จัดจาง ใหทางสํานักงานบริหารและ พัฒนาองคความรู (องคการมหาชน) เพื่อเก็บเปน หลักฐานในการตรวจสอบการสนับสนุนงบประมาณจํานวนดังกลาวตอไป วันที่ 29 มิถุนายน 2559 ดร.สิริกร มณีรินทร นายกสภาสถาบันวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร นายนพดล ไพฑูรย รองผูวาราชการจังหวัดมุกดาหาร และดร.อภิชาติ ประเสริฐ ผูอํานวยการสํานัก โครงการและจัดการความรู สํานักงานบริหารและพัฒนาองคความรู รวมเปดศูนยความรูกินได มุกดาหาร เพื่อใหบริการความรูดานการทํามาหากิน ใหกับประชาชนในพื้นที่อยางเปนทางการ ภายในงานจัดกิจกรรมถายทอดความรูและพัฒนา ทักษะดานอาชีพเรื่อง “ความฮูกินได ไทมุกดาหาร” โดยมีเสวนา “ความฮูกินได ไทมุกดาหาร” เพื่อจุด ประกายใหประชาชนนําสินทรัพยและภูมิปญญา ทองถิ่นมาทํามาหากิน สรางความเขมแข็งและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในทองถิ่นอยางยั่งยืน และเวิรคชอปสรางอาชีพ ไดแก การทําชาขาวพื้นบาน การทําขนมจีนจากขาวพื้นบาน การทําน้ํานม ถั่วลิสงและไอศครีมจากน้ํานมถั่วลิสง 86


2.2 บานดินวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร(แหลงเรียนรูศาสตรพระราชา) วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ไดรับจัดสรรงบประมาณ รายจายประจําป พ.ศ.2562 ในโครงการพัฒนาศักยภาพ แหลงเรียนรูเพื่อสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ผูบริหารจึง เล็งเห็นความสําคัญในการจัดทําศูนยการเรียนรูตลอดชีวิต “บานดินวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร” ไดดําเนินการจัดตั้งขึ้นเพื่อ ใชเปนแหลงการเรียนรูดานศาสตรของพระราชาเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน ที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอ ดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรทรงใชเปนวิธีการทรงงานมาตลอดรัชสมัย 2.3 ศูนยการเรียนรูสาขาวิชเทคโนโลยี การเกษตร ในปการศึกษา พ.ศ.2563 วิทยาลัยชุมชน มุกดาหารไดเปดสอนในสาขาวิชาการเกษตรและ เทคโนโลยี เพื่อผลิตนักศึกษาดานพัฒนาการเกษตร เพื่อเขาไปทํางานพัฒนาผลักดันใหบุคคลที่ยังคง ประกอบอาชีพเกษตรกรรม สามารถประกอบอาชีพของ ตนไดตอไปอยางยั่งยืน และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เทียบเท ากับบุคลากรในสาขาอาชีพอื่น ๆ นอกจากนี้สังคมตองการบุคลากรคนกลางที่จะ ทํางานเสียสละเพื่อสงเสริมการพึ่งพาตนเอง สราง การจัดการความรูเทคนิคในกระบวนการผลิต ทางการเกษตรใหกับเกษตรกร โดยบุคคลนั้นจะต องเขาใจและสามารถวางแผนบริหารการจัดการ การผลิต และบูรณาการวิชาการทางการเกษตรได เปนอยางดี 87


2.4 ศูนยภาษาและวัฒนธรรมวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ศูนยภาษาและวัฒนธรรม วิทยาลัยชุมชน มุกดาหาร จัดกิจกรรมพิธีลงนามขอตกลง ค ว า ม ร ว ม มื อ ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า กั บ สถาบันการศึกษาจากตางประเทศ ภายใต โครงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม"ไทยอเมริกัน-ลาว"2563 (Thai -American - Laos Cultural Exchange program 10- 23Jan2020 Education Tour) โดย ศูนย ภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร เปนการลงนามขอตกลงความรวมมือทาง การศึกษาโดย ผูอํานวยการวิทยาลัยชุมชน มุกด าหาร กับผูแท นจากสถาบันที่ได รั บ มอบหมาย ระหวาง วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร, ประเทศไทย (MUKDAHAN COMMUNITY COLLEGE) กับ เอเคิรดคอเลจ,ประเท ศ สหรัฐอเมริกา (ECKERD COLLEGE) กับสถาบัน บริหารศาสตรสะหวัน ,สปป.ลาว(SAVAN INSTITUTE OF MANAGEMENT) ณ หองประชุมกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร โดยไดรับ เกียรติจากประธานกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนมุกดาหารและคณะรวมเปนพยานการลงนามในครั้งนี้ ซึ่งเนื้อหาในการ รวมมือมุงเนนการพัฒนาทักษะ การเรียนรูทางภาษา การเชื่อมโยงความสัมพันธ ระหวางประเทศ และการแลกเปลี่ยนทาง วัฒนธรรม นวัตกรรม การวิจัย และองคความรู ภูมิปญญาทองถิ่นสูสากล ในกิจกรรมการทัศนศึกษาในครั้งนี้ มี คณะนักศึกษาอเมริกัน 16 คนอาจารยผูควบคุม 1คน คือ ผศ.ดร.เจฟ เฟอราโด นําคณะ รวมกับ ศูนยภาษาและวัฒนธรรมอาเซียนฯ นักศึกษาอาสาสมัครวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร และมัคคุเทศก จังหวัดมุกดาหาร เปนอาสาสมัครสอนภาษาใหกับนักศึกษาและครูอาจารย ของวิทยาลัยชุมชน มุกดาหาร และรวมแลกเปลี่ยนเรียนรูกับคณะครูอาจารยจากส 88


รายชื่อผูจัดทํา คณะที่ปรึกษา นายศศิพงษา จันทรสาขา ผูอํานวยการ นายสนอง แสนเสร็จ รองผูอํานวยการ นายวิรัตน พรหมดี รองผูอํานวยการ ผูใหขอมูล ดร.ทิวากร เหลาลือชา ครูเชี่ยวชาญ ดร.พรวุฒิ คําแกว ครูชํานาญการ นางสาวกิตติกา เที่ยงธรรม ครูเชี่ยวชาญ นางสาวพิริยาพร สุวรรณไตรย ครูชํานาญการ นางมยุรา คําปาน ครูชํานาญการ นางสาววัชราภรณ ชนะเคน ครู นางสาวเบญจมาภรณ กลางประพันธ นักวิชาการศึกษา นางปทมา คุมแถว นักวิชาการศึกษา รวบรวมขอมูลและจัดทํารูปเลม นางสาวพิมพประภา คําจันทร ครูชํานาญการ นางประกายดาว สุริยวรรณ นักวิชาการศึกษา นางสาวกุลนารี นิยมไทย เจาหนาที่งานทะเบียน 89


Click to View FlipBook Version