ปีที่ 4 ฉบับท่ี 7 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2561) 46
2. ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ยั ครัง้ ตอ่ ไป
2.1 ควรวจิ ัยเกย่ี วกบั ปจั จัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จในการนเิ ทศภายในโดยใช้แนวคดิ
ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
2.2 ควรวิจัยการประยุกต์ใช้แนวทางการนิเทศภายในโดยใชแ้ นวคดิ ชุมชนการเรยี นรู้
ทางวชิ าชพี ในแตล่ ะกล่มุ งานเพ่อื เพม่ิ โอกาสใหก้ ารบริหารงานของสถานศกึ ษาเป็นองค์กรทีส่ ่งเสริม
ความเป็นเลิศและได้มาตรฐาน
รายการอา้ งอิง
ภาษาไทย
บุญชม ศรสี ะอาด. การวจิ ัยเบ้ืองตน้ . พิมพค์ รัง้ ท่ี 8. กรุงเทพฯ : สวุ ีรยิ าสาสน์ , 2553.
พชั รี ทองอ้ม. การพัฒนาการดาเนินงานการนเิ ทศภายในโรงเรียนราษฎร์พฒั นา อาเภอสงั ขะ
จังหวัดสุรินทร.์ วิทยานพิ นธ์ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552.
ยุพนิ ยนื ยง. การพฒั นารปู แบบการนเิ ทศแบบหลากหลายวิธีการเพือ่ ส่งเสรมิ สมรรถภาพการวจิ ัย
ในช้นั เรียนของครู. วทิ ยานพิ นธ์ ศษ.ม. นครปฐม : มหาวิทยาลยั ศิลปกร, 2554.
วรรณพร สุขอนนั ต์. การพฒั นารปู แบบการนิเทศภายในตามแนวคิดการศกึ ษาชนั้ เรยี น
สาหรบั โรงเรยี นเอกชน. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. นครปฐม : มหาวิทยาลยั ศิลปากร, 2553.
วจิ ารณ์ พานิช. วิถีสร้างการเรยี นร้เู พือ่ ศิษยใ์ นศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : ตถาตาพลับลเิ คช่ัน,
2554.
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน. การนเิ ทศเพ่อื พฒั นาโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา.
กรงุ เทพฯ : กรนี กรุ๊ป, 2553.
ปีท่ี 4 ฉบบั ที่ 7 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) 47
ระบบการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพครูสายสามญั และสายอาชีพ
ตามกรอบมาตรฐานวิชาชพี ของครุ สุ ภาและการปฏิบตั จิ ริง ในสถาบันอดุ มศกึ ษา
Professional Experience Practicum System of General and Vocational Pedagogy
กลา้ ทองขาว*
บทคดั ยอ่
วิชาชีพครูหรือวิชาชีพทางการศึกษา เป็นวิชาชีพข้ันสูง และเป็นวิชาชีพควบคุม ผู้ประกอบ
วิชาชีพดังกล่าว แบ่งออกเป็น 4 สาขาย่อย คือ ผู้ประกอบวิชาชีพครู ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหาร
สถานศึกษา ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา และผู้ประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ ต้องมี
ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพเพื่อการประกอบวิชาชีพ ระบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูสายสามัญ
และสายอาชีพ เป็นภารกิจของสถาบันผู้ผลิตครู คือ คณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ของ
สถาบันอุดมศึกษา จะต้องดาเนินการจัดระบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพให้เป็นไปตามกรอบ
มาตรฐานและเกณฑ์ขั้นต่าในการรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรของสภาวิชาชีพ หรือคุรุสภา
กลา่ วคอื ต้องมีการบรหิ ารหลักสูตรและการฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี แก่ผู้เรียนให้เป็นไปตามมาตรฐาน
การผลิต เพ่ือให้บัณฑิตครูมีคุณภาพได้มาตรฐาน ปัจจุบันระบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูมี 3
สาขา ท้งั สายงานสอนและสายงานบริหาร แม้จะมหี ลกั เกณฑ์และแนวทางท่คี รุ ุสภากาหนดไว้ค่อนข้าง
ชัดเจน แตห่ ลกั การและวิธกี ารปฏบิ ัตขิ องสถาบนั ผ้ผู ลิตยงั มีปัญหา มีอุปสรรค มีจุดแข็งและจุดอ่อนอยู่
ไม่น้อย ส่วนผู้ประกอยวิชาชีพศึกษานิเทศก์น้ัน คุรุสภายังมิได้กาหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐานการ
ฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ไว้ สาหรับแนวทางการฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่จะช่วยส่งเสริมคุณภาพการ
ผลิตครู สถาบันท่ีมีหน้าที่และรับผิดชอบในการผลิตครู จะต้องร่วมมือกับองค์กรผู้ใช้ครู องค์กรฝุาย
กาหนดมาตรฐานการปฏิบตั ิงานของครู (องคก์ รกลางบรหิ ารงานบคุ คลของขา้ ราชการครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษา) และสภาวิชาชพี ครู (ครุ ุสภา) คดิ คน้ หาแนวปฏิบัติ เพ่ือให้การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ของผู้ประกอบวิชาชีพทั้ง 4 สาขา มีคุณภาพได้มาตรฐานอย่างจริงจัง เพราะระบบการฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพ เป็นองค์ประกอบสาคัญต่อการพัฒนาสมรรถนะท่ีจาเป็นแก่คนที่จะเป็นครูไม่
น้อยไปกว่าการศึกษาภาคทฤษฎีในช้ันเรียน ย่ิงไปกว่านั้น เม่ือผู้เรียนสาเร็จการศึกษาออกไปเป็นครู
แลว้ ประสบการณจ์ ากการฝกึ ปฏิบัติวชิ าชพี ยงั สามารถนาไปใชไ้ ดใ้ นการทางานจริงอีกด้วย
คาสาคญั ระบบการฝึกประสบการณ์วิชาชพี มาตรฐานการฝกึ ปฏบิ ตั ิวชิ าชพี การฝึกวิชาชีพทางการ
ศกึ ษาใหไ้ ด้คณุ ภาพ
*รองศาสตราจารย์ ดร.กล้า ทองขาว ผอู้ านวยการหลกั สูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการการศกึ ษา วทิ ยาลยั ครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธุรกจิ บัณฑิตย์
ปีที่ 4 ฉบับที่ 7 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) 48
Abstract
Teaching professions or education professions are the high status and the regulated
profession. Persons who performed this profession are divided into four types:
teacher, school administrator, educational administrator, and supervisor. These
professions are required to obtain the professional license in order to perform their
careers. The Faculty of Education of higher education institutions are obliged to
organise the professional experience practicum system of both the general
pedagogy and vocational pedagogy in comply with the qualification frameworks
and minimum requirements for degree and certificate accreditation appointed by
the teacher professional council or the Teachers’ Council of Thailand. These
faculties should host the curriculum and manage the professional experience
practicum for the learners to meet the professional standards in order to produce
the qualified graduates.
At present, professional experience practicum system consists of three fields, for
both the teaching line and the administration line. Although the regulations and the
models in organising the professional experience practicum are somewhat clear
stipulated by the Teachers’ Council of Thailand, the training institutions still
experience problems, obstacles, strengths and weaknesses in the principle and the
implementation. Regarding the supervisor profession, the Teachers’ Council of
Thailand has not yet defined the regulations and standards for the professional
experience practicum system.
The responsible institutions for the teacher training have to cooperate with the
teacher user organisation; the teacher performance standard assignment organisation
(central personnel agency of the government teachers and education personnel);
and the teacher professional council (Teachers’ Council of Thailand) to seek the
guidelines and the regulations for professional experience practicum to ensure the
qualified standard of all the four types of professions.
The professional experience practicum is an important element for the development
of the essential capabilities of teachers. It is important not less than the theoretical
ปีที่ 4 ฉบับที่ 7 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) 49
learning in the classroom. The experience grained from the practicum can also be
used in real work after they graduates and start their profession.
ความนา
การฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ทางการศึกษา ไม่ได้เป็นเร่ืองใหม่สาหรับประเทศไทย อาจกล่าว
ได้ว่า การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ เป็นเงื่อนไขสาคัญของหลักสูตรการฝึกหัดครูมาตั้งแต่อดีต ซึ่ง
นักเรียนฝึกหัดครูทุกคนก่อนสาเร็จการศึกษาออกไปเป็นครู ไม่ว่าจะเป็นครูที่สอนในระดับ
ประถมศึกษา มัธยมศึกษาหรืออุดมศึกษา หลักสูตรกาหนดให้มีการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หรือท่ี
เข้าใจกันโดยท่ัวไปก็คือ “การฝึกสอน” (Internship) ระหว่างเรียนตามข้อบังคับของหลักสูตร
การศึกษาแต่ละระดับ เช่น หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู (ป.กศ.) ซ่ึงเป็นหลักสูตรข้ันต้นของ
การผลิตครูในอดีต กาหนดให้มีการฝึกปฏิบัติการสอน 1 ภาคการศึกษา ในสถานศึกษาท่ีโรงเรียน
ฝึกหัดครูกาหนด โดยมีครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศทาหน้าที่กากับดูแลนิเทศ ให้คาปรึกษาและ
ประเมินผลการฝกึ ปฏบิ ัติการสอน (กลา้ ทองขาว 2559 : 34-40) เป็นตน้
อย่างไรก็ตาม นับตั้งแต่ปีพ.ศ.2556 คุรุสภา ซ่ึงเป็นสภาวิชาชีพสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพ
ทางการศึกษาได้ประกาศข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 อาศัยอานาจตาม
ความในมาตรา 9 (1) (11) (ฉ) และมาตรา 49 แหง่ พระราชบัญญตั ิสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ.2546 จึงออกข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพครู ผู้ประกอบ
วชิ าชีพผบู้ ริหารการศึกษา ผู้ประกอบวิชาชีพผ้บู ริหารสถานศึกษาและผู้ประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์
ต้องมีคุณวุฒิ มีมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพตามที่คุรุสภากาหนด (ราชกิจจานุเบกษา
2556 : 67 -70) และประกาศคุรุสภา เร่อื ง การรบั รองปรญิ ญาและประกาศนยี บตั รทางการศึกษาเพื่อ
ประกอบวิชาชีพ พ.ศ.2557 กาหนดมาตรฐานและเกณฑ์การรับรอง มาตรฐานหลักสูตรและ
มาตรฐานการผลิต สาหรับผู้ประกอบวิชาชีพครู วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและวิชาชีพผู้บริหาร
การศึกษา ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเง่ือนไขท่ีคุรุสภากาหนด กล่าวคือ มาตรฐานประสบการณ์
วิชาชีพครู จะต้องมีการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียนและการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาใน
สาขาวชิ าเฉพาะตามเกณฑ์การรับรองประสบการณ์วิชาชีพ ในขณะท่ีมาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ
ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาและวชิ าชีพผู้บริหารการศกึ ษา จะตอ้ งมกี ารฝึกปฏิบตั ิการบริหารสถานศึกษาและ
ปฏิบัติการบริหารสถานศึกษาระหว่างเรียนตามหลักสูตรที่คุรุสภารับรอง คือ ฝึกการ บริหาร
สถานศึกษาร้อยละ 50 และฝึกการบริหารการศึกษาร้อยละ 50 โดยมีช่ัวโมงปฏิบัติไม่น้อยกว่า 90
ชว่ั โมง (ราชกิจจานเุ บกษา 2557 : 16-19 และเอกสารแนบทา้ ยประกาศ)
ปีท่ี 4 ฉบบั ที่ 7 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2561) 50
จากท่ีกล่าวมาข้างต้นจะเห็นว่า การฝึกประสบการณ์วิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพทางการ
ศึกษา เป็นเร่ืองสาคัญและน่าสนใจ ระบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูสายสามัญและสายอาชีพ
รวมทั้งการฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาหรับผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา น่าจะเป็น
องค์ประกอบสาคญั ประการหน่ึงขององคค์ วามรู้ เพือ่ สนบั สนนุ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การผลิตและ
พัฒนาครูของไทย จุดประสงค์ของบทความ คือ ความพยายามค้นหาคาตอบ 5 ประการ ได้แก่ (1)
ระบบการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพครทู ้ังสายสามัญและสายอาชีพในปัจจุบันเป็นอย่างไร (2) หลักการ
สาคัญและเปูาหมายของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สายสามัญและสายอาชีพคืออย่างไร (3)
ปัญหา อปุ สรรค จดุ แข็ง จุดอ่อน ของระบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูสายสามัญและสายอาชีพ
เป็นอยา่ งไร (4) ระบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูสายสามญั และสายอาชพี ท่มี ีคุณภาพที่จะช่วยทา
ให้การผลิตครูมีคุณภาพสูงควรเป็นอย่างไร และ (5) ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อระบบการฝึก
ประสบการณว์ ิชาชีพสายสามัญและสายอายอาชีพเป็นอย่างไร ผลการศึกษานา่ จะมีคาตอบดงั ต่อไปนี้
1.ระบบการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพครูสายสามญั และสายอาชพี
การจัดหลักสูตรการผลิตครูหรือบุคลากรทางการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา ที่กฎหมาย
กาหนดให้มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพของคุรุสภาปัจจุบัน มี 4 กลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพ ได้แก่ ผู้
ประกอบวิชาชีพครู ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา
(ยกเวน้ ผปู้ ระกอบวิชาชพี ศึกษานเิ ทศก)์ จะตอ้ งผา่ นการฝกึ ปฏิบัติวิชาชีพหรือฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ตามข้อกาหนดของหลักสูตรในระดับและประเภทของหลักสูตรในสาขาวิชาหรือคณะวิชาของ
สถาบนั อดุ มศึกษาของรัฐหรือเอกชน (ปัจจุบัน คือ คณะครุศาสตร์หรือคณะศึกษาศาสตร์ หรือท่ีมีช่ือ
เรียกอย่างอ่ืน แต่มีการจัดการเรียนการสอนและการวิจัยทางด้านการศึกษา) ที่สานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) รับทราบหลักสูตรแล้ว และ สภาวิชาชีพ (คุรุสภา) รับรอง
ปริญญา โดยมีเงื่อนไข หลกั เกณฑ์ วิธีการและระยะเวลาในการฝึกปฏิบัติ ตามระดับและประเภทของ
หลกั สูตรดงั นี้
1.1 กรอบมาตรฐานการฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ
1) มาตรฐานประสบการณว์ ชิ าชีพครู(สายผสู้ อน) คุรุสภามีการกาหนดจานวนหน่วย
กิต (ข้ันต่า) ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ตามหลักสูตรทางการศึกษาสายผู้สอนในสถานศึกษา
ตัง้ แต่ระดบั ปริญญาตรถี ึงระดับปริญญาเอก โดยกาหนดมาตรฐานหน่วยกิตการศึกษา และมาตรฐาน
การฝึกประสบการณ์วชิ าชีพไว้ ตามตารางที่ 1 ดงั นี้
ปีที่ 4 ฉบบั ที่ 7 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) 51
ตารางที่ 1 จานวนหน่วยกิต (ขั้นต่า) และมาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพครู จาแนกตามประเภท
ระดับหลกั สูตรตามเกณฑ์การรับรองของคุรุสภา พ.ศ.2557
ประเภท / ระดบั หลักสูตร จานวนหนว่ ยกติ
วิชาชีพครู
1. การปฏิบัตกิ ารสอนในโครงสร้างหลกั สูตร
1.1 ปรญิ ญาตรี (5 ปี) 12
1.2 ปริญญาตรคี วบโท (6 ปี) 12
1.3 ประกาศนียบัตรบัณฑิต 6
1.4 ปรญิ ญาโท(2 ป)ี 6
1.5 ปรญิ ญาโทควบเอก(4 ป)ี 8
1.6 ปริญญาเอก (3 ป)ี 6
2. มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพครู ประสบการณ์วชิ าชพี ครู
2.1 การฝึกปฏิบตั ิวชิ าชพี ระหวา่ งเรียน
2.2 การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1) มีคาอธิบายรายวิชาตามมาตรฐาน
ในสาขาวิชาเฉพาะ ความรู้และสมรรถนะ
2) มกี ิจกรรมเสริมความเป็นครูเป็นระยะ
ๆ ตลอดหลักสตู ร
3) กาหนดปฏบิ ัตกิ ารสอน 2 ภาค มี
ช่วั โมงสอนรายวชิ าเอก 18 ชม.ตอ่
สปั ดาห์ เป็นเวลาไมน่ ้อยกวา่ 15
สปั ดาห์หรือ 120 ชม.ต่อภาค
4) ปฏิบัตงิ านอืน่ ที่ได้รับมอบหมายไม่น้อย
กว่า 120 ชม.ต่อภาค
5) เข้าร่วมสัมมนาไม่น้อยกวา่ 15 ชม. ต่อ
ภาค
6) วัดและประเมินผลการฝึกปฏบิ ัติ
วิชาชพี ระหวา่ งเรยี นและการ
ปฏิบัติการสอนในสถานศกึ ษาอย่าง
เปน็ ระบบ
ปที ี่ 4 ฉบบั ที่ 7 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2561) 52
จากตารางท่ี 1 พบว่า ผปู้ ระกอบวิชาชีพครูในหลักสูตรระดับปริญญาตรี (5 ปี) และปริญญา
ตรีควบโท
(6 ป)ี คุรสุ ภากาหนดหนว่ ยกติ (ข้นั ตา่ ) ที่จะใหก้ ารรบั รองสาหรับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพไว้ 12
หน่วยกิต เท่ากัน ในขณะที่หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต หลักสูตรปริญญาโทและหลักสูตร
ปรญิ ญาเอก กาหนดไว้ 6 หนว่ ยกติ สว่ นหลักสตู รปริญญาโทควบเอก กาหนดไว้ 8 หนว่ ยกติ
มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพครู กาหนดให้มีการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียนและ
กาหนดให้มีการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ในสาขาวิชาเฉพาะไว้ โดยกาหนดเงื่อนไขและ
รายละเอียดของกรอบการปฏิบัติกิจกรรมการศึกษา สาระของกิจกรรรมและระยะเวลาไว้ค่อนข้าง
ชัดเจน
2) มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา คุรุสภามี
การกาหนดจานวนหน่วยกิต (ขั้นต่า) ในการฝึกปฏิบัติวิชาชีพ ตั้งแต่หลักสูตรระดับประกาศนียบัตร
บัณฑิตจนถึงระดับปริญญาเอกไว้จานวน 3 หน่วยกิตเท่ากันทุกระดับ โดยกาหนดเงื่อนไขการจัด
กิจกรรมการฝึกปฏิบตั ิ ตามเกณฑ์การรับรองมาตรฐานการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ไวด้ ังตารางท่ี 2
ตารางที่ 2 จานวนหน่วยกิต (ข้นั ต่า) และมาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและ
ผู้บริหารการศึกษา จาแนกตามประเภทและระดับหลักสูตรตามเกณฑ์ตามรับรองของคุรุสภา พ.ศ.
2557
ประภท / ระดบั หลกั สูตร จานวนหนว่ ยกิต
วิชา ชีพ ผู้บ ริหารสถา นศึกษ าแล ะผู้บริหา ร
การศึกษา
1. การปฏิบัตวิ ชิ าชพี การบริหารการศกึ ษา 3
1.1 ประกาศนียบตั รบณั ฑิต 3
1.2 ปรญิ ญาโท (2 ป)ี 3
1.3 ปริญญาโทควบเอก (4 ป)ี 3
1.4 ปรญิ ญาเอก
2. มาตรฐานปฏิบัติการวิชาชีพบริหาร ปฏิบัติการวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา
การศกึ ษา และผบู้ รหิ ารการศึกษา
การฝึกปฏิบัติการบริหารสถานศึกษาและ 1) มคี าอธบิ ายรายวิชาตามมาตรฐาน
ปฏิบัติการบริหารการศึกษาระหวา่ งเรยี น ความรู้และสมรรถนะ
2) มีแผนกจิ กรรมเสรมิ ความเป็นผู้บรหิ าร
เปน็ ระยะ ๆ ตลอดหลักสูตร
3) กาหนดการฝกึ ปฏิบตั กิ ารบรหิ ารสถานศึกษา
และบรหิ ารการศกึ ษา (3 หน่วยกติ ) มีช่วั โมงฝกึ ไมน่ ้อย
กวา่ 90 ชม. (15X6 ชม.)
ปที ่ี 4 ฉบบั ที่ 7 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) 53
ประภท / ระดบั หลกั สตู ร จานวนหนว่ ยกิต
4) ฝกึ บรหิ ารสถานศกึ ษารอ้ ยละ 50
ฝกึ บริหารการศึกษารอ้ ยละ 50
1.2 กระบวนการฝึกประสบการณว์ ิชาชพี
สถาบันอุดมศึกษาท่ีได้รับการรับรองมาตรฐานหลักสูตรจากคุรุสภาแล้ว จะต้องนาเสนอ
มาตรฐานการผลิต ตามแบบประเมินมาตรฐานการผลิตและมาตรฐานบัณฑิต ที่ผ่านความเห็นชอบ
จากสภาสถาบนั แล้วให้คุรุสภาพิจารณารบั รองมาตรฐานการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ทั้งหลักสูตรการ
ผลิตครูและผู้บริหารสายสามัญและสายอาชีพ ก่อนการรับผู้เข้าศึกษาตามหลักสูตรการสอนในปี
การศึกษาทเ่ี รม่ิ เปิดสอน
ในองค์ประ กอบของเกณฑ์การรั บรอ งมาตร ฐานก ารผลิตของ แต่ละหลัก สูตร
สถาบันอุดมศึกษาจะต้องแสดงข้อมูลรายชื่อหรือคุณสมบัติของโรงเรียนหรือสถานศึกษา และหรือ
สานักงานทางการศึกษาที่ผู้เรียนจะต้องไปฝึกปฏิบัติการสอน หรือฝึกปฏิบัติการบริหารการศึกษา
(แล้วแต่กรณ)ี ไมน่ ้อยกว่าคุณสมบัติตามมาตรฐานทค่ี ุรสุ ภากาหนด แสดงรายช่ือหรือคุณสมบัติของครู
พีเ่ ลย้ี งหรอื ผบู้ ริหารพ่เี ลย้ี งและอาจารยน์ ิเทศ ที่มีคุณสมบัติไม่น้อยกว่ามาตรฐาน นอกจากน้ันสถาบัน
จะต้องแสดงข้อมูลการจัดกิจกรรมการฝึกปฏิบัติอย่างเป็นระบบ มีการจัดทาสมุดบันทึกผลการเข้า
รว่ มกจิ กรรมเสริมความเป็นครหู รอื เสริมความเป็นผ้บู รหิ าร เพ่ือใช้เป็นหลักฐานประกอบการพิจารณา
อนมุ ัติผลการสาเร็จการศึกษาของผู้เรียนแตล่ ะคนด้วย เปน็ ต้น
การจัดกิจกรรมการปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน หรือการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
หรือการฝึกปฏิบัติการบริหารสถานศึกษาและการบริหารการศึกษาของแต่ละสถาบัน จะจัดทาเป็น
คู่มือการฝึกปฏิบัติการสอน คู่มือการฝึกประสบการณ์วิชาชีพหรือแผนกิจกรรมการฝึกปฏิบัติวิชาชีพ
รวมทั้งมีสมุดบันทึกการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมความเป็นครูหรือกิจกรรมเสริมความเป็นผู้บริหาร
การศึกษา(แล้วแต่กรณี) ของนักศึกษาแต่ละปีการศึกษาหรือแต่ละรุ่นของนักศึกษาแต่ละคน โดย
รูปแบบการฝึกปฏิบตั วิ ชิ าชีพมีรายละเอยี ดคือ
ก. การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูสายผู้สอน (Professional Experiences in Education)
สภาพการจัดกิจกรรมการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในปัจจุบันพบว่า การฝึกปฏิบัติในระดับ
ปริญญาตรี (หลักสูตร 5 ปี จานวน 12 หน่วยกิต) ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ( หลักสูตร 1 ปี
จานวน 6 หน่วยกิต) ระดับปริญญาโท (หลักสูตร 2 ปี จานวน 6 หน่วยกิต) สถาบันผลิตครูมีแนว
ปฏิบตั ิ และเน้อื หาสาระที่ทาการฝกึ ไม่ค่อยแตกตา่ งกัน เพียงแต่ระดับปริญญาตรีมีการใช้เวลาฝึก
มากกว่าเท่านั้น โดยมาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพครู กาหนดให้มีการฝึกปฏิบัติวิชาชีพใน 2
ลักษณะ ดังน้ี
ปที ่ี 4 ฉบับที่ 7 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) 54
(1) การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน (Classroom Practicum Experiences)
เป็นกิจกรรมที่
กาหนดไว้ในการเรียนรายวิชา ที่ผู้เรียนจะต้องมีการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน คือ การเตรียม
ผู้เรียนให้พร้อมท่ีจะออกฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา หรือมีความพร้อมในความเป็นครู เช่น มี
การฝึกทดลองสอน การฝึกจัดทาสื่อ การใช้ส่ือประกอบการสอน การฝึกจัดทาเคร่ืองมือวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ เป็นต้น โดยผู้เรียนจะต้องฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน เพ่ือให้มีทักษะและ
สมรรถนะไม่น้อยกวา่ ท่ีครุ ุสภากาหนด ท้ังครูสายสามัญและสายอาชีพ ก่อนการออกไปฝึกปฏิบัติการ
สอนในสถานศึกษา
(2) การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา (Teaching Practicum Experiences) ใน
รายวชิ า
เฉพาะ ขอ้ กาหนดการปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษา ตามหลักสูตรแต่ละระดับ (ปริญญาตรี-ปริญญา
เอก) จะต้องมีจานวนหน่วยกิตของการฝึกปฏิบัติเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของคุรุสภา และมีการ
ปฏิบัติงานอ่ืนท่ีได้รับมอบหมายต่อภาคการศึกษาเป็นระยะเวลาไม่ต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนด มีการพบ
คณาจารย์ มีการเข้ารว่ มสัมมนากับคณาจารย์และเพ่ือนนิสิตนักศึกษาในแต่ละภาคการศึกษาไม่น้อย
กวา่ เกณฑท์ กี่ าหนด และมีการวดั และประเมินผลการฝึกปฏิบัติวิชาชีพในสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ
ต้ังแต่ขัน้ เตรียมความพร้อม ขั้นการฝกึ ปฏบิ ัติ และหลังการฝึกปฏิบัติในสถานศึกษา โดยแต่ละระดับมี
รายละเอียดต่างกนั ออกไป ขอบข่ายการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูสายสามัญ(ปริญญาตรี) นักศึกษา
จะต้องได้รับการฝึก 6 ด้าน คือ (มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม. 2559 : 7 – 9) (1) ด้านวิชาการ
ได้แก่ งานด้านการจัดการเรียนการสอน งานวิจัยชั้นเรียน และการจัดบรรยากาศในช้ันเรียนและ
โรงเรียน (2) งานดา้ นปกครอง (3) งานธุรการ (4) งานกจิ กรรมนกั เรยี น (5) งานพฒั นาชุมชน และ (6)
งานโครงการ คอื งานจัดกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนรว่ มกบั ครูและบคุ ลากรในสถานศึกษา
ในด้านการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาของครูสายอาชีพ(ปริญญาตรี) นักศึกษาต้อง
ปฏิบตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 1 ปีการศึกษา คิดเป็น 12 หนว่ ยกติ แบ่งเป็น 2 ภาคเรียน ภาคเรียนละ
6 หน่วยกติ การฝึกปฏิบตั กิ ารสอน นกั ศึกษาท่ฝี ึกต้องปฏิบัติงานเต็มเวลาเสมือนครู จัดทางานวิจัยใน
ชัน้ เรยี น บันทึกการฝกึ ปฏิบตั ปิ ระสบการณ์วชิ าชีพครูประจาวนั ทาการคิดวิเคราะห์หลักสูตร มีช่ัวโมง
ในการปฏิบัติการสอนไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ จัดทาโครงการพัฒนาผู้เรียน นักศึกษา
รวบรวมผลงานท้ังหมดลงในแฟูมสะสมผลงานและมีการสัมมนาหลังการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ร่วมกนั ระหวา่ งนกั ศึกษา อาจารย์พี่เล้ียงและอาจารย์นิเทศ (อินทร์ธิรา คาภีระ และคนอื่น ๆ 2558:
273 – 279)
นอกจากน้ี รูปแบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู หลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชา
ศกึ ษาศาสตร์ ของมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธาช ที่จัดหลักสูตรการศึกษาทางไกล มีการจัดการเรียน
การสอนเป็นชุดวิชา 6 หน่วยกิต ผู้เรียนนอกจากจะต้องศึกษาเน้ือหาความรู้ในชุดวิชาและเข้าสอ บ
ภาคทฤษฎีในสนามสอบแล้ว ทุกคนยังจะต้องผ่านการประชุมเชิงปฏิบัติการประสบการณ์วิชาชีพ
ปีที่ 4 ฉบับท่ี 7 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) 55
ศกึ ษาศาสตร์ เพือ่ ประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ในระหว่างการประชุม เช่น ทาความเข้าใจสถานภาพของ
วิชาชีพศึกษาศาสตร์ จัดระบบและวางแผนการสอน เขียนแผนการสอน ฝึกปฏิบัติการออกข้อสอบ
จัดทากิจกรรมพัฒนาตน วิเคราะห์ปัญหาค่านิยม ผลิตชุดการสอน ฝึกทักษะการสอนจุลภาค
แบบจาลองทกั ษะ ทดลองสอน การแก้ปัญหาสถานการณ์จาลอง การประเมินพฤติกรรมการสอนและ
การฝึกปฏิบัติทดลองสอน เป็นต้น (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2543 : 6 - 12) หลักสูตร
ปรญิ ญาตรีต่อเน่ืองดงั กล่าว จดั ทาขนึ้ เพือ่ พัฒนาครูประจาการ ซึ่งปัจจุบันมีการปิดหลักสูตรนี้แล้ว แต่
ได้มีการปรับปรุงและพัฒนาแนวการฝึกประสบการณ์วิชาชีพดังกล่าวไปใช้สาหรับหลักสูตรระดับ
บัณฑิตศึกษา(ปริญญาโท) คือ ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพมหาบัณฑิตหลักสูตรและการสอนใน
ปัจจบุ นั
สาหรับมาตรฐานบัณฑิตท่ีคุรุสภาให้การรับรอง ยังมีการกาหนดเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพ
บัณฑิต ให้ผู้ประกอบวิชาชีพครูต้องผ่านการพัฒนาคุณลักษณะความเป็นครู โดยกาหนดให้เข้าร่วม
กิจกรรมเสริมความเป็นครู เชน่ กจิ กรรมดา้ นการปฏิบัตธิ รรมหรือกจิ กรรมอาสา และกิจกรรมส่งเสริม
คุณธรรมจรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ ปีละ ไม่นอ้ ยกว่า 1 กิจกรรมอกี ดว้ ย
ข. การฝึกปฏิบัติวิชาชีพบริหารการศึกษา ( Professional Practicum in
Administration)
การฝึกปฏิบัติการวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา คุรุสภาไม่พียงแต่
กาหนดให้สถาบันผู้ผลิตบัณฑิต ต้องมีแผนการจัดกิจกรรมเสริมความเป็นผู้บริหารสถานศึกษาและ
ผบู้ ริหารการศึกษาเทา่ นน้ั แต่ยงั กาหนดใหน้ กั ศกึ ษาหรอื นสิ ติ จะต้องได้รับการฝึกปฏิบัติการวิชาชีพใน
สถานศึกษาและในสานักงานทางการศึกษา โดยมีชั่วโมงปฏิบัติการฝึกวิชาชีพไม่น้อยกว่า 90 ชั่วโมง
ตามเกณฑ์ท่ีคุรุสภากาหนดแบบแผนหรือแนวทางการจัดการฝึกปฏิบัติวิชาชีพดังกล่าว ในปัจจุบันมี
แนวปฏิบัตอิ ยู่ 3 รปู แบบ คือ
รูปแบบท่ี 1 การฝึกฝนและเรียนรู้ประสบการณ์จากผู้นาต้นแบบ (Practicum with
Prototype Leadership) การฝึกปฏิบัตวิ ิชาชีพบริหารการศึกษาแนวนี้ ไม่ยึดแนวตามเกณฑ์ของคุรุ
สภา กล่าวคือ หน่วยการฝึกปฏิบัติไม่ยึดสถานศึกษาหรือหน่วยงานทางการศึกษา และสาระการฝึก
ปฏบิ ัตไิ ม่เนน้ การบรหิ ารตามภารกจิ ของหน่วยงาน แต่เนน้ “การนา” หรอื “ภาวะผู้นา” ของผู้บริหาร
สถานศึกษา หรือ ผู้บริหารการศึกษาต้นแบบ โดยข้อบังคับของหลักสูตรจะกาหนดให้นักศึกษาหรือ
นสิ ิต ท่ีเรียนรายวชิ าครบถ้วนแล้ว ต้องเสนอชื่อบุคคลท่ีมีคุณสมบัติโดดเด่นทางการบริหารหารศึกษา
หรอื ด้านความเป็นผู้นาทางการศึกษา ต่อคณะกรรมการ เพ่ือให้ความเห็นชอบ พร้อมเสนอแผนงาน
การฝึกปฏบิ ัตติ ่ออาจารยท์ ีป่ รึกษา ก่อนการออกทาการฝกึ ปฏิบตั ิภาคสนาม (จักรกฤษณ์ สิริรน. 2559
: การสมั ภาษณ์)
ปที ี่ 4 ฉบบั ท่ี 7 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) 56
งานหรือกิจกรรมการฝึกปฏิบัติแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนท่ีเป็นกิจกรรมการเฝูาติดตาม
และศกึ ษาบทบาท หรือพฤตกิ รรมการเป็นนาในสถานการณ์ตา่ งๆของผู้บริหารตน้ แบบ และส่วนที่เป็น
งานจัดทาโครงการทางวิชาการท่ีผู้บริหารหรือผู้นาต้นแบบ(ผู้บริหารพ่ีเล้ียง)มอบหมายให้ทาอีก 1
โครงการ โดยนักศึกษาหรือนิสิตผู้ฝึกปฏิบัติ จะต้องดาเนินกิจกรรมท้ัง 2 ส่วนน้ี ไม่น้อยกว่า 200
ช่ัวโมง
ระหว่างดาเนินกิจกรรมการฝึกปฏิบัติ ผู้ฝึกจะต้องเฝูาติดตามการทางานของผู้นาต้นแบบ
ศึกษาเรียนรู้ในสิ่งท่ีผู้นาต้นแบบปฏิบัติภารกิจในการบริหารจัดการสถานศึกษา หรือองค์กร ทาง
การศึกษาแล้วแต่กรณี จดบันทึก วิเคราะห์และเขียนรายงาน ขณะเดียวกันโครงการที่ผู้นาต้นแบบ
กาหนดใหท้ าก็จะต้องดาเนนิ การให้บรรลวุ ัตถุประสงค์
เม่ือสิ้นสุดการฝึกปฏิบัติภาคสนาม ผู้ฝึกจะต้องนาผลงานการฝึกปฏิบัติวิชาชีพเสนอต่อท่ี
ประชมุ สมั มนาในช้ันเรียนร่วมกับเพ่ือนร่วมชั้นเรียน โดยมีคณะกรรมการ อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้นา
ตนั แบบ ซึง่ ทาหน้าท่เี ป็นผู้บรหิ ารพีเ่ ลีย้ ง เข้ารว่ มอภิปราย ซกั ถามหรือให้ความคิดเห็นและประเมินผล
งาน นอกจากน้นั ผลงานการฝกึ ปฏิบตั ิวชิ าชีพยงั มกี ารจดั เผยแพร่ผา่ นทางสอ่ื หรอื เว็บไชต์ของสถาบัน
ดว้ ย
รูปแบบที่ 2 การจดั ประสบการณว์ ชิ าชพี บริหารการศกึ ษาโดยใช้กิจกรรมสถานการณ์จาลอง
(Professional Experiences in Education Administration) (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
2545 และ 2557)
การฝึกปฏิบัติวิชาชีพบริหารการศึกษารูปแบบนี้ นักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนในภาค
การศึกษาสุดท้าย ก่อนสาเร็จการศึกษา ในระดับปริญญาตรีเรียกว่าชุดวิชา ประสบการณ์วิชาชีพ
บริหารการศึกษา ระดบั ปรญิ ญาโทเรียกว่า ชดุ วชิ า ประสบการณ์วิชาชีพมหาบัณฑิตบริหารการศึกษา
เปน็ การศึกษาท่ีมเี นือ้ หาความรแู้ ละกจิ กรรมสัมมนาเขม้ (Intensive Seminar) ซ่ึงมีค่าหน่วยกิตเทียบ
ได้ 6 หน่วยกติ สว่ นที่เปน็ เนอ้ื หาความร้นู กั ศกึ ษาจะต้องศึกษาด้วยตนเอง (90 ช่ัวโมง) ส่วนท่ีเข้าร่วม
กิจกรรมสัมมนาเข้ม (45 ชั่วโมง) นักศึกษาจะได้รับการฝึกปฏิบัติกับอาจารย์ผู้สอนในสถานที่ท่ี
มหาวิทยาลยั กาหนด
ในกระบวนการฝึก คอื ก่อนเข้ารับการสัมมนาเข้ม นักศึกษาจะต้องศึกษาเนื้อหาสาระและ
ทากิจกรรมท่ีกาหนดให้ตามหน่วยการเรียน และกิจกรรมอื่นท่ีได้รับมอบหมาย แล้วนามาใช้เพี่อ
ประกอบการสัมมนาเข้มด้วย
ขอบข่ายของสาระการฝึกประสบการณ์ในระหว่างการสัมมนาเข้ม 5 วัน 4 คืน ในหลักสูตร
ปรญิ ญาตรีประกอบดว้ ย การฝึกปฏิบตั ิการวิเคราะห์ปัญหาการศกึ ษาและการบริหารสถานศึกษา การ
ฝึกและพฒั นาการตัดสินใจ การวินิจฉัยส่ังการ กลุ่มสัมพันธ์ การพัฒนาบุคลิกภาพและการเข้าสังคม
ทักษะการประชมุ และการนาการประชุม การใช้เทคโนโลยีการบริหารการศึกษา การพัฒนาคุณธรรม
และจรรยาวชิ าชีพ และการพฒั นาวชิ าชพี ผู้บริหารการศึกษา
ปีท่ี 4 ฉบับที่ 7 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) 57
ในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา สาระการฝึกปฏิบัติเน้นในด้าน การสร้างวิสัยทัศน์และการ
พัฒนาภาวะผูน้ าทางการบริหารการศึกษา การวเิ คราะห์พฤติกรรมองค์การและการสร้างทีมงาน การ
วิเคราะห์และการจดั การความขัดแย้ง การพฒั นาระบบสารสนเทศและการส่ือสาร การวิจัยเพ่ือพัฒนา
และการบริหารการเปล่ียนแปลง การพัฒนาคุณภาพงาน คุณธรรมและจรรยาวิชาชีพผู้บริหาร
การศกึ ษา เป็นต้น
การฝึกปฏบิ ัติวิชาชีพบริหารการศกึ ษาตามรูปแบบที่ 2 ผู้เรียนจะได้รับการฝึกในลักษณะท่ีใช้
สถานการณ์จาลอง (Simulation) การใช้บทสมมติ (Role play) การวิเคราะห์กรณีศึกษา (Case
Study) การวิเคราะห์สถานการณ์ภาวะวิกฤต (Critical incident analysis) และการอภิปราย
(Discussion) เป็นหลกั
การวัดและประเมินผลการฝกึ ปฏิบัตวิ ิชาชีพบรหิ ารการศึกษาในรูปแบบท่ี 2 จะมีการสอบวัด
เนอ้ื หาความรใู้ นสว่ นที่ 1 เป็นแบบทดสอบที่วดั เปน็ คะแนนจากการทาขอ้ สอบ นาไปรวมกับการวัดผล
การเขา้ รว่ มกิจกรรมสมั มนาเข้มในสว่ นท่ี 2 ด้วย หากผลการประเมินการฝึกประสบการณ์ในกิจกรรม
การสัมมนาเขม้ ไม่ผ่าน นักศกึ ษาจะตอ้ งเขา้ รบั การฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพใหม่
รูปแบบที่ 3 การฝึกปฏิบัติวิชาชีพแบบการเรียนรู้และการศึกษาเพื่อเสริมประสบการณ์
การบริหารการศึกษา (Professional Experiences and Study in Education Management)
การฝึกปฏิบัติวิชาชีพการบริหารและการจัดการศึกษารูปแบบน้ี เป็นรูปแบบการฝึกเพื่อให้
ผูเ้ รยี นมีคุณลกั ษณะตามเกณฑ์การรับรองมาตรฐานบัณฑิต มาตรฐานการผลิตและมาตรฐานหลักสูตร
ของคุรุสภา ซ่ึงเป็นหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา โดยนักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนวิชาการฝึกปฏิบัติ
วชิ าชีพในภาคการศึกษาสุดท้ายก่อนสาเร็จการศึกษา คือ ลงทะเบียนเรียนควบคู่กับวิชาวิทยานิพนธ์
หรือสารนิพนธ์ ขั้นตอนและสาระการฝึกปฏิบัติวิชาชีพการบริหารการศึกษารูปแบบท่ี 3 มีดังน้ี
(มหาวิทยาลัยธุรกจิ บัณฑิตย์.2557)
ขั้นที่ 1 การจัดทาแผนการฝึกปฏิบัติ เมื่อนักศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชาการฝึกปฏิบัติ
วิชาชีพ ตามตารางเรียนประจาภาค นักศึกษาทุกคนต้องเข้ารับการปฐมนิเทศและจัดทาแผนการฝึก
ปฏิบัตวิ ิชาชพี ตามทม่ี หาวิทยาลยั กาหนด
นกั ศกึ ษาเป็นผู้เสนอชือ่ และคุณสมบตั ิของสถานศึกษาและสานักงานทางการศึกษาท่ีต้องการ
เข้าไปทาการฝึกต่อคณะกรรมการ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ท่ีหลักสูตรกาหนด และสถานศึกษาท่ีจะ
เขา้ ไปทาการฝึกปฏิบัติ ต้องมิใช่สถานศึกษาท่ีนักศึกษาปฏิบัติงานอยู่ ส่วนสานักงานทางการศึกษาที่
เข้าไปทาการฝกึ ปฏิบตั ิตอ้ งเปน็ สานกั งานทเี่ ปน็ ตน้ สังกดั ของสถานศึกษาที่นักศกึ ษาจะเข้าไปรับการฝึก
ปฏิบตั ิ แผนกจิ กรรมการฝึกปฏิบตั ิ จะแสดงภาพรวม มีแสดงตารางการฝึกปฏิบัติในสถานศึกษา 8 วัน
(หรือ 48 ชั่วโมง) ในสานักงานทางการศึกษา 8 วัน (หรือ 48 ช่ัวโมง) แสดงรายละเอียดของสาระ
ประเด็นการฝึก ขน้ั ตอนการฝึก ชอ่ื ผคู้ วบคมุ การฝึกหรือผูบ้ รหิ ารพ่เี ล้ยี ง การกากับติดตามการฝึก การ
นิเทศและการประเมนิ ผลการฝึกเปน็ รายกิจกรรม
ปีท่ี 4 ฉบบั ที่ 7 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2561) 58
นอกจากนี้ นักศกึ ษาต้องทาความเข้าใจแนวทางและวิธีการจัดทารายงานผลการฝึกปฏิบัติ 2
ส่วน คือ ส่วนที่เป็นรายงานการฝึกปฏิบัติในสถานศึกษาและส่วนท่ีเป็นรายงานการฝึกปฏิบัติใน
สานกั งานทางการศึกษา
ส่วนสุดท้ายของแผนกิจกรร มจะมีใบลงเวลาการฝึกปฏิบัติกิจกรรมในสถานศึกษาและใน
สานักงานทางการศึกษา แสดงวัน เวลาฝึก หัวข้อการฝึก การลงลายมือช่ือผู้บริหารพี่เล้ียง ชื่อ
นกั ศึกษาและอาจารยน์ เิ ทศเม่อื มีการออกนเิ ทศการฝกึ ปฏบิ ัตขิ องนักศกึ ษา
ขั้นท่ี 2 การออกฝึกปฏิบัติวิชาชีพ เม่ือนักศึกษาทาความเข้าใจในรายละเอียดของแนว
ทางการฝึกประสบการณ์ภาคสนามตามแบบ มคอ.4 เกีย่ วกบั กาหนดการ สถานที่ และมีการเตรียมตัว
ร่วมกับอาจารย์ท่ีปรึกษา มหาวิทยาลัยจะมีการเตรียมการและประสานงานกับสถานศึกษาและ
หน่วยงานทางการศกึ ษาท่ีคณะกรรมการให้ความเห็นชอบ และทาความเข้าใจกับผู้บริหารพี่เล้ียงแล้ว
นักศึกษาจะต้องเข้าไปฝึกปฏิบัติวิชาชีพตามแผนกิจกรรมการฝึกของตนเอง โดยมีผู้บริหารพี่เลี้ยง
อาจารย์นเิ ทศ ร่วมกันกากับ ดูแลและใหค้ าปรกึ ษานักศึกษาตามแผนการฝกึ และการนิเทศ ท้ังน้ีผู้เรียน
จะมีการฝึกในสถานศึกษาอย่างนอ้ ย 45 ช่วั โมง และในสานักงานทางการศึกษาอย่างน้อย 45 ช่ัวโมง
ดังกลา่ วมาแลว้
สาระของการฝกึ ปฏิบัตวิ ิชาชีพการจัดการการศึกษาในสถานศึกษา มีจุดเน้น 6 เรื่อง คือ (1)
การบริหารนโยบายและแผนกลยุทธ์ของสถานศึกษา (2) การประกันคุณภาพการศึกษา (3) การ
บริหารหลกั สูตร การจดั การเรยี นรู้ การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ (4) การบริหารทรัพยากรมนุษย์
(5) การบริหารงบประมาณ การเงิน พสั ดุ และการบรหิ ารท่ัวไป และ (6) การบริหารงานวิจัยและการ
บริการทางวิชาการ สว่ นสาระการฝกึ ปฏบิ ตั ิวชิ าชีพในสานักงานทางการศึกษาเน้น 5 เร่ือง คือ (1) การ
บรหิ ารนโยบายและแผนกลยุทธ์ (2) การบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์ (3) การบริหารงบประมาณ การเงิน
และพัสดุ (4)การบริหารงานวิจัยและการบริการทางวิชาการ และ (5) การสนับสนุนการจัดหลักสูตร
และการจดั การเรยี นรู้ โดยสาระประเดน็ การฝกึ ของแตล่ ะสถาบันอาจมีจุดเน้นที่แตกต่างกันบ้าง ท้ังน้ี
ก็ขนึ้ อย่กู บั จุดเน้นของหลกั สตู รแต่ละสถาบนั
ข้ันตอนสุดท้ายของการฝึกปฏิบัติ ในขั้นตอนนี้คือ นักศึกษาทุกคนจะต้องจัดทารายงานการ
ฝกึ ปฏิบตั ิวชิ าชีพและจดั เตรยี มการนาเสนอผลการฝกึ ปฏิบัตติ ่อท่ีประชมุ
ขั้นที่ 3 การนาเสนอผลการฝึกปฏิบัติวิชาชีพและอภิปราย เป็นข้ันตอนท่ีนักศึกษาทุกคน
จะตอ้ งนาผลงานการฝึกปฏิบัติวิชาชีพ ตามประสบการณ์ของแต่ละคนมานาเสนอต่อท่ีประชุม โดยมี
คณะกรรมการ อาจารย์ท่ีปรึกษา อาจารย์ผู้นิเทศ ผู้บริหารพ่ีเลี้ยงและเพ่ือนนักศึกษาร่วมซักถาม
แสดงความคดิ เห็น อภิปรายและให้ข้อเสนอแนะ ในข้ันตอนน้ีนักศึกษาจะได้รับประสบการณ์และได้
เรียนรู้เก่ียวกบั แนวปฏบิ ตั ิในการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษาอยา่ งกวา้ งขวางและหลากหลาย
การประเมินผลการฝึกปฏิบัติวิชาชีพรูปแบบน้ีจะใช้ทีมผู้ประเมิน ประกอบด้วย อาจารย์
ผู้รับผิดชอบรายวิชาหรอื าจารยท์ ี่ปรึกษา อาจารย์นิเทศและผู้บริหารพ่ีเลี้ยง องค์ประกอบท่ีประเมิน
ปีท่ี 4 ฉบบั ที่ 7 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) 59
ได้แก่ ความสมบูรณข์ องแผนกิจกรรมการฝึกปฏิบัติ ความสามารถและทักษะในการฝึก การนาเสนอ
การฝกึ ปฏบิ ัติ และรายงานผลการฝกึ ปฏิบัติ
กลา่ วโดยสรปุ ระบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพในปจั จุบันแบง่ เป็น 3 มาตรฐานวิชาชีพ คือ
การฝึกปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานวิชาชพี ครกู บั การฝึกปฏิบตั ิตามมาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและ
มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา ในปัจจุบันสถานบันการผลิตครู ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของ
คณะครศุ าสตร์หรือคณะศกึ ษาศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษา จะดาเนินกิจกรรมการฝึกประสบการณ์
วิชาชีพเพ่ือพัฒนาผู้เรียนในหลักสูตรให้เป็นไปตามมาตรฐานและเกณฑ์การรับรองของสภาวิชาชีพ
หรอื คุรสุ ภาเปน็ หลัก กลา่ วคือ ผูเ้ รียนทีเ่ รยี นสาเรจ็ จะไปประกอบวชิ าชพี ครู สถาบันผลิตจะกาหนดให้
มีการฝึกปฏิบัติระหว่างเรียนในชั้นเรียน และฝึกปฏิบัติในสถานศึกษา ตามเกณฑ์จานวนชั่วโมงต่อ
สัปดาหต์ อ่ ภาคการศกึ ษา ตามท่คี ุรสุ ภากาหนด และจัดให้มกี ิจกรรมเสรมิ ความเป็นครู ซ่ึงเป็นกิจกรรม
พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของความเป็นครูตามาตรฐานการผลิตของคุรุสภา ระบบการฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพระหว่างครูสายสามัญและสายอาชีพยังไม่ชัดเจนว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร
แตแ่ นวทางการปฏบิ ตั ทิ งั้ 2 สายจะมุ่งเนน้ ให้มคี วามสอดคลอ้ งกบั หลักเกณฑ์การรับรองมาตรฐานการ
ผลติ ของครุ สุ ภาในปัจจบุ นั เปน็ หลกั
สาหรับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษาในปัจจุบันมี
การปฏิบัติอยู่ 3 รูปแบบ คือ (1) รูปแบบการฝึกฝนและเรียนรู้ประสบการณ์จากผู้นาต้นแบบ (2)
รูปแบบการจัดประสบการณ์วิชาชีพท่ีใช้สถานการณ์จาลอง และ (3) รูปแบบการฝึกปฏิบัติวิชาชีพ
แบบการเรยี นรแู้ ละการศึกษาเพ่ือเสริมประสบการณ์การบริหารให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การรับรอง
ของคุรสุ ภา โดยพบวา่ รูปแบบที่ 1 มีการปฏิบัติในระดับดุษฎีบัณฑิต ส่วนรูปแบบที่ 2 มีการปฏิบัติใน
ระดับมหาบัณฑิตของมหาวิทยาลัยที่สอนระบบทางไกล ซึ่งการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 2 รูปแบบ
แรกอาจยงั ไม่สอดคล้องกบั เกณฑ์การรับรองมาตรฐานการผลติ ของครุ สุ ภาในปัจจบุ นั
2.หลักการสาคัญและเป้าหมายของการฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี จากการศึกษาพบดังนี้
2.1 หลักการและเป้าหมายของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูสายสามัญและสายอาชีพ
สามารถ
จาแนกประเดน็ ไดด้ ังนี้
1) วิชาชีพครูจัดเป็นวิชาชีพช้ันสูง (Professional) ผู้ท่ีจะทาหน้าท่ีครูจะต้องได้รับการ
ฝึกอบรมมาเป็นอย่างดี ท้ังน้ีเพราะถือว่า การฝึกปฏิบัติวิชาชีพ (Professional Practicum หรือ
Teaching Professional Practicum) หรอื การฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ศึกษาศาสตร์ (Professional
Experiences in Education) มีความสาคัญอย่างย่ิง เพื่อให้นักศึกษาครู ได้นาความรู้และ
ความสามารถเฉพาะตน ท่ีไดจ้ าการเรยี นในชัน้ เรยี น มาประยุกต์ใช้ในการฝึกปฏิบัติทักษะการสอนใน
รูปแบบตา่ ง ๆ และมโี อกาสเรยี นรูส้ ภาพความเป็นจรงิ ของการเรียนการสอนในสถานศกึ ษา
ปที ่ี 4 ฉบบั ท่ี 7 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2561) 60
2) การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู นอกจากจะเป็นการฝึกปฏิบัติภาคทฤษฎีในช้ันเรียน
และภาคปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ผู้เรียนจะต้องฝึกปฏิบัติงานของครูทั้งหมด
เสมือนครูประจาคนหนึ่งของสถานศึกษาน้ัน ๆ ด้วย เช่น จะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบของ
สถานศกึ ษาที่ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารสอน การเปน็ ครูประจาชน้ั ครูดแู ลนกั เรียนประจาวัน ครูกิจกรรมอื่นๆ อัน
จะสง่ ผลต่อการพฒั นาบคุ ลิกภาพท่ีเหมาะสมกับความเป็นครู มีเจตคติท่ีดีต่อวิชาชีพครู และตระหนัก
ต่อความเจรญิ ก้าวหน้าในวิชาชพี ครูในอนาคต
3) การฝึกประสบการณ์วิชาชพี ครู เปน็ การฝึกงานทางวิชาชีพครู หลังจากผ่านการศึกษา
เน้ือหาความรู้ภาคทฤษฎีในช้ันเรียนครบถ้วนแล้ว และผ่านการฝึกปฏิบัติระหว่างเรียนแล้ว จะต้อง
ออกฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาและทาการวิจัยในช้ันเรียน ในระดับชั้นท่ีรับผิดชอบใน
สถานศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้ทางานร่วมกับครูและบุคลากรอื่นในโรงเรียน ได้มีโอกาส
รว่ มกจิ กรรมตา่ งๆของโรงเรียนและพฒั นาตนเองในดา้ นต่างๆ
4) สถานศึกษาที่นักศึกษาหรือนิสิตเลือกเข้าไปรับการฝึกปฏิบัติการสอน จะต้องเป็น
สถานศึกษาท่ีมีคุณภาพ ทั้งกระบวนการจัดการเรียนการสอนและการบริหารสถานศึกษาที่เป็น
แบบอย่างท่ีดี ตามมาตรฐานของคุรุสภา และตามนโยบายของสานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
และไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร
5) ก่อนการออกฝึกปฏิบัติการสอน นักศึกษาหรือนิสิตจะต้องเข้าร่วมโครงการเตรียม
ความพร้อมและเข้ารับการปฐมนิเทศให้ครบถว้ น
6) ขอบขา่ ยของงานการฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพครูในสถานศึกษาประกอบด้วย (1) งาน
วิชาการ คอื งานด้านการจัดการเรยี นการสอนและงานดา้ นการจดั บรรยากาศในช้ันเรียนและโรงเรียน
(2) งานด้านปกครอง (3) งานธุรการ (4) งานกจิ กรรมต่าง ๆ และ (5) งานพฒั นาชมุ ชน
7) นักศึกษาหรือนิสิต(ระดับปริญญาตรี) จะต้องมีชั่วโมงการฝึกปฏิบัติวิชาชีพ 2 ภาค
การศกึ ษา ภาคการศกึ ษาละไมน่ ้อยกว่า 240 ชั่วโมง ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติการสอนอย่างน้อย 8 –
12 ชว่ั โมงตอ่ สัปดาห์ และไม่นอ้ ยกว่า 16 สัปดาห์ ติดต่อกัน ในรายวิชาท่ีตรงกับสาขาวิชาเอก และมี
เวลาปฏิบัตงิ านครแู ละเรยี นรงู้ านอ่ืน ๆ ในหน้าทีค่ รจู านวนท้ังสน้ิ ไม่นอ้ ยกว่าทีห่ ลักสตู รกาหนดต่อภาค
การศกึ ษา
8) การนิเทศนักศึกษาหรือนิสิตฝึกสอน ดาเนินงานร่วมกันระหว่างสถานศึกษาและ
มหาวทิ ยาลยั โดยสถานศึกษาท่ีเป็นหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ต้องมีครูพี่เล้ียงทาหน้าที่นิเทศ
อย่างใกล้ชิด เพื่อให้คาแนะนาช่วยเหลือ ติดตามผลและนิเทศผู้เรียนอย่างจริงจัง นอกจากนั้นครูพ่ี
เล้ียงหรืออาจารย์นิเทศประจาโรงเรียน มีหน้าท่ีประเมินพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ ประเมิน
คุณลักษณะความเป็นครูและพฤติกรรมทั่วไปประเมินทักษะการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ ร่วมกับ
อาจารย์นิเทศ (วชิ าเอก) ของมหาวทิ ยาลยั ด้วย
9) การวัดและประเมินผลการปฏิบัติการสอนให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และข้อคับของ
มหาวทิ ยาลัย
ปที ี่ 4 ฉบบั ที่ 7 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2561) 61
2.2) หลักการและเป้าหมายของการฝึกปฏิบัติการวิชาชีพผู้บิรหารสถานศึกษาและ
ผู้บรหิ ารการศกึ ษา สามารถจาแนกประเดน็ ได้ดังนี้
1) ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึ่งเป็นวิชาชีพชั้นสูง นอกจากจะมีผู้ประกอบข
วิชาชีพครูแล้ว กฎหมายยังกาหนดให้ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ประกอบวิชาชีพ
ผู้บริหารการศึกษาและผู้ประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ โดยผู้
ประกอบวิชาชพี ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาและผู้ประกอบวชิ าชพี ผู้บรหิ ารการศึกษา จะต้องมีประสบการณ์
การเป็นครูมาก่อน กล่าวคือ การขอมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริห าร
สถานศึกษาและผูบ้ ริหารการศกึ ษา ผูข้ อจะต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูมาประกอบในการขอ
ตามเง่อื นไขของสภาวิชาชีพดว้ ย ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาและผ้บู รหิ ารการศกึ ษาจึงเปน็ ทั้งครแู ละผู้บริหาร
การศึกษาไปพร้อมกนั
2) การฝกึ ปฏิบตั กิ ารวิชาชีพผบู้ ริหารการศึกษา เป็นการนาภาคทฤษฎีและการปฏิบัติใน
ช้ันเรียนไปประยุกต์ใช้ในสถานศึกษาและในสานักงานทางการศึกษา เป็นการฝึกปฏิบัติเพื่อเสริม
ประสบการณต์ รงหรือลกั ษณะจาลองสถานการณ์ เพ่อื เสริมและเติมเต็มเก่ียวกับการบริหารจัดการใน
ภารกิจขององค์กรทางการศึกษา เป็นการศึกษา วิเคราะห์ เรียนรู้บทบาทและพฤติกรรมผู้นาและ
ผู้บริหารการศึกษาต้นแบบที่โดดเด่น ทั้งทางด้านวิชาการและการบริหารจัดการ ได้ทางานร่วมกับ
ผบู้ ริหารและองค์กรทางการศึกษา มโี อกาสไดร้ ว่ มกจิ กรรมของหน่วยงานทางการศึกษาด้านตา่ งๆ เพ่ือ
สง่ เสริมให้เกดิ การพัฒนาตนเอง
3) การจัดกจิ กรรมการสัมมนาเพอื่ นาเสนอผลการฝกึ ปฏิบัติวิชาชีพในช้ันเรียน หลังการ
ฝึกในภาคสนาม มีวัตถุประสงค์และเปูาหมายเพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู้
ประสบการณ์ของนักศึกษาหรือนิสิตให้กว้างขวาง ร่วมกับอาจารย์นิเทศและอาจารย์ผู้รับผิดชอบ
รายวิชาหรืออาจารย์ที่ปรึกษา และกิจกรรมดังกล่าวหากมีการอภิปรายแลกเปล่ียนประสบการณ์
เก่ียวกับผลงานรว่ มกนั อย่างจรงิ จังระหว่างผเู้ รยี น ผูส้ อน ผู้บริหารพเ่ี ลีย้ งและอาจารย์นิเทศจะส่งเสริม
ผเู้ รยี นใหเ้ กดิ การเรียนรทู้ ีก่ ว้างขวาง
กลา่ วโดยสรปุ หลกั การและเปูาหมายของการฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพครูสายสามัญและสาย
อาชพี มีลักษณะคลา้ ยกัน แตก่ ารฝึกปฏบิ ตั วิ ิชาชีพครกู ับการฝกึ ปฏบิ ตั วิ ิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและ
ผู้บริหารการศึกษามีความแตกต่างกันในด้านหลักการ เปูาหมาย วัตถุประสงค์และวิธีการ อย่างไรก็
ตาม สภาวิชาชีพครูหรือคุรุสภา กาหนดให้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านการบริหารการศึกษา จะต้องผ่าน
การฝึกปฏิบัติการสอนมากอ่ น คือ ตอ้ งมีใบอนุญาตประกอบวิชาชพี ครูอยู่ก่อน ส่วนผู้ประกอบวิชาชีพ
ศึกษานิเทศก์นั้น จากการศึกษาเอกสารต่างๆ ยังไม่พบข้อมูลด้านการฝึกประสบการ์วิชาชีพ
ศึกษานิเทศก์ ซ่ึงวิชาชีพศึกษานิเทศก์เป็นอีกวิชาชีพที่เป็นวิชาชีพควบคุม และต้องมีใบอนุญาต
ประกอบวิชาชีพ
ปีท่ี 4 ฉบบั ที่ 7 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) 62
3. ปญั หา อปุ สรรค จุดแข็ง จดุ ออ่ นของการฝึกประสบการณ์วิชาชพี
3.1 ปัญหาและอุปสรรคของการฝึกประสบการณ์ จากการศึกษาพบว่า ในด้านแนวคิด
หลักการ และเปูาหมายของการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูและการฝึกปฏิบัติวิชาชีพบริหารการศึกษา มิได้
สะท้อนให้เห็นปัญหาและอุปสรรค โดยจะเห็นว่า การกาหนดหลักสูตรของคณะครุศาสตร์/
ศึกษาศาสตร์ของแต่ละสถาบัน ต่างเห็นความสาคัญและความจาเป็นที่ผู้เรียนในหลักสูตรทาง
การศึกษา จะต้องมีการฝึกประสบการณ์วิชาชีพหรือฝึกปฏิบัติการวิชาชีพให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่
สภาวิชาชีพ (คุรุสภา) และสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด กล่าวคือ ในขั้นตอนการ
นาเสนอข้อมูลเพ่ือขอรับรองมาตรฐานการผลิตจากคุรุสภา มักพบว่า มีหลายสถาบันมีการกาหนด
หลักเกณฑ์ แนวทางและวิธีการฝึกประสบการณ์วิชาชีพไว้สูงกว่าเกณฑ์การรับรองของคุรุสภา
โดยเฉพาะหลกั สูตรวิชาชีพครู แต่ปัญหาและอุปสรรคของการจัดการการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา และวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา มักพบปัญหาในขั้นการนาหลักสูตรไป
ปฏบิ ตั ิ หรอื จะเรียกวา่ ปญั หาการบริหารจดั การหลกั สตู รของแต่ละสถาบัน ดังนี้
1) ปญั หาความไม่รู้ไม่เข้าใจแนวปฏิบัติในการจัดฝึกประสบการณ์วิชาชีพท่ีชัดเจนของ
สถาบนั ผลิตครูและผู้บริหารการศึกษา อันเนื่องมาจากสาบันอุดมศึกษาท่ีเปิดหลักสูตรทางการศึกษา
ยังมปี ระสบการณ์ไม่พยี งพอ หรือทมี งานทร่ี ับผิดชอบหลกั สตู รทางการศึกษาขาดความรู้ความสามารถ
และประสบการณ์ในการบริหารและการจัดการการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ เม่อื คณะวิชามีการพัฒนา
หลักสูตรทางการศึกษาเสนอให้สภาสถาบันอนุมัติทาการเปิดสอน ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมิได้ให้
ความสาคัญต่อกระบวนพัฒนาหลักสูตร เช่น ข้ันตอนการวิพากษ์หลักสุตร ที่ต้องอาศัยผู้ทรงคุณวุฒิ
และผู้เชี่ยวชาญท่ีมีประสบการณ์สูงมาให้ข้อวิพากษ์วิจารณ์และเสนอแนะ เพื่อปรับปรุงแนวปฏิบัติ
ต่างๆ ของหลักสูตรอย่างจริงจัง ก่อนนาเสนอสภาสถาบันพิจารณาอนุมัติและเปิดสอน และเมื่อ
นาเสนอหลักสูตรให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบแล้ว เสนอคุรุสภาเพื่อให้การ
รับรองมาตรฐานการผลิต มักพบปัญหาและข้อบกพร่องเกี่ยวกับแนวทางและวิธีการจัดการการฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพ ว่าไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรวิชาชีพอยู่
เสมอ
2) สถาบันอดุ มศกึ ษาที่มีการเปิดสอนหลักสูตรสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ให้ความสนใจและให้ความสาคัญเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา และวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา ตามประกาศคุรุสภา เร่ืองการรับรอง
ปริญญาและประกาศนยี บัตรทางการศึกษาเพ่ือการประกอบอาชีพ พ.ศ. 2557 ไม่เพียงพอ กล่าวคือ
เมื่อคุรุสภาประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรฉบับนี้ในราชกิจจา
นุเบกษา เม่ือ 14 มีนาคม 2557 เร่ืองให้ปริญญาและประกาศนียบัตรหรือคุณวุฒิใดขอรับใบอนุญาต
ประกอบวิชาชีพได้ สถาบนั อุดมศกึ ษาหลายแหง่ ทยี่ งั มีการปรับปรุงหลักสูตรไม่แล้วเสร็จตามประกาศ
นี้ แตย่ งั สามารถใช้หลกั เกณฑก์ ารรบั รองตามประกาศคุรสุ ภา พ.ศ.2549 ได้ (ตอ้ งไม่เกนิ 3 ปี หลังจาก
วันประกาศฉบับ พ.ศ. 2557) โดยหลกั เกณฑก์ ารรบั รองตามประกาศคุรุสภา พ.ศ. 2549 มิได้กาหนด
ปีที่ 4 ฉบบั ท่ี 7 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) 63
รายละเอยี ดและเงอ่ื นไขการรับรองไว้ในมาตรฐานการผลิตที่ชัดเจนเหมือนกระกาศของคุรุสภา พ.ศ.
2557 ย่งิ ไปกว่านนั้ เกณฑ์การรับรองมาตรฐานการผลิตสาหรบั หลกั สตู รบริหารการศึกษาในประกาศ
ของคุรุสภา พ.ศ. 2549 ไม่มีหลักเกณฑ์การรับรองเกี่ยวกับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หรือการฝึก
ปฏิบัติการวิชาชีพแต่อย่างใดเลย ดังนั้นเม่ือมีการประกาศใช้เกณฑ์การรับรองปริญญาและ
ประกาศนียบัตรของคุรุสภา พ.ศ.2557 จึงถือเป็นเรื่องใหม่ โดยเฉพาะสถาบันอุดมศึกษาท่ีเปิดสอน
หลักสตู รบริหารการศกึ ษา เพราะไม่เคยทามากอ่ น (ยกเว้นบางมหาวทิ ยาลยั ทเ่ี คยจัดฝึกประสบการณ์
วิชาชีพบริหารการศึกษามาก่อนการมี กฎหมายการจัดต้ังสภาวิชาชีพหรือ คุรุสภา เช่น
มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช แตส่ าหรบั สถาบันอุดมศกึ ษาทจ่ี ดั หลักสตู รบริหารการศึกษาส่วนใหญ่
หรือเกอื บท้ังหมดถือเปน็ เรอ่ื งใหม่) สว่ นสถาบนั ที่เคยเปิดสอนหลักสูตรวิชาชีพครูมาก่อน ก็จะต้องทา
รายละเอยี ดเก่ียวกบั กระบวนการฝึกปฏิบตั ิการสอนในสถานศกึ ษาให้รอบคอบและรัดกุมย่ิงข้ึนกว่าแต่
ก่อน ดงั น้ันในกระบวนการจัดทาหลักสูตรและการบริหารหลักสูตรของสถาบัน หากคคณะกรรมการ
พฒั นาหลกั สตู รขาดความเอาใจใสแ่ ละไม่เหน็ ความสาคัญ ก็จะนาไปสู่ปัญหาการรับรองมาตรฐานการ
ผลิตและคุณภาพของผลผลิตได้
3) สภาวิชาชีพคือ คุรุสภา มิได้ทาการจัดประชุมสัมมนาหรือประชาสัมพันธ์ หรือ
เผยแพรข่ ้อมลู ข่าวสารเก่ียวกับหลักเกณฑ์ วธิ ีการและเงื่อนไขการรบั รองปริญญาและประกาศนียบัตร
อยา่ งกว้างขวาง โดยเฉพาะการทาความเข้าใจแนวทางและวิธกี ารการจัดประสบการณ์วิชาชีพ ร่วมกับ
สถาบันท่ีเปิดสอนหลักสูตรทางการศึกษาอย่างจริงจัง ทั้งน้ีอาจจะสืบเน่ืองมาจากการขาดแคลน
ทรพั ยากรหรือปัญหาอนื่ ๆ มผี ลใหบ้ างสถาบันอา้ งความไม่รู้และไมเ่ ข้าใจแนวปฏิบัติมาเป็นเหตุผลของ
การปฏิบตั ทิ ี่ไมถ่ กู ตอ้ ง
4) ปัญหาเก่ียวกับการไม่ให้ความร่วมมือกับสภาวิชาชีพในการจัดประสบการณ์การ
เรียนการสอนและการฝึกประสบการณ์วิชาชีพให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ท่ีสภาวิชาชีพหรือคุรุสภา
กาหนด ทงั้ ๆทรี่ วู้ ่าสิ่งทีก่ ระทาเปน็ สิง่ ทไี่ มค่ วร เชน่ มีการกาหนดแนวปฏิบัติในการฝึกประสบการณ์ไว้
ชดั เจน แตม่ ไิ ดน้ าไปปฏบิ ตั ิจริงตามท่รี ะบุไว้ เปน็ ตน้ ทง้ั นอี้ าจจะสบื เนอื่ งจากเหตุผลและความจาเป็น
ของสถาบนั เอง
5) ปัญหาวิธีการฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่นิสิตหรือนักศึกษามิได้ลงมือปฏิบัติจริงใน
สถานศกึ ษาและในสานกั งานทางการศึกษา โดยเฉพาะการฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารการศึกษา
เพราะสถานศกึ ษาและหนว่ ยงานทางการศึกษา มีขอ้ จากดั ในการเปิดโอกาสให้นิสิตหรือนักศึกษา เข้า
ร่วมบริหารงานนโยบายและแผนของสถานศึกษา ร่วมบริหารงานวิชาการ งานการเงิน งานบุคคล
และ งานอื่นๆ เพียงแต่ให้โอกาสเข้าไปศึกษา สัมภาษณ์ สังเกตการณ์ หรือสอบถามผู้ปฏิบัติ และรับ
ฟังการบรรยายหรือคาอธิบายจากหัวหน้างานหรือผู้ปฏิบัติงานในประเด็นที่กาหนดให้มีการฝึก
ผู้รับผิดชอบงานอาจกาหนดให้มีการศึกษาเอกสาร ศึกษาข้อมูลและหลักฐานการปฏิบัติตามภารกิจ
ขององค์การทางการศึกษา ผู้ฝึกมีการจดบันทึกผลการศึกษา จัดทาเป็นรางานประสบการณ์ เป็น
บทเรียนและการประยุกตใ์ ช้ เพือ่ นาเสนอในการสัมมนาร่วมกัน หลังการฝึกปฏิบัติครบตามประเด็นที่
ปีที่ 4 ฉบบั ที่ 7 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) 64
กาหนดไว้ในแผนกจิ กรรมการฝึก โดยมีผู้บริหารพี่เล้ียง และอาจารย์นิเทศ ร่วมกันกากับติดตามและ
ประเมินผล อย่างไรก็ตาม ปัญหาการไม่ได้ลงมือฝึกปฏิบัติจริงดังกล่าว หากสถาบันการผลิตครูและ
ผูบ้ ริหารการศกึ ษา มีการปฏบิ ัตทิ ี่หละหลวม อาจทาให้กระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ เป็นเพียง
การไปเยย่ี มชมงานของสถานศึกษาและสานักงานทางการศกึ ษาเท่านนั้ กเ็ ปน็ ได้
กล่าวโดยสรุป ปัญหาและอุปสรรคของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางการศึกษา มิได้
เป็นปัญหาในด้านแนวคิด หลักการ วัตถุประสงค์หรือเปูาหมายของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ แต่
ปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากกระบวนการบริหารและการจัดการหลักสูตรโดยเฉพาะการทาความเข้าใจให้
ตรงกนั ของทกุ ฝาุ ยที่เกี่ยวข้อง ส่วนปัญหาการฝึกประสบการณว์ ิชาชีพหลักสูตรบริหารการศึกษา ยังมี
ข้อจากัดที่นิสิตหรือนักศึกษามิได้ลงมือปฏิบัติจริง หากสถาบันผลิตไม่มีมาตรการที่เข้มงวดจริงจัง
กจิ กรรมการฝกึ อาจเป็นเพียงการเขา้ ไปเยย่ี มชมงาน
3.2 จุดแข็งและจดุ อ่อนของการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพทางการศึกษา สามารถจาแนกได้ดงั น้ี
ก. จดุ แขง็ ของการฝึกปฏิบัตวิ ชิ าชพี ในการฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครสู ายสามัญและสาย
อาชพี มจี ดุ แขง็ พอสรุปได้ดังน้ี
1) การมีมาตรฐานและเกณฑ์การรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษาไว้
เปน็ แนวทางในการปฏิบัติของสถาบันอุดมศึกษา สามารถนาไปใช้เป็นกรอบในการพัฒนาและจัดทา
หลักสูตรให้ได้มาตรฐาน ท้ังด้านมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ โดยเฉพาะมาตรฐาน
วิชาชีพครู ท่ีกาหนดให้มีการฝึกปฏิบัติระหว่างเรียนและการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาใน
สาขาวชิ าเฉพาะ และมกี ารอธบิ ายรายละเอียดของเกณฑ์การรับรองไว้ชัดเจน เช่นเดียวกับมาตรฐาน
ปฏบิ ตั ิการวชิ าชพี บริหารการศกึ ษา ก็มกี ารอธบิ ายเกณฑก์ ารรับรองไว้ชัดเจน ซึ่งมาตรฐานและเกณฑ์
ที่คุรุสภากาหนด ได้รับการยอมรับจากสถาบันที่จัดหลักสูตรการศึกษา จะสังเกตเห็นว่ามีบาง
สถาบนั อดุ มศกึ ษากาหนดเกณฑก์ ารฝกึ ปฏบิ ัตวิ ิชาชีพครไู ว้สงู กวา่ เกณฑ์ขน้ั ต่าท่คี ุรุสภากาหนดมาก
2) มีการกากบั ติดตามมาตรฐานการผลิตครู การกากับติดตามกระบวนการผลิตเพื่อให้
เป็นไปตามมาตรฐานและเกณฑ์การผลิตครู โดยมีการเชิญสถาบันอุดมศึกษาท่ีจัดหลักสูตรทางการ
ศึกษามาชี้แจงและทาความเข้าใจร่วมกับคุรุสภาก่อนการรับสัมครผู้เรียน และมีการออกตรวจเย่ียม
สถาบันการศึกษาทด่ี าเนินการจัดหลกั สูตรระหวา่ งเรียน สามารถช่วยใหท้ ง้ั 2 ฝาุ ยได้เรียนรู้ปัญหาและ
แสวงหาแนวทางแกไ้ ขปัญหาตา่ งๆร่วมกัน ทงั้ น้ีเพื่อให้นกั ศกึ ษาหรอื นสิ ิตท่ีต้องการประกอบวิชาชีพครู
ไดร้ บั ความรู้ สมรรถนะและประสบการณว์ ชิ าชีพครบถว้ นตามมาตรฐาน และสถาบันได้รับการรับรอง
คุณภาพการผลติครตู ามเกณฑก์ ารรบั รองท่ีถกู ตอ้ ง
3) การคดั เลอื กสถานศึกษาตน้ แบบ ผู้บริหารต้นแบบ สานักงานทางการศึกษาต้นแบบ
ที่มีความโดดเด่นทงั้ ทางการบรหิ ารและวชิ าการ รวมท้ังการคัดเลือกครูพี่เล้ียงและผู้บริหารพี่เล้ียงท่ีมี
คุณภาพ ในกระบวนการฝึกปฏิบตั ิวชิ าชีพทางการศึกษา ทเ่ี ป็นไปตามมาตรฐานและเกณฑ์การรับรอง
มาตรฐานการผลิต ของครุ สุ ภา ช่วยให้การจัดการปฏิบตั กิ ารสอนและการปฏิบัติการบริหารการศึกษา
เปน็ ไปตามมาตรฐาน
ปที ่ี 4 ฉบบั ท่ี 7 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2561) 65
4) การจดั กจิ กรรมสมั มนาเพอื่ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณก์ ารฝึกปฏิบัติวิชาชีพ
รว่ มกนั ของนักศึกษาหรอื นสิ ิต โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ผู้สอน อาจารย์นิเทศก์ และครูพ่ีเลี้ยง
หรือผบู้ รหิ ารพีเ่ ลยี้ งร่วมอภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ จัดวา่ เปน็ จุดแขง็ สาคัญอกี ประการหน่ึง เน่ืองจาก
กิจกรรมการสัมมนาดังกล่าวเป็นโอกาสสาคัญท่ีทุกฝุายจะได้รับรู้บทเรียนและประสบการณ์ท่ี
หลากหลาย สามารถสะท้อนให้เห็นองคค์ วามรู้หรือแนวปฏิบัติท่ีดี ทุกฝุายอาจได้บทเรียนท้ังในส่วนที่
เป็นเนื้อหาสาระและวิธีการของการฝึกปฏิบัติร่วมกัน ผู้เรียนได้เรียนรู้ประสบการณ์ ปัญหาและ
แนวทางในการแกไ้ ขปญั หาในกระบวนการฝกึ ปฏบิ ัติร่วมกัน และสามารถนาประสบการณ์ต่างๆไปใช้
ในการพฒั นาตนเองและพฒั นางานการเรยี นการสอนและการบรหิ ารการศึกษาในอนาคต
ข. จุดออ่ นของการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ในกระบวนการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ทาง
การศึกษามีจุดอ่อนพอสรปุ ได้ดังนี้
1) การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาไม่สอดคล้องกับการนาไปใช้จริงในอนาคต
กลา่ วคอื การฝกึ ปฏิบัติการสนอในสถานศึกษาของนักศึกษาหรือนิสิตระดับปริญญาตรี จะต้องทาการ
สอนในสาขาวิชาเฉพาะ หรือตามวิชาเอก หรือตามกลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ งใน 8 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ ท่ีมีการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาที่ฝึกสอน ตามหลักเกณฑ์และมาตรฐาน
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพของคุรุสภา แต่เม่ือผู้เรียนสาเร็จการศึกษาไปแล้ว และได้รับการบรรจุ
แตง่ ตั้งใหป้ ฏิบัตหิ นา้ ทีค่ รใู นโรงเรยี นประถมศกึ ษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
ซึ่งส่วนใหญ่เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ก็มักจะไม่ได้รับมอบหมายการสอนตามวิชาเฉพาะ หรือตาม
วชิ าเอก หรอื กลมุ่ สาระการเรียนร้ทู เี่ คยฝึกปฏบิ ตั ิการสอน แต่จะตอ้ งสอนทุกกล่มุ สาระ เพราะอาจจะ
ได้รบั มอบหมายใหท้ าหนา้ ที่เป็นครปู ระจาชั้นระดับใดระดบั หนึ่งด้วย หรอื จะกล่าวอีกนับหนึ่ง การฝึก
ปฏิบัตกิ ารสอนตามวชิ าเอกในโรงเรยี นมธั ยมศึกษาหรอื ประถมศกึ ษาท่ีมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ของ
ครุ ุสภาทนี่ กั ศกึ ษาหรือนสิ ติ เลอื ก เม่ือเรียนสาเร็จและได้รับการบรรจุและแต่งต้ังให้เป็นครูในโรงเรียน
ประถมศึกษาขนาดเล็กที่มีครูสอนไม่ครบช้ัน หรือไม่ครบตามกลุ่มสาระ ทาให้ประสบการณ์การฝึก
ปฏิบัติการสอนไม่สอดคล้องกับงานท่ีต้องปฏิบัติจริง เช่น เคยฝึกสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชา
วทิ ยาศาสตร์ หรอื ในรายวิชาฟิสิกส์ เมือ่ สอบบรรจุไดต้ ้องสอนนกั เรยี นทุกกลุม่ สาระ เป็นต้น
2) การไม่ได้ทาการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาท่ีเป็นไปตามเกณฑ์การรับรอง
มาตรฐานการผลิตของคุรุสภา กรณีผู้เรียนในระดับปริญญาโทและประกาศนียบัตรบัณฑิต ปัจจุบัน
ผู้เรยี นระดบั น้เี ป็นผ้ทู ที่ างานเตม็ เวลาในวันราชการ (จันทร์-ศกุ ร์) จะใช้เวลาบางส่วน (part time) เข้า
เรียนภาคทฤษฎีในชนั้ เรยี น ในวันเสาร์-อาทิตย์ หรือ นอกเวลาทางาน เม่ือถึงเวลาเรียนรายวิชาการ
ฝึกปฏิบัตกิ ารสอน หลังการเรยี นภาคทฤษฎใี นช้ันเรียนครบถ้วนแล้ว ผู้เรียนไม่สามารถเลือกโรงเรียน
หรือสถานศกึ ษาทจ่ี ะทาการฝึกปฏบิ ตั กิ ารสอนใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานและเกณฑข์ องคุรุสภาได้ เพราะ
ผู้เรียนไม่สามารถทิ้งงานประจาที่ทาอยู่ เพื่อไปฝึกปฏิบัติการสอนในโรงเรียนอ่ืน(ท่ีเป็นไปตาม
มาตรฐาน)ได้ ตามเกณฑ์จานวนชัว่ โมงต่อสัปดาห์ หรือตอ่ ภาคการศึกษาที่ครุ สุ ภากาหนด ทาให้ผู้เรียน
ปที ่ี 4 ฉบับที่ 7 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2561) 66
ในหลกั สตู รดงั กลา่ วต้องทาการฝึกปฏิบัติวิชาชีพที่โรงเรียนเดิมที่สอนอยู่ หากโรงเรียนที่สอนประจา
เปน็ สถานศกึ ษาที่มคี ณุ สมบัตติ ามเกณฑก์ ารรับรองของคุรสุ ภา ก็จะมิใช่ปญั หาหรือจุดอ่อนของการฝึก
ปฏิบตั กิ ารสอน แตส่ ภาพปจั จบุ ัน ผู้เรียนระดบั ปรญิ ญาโทและประกาศนียบัตรบัณฑิต จานวนไม่น้อย
ที่ได้รับการอนุโลมให้ฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาท่ีทาการสอนอยู่ประจา ซ่ึงอาจไม่เป็นไปตาม
มาตรฐานและเกณฑ์การรับรองของครุ ุสภา
3) การฝึกประสบการ์วิชาชีพครูสายอาชีพ ยังไม่มีแนวปฏิบัติให้ผู้ท่ีจะเป็นครูอาชีวะ
ศึกษามีประสบการณ์การฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ โดยมาตรฐานและเกณฑ์การรับรอง
มาตรฐานการผลิตของคุรุสภา มิได้กาหนดแนวปฏิบัติเป็นการเฉพาะสาหรับครูสายอาชีพ ซึ่งครู
อาชวี ศกึ ษาจาเป็นต้องมขี ีดความสามารถทางวชิ าชีพ ใหม้ ปี ระสบการณ์วชิ าชพี จากสถานประกอบการ
เพื่อให้ได้รับการพัฒนาประสบการณ์วิชาชีพและปฏิบัติตนตามระเบียบ ข้อบังคับ วัฒนธรรมองค์กร
และเงอ่ื นไขการสรา้ งประสบกาณ์ของสถานประกอบการ สาหรับผู้ที่จะประกอบวิชาชีพครูสายอาชีพ
ในอนาคต
4) ผู้รบั ผดิ ชอบการจดั หลักสูตรและการจัดประสบการณ์วิชาชีพทางการศึกษา ไม่ค่อย
เหน็ ความสาคญั ของการเลอื กสถานศึกษา หรือองคก์ รทางการศึกษา หรอื ผนู้ าทางการศึกษาที่โดดเด่น
เป็นแบบอย่างท่ีดี เพ่ือให้ผู้เรียนเข้ารับการฝึกปฏิบัติวิชาชีพบริหารการศึกษา ตามแนวคิดและ
หลักการฝึกปฏิบัติวิชาชีพ สืบเน่ืองมาจากผู้เรียนในหลักสูตร (ระดับปริญญาเอก ปริญญาโทและ
ประกาศนยี บัตรบัณฑิต) ในปจั จบุ ันเปน็ ผูท้ ี่ทางานประจาเตม็ เวลาในวันราชการ (จันทร์-ศุกร์) ซึ่งส่วน
ใหญห่ รอื เกอื บทงั้ หมดจะมาเรียนในวันเสาร์-อาทิตย์ หรือ หลังเวลาทางานประจาในวันราชการ เม่ือ
ถงึ คราวทจี่ ะตอ้ งฝกึ ปฏบิ ัติการวิชาชพี ผบู้ ริหารสถานศึกษาและวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา ที่สมควรจะ
ได้รับมอบหมายให้ฝึกปฏิบัติในโรงเรียนที่มีการบริหารจัดการที่โดดเด่น แต่มักจะมีการอนุโลมให้ฝึก
ปฏิบัติการบริหารสถานศึกษาในโรงเรียนท่ีผู้เรียนปฏิบัติงานประจาอยู่ (อาจเป็นสถานศึกษาที่ไม่ได้
มาตรฐานด้วย) และอาจไม่ให้ความสาคัญกับการเลือกครูพ่ีเลี้ยงหรือผู้บริหารพ่ีเล้ียง ให้มีคุณสมบัติ
ตามเกณฑ์ทกี่ าหนด ซึ่งเป็นผลใหก้ ารปฏิบัตไิ มส่ อดคลอ้ งกับแนวคดิ หลักการและเจตนารมณ์ของการ
ฝึกปฏบิ ตั ิวชิ าชีพบรหิ ารการศึกษา
กลา่ วโดยสรปุ การฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพทางการศึกษา มีทั้งจุดแข็งและจุดอ่อน โดย
จุดแขง็ จะเกี่ยวขอ้ งกบั มาตรฐาน เกณฑ์และการบรหิ ารจดั การการฝึกปฏิบัติของผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ที่มีการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คุรุสภากาหนด ส่วนจุดอ่อนซึ่งส่วนใหญ่ก็เก่ียวข้องกับการ
บริหารจัดการเช่นกัน สาหรับจุดอ่อนเก่ียวกับหลักเกณฑ์การรับรองปริญญาจะพบในการฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพครูอาชีวศึกษาว่า ผู้ประกอบวิชาชีพครูอาชีวศึกษานั้นมีความจาเป็นต้องได้รับ
การฝึกปฏิบัตวิ ชิ าชีพในสถานประกอบการด้วย ส่วนจุดอ่อนของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพผู้บริหาร
สถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษาอยู่ที่มาตรฐานของแหล่งฝึกและคุณภาพและความสามารถของ
ปที ี่ 4 ฉบับท่ี 7 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2561) 67
ผู้บริหารพเ่ี ล้ยี ง ในกรณีทผี่ ูร้ บั ผดิ ชอบหลักสูตรไม่เห็นความสาคัญของเรื่องน้ี อันมีข้อจากัดจากความ
ไมส่ ะดวกของผเู้ รียนในหลกั สตู ร
4. ระบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครทู ่ีจะช่วยส่งเสริมการผลิตครูให้มีคุณภาพ
จากการศึกษาและวิเคราะห์ในหัวข้อศึกษา 3 หัวข้อที่ผ่านมา สามารถประมวลข้อมูลระบบการ
ฝกึ ปฏบิ ตั ิวิชาชีพท่จี ะชว่ ยสง่ เสริมการผลติ ครใู หม้ ีคุณภาพดงั น้ี
1. สถาบนั อุดมศกึ ษาท่เี ปิดสอนหลักสูตรการศึกษาสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ควร
บริหารจัดการหลกั สตู รใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานและเกณฑก์ ารผลิตบณั ฑติ ของสานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา และมาตรฐานและเกณฑ์การรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรของคุรุสภา เช่น มี
การรับผู้เรียนท่ีมีคุณสมบัติและมีจานวนตามท่ีกาหนดไว้ในแผนการศึกษาในหลักสูตร มีการใช้
อาจารย์ผสู้ อน อาจารยผ์ ้รู ับผิดชอบหลักสูตรตามจานวนและสัดส่วนต่อผู้เรียนตามเกณฑ์ ใช้อาจารย์
ผสู้ อนและการควบคมุ งานวิจัยที่มีคุณภาพสูงและมวี ฒุ ติ รงตามสาขาวิชาทเี่ ปิดสอน มีอาจารย์นิเทศที่มี
คุณสมบัติ มีประสบการณ์และมีสัดส่วนตามที่คุรุสภากาหนด เลือกใช้ครูหรือผู้บริหารพี่เลี้ยงท่ีมี
คุณสมบัติ มีความรูแ้ ละมปี ระสบการณ์สงู มาเปน็ พเี่ ลยี้ งแกน่ กั ศึกษาหรอื นิสิตระหว่างฝึกปฏิบัติวิชาชีพ
ผเู้ รียนเพอื่ ไปประกอบวิชาชีพครูจะต้องมีการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน และเรียนภาคทฤษฎีใน
ชั้นเรยี นใหค้ รบถว้ นกอ่ นการฝกึ ปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา ผู้เรียนเพ่ือไปประกอบวิชาชีพผู้บริหาร
สถานศึกษา และผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารการศึกษาควรได้รับการฝึกปฏิบัติวิชาชีพรูปแบบใด
รูปแบบหนึ่งจาก 3 รูปแบบท่ีกล่าวมาแล้วอย่างเป็นระบบ โดยต้องผ่านการเรียนภาคทฤษฎีและ
ภาคปฏิบัตใิ นชัน้ เรียนให้ครบถว้ นทุกรายวชิ ากอ่ นเข้ารับการฝึกปฏิบัติในสถานศึกษา หรือองค์กรทาง
การศึกษา และต้องมีการคัดเลือกผู้นาต้นแบบ หรือสถานศึกษาต้นแบบ หรือองค์กรทางการศึกษา
ต้นแบบที่มีคุณลักษณะโดดเด่น มีการใช้ระบบครูพ่ีเล้ียงหรือผู้บริหารพ่ีเลี้ยงให้มีประสิทธิภาพและ
ประสทิ ธผิ ล ท้งั ด้านการให้คาปรึกษา แนะนา กากับติดตาม และระบบการวัดผลและประเมินผลทุก
ขั้นตอนตลอดเส้นทางของกระบวนการฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ และควรมีการจัดกิจกรรมการสัมมนา
แลกเปลย่ี นประสบการณ์หลงั การฝกึ ปฏิบัตอิ ย่างเปน็ ระบบ
2. การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา นอกจากสถานศึกษาท่ีเลือกฝึกปฏิบัติจะต้องมีความ
โดดเดน่ ทางด้านการบรหิ ารและทางดา้ นวชิ าการ การฝกึ ปฏิบตั กิ ารสอนในวชิ าเอกหรือวิชาเฉพาะตาม
เกณฑ์การรับรองปริญญาของครุ สุ ภา โดยความรว่ มมือระหว่างสถาบันผลิตครแู ละสถานศึกษาแล้ว ยัง
มคี วามจาเป็นที่หน่วยงานผูผ้ ลิตครู (คณะครุสาสตร์/ศึกษาศาสตร์) ของสถาบันอุดมศึกษากับองค์กร
ของรัฐและเอกชนผู้ใช้ครู ซึ่งเป็นต้นสังกัด (เช่น สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เป็นต้น)
ตอ้ งรว่ มมอื กนั วางแผนการผลติ และการใช้ครูให้สอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เช่น ท้ังสอง
ฝุายควรร่วมกันพิจารณาว่า การผลิตครูที่สามารถสอนได้ทุกวิชา (เช่น หลักสูตรครูประถมศึกษา)
เพื่อใหส้ ามารถจดั การเรียนการสอนในโรงเรยี นประถมศึกษาขนาดเล็ก สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการ
ปีที่ 4 ฉบับที่ 7 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) 68
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ) ซึ่งมีจานวนโรงเรียนดังกล่าวอยู่มากกว่าครึ่งหนึ่งของโรงเรียนในสังกัด
สพฐ. ทั้งหมด (อาจรวมโรงเรียนประถมศึกษาเอกชนขนาดเล็กด้วย)ยังมีความจาเป็นอยู่หรือไม่
อย่างไร ท้ังน้ีเพื่อให้แผนการผลิและการใช้ครู ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษามีความ
สอดคล้องกนั และไม่เกดิ ปัญหาความสูญเปลา่
3. การฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูสายอาชีพ ผู้ประกอบวิชาชีพครูสายอาชีพ ควรได้รับการฝึกปฏิบัติ
วิชาชีพในสถานประกอบการ โดยจัดให้สถานประกอบการเป็นหน่วยฝึกที่มีบุคลากรของสถาน
ประกอบการที่มีความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์และมีคุณสมบัติท่ีเหมาะสมทาหน้าที่ครูพี่เลี้ยง
เพ่ือให้คาปรึกษาแนะนา นิเทศการสอน ร่วมกับอาจารย์นิเทศจากสถาบันอุดมศึ กษาท่ีรับผิดชอบ
หลกั สตู ร และให้มีการประเมินผลการฝึกปฏิบัติวิชาชีพร่วมกับอาจารย์ผู้นิเทศจากสถาบันอุดมศึกษา
โดยแนวทางการกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการดังกล่าว คุรุสภาและสานักงานคณะกรรมการ
อาชีวศึกษาควรมกี ารพจิ ารณารว่ มกนั
4. การฝึกปฏิบัติการบริหารสถานศึกษาและการฝึกปฏิบัติการบริหารการศึกษา ท่ีมีการ
ดาเนินการอยูใ่ นปัจจบุ นั มี 3 รปู แบบ คือ รปู แบบท่ี 1 เป็นรูปแบบการฝึกฝนและเรียนรู้ประสบการณ์
จากผู้นาต้นแบบ รูปแบบท่ี 2 เป็นรูปแบบการจัดประสบการณ์วิชาชีพจากการใช้กิจกรรม
สถานการณ์จาลอง และรูปแบบที่ 3 เป็นรูปแบบการศึกษาเรียนรู้เสริมประสบการณ์การบริหาร
สถานศกึ ษาและการบรกิ ารการศึกษา รูปแบบการฝึกปฏิบัติวิชาชีพการบริหารการศึกษารูปแบบท่ี 1
และ 2 หากมีการนาไปปฏิบัติอย่างเหมาะสม อาจช่วยส่งเสริมการจัดหลักสูตรสาหรับผลิตผู้บริหาร
การศึกษาให้มีคุณภาพ ตัวอย่างเช่น รูปแบบที่ 1 อาจเหมาะสมกับผู้เรียน ในระดับปริญญาเอก
รูปแบบที่ 2 อาจเหมาะหรับผู้เรียนในระดับปริญญาตรี หรือประกาศนียบัตรบัณฑิตหรือแม้แต่ระดับ
ปริญญาโท โดยรูปแบบที่ 1 นักศึกษาหรือนิสิตต้องฝึกกับผู้นาต้นแบบ หรือองค์กรทางการศึกษา
ต้นแบบอยา่ งใดอย่างหน่ึง ในขณะท่ีรูปแบบท่ี 2 เป็นการฝกึ ปฏบิ ัติในลักษณะสถานการณ์จาลอง เป็น
การจาลองปัญหา จาลองเหตุการณ์และกรณีศึกษาให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติแบบการอบรมเข้ม
(intensive training) ซ่ึงมิใช่สถานการณ์จริง แต่จะมีผลดีในกระบวนการฝึกท่ีเป็นแบบเข้มข้นตาม
สถานการณ์ที่จาลองขึ้น แต่อาจจะไม่สอดคล้องกับมาตรฐานการผลิตตามหลักเกณฑ์ของคุรุสภาใน
ปจั จบุ ัน ส่วนรปู แบบที่ 3 น่าจะเป็นแนวปฏิบตั ิทีเ่ หมาะสมสาหรับหลักสูตรปริญญาโททางการบริหาร
และการจัดการศึกษาปจั จุบันมากที่สุด
โดยสรุป ระบบการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูท่ีจะช่วยส่งเสริมการผลิตครูให้มีคุณภาพ
สถาบันอุดมศกึ ษาทเี่ ปดิ สอนหลกั สูตรทางการศึกษา จะตอ้ งมีการจัดทาหลักสูตร และบริหารหลักสูตร
ให้เป็นไปตามมาตรฐานการผลิตครูของคุรุสภา และให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของ สกอ. โดยให้
ความสาคญั กับกระบวนการผลิตครู ตั้งแต่มีการคัดเลือกผู้เรียนท่ีเข้มข้น มีการเรียนภาคทฤษฎีในชั้น
เรยี นให้เป็นไปตามตามมาตรฐานความรู้และสมรรถนะ มีการเสริมประสบการณ์และเสริมสมรรถนะ
ให้ได้มาตรฐานด้วยการฝึกปฏิบัติวิชาชีพตามประเภทและระดับของหลักสูตร การฝึกปฏิบัติวิชาชีพ
ผูเ้ รียนควรไดร้ ับการฝกึ ในสถานศึกษาทมี่ ีความโดดเด่นทั้งงานบริหารและงานวิชาการ และสาระของ
ปีที่ 4 ฉบับท่ี 7 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2561) 69
การฝึกควรเป็นไปตามความต้องการของหน่วยงานผู้ใช้ครูและผู้ใช้ผู้บริหารการศึกษา ทั้งสายสามัญ
และสายอาชีพ โดยเลอื กใชร้ ปู แบบการฝึกประฏิบตั กิ ารวิชาชพี อยา่ งเหมาะสม
5. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อระบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางการศกึ ษา
จากการศึกษาสภาพปัจจุบัน หลักการสาคัญและเปูาหมายของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทาง
การศึกษา ศึกษาปัญหา อุปสรรค จุดแข็ง จุดอ่อน และศึกษาระบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่จะ
ช่วยให้การผลติ ครมู ีคณุ ภาพสูง สามารถนามาเสนอแนะเชงิ นโยบายได้ดงั น้ี
1) หน่วยงานระดับนโยบายและระดับปฏิบัติท่ีรับผิดชอบเร่ืองการผลิตครู ซึ่งเป็นสาขาวิชาชีพ
ช้ันสูงและเป็นสาขาวิชาชีพควบคุม จะต้องให้ความสาคัญกับมาตรฐานหลักสูตร มาตรฐานการผลิต
และมาตรฐานบัณฑิตทางการศึกษาอย่างจริงจัง โดยหลักสูตรการผลิตครูจะต้องสะท้อนมาตรฐาน
ความรู้และสมรรถนะท่ีจาเป็นและสาคัญของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ที่สามารถนาไปใช้ใน
การพัฒนาผู้เรียนและสถานศึกษาให้ก้าวทันการเปล่ียนแปลงด้านต่างๆของโลก ให้ความสาคัญ
เกี่ยวกับมาตรฐานการผลิตบัณฑิตครูทุกสาขาวิชาชีพ และทุกระดับ (ตรี-โท-เอก) ทุกข้ันตอน เร่ิม
ตั้งแตก่ ารคดั เลือกผเู้ รียนครู การจัดอาจารยผ์ ูส้ อนทม่ี คี ณุ ภาพสงู และวฒุ ิตรงกับสาขาวิชาที่ทาการสอน
มีสัดส่วนอาจารย์ผู้สอนกับจานวนผู้เรียนตามเกณฑ์มาตรฐาน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในช้ันเรียนให้
ได้ผลตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ มีการฝึกปฏิบัติระหว่างเรียนรายวิชาภาคทฤษฎี มีการจัดสรร
ทรัพยากรสนับสนุนการเรยี นการสอนเพยี งพอ และมีส่ือ อุปกรณ์การเรียน มีแหล่งค้นคว้าทันสมัย มี
การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติการสอนหรือการบริหารในสถานศึกษา และหรือในหน่วยงาน
ทางการศึกษา หรือในสถานประกอบการที่ได้คุณภาพมาตรฐาน มีกิจกรรมเสริมความเป็นครูและ
กิจกรรมเสริมความเป็นผู้บริหารการศึกษา (แล้วแต่กรณี) แก่ผู้เรียนอย่างเข้มข้น มีการวัดผลและ
ประเมนิ ผลการศึกษาและการฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพที่เป็นระบบและน่าเชื่อถือ ทั้งน้ีให้ถือว่าการฝึก
ประสบการณ์วิชาชพี ทางการศึกษา ไม่ว่าจะเปน็ การฝกึ ปฏบิ ัติการวิชาชีพครูสายสามัญและสายอาชีพ
การฝึกปฏิบัติการวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา การฝึกปฏิบัติการวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา และการ
ฝึกปฏิบตั กิ ารวชิ าชีพศึกษานิเทศก์ คือองคป์ ระกอบสาคัญของประสบการณ์จริงที่ผู้เรียนจะต้องนาไป
ปฏบิ ตั จิ ริงในอนาคต เพราะการฝึกปฏิบัติวิชาชีพจัดเป็นการพัฒนาสมรรถนะตรงแก่ผู้เรียน ส่งเสริม
ให้ผลผลิตครมู ีคุณภาพสงู โดยเฉพาะเป็นการส่งเสริมคุณภาพผลผลิตด้านมาตรฐานการปฏิบัติงานใน
อนาคต เพราะการเรียนสาเร็จเพียงภาคทฤษฎีในชั้นเรียน มิใช่หลักประกันคุณภาพของผลผลิต
ดังน้ัน ในระดับนโยบายควรให้ความสาคัญกับการฝึกปฏิบัติการวิชาชีพของท้ัง 4 กลุ่มวิชาชีพทาง
การศึกษา คือ ผู้ประกอบวิชาชีพครู ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ประกอบวิชาชีพ
ผู้บริหารการศึกษา และผปู้ ระกอบวิชาชีพศกึ ษานเิ ทศกใ์ หไ้ ดค้ ุณภาพและมาตรฐานอยา่ งจรงิ จัง
2) ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้ฝุายท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องกับการผลิตครู ได้แก่ คณะครุศาสตร์/
ศึกษาศาสตร์ทเ่ี ป็นแหลง่ ผลติ ครู กับสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) สานักงาน
คณะกรรมการอาชีวศึกษา (สอศ.) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) ผู้ใช้ครู
ปีที่ 4 ฉบับท่ี 7 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2561) 70
และสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สานักงานข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา (กคศ.) และครุ ุสภา ผู้ดูแลรับผิดชอบมาตรฐานหลักสูตร มาตรฐานตาแหน่ง และมาตรฐาน
วิชาชีพ รว่ มกันศึกษา ทบทวนและพจิ ารณาแนวทางการกาหนดมาตรฐานการปฏิบัติเก่ียวกับการฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพครู(สายสามัญ สายอาชีพ) ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษาและ
ศึกษานิเทศก์ให้สามารถนาไปสู่การปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดผลดีด้านคุณภาพผลผลิตครูทุกระดับ (ตรี-โท-
เอก) แตป่ จั จุบนั แนวปฏบิ ตั ใิ นการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพที่ค้อนข้างชัดเจน เป็นท่ียอมรับกันทั่วไป มี
เพียงแบบแผนการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพครูสายสามัญเท่านั้น
(เฉพาะระดบั ปริญญาตรี-โทและประกาศนียบตั รบัณฑิต) ส่วนแบบแผนการฝึกปฏิบัติการสอนของครู
สายอาชีพยังขาดความชัดเจน เพราะไม่ปรากฏให้มีการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานประกอบการ
สาหรบั แบบแผนการฝึกปฏิบตั ิการบริหารการศึกษายังพอมีแนวทางอยู่บ้าง แต่คงยังมีประเด็นที่อาจ
ใหม้ ีการศกึ ษาและทบทวน ในขณะที่หลักเกณฑ์ มาตรฐานและแนวปฏิบัตสิ าหรับการฝึกประสบการณ์
วิชาชพี ศกึ ษานเิ ทศก์น้นั ยงั ไม่ปรากฏเลย
3) หนว่ ยงานทมี่ ีอานาจหน้าท่ีในการใหค้ วามเห็นชอบหลักสูตร ซึ่งมีอานาจในการกากับติดตาม
เชน่ สกอ.และคุรุสภา ควรเข้าไปสอดส่องดูแลเพื่อให้ข้อแนะนาและให้คาปรึกษา โดยการออกตรวจ
เย่ยี มสถาบนั ผลติ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาให้สม่าเสมอ ท้ังน้ีเพื่อจะได้ช่วยเหลือและแนะนาแนว
ทางการแก้ไขปญั หาในกระบวนการผลติ ครู โดยเฉพาะการจัดกิจกรรมการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
ไดถ้ กู ต้อง สมบูรณ์ เพื่อให้ผลผลิตครมู ีคณุ ภาพได้มาตรฐานแทจ้ ริง
4) ควรมีการศึกษา และทบทวนแนวคดิ และหลักการเก่ียวกับการจัดฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
ทีว่ า่ นิสิตหรือนักศึกษาวิชาชีพครู จะมีการฝึกปฏิบัติวิชาชีพในสถานศึกษาได้ดี เม่ือมีประสบการณ์
การเรียนในรายวิชาของหลักสูตรครบถ้วนแล้ว เช่น ปัจจุบัน ผู้ท่ีมีคุณสมบัติออกฝึกสอนใน
สถานศึกษา หลกั สูตรปรญิ ญาตรี 5 ปี คือผูเ้ รยี นในช้ันปที ่ี 4 หรือปที ี่ 5 หากมีการคิดใหม่ให้ผู้เรียนได้
เร่ิมฝกึ ปฏบิ ัติการสอนตง้ั แต่เรียนชั้นปีท่ี 2 หรอื 3 ผลจะเป็นอยา่ งไร เป็นต้น โดยมีฐานคติใหม่ว่า การ
เรียนรู้ภาคทฤษฎีไปพร้อมๆกับภาคปฏิบัติ น่าจะมีผลดีมากกว่า หรือทาให้ผู้เรียนมีคุณภาพมากกว่า
การใหเ้ รยี นภาคทฤษฎใี ห้เสร็จสน้ิ ก่อน แล้วคอ่ ยลงมือฝกึ ปฏบิ ัติ
สรุปความ
บทความนผี้ เู้ ขยี นได้ทาการศึกษาและประมวลคาตอบ 5 ประการเก่ียวกับระบบการฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพทางการศึกษา โดยสะท้อนให้เห็นสภาพปัจจุบันของระบบการจัดการ หลักการ
สาคัญและเปาู หมายของการฝึก ปัญหา อุปสรรค จุดแข็งและจุดอ่อนของระบบการฝึกประสบการณ์
วชิ าชพี เสนอประเด็นทร่ี ะบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพจะช่วยให้การผลิตครูมีคุณภาพสูงขึ้น และ
ประมวลข้อเสนอเชิงนโยบายต่อรัฐหรือหน่วยงานท่ีรับผิดชอบ 3 ประการ เพื่อจะได้นาไปพิจารณา
และแสวงหายุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อนการผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพ
ปที ่ี 4 ฉบบั ที่ 7 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2561) 71
มาตรฐานต่อไป โดยเฉพาะในประเด็นการฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพทางการ
ศึกษา
เอกสารอ้างอิง
การฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครูหลักสตู รศกึ ษาศาสตรบัณฑติ 5 ปี คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราช
ภัฏสรุ าษฎร์ธานี edu.sru.ac.th>word57 ค้นคนื เมอ่ื 15 กนั ยายน 2559
กล้า ทองขาว. “สัตลกั ษณ์แห่งการสรา้ งครูในอดีตกับภาวะผ้นู าทางการศกึ ษาของท่านอาจารย์
ประสทิ ธ์ิ สุนทโรทก” ใน มหาวิทยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธานี (2559) ราลกึ 100 ปีอาจารย์
ประสิทธิ์ สุนทโรทก 1 มถิ นุ ายน 2559. มหาวิทยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธาน.ี หนา้ 34-40.
ขอ้ บงั คับคุรุสภาว่าดว้ ยมาตรฐานวิชาชพี พ.ศ. 2556. ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ 130 ตอน พิเศษ
130 ง หนา้ 65 4 ตุลาคม 2556.
คู่มอื การพฒั นาประสบการณ์วชิ าชีพครอู าชวี ศึกษาในสถานประกอบการ
bpcd.ves.go.th>tabid,Articled>aspx ค้นคนื เมื่อ 15 กันยายน 2559.
ค่มู อื ฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ(ฝึกสอน) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร
techno.edu.nu.ac.th ค้นคืนเม่อื 16 กันยายน 2559
จักรกฤษณ์ สริ ิริน. การสัมภาษณ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาการบรหิ ารการศึกษา. 15 ตุลาคม 2559.
ประกาศคุรุสภา เร่ือง การรับรองปรญิ ญาและประกาศนยี บตั รทางการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ
พ.ศ.2557. ราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ท่ี 131 ตอนพิเศษ 46 ง หนา้ 16 14 มนี าคม 2557.
ประกาศคุรสุ ภา เร่อื ง การรับรองปรญิ ญาและประกาศนยี บัตรทางการศกึ ษาเพื่อการประกอบอาชีพ
พ.ศ.2548. ราชกจิ จานุเบกษา เล่มท่ี 123 ตอนที่ 66 ง หน้า 117 13 กรกฎาคม 2549.
ฝาุ ยฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพครู (2553) คมู่ ือการฝึกประสบการณว์ ิชาชีพครู (Internship) ฝุาย
ประสบการณว์ ิชาชพี ครู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม.
ประกาศสถาบันอาชีวศึกษาภาคใต้ 2 เรอื่ ง แนวปฏิบัตกิ ารพัฒนาประสบการณ์วชิ าชพี ครอู าชีวศึกษา
ในสถานประกอบการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2559. www.veis2ac.th ประกาศสถาบนั ฯ
ค้นคืนเม่ือ 15 กันยายน 2559
มหาวิทยาลัยธรุ กจิ บัณฑิตย์ (2558) คู่มอื ฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ หลกั สูตรศึกษาศาสตร
มหาบัณฑติ สาขาวชิ าหลกั สูตรและการสอน. วิทยาลยั ครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรุ กิจ
บณั ฑติ ย์
มหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บัณฑิตย์ (2557) แผนกจิ กรรมการฝึกปฏบิ ตั ิวิชาชพี การจัดการการศกึ ษา
หลักสตู รศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการจัดการการศึกษา. วทิ ยาลัยครศุ าสตร์
มหาวทิ ยาลัยธุรกจิ บัณฑติ ย์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2545) แบบฝึกปฏบิ ัติประกอบการประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการ ชดุ วิชา
ประสบการณว์ ิชาชีพศึกษาศาสตร.์ สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมธิราช
ปที ี่ 4 ฉบบั ที่ 7 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2561) 72
มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช (2557) ประมวลสาระชุดวชิ า ประสบการณว์ ิชาชีพมหาบณั ฑิต
บรหิ ารการศึกษา. บัณฑิตศกึ ษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมธิราช (25545) เอกสารการสอน ชุดวิชาประสบการณว์ ิชาชพี บริหาร
การศกึ ษา. สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สานกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา.(2559) การประชมุ สัมมนา เรอื่ ง การยกระดับคณุ ภาพบัณฑติ ศึกษา
สาขาครศุ าสตร์/ศกึ ษาศาสตร์ วันจันทรท์ ่ี 28 มีนาคม 2559 ณ ห้องมิราเคิลแกรนด์ เอบี
ชั้น 4 โรงแรมมริ าเคลิ แกรนด์ คอนเวนช่นั กรงุ เทพมหานคร. สานกั มาตรฐานวิชาชีพ
สานักงานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา.
อนิ ทร์ธิรา คาภรี ะ อารสิ า พูลศิลปร และนพรัตน์ จันทรน์ ้อย.(2558) รปู แบบการฝึกประสบการณ์
วิชาชพี ครขู องการผลิตครูสายอาชพี . คณะครุศาสตรอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี. www.nctecned.org20 พฤศจิกายน 2558
คน้ คนื เมอื่ 8 ตุลาคม 2559.
Student Teachers, Pre – Practicum, Full Practicum and Clinical Experience. Office of
Professional Practicum Experiences, Lynch School of Education
https://www.2.edu>~loftusf>three คน้ คนื เมอื่ 12 พฤศจกิ ายน 2559.
ปีที่ 4 ฉบับท่ี 7 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2561) 73
การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าฟิสกิ ส์พนื้ ฐาน
ของนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ทไ่ี ดร้ บั การจดั การเรยี นรู้
โดยใชก้ ลวิธแี ก้ปญั หาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์
A study on Fundamentals of Physics
Learning Achievement of Matthayomsuksa IV Students
Using Heller and Heller’s Logical Problem Solving Strategy
ณฐั วฒุ ิ ยกน้อยวงค์*
Nattawut Yoknoiwong*
ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร. ธนั ยากร ชว่ ยทกุ ขเ์ พื่อน**
Asst.Prof.Dr. Thunyakorn Chuaytukpuan**
______________________________
*นักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาหลกั สตู รและการสอน วิทยาลยั ครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรุ กจิ
บัณฑติ ย์
* Students Education Department of Curriculum and Instruction College of Education Sciences,
Dhurakij Pundit University.
**ท่ปี รึกษาวทิ ยานิพนธ์ หลกั สูตรศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาหลักสตู รและการสอนวิทยาลยั ครศุ าสตร์
มหาวิทยาลยั ธุรกจิ บณั ฑิตย์
** Thesis Advisor Education Department of Curriculum and Instruction College of Education
Sciences, Dhurakij Pundit University.
ปีท่ี 4 ฉบบั ที่ 7 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) 74
บทคัดย่อ
งานวจิ ยั น้ีมวี ตั ถปุ ระสงค์ 1) เพื่อเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาฟิสกิ ส์พน้ื ฐาน ก่อน
และหลงั ไดร้ บั การจดั การเรยี นร้โู ดยใชก้ ลวิธีแกป้ ัญหาเชิงตรรกะของเฮลเลอรแ์ ละเฮลเลอร์ 2) เพื่อ
ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้กลวิธีแก้ปัญหาเชิงตรรกะของเฮล
เลอรแ์ ละเฮลเลอร์ กลุ่มตวั อย่างทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั คร้ังนเี้ ป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 แผนการเรียน
วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนโซ่พิสัยพิทยาคม จังหวัดบึงกาฬ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศกึ ษา เขต 21 ทีก่ าลงั ศึกษาในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2560 การสุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย
(Simple Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม (Sampling Unit) จานวน 1
ห้องเรียน รวม 29 คน ใช้แบบแผนการทดลองแบบกลุ่มเดียววัดสองครั้ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์พื้นฐาน โดยใช้กลวิธีแก้ปัญหาเชิงตรรกะของเฮล
เลอร์และเฮลเลอร์ เร่อื ง การเคลื่อนท่แี บบโพรเจกไทล์ 2) คู่มือผู้เรียนสาหรับการเรียนรู้ 3) แบบ
วดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาฟิสิกส์พ้ืนฐาน 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการ
จัดการเรียนรู้ เวลาในการทดลอง 12 คาบ คาบละ 50 นาที วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ
สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที
ผลการวิจยั พบวา่
1. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์พื้นฐานโดยใช้กลวิธีแก้ปัญหาเชิงตรรกะของ
เฮลเลอร์และเฮลเลอร์ มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ทร่ี ะดับ .01
2. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์พื้นฐานโดยใช้กลวิธีแก้ปัญหาเชิงตรรกะของ
เฮลเลอร์และเฮลเลอร์ มคี วามพงึ พอใจต่อการจัดการเรยี นรู้อยใู่ นระดับมาก อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ทร่ี ะดบั .01
ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา
วิชาฟิสิกส์ถือเป็นหัวใจสาคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งเป็นวิชาท่ีใช้
ตรรกศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ ซ่ึงนาไปสกู่ ารพัฒนาทางดา้ นเทคโนโลยีตา่ งๆ และในระบบการศึกษาใน
ประเทศไทยได้บรรจุวิชาฟิสิกส์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นสาระหนึ่งใน 8 สาระการ
เรยี นรู้ ท่ีมงุ่ หวังให้ผ้เู รียนเขา้ ใจในปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ หลักการ กฎ และทฤษฎีที่เป็นพ้ืนฐาน
ของวชิ าฟิสกิ ส์ สามารถนาหลักการทางฟิสิกส์ไปแก้ปัญหาประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ การเรียนการสอน
วิชาฟสิ กิ ส์ส่วนใหญ่จะเก่ยี วขอ้ งกับการแก้โจทย์ปัญหา ซึ่งจากประสบการณ์ด้านการสอนของผู้วิจัยท่ี
สอนวชิ าฟสิ ิกสใ์ นระดบั มัธยมศึกษา พบว่า นักเรยี นมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนในวิชาฟิสิกส์ค่อนข้างต่า
เน่ืองจากขาดความเข้าใจในบทเรียนอย่างต่อเนื่อง ขาดทักษะการคานวณโดยเฉพาะการแก้โจทย์
ปัญหา เม่ือพบโจทยป์ ญั หาท่แี ตกต่างจากที่สอนในช้ันเรียน นักเรียนไม่สามารถแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์
ได้อย่างถูกต้อง และทาให้นักเรียนเกิดความรู้สึกว่าวิชาฟิสิกส์เป็นวิชาที่ยาก ขาดความเชื่อม่ันใน
ปที ่ี 4 ฉบับที่ 7 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) 75
ตนเอง และมเี จตคตทิ ่ีไม่ดตี อ่ การเรยี นวชิ าฟิสิกส์ ในการแก้โจทย์ปัญหานั้นมีนักวิชาการได้ศึกษาและ
คดิ ค้นไวห้ ลายท่าน ซึง่ ผ้วู จิ ัยพบวา่ กลวิธแี ก้ปัญหาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์เป็นวิธีการแก้
โจทยป์ ัญหาทางฟสิ ิกส์ท่มี ีขัน้ ตอนของการแก้โจทยป์ ัญหาฟสิ ิกสท์ ี่ชัดเจน เหมาะในการนามาใช้จัดการ
เรียนรู้เพือ่ จดั ระบบความคดิ ด้านกระบวนการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ของนักเรียน โดยกลวิธีแก้ปัญหา
เชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์ (Heller and Heller , 2000 อ้างถึงใน อมราลักษณ์ ฤทธิเดช.
2553: 18-21) มีข้นั ตอนในการแกป้ ัญหาท้งั หมด 5 ขนั้ ตอน ดังน้ี ข้ันที่ 1 ข้ันพิจารณาปัญหา (Focus
the Problem) เป็นการทาความเข้าใจโจทย์ปัญหาให้ชัดเจนขึ้นโดยการอธิบายด้วยแผนภาพและ
ข้อมูลที่โจทย์กาหนดให้ให้อย่างหยาบๆ มีสิ่งใดบ้างที่โจทย์กาหนดให้และส่ิงใดคือคาตอบที่โจทย์
ตอ้ งการ ข้นั ที่ 2 ขนั้ อธิบายหลกั การทางฟิสิกส์ (Describe the Physics) เป็นการแสดงความสัมพันธ์
ของขอ้ มลู ท่ีโจทยก์ าหนดให้ เขียนตวั แปรตา่ งๆ ท้ังทที่ ราบค่าและไมท่ ราบคา่ โดยตง้ั อยูบ่ นพนื้ ฐานของ
หลักการทางฟสิ ิกส์ทเ่ี ปน็ ประโยชน์และมคี วามเป็นไปได้เพื่อทาให้ปญั หามคี วามชัดเจนและง่ายข้ึน ข้ัน
ท่ี 3 ขน้ั วางแผนแก้ปัญหา (Plan the Solution) เป็นข้ันตอนของการวางแผนเพื่อหาแนวทางในการ
แกโ้ จทยป์ ญั หา โดยการอธบิ ายให้อยู่ในรูปของสมการคณิตศาสตร์หรือสูตรที่เก่ียวข้องกับโจทย์ปัญหา
ทตี่ อ้ งการหาคาตอบ ขน้ั ที่ 4 ขน้ั ดาเนินการตามแผนที่วางไว้ (Execute the Plan) เป็นข้ันตอนที่ต้อง
ดาเนนิ การหาคาตอบตามสมการท่ไี ด้วางแผนไว้ โดยการแทนคา่ ตัวแปรตา่ งๆ ในสมการเพ่ือหาคาตอบ
ของตวั แปรทตี่ อ้ งการ และขน้ั ท่ี 5 ขน้ั ตรวจสอบผลลัพธ์ (Evaluate the Answer) เป็นข้ันตอนที่ต้อง
ตรวจสอบคาตอบโดยคานึงถึงความสมเหตุสมผลเพ่ือให้แน่ใจว่าคาตอบท่ีได้น้ันมีความถูกต้องตรง
ตามทีโ่ จทยถ์ าม
จากที่กล่าวมาขา้ งต้น ผู้วจิ ยั จงึ สนใจที่จะศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาฟิสิกส์พื้นฐาน
ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใชก้ ลวธิ ีแก้ปัญหาเชงิ ตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์ เพ่ือเป็นแนวทาง
แกค่ รผู ูส้ อนวิชาฟิสิกส์ ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดยเฉพาะในเรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์
แก่นกั เรยี นในระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลายตอ่ ไป
วตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั
1. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาฟิสิกส์พ้ืนฐาน ก่อนและหลัง ได้รับการ
จดั การเรยี นร้โู ดยใชก้ ลวธิ ีแก้ปัญหาเชงิ ตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์
2. เพอ่ื ศกึ ษาความพงึ พอใจของนักเรียนทีม่ ตี อ่ การจัดการเรยี นรู้ โดยใช้กลวธิ แี ก้ปัญหาเชิง
ตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์
ปที ่ี 4 ฉบับที่ 7 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2561) 76
สมมติฐานของการวจิ ัย
1. นักเรยี นท่ีได้รับการจดั การเรยี นรูโ้ ดยใชก้ ลวธิ ีแก้ปญั หาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮล
เลอร์ มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวิชาฟิสกิ ส์ หลังเรียนสูงกวา่ กอ่ นเรียน
2. นกั เรยี นทีไ่ ดร้ ับการจดั การเรยี นร้โู ดยใชก้ ลวธิ แี กป้ ัญหาเชงิ ตรรกะของเฮลเลอร์และเฮล
เลอร์ มคี วามพงึ พอใจต่อการจดั การเรียนรอู้ ยูใ่ นระดบั มาก
วิธกี ารดาเนินการวิจยั
ประชากรท่ีใช้ในการวจิ ยั
ประชากรทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั นี้ คือ นกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-
คณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรยี นโซ่พิสัยพทิ ยาคม จงั หวดั บึงกาฬ สานักงานเขต
พน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 21 จานวน 3 หอ้ งเรยี น รวมจานวนนกั เรยี นทงั้ หมด 120 คน
กลุ่มตวั อยา่ งท่ใี ช้ในการวิจยั
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 แผนการเรียน
วิทยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์ ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 โรงเรียนโซ่พิสัยพิทยาคม จังหวัดบึงกาฬ
สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 21 จานวน 1 หอ้ งเรียน รวมจานวนนกั เรยี น 29 คน ซ่ึง
ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยการ
ส่มุ (Sampling Unit)
ตัวแปรทใ่ี ช้ในการศกึ ษา
ตวั แปรตน้ คอื การจดั การเรยี นรู้โดยใชก้ ลวิธแี ก้ปัญหาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์
แบ่งเป็น 5 ขั้นตอน คือ ข้ันท่ี 1 ข้ันพิจารณาปัญหา ข้ันท่ี 2 ขั้นอธิบายหลักการทางฟิสิกส์ ข้ันที่ 3 ข้ัน
วางแผนแก้ปัญหา ข้นั ที่ 4 ขั้นดาเนนิ การตามแผนที่วางไว้ และขั้นที่ 5 ขั้นตรวจสอบผลลัพธ์
ตวั แปรตาม คือ
1. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นวิชาฟิสกิ สพ์ ้ืนฐาน
2. ความพงึ พอใจต่อการจดั การเรยี นรู้วิชาฟิสิกสพ์ ืน้ ฐาน
เน้อื หาที่ใช้ในการวิจัย
เนื้อหาวิชาฟิสิกส์พื้นฐาน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีแก้ปัญหาเชิงตรรกะของ
เฮลเลอรแ์ ละเฮลเลอร์ เรือ่ ง การเคลอื่ นทแี่ บบโพรเจกไทล์ ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4
ระยะเวลาดาเนนิ การวิจยั
ระยะเวลาในการดาเนินการวิจัยคร้ังน้ีใช้เวลา รวม 12 คาบ คาบละ 50 นาที โดยทาการ
ทดสอบกอ่ นเรียน 1 คาบ ดาเนนิ กิจกรรมจดั การเรียนรู้ 10 คาบ และทดสอบหลังเรียน 1 คาบ
ปีท่ี 4 ฉบับท่ี 7 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2561) 77
เคร่ืองมอื ที่ใช้และการสรา้ งเครือ่ งมือในการวิจัย
1. แผนการจดั การเรียนรู้ โดยใช้กลวิธีแก้ปัญหาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์ เรื่อง การ
เคลือ่ นท่แี บบโพรเจกไทล์ มีขัน้ ตอนการสร้างดังน้ี
1) ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตร
สถานศกึ ษาโรงเรียนโซพ่ ิสัยพิทยาคม กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
2) สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ตามสาระการเรียนรู้ และนาเสนอต่ออาจารย์ท่ีปรึกษา
วทิ ยานพิ นธ์พิจารณา และปรับปรงุ แกไ้ ขตามคาแนะนา
3) นาแผนการจัดการเรยี นรู้ใหผ้ ูเ้ ช่ยี วชาญ เพอ่ื ประเมินความสอดคล้อง พบว่า มีค่าดัชนี
ความสอดคล้องเทา่ กบั 1.00 ทุกรายการประเมิน
2. แบบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น มขี น้ั ตอนการสรา้ งดงั นี้
1) ศึกษาวธิ ีสร้างและการหาคุณภาพของแบบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน
2) สร้างแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเสนอต่ออาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์
พิจารณา และปรับปรุงแกไ้ ขตามคาแนะนา
3) นาแบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญพิจารณา เพ่ือประเมินความ
สอดคล้อง พบว่า มีค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 1.00 ทุกรายการประเมิน จานวน 20 ข้อ และ
นาไปทดลองใช้
4) หาค่าความยากง่าย (p) และค่าอานาจจาแนก (r) พบว่า แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรยี น มคี า่ ความยากงา่ ย ตัง้ แต่ 0.23-0.63 และมคี า่ อานาจจาแนก ตั้งแต่ 0.20-0.53 จานวน 12 ขอ้
5) หาคา่ ความเชือ่ มั่นของแบบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นท้งั ฉบับ โดยใชว้ ิธีการของ คู
เดอร์-รชิ ารด์ สัน จากสตู ร KR-20 พบวา่ แบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนมคี ่าความเชือ่ มนั่ 0.70
3. แบบสอบถามความพึงพอใจทมี่ ีตอ่ การจัดการเรียนรู้ โดยใช้กลวิธีแก้ปัญหาเชิงตรรกะของเฮล
เลอร์และเฮลเลอร์ มขี นั้ ตอนการสร้างดงั น้ี
1) ศึกษาเอกสาร ตารา และงานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วกบั วิธีการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ
2) สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ และเสนอต่ออาจารย์ท่ี
ปรกึ ษาวทิ ยานิพนธพ์ จิ ารณา และปรับปรุงแก้ไขตามคาแนะนา
3) นาแบบสอบถามความพึงพอใจเสนอต่อผู้เช่ียวชาญพิจารณา เพ่ือประเมินความ
สอดคล้อง พบว่า มีคา่ ดชั นีความสอดคล้องเทา่ กบั 1.00 ทุกรายการประเมนิ
4) นาแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีได้พัฒนาคุณภาพแล้วเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่ม
ตวั อยา่ ง
ปที ่ี 4 ฉบบั ท่ี 7 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2561) 78
วธิ กี ารเก็บรวบรวมข้อมลู
1. นาแบบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นไปทาการทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง
จานวน 29 คน ใช้เวลาในการทดสอบ 1 คาบ และบันทึกคะแนนจากการทดสอบครั้งนี้เป็นคะแนน
กอ่ นเรียน (Pre-test)
2. ดาเนนิ การจดั การเรยี นร้โู ดยใชก้ ลวิธแี ก้ปัญหาเชงิ ตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์กับ
กลมุ่ ตวั อยา่ ง ซ่ึงผูว้ ิจัยเป็นผูจ้ ดั การเรียนรูด้ ว้ ยตนเองใชเ้ วลาในการจดั การเรยี นรู้ทง้ั หมด 10 คาบ
3. นาแบบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีต่อการจัดการ
เรียนรู้ฯ ที่ผู้วิจัยสร้างข้ึนไปทาการทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง จานวน 29 คน ใช้เวลาในการทดสอบ 1
คาบ แล้วบนั ทกึ คะแนนจากการทดสอบคร้งั นี้เปน็ คะแนนหลังเรยี น (Post-test)
การวิเคราะห์ขอ้ มูล
ผู้วิจยั ทาการวิเคราะห์ข้อมลู โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรปู ทางสถติ ิ ไดแ้ ก่
1. เปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ก่อนและหลงั ไดร้ ับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธี
แก้ปัญหาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์โดยการทดสอบค่าที (t-test for Dependent
Sample)
2. เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กลวิธีแก้ปัญหาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์กับคะแนนเกณฑ์ โดยการทดสอบค่าทางสถิติที
(One Sample t-test)
ผลการวิจัย
ตารางที่ 1 ผลการเปรียบเทยี บคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้
โดยใช้กลวิธีแก้ปญั หาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์
คะแนน N คะแนนเตม็ X S.D. D D2 df t p
ก่อนเรยี น
หลังเรียน 29 12 3.72 1.25 89 343 28 10.46* .00
29 12 6.79 1.54
*p < .01
จากตารางที่ 1 พบว่า หลงั จากนกั เรียนได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีแก้ปัญหาเชิง
ตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์รายวิชาฟิสิกส์พื้นฐาน นักเรียนมีคะแนน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ .01
ปีท่ี 4 ฉบบั ท่ี 7 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2561) 79
ตารางท่ี 2 ผลการเปรียบเทยี บคะแนนเฉลีย่ ความพงึ พอใจที่มีตอ่ การจัดการเรียนรฯู้
องค์ประกอบของความพงึ พอใจ ระดับ คะแนน t p
ต่อการจดั การเรียนรูใ้ นแต่ละด้าน X S.D. ความพึงพอใจ เกณฑ์
1. ดา้ นเนือ้ หา 4.22 0.49 มาก 3.50 7.92* .00
2. ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ 3.93 0.52 มาก 3.50 4.43* .00
รวม 4.08 0.47 มาก 3.50 6.58* .00
*p < .01
จากตารางที่ 2 พบว่า หลงั จากนักเรียนได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีแก้ปัญหาเชิง
ตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์ นักเรียนมีค่าเฉล่ียของคะแนนความพึงพอใจภาพรวมอยู่ในระดับ
มาก อย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .01
สรุปผลการวจิ ยั
ผลของการจดั การเรียนรูโ้ ดยใชก้ ลวธิ แี ก้ปัญหาเชงิ ตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์ เร่ือง
การเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทล์ ของนกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนโซ่พิสัยพิทยาคม ปรากฏผล
ดังน้ี
1. ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรียนหลงั ได้รับการจดั การเรียนรู้โดยใช้กลวิธีแก้ปัญหา
เชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์สงู กวา่ ก่อนเรยี นอย่างมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .01
2. ความพึงพอใจท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีแก้ปัญหาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์
และเฮลเลอร์อยูใ่ นระดับมาก และสงู กวา่ เกณฑอ์ ยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .01
อภปิ รายผล
1. ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนกอ่ นและหลังไดร้ บั การจัดการเรยี นรู้โดยใช้กลวิธีแก้ปัญหาเชิง
ตรรกะของเฮลเลอรแ์ ละเฮลเลอร์ พบว่า นักเรยี นมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ซ่ึงผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานข้อท่ี 1 ที่ตั้งไว้ เน่ืองจาก
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีแก้ปัญหาสามารถเพิ่มทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาวิชาฟิสิกส์ให้กับ
นกั เรียนได้ ซ่งึ สอดคลอ้ งกับงานวจิ ยั ของอมราลกั ษณ์ ฤทธิเดช (2553 : 60) ที่ศึกษาความสามารถใน
การแก้โจทย์ปัญหาวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ที่สอนโดยใช้กลวิธีแก้ปัญหาเชิง
ตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์ พบว่า นักเรียนมีคะแนนความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาวิชา
ฟสิ กิ ส์หลังการสอนสูงกว่าก่อนการสอนอย่างมนี ยั สาคัญทรี่ ะดบั .01 และยังสอดคลอ้ งกับงานวิจัยของ
เอกวทิ ย์ ดวงแก้ว (2558 : 89) ได้นากลวิธีแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์เชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮล
เลอรม์ าใชร้ ว่ มกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยแทรกเข้าไปในข้ันท่ี 4 ขั้นขยาย
ความรู้ ช่วยใหผ้ ้เู รยี นมีการพฒั นาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์ สามารถคิดวิเคราะห์
และคิดเชิงเหตผุ ลของการแกโ้ จทย์ปัญหา ถือเป็นส่วนสาคัญที่จะเป็นเครื่องมือในการแก้โจทย์ปัญหา
ให้สาเรจ็ ลุลว่ ง
ปีท่ี 4 ฉบบั ท่ี 7 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2561) 80
2. ความพึงพอใจของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีแก้ปัญหาเชิงตรรกะ
ของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์รายวชิ าฟิสิกส์พนื้ ฐาน พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้
ภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซ่ึงผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐาน
ขอ้ ท่ี 2 ที่ตง้ั ไว้ แสดงวา่ การจดั การเรยี นร้โู ดยใช้กลวธิ ีแก้ปัญหาอย่างเป็นข้ันตอนมีส่วนทาให้นักเรียน
มคี วามพึงพอใจต่อการจดั การเรยี นร้อู ยใู่ นระดบั มาก การสอนโดยใช้กลวธิ ีแก้ปัญหาเชิงตรรกะของเฮล
เลอรแ์ ละเฮลเลอรเ์ ป็นการเปดิ โอกาสให้นักเรยี นได้ฝึกประสบการณ์ร่วมกันเพ่ือการเรียนรู้อย่างเต็มท่ี
โดยเน้นวธิ ีการคิดอยา่ งเป็นระบบ ซง่ึ กลวิธแี กป้ ญั หาเชงิ ตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์ในแต่ละข้ัน
จะฝึกให้นักเรียนรู้จักการคิดวิเคราะห์ การเชื่อมโยงความสัมพันธ์กับเน้ือหาความรู้ท่ีได้เรียนมาโดย
นักเรียนสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและระดมความคิดกันได้อย่างต่อเนื่อง ซ่ึงสอดคล้องกับ
งานวิจัยของอมราลักษณ์ ฤทธิเดช (2553 : 63) ที่ศึกษาเจตคติต่อการแก้โจทย์ปัญหาวิชาฟิสิกส์ของ
นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ท่ีสอนโดยใช้กลวิธีแก้ปัญหาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์ จาก
ผลการวจิ ัยพบว่า นักเรยี นมีคะแนนเฉลย่ี ของเจตคตติ ่อการแก้โจทย์ปัญหาวิชาฟิสิกส์หลังการสอนอยู่
ในระดบั มาก แสดงวา่ การสอนโดยใช้กลวิธแี ก้ปัญหาอยา่ งเป็นขนั้ ตอนมีสว่ นทาใหน้ กั เรยี นมเี จตคติต่อ
การแกโ้ จทยป์ ญั หาวชิ าฟิสิกส์อยู่ในระดับมาก ดังน้ัน เม่ือนักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาท่ีเรียนก็อาจจะ
ทาใหน้ ักเรยี นมีความพงึ พอใจที่ดตี อ่ กิจกรรมการจดั การเรยี นรดู้ ว้ ยเชน่ กัน
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะสาหรับการนาผลการวิจยั ไปใช้
- ในการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีแก้ปัญหาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์
ครผู สู้ อนควรพจิ ารณาความยากงา่ ยของโจทย์ปัญหาให้เหมาะสมกับระดับความสามารถของนักเรียน
แต่ละคน โดยการเพมิ่ ความยากของโจทยส์ าหรับนักเรียนกลุ่มเก่ง ในขณะเดียวกันก็ไม่ควรให้โจทย์ที่
ยากเกินไปสาหรับนักเรียนกลุ่มอ่อน เพราะจะทาให้นักเรียนเกิดความเบื่อหน่ายและไม่สนใจ อีกทั้ง
เมอ่ื นักเรยี นไม่สามารถแก้โจทยป์ ญั หาไดก้ ็จะเกิดความทอ้ แทแ้ ละมีอคตติ ่อวิชาฟิสกิ ส์
ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจยั ครัง้ ตอ่ ไป
- ควรใช้แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นข้อสอบอัตนัยกับกลวิธีแก้ปัญหาเชิงตรรกะ
ของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและวัดความสามารถในการแก้ปัญหาของ
นกั เรยี นในแตล่ ะข้นั ตอนได้ละเอยี ดมากยง่ิ ข้ึน
ปที ่ี 4 ฉบับที่ 7 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) 81
บรรณานกุ รม
กาญจนา อรุณสุขรุจี. (2546). ความพงึ พอใจของสมาชิกสหกรณ์ต่อการดาเนินงานของสหกรณ์
การเกษตรไชยปราการจากัด อาเภอไชยปราการ จังหวดั เชียงใหม่. เชียงใหม่ :
มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่
ชูศรี วงศร์ ตั นะ. (2550). เทคนิคการใช้สถิติเพอื่ การวจิ ัย. พิมพ์คร้ังท่ี 10. กรงุ เทพฯ : ไทเนรมติ กจิ
อนิ เตอร์ โปรเกรสซิฟ.
ธนั ยากร ช่วยทุกขเ์ พือ่ น. (2559). การศกึ ษาขอ้ บกพร่องของกระบวนการแก้โจทย์ปัญหาฟสิ กิ ส์โดย
ใช้กลวิธีแก้ปญั หาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอรข์ องนกั ศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี :
กรณีศึกษานักศึกษา มหาวทิ ยาลยั ธรุ กิจบณั ฑติ ย.์ กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลัยธรุ กิจ
บณั ฑติ ย.์
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจยั เบ้ืองต้น. พิมพค์ รงั้ ท่ี 7. กรงุ เทพฯ : สรุ วี ิยาสาสน์ .
เอกวิทย์ ดวงแกว้ . (2558). การศกึ ษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและความสามารถในการแกโ้ จทย์
ปัญหาทางฟสิ กิ ส์ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 5 โดยใชก้ ารจัดการเรียนร้แู บบสบื
เสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกบั กลวธิ ีแกโ้ จทยป์ ัญหาทางฟิสกิ สเ์ ชงิ ตรรกะของเฮลเลอรแ์ ละ
เฮลเลอร์. (วิทยานพิ นธป์ ริญญามหาบณั ฑติ ). ชลบุรี: มหาวทิ ยาลัยบูรพา.
อมราลกั ษณ์ ฤทธิเดช. (2553). ความสามารถในการแกโ้ จทยป์ ญั หาวิชาฟิสิกสข์ องนักเรียนชน้ั
มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ท่ีสอนโดยใช้กลวธิ แี ก้ปัญหาเชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร.์
(วทิ ยานพิ นธป์ ริญญามหาบัณฑิต). เชียงใหม่: มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่.
Heller, K. and Heller, P. (2000). The Competent Problem Solver for Introductory
Physics. New York : Primis Custom Publishing.