The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rnchayxinrangumm, 2022-09-10 06:25:22

ส่วนนำ PLC

ส่วนนำ PLC

1

2

บันทึกขอ้ ความ

ส่วนราชการ โรงเรียนสรอยเสรวี ิทยา ตาบลสรอย อาเภอวงั ชนิ้ จงั หวดั แพร่
ทพี่ ิเศษ/2565 วันท่ี 9 พฤษภาคม 2564
เร่อื ง ส่งแบบสรุปการดาเนินงานการมีส่วนร่วมในชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning
Community PLC) ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564

เรยี น ผูอ้ านวยการโรงเรียนสรอยเสรวี ทิ ยา
ข้าพเจ้านายรณชัย อินรัง ตาแหน่งครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยี ได้ดาเนินการรวมกลุ่มและออกแบบการมีส่วนร่วมในชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
(Professional Learning Community PLC) กับบุคลาลากรภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีโรงเรียนสรอยเสรีวิทยา เพ่ือไปใช้ในการร่วมกลุ่มวางแผนร่วมกันแก้ไขปัญหาและเพ่ิมผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน ตามประเด็นท้าทายที่ได้กาหนดไว้ในบันทึกข้อตกลงกับผู้อานวยการ เพื่อใช้ประกอบ
เอกสารรายงานผลการดาเนินงานตาม ว.PA มาตรฐานท่ี 3 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ตัวช้ีวัดที่ 2
มีส่วนร่วมในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพ่ือใช้ในการประกอบการ
พจิ ารณาการเลอ่ื นวทิ ยฐานะในลาดับตอ่ ไป และทง้ั นี้เพือ่ รายงานผลดาเนินงานใหแ้ ก่ผบู้ งั คับบัญชา ตลอดจนใช้
เป็นสารสนเทศทางการศึกษาของตนเองในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในปีการศึกษาต่อไปให้ได้
คณุ ภาพสงู ข้ึน

บัดน้ีข้าพเจ้าได้รวบรวมเป็นเอกสารรูปเล่ม เพื่อสะดวกต่อการใช้และรายงานเพื่อให้รับทราบตาม
เอกสารทแ่ี นบ
จึงเรียนมาเพือ่ โปรดทราบ

ลงชื่อ ……..………………….ผ้รู ายงาน
(นายรณชยั อินรัง)

ความคดิ เห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________

ลงชอื่ ( )
นายรณชัย อินรงั

หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

3

ความคดิ เห็นของหวั หนา้ กลุ่มงานบริหารงานวชิ าการ
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________

ลงชื่อ ( )
นายสิรวิชญ์ ขดั เชงิ

รองกลุ่มงานบรหิ ารงานวชิ าการ

ความคิดเห็นของรองผ้อู านวยการโรงเรยี น
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________

ลงชื่อ ( )
นายสุชาติ เวียงชัย

รองผ้อู านวยการโรงเรยี นสรอยเสรีวิทยา

ความคดิ เหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________

ลงชื่อ ( )
นางจิรพร วงศช์ ยั พาณิชย์

ผู้อานวยการโรงเรียนสรอยเสรีวิทยา



คานา

สรุปการดาเนินงานการมีส่วนร่วมในชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning
Community PLC) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 เรื่อง จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) เรื่อง
ไฟฟา้ เคมี โดยเนน้ การฝึกปฏบิ ัติการทดลองท่ีมีต่อแบบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจของนักเรียน
ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 เป็นเอกสารหลักฐานร่องรอยการดาเนินงานตามกรอบกิจกรรมแผนการขับเคลื่อน
PLC ในสถานศึกษา ตามวัตถุประสงค์ของโครงการบริหารสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศ และ เพ่ือให้บรรลุตาม
กิจกรรมในโครงการกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสรอยเสรีวิทยา ท้ังนี้เพื่อ
สอดคล้องกับ แนวการประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ ตาม ว.9 (วPA) ท่ีระบุไว้ใน มาตรฐานท่ี 3 ด้านการพัฒนา
ตนเองและวิชาชีพ ตัวชี้วัดที่ 2 มีส่วนร่วมในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ทางวิชาชีพ นั้น ท้ังน้ีเพ่ือแสดงให้เห็นถึง
ร่องรอยการดาเนินกิจกรรมและผลงานท่ีเกิดข้ึนจากการปฏิบัติงานของข้าพเจ้าในการร่วมกลุ่ม PLC ในกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ทั้ง 3 บทบาท คือ Model Teacher, Buddy teacher, Mentor teacher

ผลจากการร่วมกลุ่ม PLC คร้ังนี้ ทาให้ข้าพเจ้าได้แนวทางในการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้
แนวทางรูปแบบการสอน การวัดประเมินผลการเรียนรู้จากคาแนะนา เพื่อร่วม PLC ในการวิพากษ์ แผน และ
รูปแบบการจัดการเรียนการสอน เพ่ือนาไปพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ให้บรรลุผลตาม ประเด็น
ท้าทาย ท่ีได้ต้ังไว้ในข้อตกลงในการพัฒนางานตาม วPA ท่ีได้ทาไว้กับผู้บริหารสถานศึกษา โดยข้าพเจ้าได้
รายงานผลการดาเนินงานอย่างเป็นระบบในการทา PLC ทั้งหมด 3 วงรอบ โดยมีระยะเวลาในการดาเนินงาน
คือ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

ขอบพระคุณสมาชิกทุกท่านท่ีได้ร่วมมือกันแสดงพลังและความร่วมมือทางวิชาการอย่างเต็มศักยภาพ
จนทาใหง้ านสาเรจ็ ลุล่วงไปได้ด้วยดีตามวัตถปุ ระสงคท์ ี่ต้งั ไว้

(นายรณชัย อินรงั )
ผรู้ ายงาน



สารบัญ
คานา
สารบัญ

1.โครงการบริหารโรงเรียนสู่ความเปน็ เลศิ
กิจกรรม กระบวนการ PLC ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี สู่การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน
2. แผนการขับเคลื่อน PLC ในสถานศึกษา
3. คาสั่งแตง่ ต้ังคณะกรรมการดาเนินการสรา้ งชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี
4. คาสั่งแต่งตง้ั คณะกรรมการดาเนนิ การสรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี วงรอบท่ี 1
5. แบบสรุปการดาเนนิ งานการมีสว่ นร่วมในชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี วงรอบที่ 1
6. คาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนนิ การสรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชีพ
กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วงรอบที่ 2
7. แบบสรุปการดาเนนิ งานการมสี ่วนรว่ มในชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี วงรอบท่ี 2
8. คาส่งั แตง่ ตั้งคณะกรรมการดาเนินการสร้างชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวชิ าชีพ
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วงรอบที่ 3
9. แบบสรุปการดาเนินงานการมสี ่วนรว่ มในชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพวงรอบท่ี 3
10. แบบสรปุ ผลการทากิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นร้ทู างวชิ าชีพวงรอบท่ี 1-3
11. รายงานผลการดาเนนิ งาน PLC วงรอบท่ี 1

11.1 แบบบันทกึ ผลการวเิ คราะหน์ กั เรียน
11.2 แบบรายงานการแกป้ ัญหาการเรยี นรู้ของนกั เรยี น
11.3 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ใช้ในการทา PLC
11.4 แบบรายงานการวิพากษแ์ ผนการจัดการเรยี นรู้
11.5 แบบรายงานการสังเคราะหแ์ ผนการจัดการเรยี นรู้
11.6 แบบรายงานรปู ภาพการจดั ทา PLC
11.7 แบบรายงานสรปุ ผลการดาเนินงานของรอบท่ผี ่านมา
12. รายงานผลการดาเนินงาน PLC วงรอบที่ 2
12.1 แบบบันทึกผลการวิเคราะหน์ ักเรยี น
12.2 แบบรายงานการแกป้ ัญหาการเรียนรูข้ องนกั เรียน
12.3 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ใี ช้ในการทา PLC
12.4 แบบรายงานการวิพากษ์แผนการจดั การเรยี นรู้
12.5 แบบรายงานการสังเคราะหแ์ ผนการจดั การเรยี นรู้
12.6 แบบรายงานรปู ภาพการจดั ทา PLC
12.7 แบบรายงานสรุปผลการดาเนินงานของรอบที่ผ่านมา



13. รายงานผลการดาเนินงาน PLC วงรอบที่ 3
13.1 แบบบนั ทึกผลการวิเคราะห์นักเรียน
13.2 แบบรายงานการแกป้ ัญหาการเรยี นรู้ของนกั เรยี น
13.3 แผนการจดั การเรยี นรู้ทีใ่ ชใ้ นการทา PLC
13.4 แบบรายงานการวิพากษ์แผนการจัดการเรยี นรู้
13.5 แบบรายงานการสังเคราะห์แผนการจัดการเรยี นรู้
13.6 แบบรายงานรูปภาพการจัดทา PLC
13.7 แบบรายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งานของรอบทีผ่ า่ นมา

1

โครงการ บริหารโรงเรยี นสู่ความเปน็ เลศิ
กจิ กรรม กระบวนการ PLC ชมุ ชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชพี สกู่ ารพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น

สนองกลยทุ ธ์โรงเรียนกองทุน ข้อ 5 การบริหารจดั การโรงเรียนให้มีคณุ ภาพ
สนองกลยทุ ธ์ สพฐ. ข้อ 1 การจดั การศึกษาเพื่อความมน่ั คง

ข้อ 4 ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศกึ ษาและการเรยี นรู้อย่างมีคณุ ภาพ

สนองกลยทุ ธโ์ รงเรียน ข้อ 4 พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษาด้วยหลกั ธรรมาภิบาลและ

การมสี ว่ นร่วม

สนองมาตรฐานการศึกษาท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

ขอ้ 1 มีเป้าหมายวสิ ยั ทศั นแ์ ละพนั ธกิจทีส่ ถานศึกษากาหนดชดั เจน
ขอ้ 2 มรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา
ขอ้ 3 ดาเนนิ งานพัฒนาวชิ าการทเี่ นน้ คุณภาพผูเ้ รยี นรอบด้านตามหลักสูตร

สถานศึกษาและทุกกลุม่ เปา้ หมาย
ขอ้ 4 พฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเชยี่ วชาญทางวิชาชีพ
ขอ้ 5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่ีเอื้อต่อการจดั การเรียนรู้อยา่ งมี

ลักษณะโครงการ คุณภาพ

ข้อ 6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการ
จดั การเรยี นรู้
 โครงการใหม่  โครงการต่อเน่ือง

ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ นายรณชัย อนิ รงั
ฝ่ายท่ีรบั ผดิ ชอบ บริหารงานบุคคล

1. หลักการและเหตุผล

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545
มาตรา 22 ระบถุ ึงหลกั การจดั การศกึ ษาว่า ผู้เรียนทกุ คนสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเองได้ต้องจัดการศึกษาที่
พัฒนาผู้เรียนตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ซ่ึงครูทุกคนมีความจาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องแสวงหาวิธีการที่จะ

ช่วยให้นักเรียนทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติดังกล่าว ซ่ึงนวัตกรรมใหม่ที่ครู
จะต้องทราบคือ Professional Learning Community: PLC เป็นการรวมตัวกันทางาน พัฒนาทักษะและ
การเรยี นรเู้ พอ่ื ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ครเู พื่อศิษย์บนพ้ืนฐานนวัตกรรมความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร มีวิสัยทัศน์ คุณค่า

เปา้ หมาย และ ภารกิจร่วมกันโดยทางานร่วมกันแบบทีม เรียนรู้ท่ีครูเป็นผู้นาร่วมกัน และผู้บริหารแบบผู้ดูแล
สนับสนุน สู่การเรียนและพัฒนาวิชาชีพเปล่ียนแปลงคุณภาพตนเอง สู่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น
ความสาเรจ็ หรอื ประสิทธิผลของผู้เรียนเป็นสาคัญและความสุขของการทางานร่วมกันของสมาชิกในชุมชุนการ

เรยี นรู้
เพ่ือพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน รวมถึงพัฒนาศักยภาพครูสู่มือ

อาชีพและสนองต่อจุดเน้นนโยบายรัฐมนตรีว่าการทรวงศึกษาธิการและนโยบายของสานักงานเขตพื้นที่

การศกึ ษามัธยมศกึ ษาแพร่ โดยกลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ จึงได้จัดทาโครงการพัฒนาศักยภาพครูสู่มืออาชีพแบบ
PLC ชุมชุนการเรยี นร้ทู างวิชาชพี ขน้ึ

2

2. วตั ถุประสงค์
2.1 เพื่อให้ครูมีความรู้สึกผูกพันต่อพันธกิจและเป้าหมายของโรงเรียนมากข้ึน โดยเพ่ิมความ

กระตอื รอื ร้นท่ีจะปฏิบตั ใิ หบ้ รรลพุ ันธกจิ อย่างแข็งขัน
2.2 เพื่อให้ครูเกิดส่ิงที่เรียกว่า พลังการเรียนรู้ (Power of learning) ส่งผลให้การปฏิบัติการสอนใน

ชั้นเรียนของตนเองมีผลดียิ่งขึ้น และมีความรับผิดชอบต่อพัฒนาการโดยรวมของนักเรียนและร่วมกัน
รับผิดชอบเป็นกลุ่มตอ่ ผลสาเร็จของนกั เรียน

2.3 เพื่อให้ครูรับทราบข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ ท่ีจาเป็นต่อวิชาชีพได้อย่างกว้างขวางและรวดเร็วข้ึน
ส่งผลดีตอ่ การปรบั ปรงุ พฒั นางานวชิ าชีพของตนได้ตลอดเวลา เกิดแรงแนวทางที่จะสร้างแรงบันดาลใจต่อการ
เรียนรู้ให้นกั เรยี นต่อไป

3. เป้าหมาย
3.1 ผลผลิต (Outputs)
3.1.1 เชงิ ปริมาณ ครูทกุ กล่มุ สาระการเรียนรูท้ รี่ ว่ มโครงการ
3.1.2 เชิงคุณภาพ ครูท่ีร่วมโครงการ มีความรู้เร่ืองกระบวนการ PLC (Professional Learning

Community) “ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ” เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้และพัฒนา คุณภาพ
ผเู้ รยี นคดิ เปน็ รอ้ ยละ 90

3.2 ผลลัพธ์ (Outcomes)
3.2.1 ครูแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความรู้ ความสามารถในการจัด

กิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยใช้รูปแบบ PLC (Professional
Learning Community) “ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี ”

3.2.2 นักเรยี นกลมุ่ เปา้ หมายทุกคนเกิดความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะกระบวนการ และเจตคติท่ีดีต่อการ
เรียนรจู้ ากครูมอื อาชพี แบบ PLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนแห่งการเรยี นร้ทู างวชิ าชีพ”

4. วธิ ีดาเนนิ การ / ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน ระยะเวลา ผู้รับผดิ ชอบ
ก.ย. 2564
ท่ี กิจกรรมหลกั
ต.ค. 2564 นายรณชัย อินรงั
1. โรงเรียนมาตรฐานสากล
1. วางแผน (P)
1.1 ประชุมวางแผน
1.2 เสนอโครงการขออนุมัติ
1.3 แตง่ ต้ังคณะกรรมการขับเคลอื่ นกระบวนการ
PLC
2. ดาเนนิ การตามแผน (D)
2.1 การสร้างวิสยั ทศั น์ร่วมกัน (Share Vision)
2.2 การเรียนรรู้ ว่ มกันเปน็ ทีม (Team Learning)
2.3 การจดั การเรียนรู้สู่นักเรยี น (Instrucion)

3 ม.ี ค. 2565
เม.ย. 2565
3. ข้ันตรวจสอบและประเมินผล (Check)
3.1 การนเิ ทศแบบเพื่อนชว่ ยเพ่อื น (Peer
Coaching)
3.2 การถอดบทเรียน (Action After review)

4. ปรบั ปรุงและแกไ้ ขพัฒนา (A)
4.1 ครูรายงานผลการดาเนินการตามกระบวนการ
PLC รายบุคคล
4.2 สรุปผลและรายงานผลการดาเนินการขับเคล่ือน
กระบวนการ PLC

5. ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินการ
วันท่ี 1 เดอื น ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 30 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2565
สถานท่ดี าเนินการ : โรงเรยี นสรอยเสรีวทิ ยา

6. งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณจาแนกตามประเภท
จานวน 0 บาท รายระเอยี ด ดงั น้ี ที่ใช้ รายจ่าย

กิจกรรมและรายละเอยี ดการใชง้ บประมาณ - ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ

- ---

7. การวิเคราะหค์ วามเสี่ยงของโครงการ
ปจั จัยความเส่ียง

แนวทางการบริหารความเส่ียง

4

8. ตัวชี้วดั และคา่ เปา้ หมาย

ร้อยละของความสาเร็จกจิ กรรม / โครงการ วิธีการประเมิน เคร่ืองมอื

1.นักเรียนร้อยละ 80 มีผลการเรียนรู้ที่เพ่ิมขึ้น -การทดสอบ -แบบทดสอบ
-แบบรายงาน
สง่ ผลใหเ้ พิ่มผลสัมฤทธใ์ิ นทกุ รายวชิ า -การวัดผลสัมฤทธท์ิ างการ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน

เรียน -PCL
-แบบรายงานผลการทา
2. แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้ร่วมมือร่วมใจ -การรายงานผลการทา โครงการ

พัฒนา กระบวนการจดั การเรียนรู้ กิจกรรม -แบบรายงานผลการทา
กจิ กรรม PCL
3. ครูแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นร้เู กดิ การเรียนรู้และ -การรายงานผลการทา -รายงานผลการ
ปฏบิ ัติงานทเี่ ป็นเลิศ
พัฒนางานด้านการเรียนการสอนได้อย่างมี กิจกรรม PCL (Best Practice)

ประสิทธิภาพมากขน้ึ กวา่ เดมิ -การนาเสนอวธิ ีการ

ปฏบิ ตั งิ านทีเ่ ปน็ เลศิ (Best

Practice)

9. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ
9.1 ครูมีความรู้สึกผูกพันต่อพันธกิจเป้าหมายของโรงเรียนมากขึ้น โดยเพิ่มความกระตือรือร้นที่จะ

ปฏิบตั ใิ หบ้ รรลพุ นั ธกิจอยา่ งแขง็ ขนั
9.2 ครเู กดิ สิ่งท่ีเรียกวา่ พลังการเรียนรู้ (Power of learning) สง่ ผลใหก้ ารปฏิบตั กิ ารสอนในชั้นเรียน

ของตนเองมีผลดียิ่งข้ึน และมีความรับผิดชอบต่อพัฒนาการโดยรวมของนักเรียนและร่วมกันรับผิดชอบเป็น
กลมุ่ ตอ่ ผลสาเร็จของนักเรียน

9.3 ครูรับทราบขอ้ มลู สารสนเทศต่าง ๆ ที่จาเป็นต่อวิชาชีพไดอ้ ย่างกว้างขวางและรวดเร็วข้ึน ส่งผลดี
ต่อการปรับปรุงพัฒนางานวิชาชีพของตนได้ตลอดเวลา เกิดแรงแนวทางท่ีจะสร้างแรงบันดาลใจต่อการเรียนรู้
ใหน้ กั เรยี นตอ่ ไป

5

ลงชือ่ ……………………………………………………
(นายรณชยั อินรงั )
ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ

ความคิดเห็น ……………………………………………. ความคิดเห็น …………………………………………….
ลงชือ่ ……………………………………………………….. ลงชอ่ื ………………………………………………………..

(นางจันทรส์ ุรี สุรินทร) (นางสาวรตั ติภรณ์ ชานาญ)
ผู้ชว่ ยฝา่ ยงานบุคคล งานแผนงาน

ผลการพจิ ารณาของผู้อานวยการ

อนมุ ัติ ไม่อนุมตั ิ

เนือ่ งดว้ ยเหตุผลดังนี้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ…………………………………………………………….
(นางจิรพร วงศ์ชยั พาณิชย์)

ผอู้ านวยการโรงเรยี นสรอยเสรวี ทิ ยา

6

แผนการขบั เคลอ่ื น PLC ในระดบั สถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564

โรงเรยี นสรอยเสรีวิทยา

แนวทางการดาเนินงาน กิจกรรม ระยะเวลา

1,แ ต่ ง ต้ั ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แตง่ ต้ังคณะกรรมการขบั เคล่อื น PLC

ขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ประกอบดว้ ย

ระดบั สถานศกึ ษา 1. ผ้อู านวยการสถานศึกษา เมษายน 2564

2. หัวหน้างานฝา่ ยวชิ าการ/กลุม่ สาระ

3. ครู

2. กาหนดแผนการขับเคลื่อน จดั ทาแผนงานการขับเคล่ือนกระบวนการ PLC สู่

กระบวนการ PLC ระดับ สถานศกึ ษา ประกอบด้วย

สถานศึกษา 1. สร้างทมี งาน PLC ท่ีสอดคล้องกับบริบทของ

สถานศึกษา

2. สร้างความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางการ

ปฏบิ ตั ิให้กับบคุ ลากรในสถานศึกษา (พาดู พาคดิ พฤษภาคม 2564
พาทา)

3. สรา้ งเครือขา่ ยกับหนว่ ยงานอน่ื (ระดบั บคุ คล

ระดบั องคก์ ร ระดบั หน่วยงาน)

4. กากบั ตดิ ตาม นิเทศ ประเมนิ ผล

5. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ และ ประสานงาน การ

พฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา

3. การขบั เคล่ือนกระบวนการ 3.1 ขบั เคลือ่ นกระบวนการ PLC สกู่ ารปฏิบัติ

PLC สู่การปฏิบตั ิ พรอ้ มทง้ั บนั ทึกผลการร่วม PLC ตามลาดบั ดงั น้ี

1. ค้นหาปัญหา

2. หาสาเหตุ พฤษภาคม 2564 –
3. แนวทางแก้ไข มีนาคม 2565
4. ออกแบบกจิ กรรม

5. นาสกู่ ารปฏิบัตแิ ละการสะทอ้ นผล

3.2 สรุปรายงานผล และจัดกิจกรรมแลกเปล่ยี น

เรียนรู้

7

แนวทางการดาเนินงาน กิจกรรม ระยะเวลา
4. กากับ ตดิ ตามนเิ ทศและ พฤษภาคม 2564 –
ประเมนิ ผล 4.1 จัดทาแผนและเคร่ืองมือ กากับ ติดตาม
นิเทศและประเมินผลการขับเคลื่อนกระบวนการ มนี าคม 2565
5. สรปุ รายงานผลการ PLC ส่สู ถานศึกษา
ดาเนินการการขับเคล่ือน 4.2 คณะกรรมการขับเคล่ือนกระบวนการ PLC มีนาคม 2565
กระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดับสถานศึกษา ดาเนินการ
กากับติดตาม นิเทศ และประเมินผลการ มนี าคม 2565
6. กิจกรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ขับเคลือ่ นกระบวนการ PLC สู่สถานศกึ ษา
ถอดบทเรยี น และยกยอ่ ยเชดิ ชู 4.3 เร่งรัด ติดตาม และสนบั สนุน ขา้ ราชการและ
เกยี รติการขับเคลื่อน บคุ ลากรทางการศึกษาที่ไม่ประสบความสาเร็จใน
กระบวนการ PLC สู่ การขบั เคลอื่ นกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา
สถานศึกษา
5.1 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
รายงานผลการดาเนินการตามกระบวนการ PLC
สู่สถานศึกษาพร้อมรายงานเป็นรายบุคคลต่อ
ผบู้ ริหารสถานศึกษา
5.2 คณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC
สรุปและรายงานผลการตดิ ตามในสถานศกึ ษา
5.3 สถานศึกษารายงานผลการขับเคลื่อน
กระบวนการ PLC ต่อสานักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาและผู้มสี ว่ นเกี่ยวข้อง

6.1 สถานศกึ ษาจัดกิจกรรมแลกเปลย่ี นเรียนรู้
(show & share) การขบั เคลอ่ื นกระบวนการ
PLC สสู่ ถานศกึ ษา ทส่ี อดคล้องกับบริบทของ
สถานศึกษา
6.2 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติข้าราชการครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษา ทม่ี กี ระบวนการ
ดาเนินการทด่ี สี ามารถเปน็ แบบอยา่ งได้ และ
เผยแพรไ่ ด้

8 วิธกี าร/นวตั กรรม
ขั้นตอนการนา PLC ไปส่กู ารปฏบิ ัตใิ นโรงเรียนสรอยเสรีวทิ ยา

รวมกลุ่ม PCL
คน้ หาปญั หา / ความตอ้ งการรวมกลุ่ม

ออกแบบกิจกรรมการแกไ้ ขปัญหา

แลกเปลีย่ น /
เสนอแนะ

นาไปสู่การปฏิบัติ / สังเกตสอน

สะทอ้ นผล

นวัตกรรม / Best Practices

9

Flow chart ข้ันตอนการนารูปแบบ PLC ไปใช้ในสถานศึกษามรี ายละเอยี ด แต่ละขน้ั ตอน ดงั น้ี
1. การรวมกลมุ่ PLC รวมกลุ่มครทู ม่ี ีปัญหา/ความต้องการเดยี วกัน เชน่ ครูกลุ่มสาระเดยี วกนั ครูท่ีสอนใน
ระดบั ช้นั เดยี วกนั เป็นตน้
2. คน้ หาปัญหา ความต้องการ

2.1 รว่ มกนั เสนอปัญหา/ความต้องการ
2.2 จดั กลุม่ ปญั หา
2.3 จดั ลาดบั ความจาเปน็ เรง่ ด่วน
2.4 เลอื กปญั หาเพยี ง 1 ปญั หา โดยการพจิ ารณาร่วมกัน
3. ร่วมกนั หาแนวทางในการแกป้ ญั หา
3.1 เรอ่ื งเล่าเร้าพลัง/บอกเลา่ ประสบการณท์ ี่แก้ปัญหาได้สาเรจ็
3.2 คน้ หาตัวอยา่ ง/รูปแบบที่ประสบความสาเร็จ
3.3 รว่ มตดั สินใจเลอื กรูปแบบ/วิธีการ/นวตั กรรมในการแกป้ ัญหา
4. ออกแบบกิจกรรมการแก้ปัญหา
ออกแบบกิจกรรมตามวธิ กี าร/นวตั กรรมท่กี ลุม่ เลือก
5. แลกเปลี่ยนเสนอแนะ
นาเสนอกิจกรรมการแกป้ ัญหา ใหผ้ ูเ้ ชยี วชาญหรือผทู้ ี่มีประสบการณใ์ ห้ข้อเสนอแนะ
6. นาสู่การปฏบิ ัติ/สงั เกตการณส์ อน
6.1 นากิจกรรมไปใชใ้ นการแก้ปัญหา
6.2 ผ้สู งั เกตการณ์เขา้ รว่ มสังเกตในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน เช่น การเย่ยี มชน้ั เรยี น สังเกต
การสอน เปน็ ต้น
7. สะท้อนผล
7.1 สรุปการนารปู แบบ/วธิ ีการ ในการนาไปแกป้ ัญหา
7.2 อภิปรายผลการแกป้ ญั หา เสนอแนะแนวทางในการพัฒนา

10

คาสั่งโรงเรยี นสรอยเสรวี ิทยา
ที่ ๐๙๙ / ๒๕๖๔

เร่อื ง แต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนนิ การสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี
(Professional Learning Community ) ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

*******************************************************

ตามทคี่ ณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานดาเนนิ การขบั เคลื่อนกระบวนการ PLC (Professional
learning community) ใหก้ ับครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาในสถานศกึ ษา เพื่อใหม้ ีความร้คู วามเข้าใจและ
ร่วมกนั วางแผนขบั เคลื่อนกระบวนการ PLC เพื่อให้การดาเนนิ งานดังกลา่ วเป็นไปด้วยความเรียบรอ้ ย

จึงขออาศยั อานาจตามความในมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2547 และมาตราท่ี 27(4) แห่งพระราชบญั ญัตริ ะเบียบขา้ ราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา พ.ศ. 2537 และทแี่ กไ้ ขเพิ่มเตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2551 จึงแต่งต้งั คณะกรรมการดาเนินการสร้าง
ชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (Professional learning community : PLC) ประจาปกี ารศึกษา 2564
ดังตอ่ ไปนี้

1. คณะกรรมการอานวยการ

มีหน้าท่ี กาหนดนโยบาย แนวคิด รูปแบบในการดาเนินงาน ให้คาปรึกษา แนะนาแก่

คณะกรรมการฝา่ ย ต่างๆ และอานวยความสะดวก เพ่ือให้การดาเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อยบรรลุ

วตั ถุประสงคท์ ่กี าหนดไว้

1.1 นางจริ พร วงศ์ชยั พาณชิ ย์ ประธานกรรมการ

1.2 นายสริ วชิ ญ์ ขดั เชิง รองประธานกรรมการ

1.3 นางจนั ทร์สุรี สรุ นิ ทร กรรมการ

1.4 นางสาวปรานี วันมูล กรรมการ

1.5 นายรณชยั อนิ รัง กรรมการและเลขานุการ

2. คณะกรรมการดาเนินการ

มหี นา้ ท่ี วางแผนการดาเนินการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวิชาชีพ Professional learning

community : PLC ของโรงเรียนประกอบดว้ ย

2.1 นายรณชยั อินรัง ประธานกรรมการ

2.2 นางจันทรส์ รุ ี สรุ นิ ทร รองประธานกรรมการ

2.3 นายสิรวชิ ญ์ ขดั เชิง กรรมการ

2.4 นางสาวนวรัตน์ กวางวเิ ศษ กรรมการ

2.5 นางภาวนิ ีย์ ถือคา กรรมการและเลขานุการ

11

3. คณะกรรมการประจากลมุ่ สาระการเรียนรู้ 8 กลมุ่ สาระ

มีหนา้ ท่ี วางแผน และดาเนินการ พร้อมการสรุปผลการดาเนนิ การสร้างชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี

Professional learning community ; PLC ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาระบบกลไกและแนว

ทางการหนนุ เสรมิ ชมุ ชนการเรียนร้ทู างวชิ าชพี เพื่อพฒั นาผู้เรียนเสนอตอ่ งานวชิ าการตอ่ ไป ประกอบด้วย

3.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

3.1.1 นายรณชยั อินรัง ประธานกรรมการ

3.1.2 นางสาวรัตติภรณ์ ชานาญ รองประธานกรรมการ

3.1.3 นายจักรกฤษณ์ สมภรณ์วรพล กรรมการ

3.1.4 นายศริ พิ งษ์ ทะหลา้ กรรมการและเลขานุการ

3.2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ประธานกรรมการ
3.2.1 นางสาวนวรตั น์ กวางวเิ ศษ รองประธานกรรมการ
3.2.2 นางสาวเกศกนก ใจสุบรรณ กรรมการ
3.2.3 นายอนุศาสน์ หงส์แก้ว กรรมการและเลขานุการ
3.2.4 นางสาวอลสิ า แกว้ วะศรี

3.3 กลุม่ สาระภาษาไทย ประธานกรรมการ
3.3.1 นางเพชรากรณ์ เป็นใจ รองประธานกรรมการ
3.3.2 นายสริ ิวิชญ์ ขัดเชงิ กรรมการและเลขานุการ
3.3.3 นายผจญ แสนอินทร์

3.4 กลุ่มสาระภาษาตา่ งประเทศ ประธานกรรมการ
3.4.1 นางสาวจนิ ต์จุฑา เมอื งมงคล รองประธานกรรมการ
3.4.2 นางสาวภาวินีย์ ถอื คา กรรมการ
3.4.3 นางสาวมณีพร คามงคล กรรมการและเลขานุการ
3.4.4 นางสาวหทยั รัตน์ นิลนาค

3.5 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ประธานกรรมการ
3.5.1 นางสาวชลธชิ า สวะนา รองประธานกรรมการ
3.5.2 นายธงชาติ ปวรเมธกี ลุ กรรมการและเลขานุการ
3.5.3 วา่ ท่ี ร.ต. ศภุ กร แก้วบวั ดี

3.6 กลุม่ สาระการงานพน้ื ฐานอาชพี ประธานกรรมการ
3.6.1 นางจนั ทร์สรุ ี สรุ ินทร รองประธานกรรมการ
3.6.2 นายศวิ กร สรุ ยิ ะ กรรมการและเลขานุการ
3.6.3 นางสาววาสนา จันตาอดุ

12

3.7 กลมุ่ สาระศลิ ปะ ประธานกรรมการ
3.7.1 นางสาวปรานี วนั มูล กรรมการและเลขานุการ
3.7.2 นายเอกชยั ถุงทรัยพ์
ประธานกรรมการ
3.8 กลุ่มสาระสุขศึกษาและพละศึกษา กรรมการและเลขานุการ
3.8.1 นางนนั ทกาล สุขทอง
3.8.2 นายจักรกฤษณ์ คาสวา่ ง

4. คณะกรรมการนเิ ทศ

มีหนา้ ที่ กากับ ตดิ ตามการดาเนนิ การสร้างชุมชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี Professional Learning

Community ; PLC วางแผนการดาเนนิ การนเิ ทศติดตาม กาหนดตารางนิเทศติดตามภายในสถานศึกษา

4.1 นางจริ พร วงศช์ ัยพาณชิ ย์ ประธานกรรมการ

4.2 นายสิรวชิ ญ์ ขดั เชิง รองประธานกรรมการ

4.3 นางจันทรส์ ุรี สุรินทร กรรมการ

4.4 นางนันทกาล สขุ ทอง กรรมการ

4.5 นางสาวนวรัตน์ กวางวเิ ศษ กรรมการ

4.6 นางสาวจินต์จฑุ า เมืองมงคล กรรมการ

4.7 นางสาวชลธชิ า สวะนา กรรมการ

4.8 นายรณชยั อินรัง กรรมการและเลขานุการ

5. คณะกรรมการฝ่ายสรปุ และประเมินผล

มีหนา้ ท่ี จัดทาแบบประเมนิ ผลการดาเนินงานการสรา้ งชุมชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี Professional

Learning Community ; PLC เกบ็ รวบรวมข้อมูล จัดทาเอกสารสรุปผลการดาเนนิ งาน และสรุปผลการ

ดาเนนิ งาน

5.1 นายรณชยั อินรัง ประธานกรรมการ

5.2 นางสาวนวรัตน์ กวางวเิ ศษ รองประธานกรรมการ

5.3 นางสาวภาวนิ ยี ์ ถือคา กรรมการและเลขานุการ

ทงั้ นี้ใหก้ รรมการท่ีได้รบั การแต่งตัง้ ได้ปฏิบตั หิ น้าที่ ทีไ่ ดร้ ับมอบหมายใหเ้ ป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย
โดยคานึงถึงประโยชนส์ ูงสดุ ของทางราชการ โดยคานงึ ถึงวัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมายของโครงการเป็นสาคัญ
หากมปี ัญหาในระหวา่ งปฏบิ ตั ิงานให้ประสานคณะกรรมการทป่ี รกึ ษา เพอ่ื หาแนวทางในการแกป้ ญั หาต่อไป

ท้ังนี้ตงั้ แตว่ นั ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2564
สงั่ ณ วันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

(นางจิรพร วงศช์ ัยพาณิชย์)
ผอู้ านวยการโรงเรียนสรอยเสรีวทิ ยา

13

คาส่งั โรงเรียนสรอยเสรีวิทยา
ที่ 162 / 2564

เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการสร้างชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวิชาชีพ
(Professional Learning Community ) กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ประจาปีการศึกษา 2564

*******************************************************

ตามท่คี ณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานดาเนินการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC (Professional
learning community) ให้กับครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ
และรว่ มกนั วางแผนขบั เคล่ือนกระบวนการ PLC เพือ่ ให้การดาเนินงานดงั กล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

จึงขออาศัยอานาจตามความในมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2547 และมาตราท่ี 27(4) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 จึงแต่งตั้งคณะกรรมการ
ดาเนินการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional learning community : PLC) ประจาปี
การศกึ ษา 2564 ดังตอ่ ไปนี้

1. คณะกรรมการอานวยการ

มีหน้าที่ กาหนดนโยบาย แนวคิด รูปแบบในการดาเนินงาน ให้คาปรึกษา แนะนาแก่

คณะกรรมการฝา่ ย ต่างๆ และอานวยความสะดวก เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อยบรรลุ

วตั ถปุ ระสงคท์ ่ีกาหนดไว้

1.1 นางจิรพร วงศ์ชยั พาณิชย์ ประธานกรรมการ

1.2 นายสริ วชิ ญ์ ขัดเชงิ รองประธานกรรมการ

1.3 นางจนั ทร์สุรี สุรนิ ทร กรรมการ

1.4 นางสาวปรานี วันมูล กรรมการ

1.5 นายรณชัย อนิ รงั กรรมการและเลขานกุ าร

2. คณะกรรมการดาเนนิ การ

มีหน้าท่ี วางแผนการดาเนินการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional learning

community : PLC ของโรงเรียนประกอบดว้ ย

2.1 นายรณชัย อนิ รงั ประธานกรรมการ

2.2 นางจันทร์สรุ ี สรุ นิ ทร รองประธานกรรมการ

2.3 นายสริ วชิ ญ์ ขดั เชงิ กรรมการ

2.4 นางสาวนวรตั น์ กวางวเิ ศษ กรรมการ

2.5 นางภาวนิ ยี ์ ถอื คา กรรมการและเลขานุการ

14

3. คณะกรรมการประจากลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มีหน้าท่ี วางแผน และดาเนินการ พร้อมการสรุปผลการดาเนินการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทาง

วิชาชีพ Professional learning community ; PLC ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาระบบกลไก
และแนวทางการหนุนเสริมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพ่ือพัฒนาผู้เรียนเสนอต่องานวิชาการต่อไป
ประกอบด้วย

2.1 กจิ กรรม PLC วงรอบที่ 1 ภายใตก้ ิจกรรม ไฟฟา้ เคมี เซลล์กัลวานกิ โดยใช้แนวคดิ เชงิ รกุ

(Active learning) รปู แบบการสอนตามวัฎจักรการสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยเนน้ การปฏบิ ตั กิ าร

ทดลอง ประกอบไปด้วย

1. นายรณชยั อินรัง ปฏิบตั หิ นา้ ท่ี Model Teacher
2. นางสาวรัตติภรณ์ ชานาญ ปฏิบตั หิ นา้ ที่ Buddy Teacher
3. นายจักรกฤษณ์ สมภรณ์วรพล ปฏิบัติหน้าที่ Mentor Teacher

2.2 กิจกรรม PLC วงรอบที่ 1 ภายใต้กิจกรรม การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 1

ลกั ษณะ โดยใชแ้ นวคดิ เชงิ รกุ (Active learning) รูปแบบการสอนตามวัฎจักรการสืบเสาะหาความรู้

(5E) โดยเน้นการปฏิบัติการทดลอง ประกอบไปดว้ ย

1. นางสาวรตั ติภรณ์ ชานาญ ปฏิบัติหนา้ ที่ Model Teacher

2. นายรณชัย อนิ รัง ปฏิบัตหิ น้าที่ Buddy Teacher

3. นายจกั รกฤษณ์ สมภรณว์ รพล ปฏบิ ัติหนา้ ท่ี Mentor Teacher

2.3 กิจกรรม PLC วงรอบที่ 1 ภายใต้กิจกรรม ออกแบบและเขียนโปรแกรมด้วยภาษา

ไพทอน 1 โดยใช้สื่อเทคโนโลยีดิจิทัลและใช้กระบวนการเรียนการสอนห้องเรียนสอนคิด Thinking

school เป็นฐาน ประกอบไปดว้ ย

1. นายจักรกฤษณ์ สมภรณว์ รพล ปฏิบัติหน้าที่ Model Teacher

2. นางสาวรตั ตภิ รณ์ ชานาญ ปฏบิ ตั ิหน้าที่ Buddy Teacher

3. นายรณชัย อินรงั ปฏบิ ัติหน้าท่ี Mentor Teacher

มหี น้าที่ 1. เข้ารบั ปฏบิ ตั ิกิจกรรม PLC จานวนไมต่ า่ กว่า 20 ชั่วโมง
2. สรปุ ผลการดาเนินงานเขา้ รบั การปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเสนอตอ่ ครผู บู้ รหิ าร
3. ถ่ายภาพและบนั ทกึ วีดีทัศนต์ ลอดการ PLC
4. สรุปวิเคราะห์รายงานผลการประเมนิ เสนอต่อผูอ้ านวยการโรงเรยี น

15

ขอให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีได้รับการแต่งตั้งปฏิบัติหน้าท่ีอย่างเต็มความสามารถเพ่ือ
ประโยชนส์ งู สดุ แกร่ าชการ

ทั้งน้ตี งั้ แต่วนั ท่ี 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

สงั่ ณ วันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

นางจิรพร วงศ์ชัยพาณชิ ย์
(ผู้อานวยการโรงเรยี นสรอยเสรวี ทิ ยา)

16

แบบสรปุ การดาเนินงานการมสี ว่ นรว่ มในชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ
(Professional Learning Community PLC) ปกี ารศึกษา 2564
โดย นายรณชยั อินรัง ตาแหน่งครู วิทยฐานะ ชานาญการ

โรงเรียนสรอยเสรวี ิทยา อาเภอวังชนิ้ สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษาแพร่
กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

วงรอบที่ 1 ระหวา่ งวันที่ 15 พฤศจิกายน – 26 พฤศจิกายน 2564

รอบการแก้ปญั หา 1
ชอ่ื กลุ่มกจิ กรรม Science Saroy
จานวนสมาชิกท่ีเขา้ ร่วม 3
กจิ กรรม
ชอ่ื กจิ กรรม แกป้ ญั หาการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาเคมเี พ่มิ เตมิ 4 (ว32224)
วัน/เดือน/ปี เรื่อง ไฟฟา้ เคมี
ภาคเรียนที่ ระหว่างวนั ที่ 15 พฤศจิกายน – 26 พฤศจิกายน 2564
ปีการศึกษา 2
จานวนช่ัวโมง 2564
บทบาท 6 ช่วั โมง
Model Teacher
ประเด็น จากประสบการณ์สอนวิชาเคมี ในเน้ือหาเก่ียวกับไฟฟ้าเคมี พบว่า ทฤษฎีของตัว
เน้ือหามีความซับซ้อนเข้าใจยาก ต้องอาศัยหลักการจินตนาการให้เกิดมโนภาพ
สาเหตุ เพื่อนาไปสู่กระบวนการคิดเชิงวิทยาศาสตร์ แล้วนาไปสู่การลงมือปฏิบัติฝึกทา
โจทยห์ รอื แบบฝกึ ท่หี ลากหลาย จะทาให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจในตัวของทฤษฎี
ความรู้/หลกั การที่ เนื้อหาวิชามากขึ้น โดยทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ท่ีสาคัญประการหน่ึงที่
นามาใช้ กระตุ้นความคิดของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี คือ ทักษะการทดลอง โดยการได้ลงมือ
กจิ กรรมท่ีทา ปัญหาเพื่อค้นพบคาตอบด้วยการลงมือทาเพ่ือกระตุ้นให้เกิดภาพจา เช่ือมโยงสู่
การวิเคราะห์ อภิปรายผล และ สรุปผลการทดลอง แล้วเชื่อมโยงเพื่อการพิสูจน์
กับทฤษฎีเนอื้ หารายวิชา
นักเรยี นไมส่ ามารถลงขอ้ สรปุ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ ข้อมูลจากการทดลอง โดย
ขาดการนาข้อมลู จากเน้ือหาในทฤษฎีมาเชื่อมโยง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยทักษะ
กระบวนการลงมือปฏิบัติการทดลองร่วมกับชุดแบบฝึกกิจกรรมแบบสื่อผสม ใน
รายวิชา เคมเี พม่ิ เติม 4 ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5/1 โรงเรยี นสรอยเสรีวทิ ยา

17

ช่ัวโมงที่ 7-9 เรื่อง เซลล์กัลวานิกกับการสร้างเซลล์ (การทดลอง, ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์,
กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด, กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล, การนาเสนอและและอภิปรายข้อมูล,
กระบวนการจดั การเรยี นการสอนแบบ 5 Es)
ขนั้ ที่ 1 สรา้ งความสนใจ (Engagement;5 นาที)

1.1 ครูนาเข้าสบู่ ทเรยี นโดยการใชป้ ฏิกิริยาระหวา่ งโลหะสงั กะสกี บั สารละลาย CuSO4 ใหน้ กั เรยี น
รว่ มกันอภปิ ราย

-จากรูปภาพนักเรียนเห็นการเปล่ียนแปลงอะไรเกิดข้ึน ? [แนวทาง
คาตอบ; เม่ือนาโลหะสังกะสีจุ่มไว้ในสารละลาย CuSO4 สักระยะ เกิด
การแทนที่ของไอออน Cu2+บนแทง่ โลหะสังกะส]ี
- ลักษณะสีแดงทพี่ อกพนู บริเวณแท่งโลหะสงั กะสีเกิดขนึ้ ไดอ้ ย่างไร ?
[แนวทางคาตอบ;เกิดจากการที่สังกะสีเกิดการให้อิเล็กตรอนกับโลหะ

ภาพท่ี 2.1 ปฏิกริ ิยาของสังกะสกี ับ CuSO4 Cu2+ จึงทาให้ Cu2+ทาหนา้ ที่รบั อเิ ล็กตรอนบริเวณแทง่ โลหะสังกะส]ี

จากแผนภาพท่ี 2.1 จะสงั เกตเห็นปฏกิ ิรยิ าเกดิ ขน้ึ เม่อื เรานาโลหะสงั กะสซี ง่ึ มคี ่าศักยไ์ ฟฟ้าตา่ จุ่มลงใน

สารละลายท่มี ีองคป์ ระกอบของโลหะไอออน Cu2+ อยู่ซ่ึงมีค่าศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าโลหะสังกะสี ดังน้ัน จึง
ทาให้โลหะสังกะสีทาหน้าท่ีให้หรือสูญเสียอิเล็กตรอน โดยทองแดงทาหน้าที่รับอิเล็กตรอน ฝ่ายที่สูญเสีย
อิเล็กตรอนจึงถูกฝ่ายรับอิเล็กตรอนพอกพูนบริเวณผิวหน้าของโลหะชนิดนั้น เมื่อปล่อยทิ้งไว้สักระยะหน่ึง
สงั กะสีจะเกดิ การสกึ กร่อนเกิดข้นึ อยา่ งเหน็ ไดช้ ัด

1.2 ครูแจง้ จดุ ประสงค์การเรียนรูก้ ่อนเขา้ สเู่ นอื้ หา

ขน้ั ท่ี 2 สารวจและค้นหา (Exploration;55 นาที)
จากผลการอภิปรายเก่ียวกับปฏิกิริยาของโลหะสังกะสีกับสารละลายที่มีโลหะทองแดงเป็น

องค์ประกอบทผี่ ่านมา หากเราทาการเปลี่ยนชนดิ ของโลหะและชนิดของสารละลายจะเกิดผลการเปล่ียนแปลง
ไปในทิศทางเดียวกันหรือไม่เราจะมาลองศึกษาพร้อมกันกับกิจกรรมการทดลองท่ี 1 เรื่อง ปฏิกิริยาระหว่าง
โลหะกบั สารละลายของโลหะไอออน

2.1 ครใู ห้นักเรียนแบ่งกลุม่ กลมุ่ ละ 4-5 คน โดยคละความสามารถของนักเรียนและให้กาหนดหน้าที่
ของสมาชิกแต่ละคนใหช้ ัดเจน

2.2 นักเรียนรับใบกิจกรรมการทดลองที่ 1 เรื่อง ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับสารละลายของโลหะ
ไอออน (ดังแนบในภาคผนวก) ศึกษาพร้อมกันและเขียนลาดับข้ันตอนของการทดลองในรูปของ flow chat
ลงในสมุดเปน็ รายบคุ คล

Pre – Lab
ครชู ี้แจงช่ือและจดุ ประสงค์ กิจกรรมการทดลอง พร้อมแนะนาอุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นการทดลอง

จุดประสงค์ของการทดลอง(Objective)
1. เพอื่ ศึกษาปฏิกิริยาระหวา่ งโลหะกับสารละลายของโลหะไอออน

18

อุปกรณ์การทดลอง (Materials)
1. บีกเกอร์ (Beaker)
2. แทง่ แกว้ คนสาร (Sterling rod)
3. แผน่ พลาสตกิ ตดิ เครือ่ งแก้ว (Lebel)
สารเคมี (Chemicals)
1. สารละลายซงิ ค(์ II)ซัลเฟต ความเขม้ ขน้ 0.1 mol/L (ZnSO4)
2. สารละลายคอปเปอร(์ II)ซัลเฟต ความเขม้ ขน้ 0.1 mol/L (CuSO4)
3. กรดไฮโดรคลอรกิ ความเข้มขน้ 2.0 mol/L (HCl)
4. แผ่นโลหะทองแดงบริสุทธิ์
5. แผ่นโลหะสงั กะสบี ริสุทธิ์
วิธกี ารทดลอง (Procedure)
1. ตัดแผน่ โลหะสงั กะสีและแผ่นโลหะทองแดงใหม้ ขี นาดเท่ากนั ทาความสะอาดผวิ หนา้ โดยการขัดด้วย
กระดาษทรายและแช่ในกรดไฮโดรคลอริกความเข้มขน้ 2.0 mol/L
2. จดั ตั้งอุปกรณ์และบรรจุสารละลายลงในบีกเกอรด์ ังแสดงในตัวอย่างภาพดา้ นล่าง

- หมายเหตุ Cu2+ แทน สารละลาย CuSO4 0.1 mol/L ปรมิ าตร 30 mL
- หมายเหตุ Zn2+ แทน สารละลาย ZnSO4 0.1 mol/L ปรมิ าตร 30 mL
Lab

นกั เรยี นลงมอื ปฏบิ ัติกจิ กรรมการทดลองที่ 1 เรอื่ ง ปฏิกิรยิ าระหว่างโลหะกับสารละลายของ
โลหะไอออน โดยต้องลงมือปฏบิ ตั ิการทดลองครบทุกตอน
Post – Lab

1) ครสู ่มุ ให้ตัวแทนของนกั เรียนบางกลมุ่ ออกมาบนั ทึกผลการทดลองบนกระดาน
2) นกั เรียนและครูร่วมกนั อภิปรายผลการทดลองพร้อมท้ังสรุปผลการทดลอง
คาถามทา้ ยการทดลอง (Observe)

1) เมื่อจุ่มโลหะลงในสารละลายที่มีไอออนของโลหะชนิดเดียวกันจะเกิดปฏิกิริยาหรือไม่
สังเกตได้อย่างไร ?

2) เมื่อจุ่มโลหะลงในสารละลายที่มีไอออนของโลหะต่างชนิดกันจะเกิดปฏิกิริยาหรือไม่
สงั เกตไดอ้ ยา่ งไร ?

3) โลหะกับโลหะไอออนคู่ใดท่ีทาปฏิกิริยาได้ และทาปฏิกิริยาที่เกิดข้ึนเลขออกซิเดชันของ
สารเปลี่ยนแปลงหรือไม่อย่างไร จงเขียนสมการแสดงครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน รีดักชัน และปฏิกิริยารีดอกซ์
พรอ้ มท้งั ระบุตวั รดี วิ ซ์และตวั ออกซไิ ดส์ ?

19

4) ผลการทดลองท่ีเกิดขึ้น สามารถเปรียบเทียบความสามารถในการเป็นตัวออกซิไดส์และ
ตัวรดี วิ ซข์ องสารได้หรอื ไม่อยา่ งไร ?

ขัน้ ที่ 3 อธบิ ายและลงข้อสรุป (explanation;30 นาที)
แนวทางการอภปิ รายผลการทดลองและตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง

ครรู ว่ มอภิปรายผลการทดลองร่วมกันกบั นักเรยี นได้แนวสรปุ ออกมาดังนี้

ตารางที่ 2.1 แสดงผลการศึกษาปฏกิ ิรยิ าระหวา่ งโลหะกับสารละลายของโลหะไอออน

ระบบท่ที ดลอง การเปลีย่ นแปลงทส่ี ังเกตได้
Zn(s)/Cu2+(aq) เ กิ ด ต ะ ก อ น สี แ ด ง เ ก า ะ บ ริ เ ว ณ ผิ ว ห น้ า ข อ ง โ ล ห ะ

Cu(s)/Cu2+(aq) สงั กะสี สฟี า้ ของสารละลาย CuSO4 จางลง
Zn(s)/Zn2+(aq) ไม่เกิดการเปลีย่ นแปลง
Cu(s)/Zn2+(aq)
ไมเ่ กดิ การเปลยี่ นแปลง

ไม่เกดิ การเปลย่ี นแปลง

แนวทางการอภปิ รายการตอบคาถามท้ายการทดลอง
1) เม่ือจุ่มโลหะลงในสารละลายท่ีมีไอออนของโลหะชนิดเดียวกันจะเกิดปฏิกิริยาหรือไม่

สังเกตได้อยา่ งไร ? [แนวทางคาตอบ ; ไมเ่ กดิ การเปลี่ยนแปลง สังเกตจากผิวหน้าของโลหะแต่ละชนิด และ
สีของสารละลายไมเ่ กิดการเปลยี่ นแปลง]

2) เม่ือจุ่มโลหะลงในสารละลายท่ีมีไอออนของโลหะต่างชนิดกันจะเกิดปฏิกิริยาหรือไม่
สังเกตได้อย่างไร ? [แนวทางคาตอบ ; ขึ้นอยู่กับค่าศักย์ไฟฟ้าของคู่โลหะและไอออนโลหะ เมื่อเกิดการ
เปล่ียนแปลงจะสังเกตุเห็นตะกอนท่ีเกาะบริเวณผิวหน้าของโลหะชนิดน้ัน มีการกร่อนลง และสีของ
สารละลายโลหะไอออนจะจางลง]

3) โลหะกับโลหะไอออนคู่ใดที่ทาปฏิกิริยาได้ และทาปฏิกิริยาท่ีเกิดขึ้นเลขออกซิเดชันของ
สารเปล่ียนแปลงหรือไม่อย่างไร จงเขียนสมการแสดงคร่ึงปฏิกิริยาออกซิเดชัน รีดักชัน และปฏิกิริยารีดอกซ์
พร้อมทั้งระบุตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดส์ ? [แนวทางคาตอบ ; Zn(s)/Cu2+(aq) เกิดปฏิกิริยาได้ เลข
ออกซิเดชนั ของ Zn เปลีย่ นแปลงจาก 0 เปน็ +2 และ Cu2+ เปลีย่ นแปลงจาก 2+ เป็น 0

ครง่ึ ปฏิกิริยาออกซิเดชัน คือ Zn(s) Zn2+(aq) + 2e ตวั รีดวิ ซค์ ือ Zn
คร่ึงปฏกิ ริ ยิ ารีดักชัน คือ Cu2+(aq) + 2e Cu(s) ตัวออกซิไดส์ คือ Cu2+
ครึ่งปฏิกริ ิยารีดอกซ์ คือ Zn(s) + Cu2+(aq) Zn2+(aq) + Cu(s)

4) ผลการทดลองท่ีเกิดข้ึน สามารถเปรียบเทียบความสามารถในการเป็นตัวออกซิไดส์และ
ตัวรีดิวซ์ของสารได้หรือไม่อย่างไร ? [แนวทางคาตอบ ; สามารถเปรียบเทียบได้ โดย โลหะสังกะสีสามารถ
ให้อิเล็กตรอนได้ดีกว่าโลหะทองแดง ดังน้ัน สังกะสีจึงมีความเป็นตัวรีดิวซ์มากกว่าทองแดง ใน
ขณะเดียวกนั ทองแดงสามารถรับอเิ ล็กตรอนได้ดกี วา่ จงึ เป็นตวั ออกซไิ ดสไ์ ด้ดีกวา่ สังกะสี]

20

แนวทางการอภปิ รายการสรุปผลการทดลอง
ครใู หน้ ักเรียนศกึ ษาแนวทางการสรปุ ผลการทดลองจากคาถามทา้ ยการทดลองเพื่อเป็นแนวทาง

[แนวทางสรุปผลการทดลอง; เม่ือจ่มุ โลหะลงในสารละลายของโลหะไอออนแต่ละชนิด และทาการ
เปรียบเทียบความสามารถเป็นตัวรับและให้อิเล็กตรอนจากผลการศึกษาพบว่า ความสามารถในการให้
และรบั อเิ ลก็ ตรอนขนึ้ อยู่กบั คา่ ศกั ย์ไฟฟ้าของโลหะแตล่ ะชนดิ ในการทดลองพบวา่ โลหะสังกะสีสามารถให้
อิเล็กตรอนหรือเป็นตัวรีดิวซ์ได้ดีกว่าเน่ืองจากมีค่าศักย์ไฟฟ้าต่ากว่าทองแดง โดยทองแดงจะทาหน้าที่รับ
อเิ ล็กตรอนหรอื เป็นตัวออกซไิ ดส์เนือ่ งจากมีคา่ ศกั ย์ไฟฟา้ สงู กว่าสังกะสี]

ข้นั ท่ี 4 ขยายความรู้ (Elaboration;60 นาที)
4.1 ครูข้นึ ภาพองค์ประกอบของเซลล์กลั วานกิ และอธิบายขยายความรเู้ พ่มิ เตมิ ใหก้ ับนกั เรียน

ภาพท่ี 2.2 องค์ประกอบของเซลลก์ ลั วานิก
จากการท่นี ักเรียนไดศ้ กึ ษาการทดลองท่ผี า่ นมาระหว่างปฏิกิริยาของสงั กะสแี ละทองแดงเมอื่
เรานามาประกอบเข้าจนครบองคป์ ระกอบของเซลล์กลั วานกิ จะได้องคป์ ระกอบดังภาพ โดยองค์ประกอบท่ี
สาคัญของเซลลก์ ลั วานิกจะประกอบไปดว้ ย
1. ข้ัวไฟฟ้า (Electrode) ท่ีทาหนา้ ท่ีเปน็ ขวั้ แคโทดและแอโนด ส่วนใหญค่ ือแผน่ โลหะทเ่ี ราต้องการ
ศึกษาหรือนามาทาปฏิกริ ยิ าน่ันเอง
2. สารละลายอเิ ล็กไทรไลต์ (Electrolyte solution) คือสารละลายทบี่ รรจุในบกี เกอร์ที่เราจะนา
ชนิดของข้วั ไฟฟา้ จุ่มอยู่ โดยสารละลายดังกลา่ วต้องเปน็ โลหะไอออนของโลหะน้นั และแตกตวั เปน็ ไอออนได้ดี
เชน่ สารละลายอเิ ลก็ โทรไลต์ของข้ัวไฟฟ้าสงั กะสี ก็คอื ZnSO4 เนอ่ื งจากเมื่อละลายนา้ จะแตกตัวเปน็ ไอออน
และได้ไอออนของ Zn2+ นัน่ เอง
3. สะพานเกลือ ส่วนใหญ่นยิ มใช้กระดาษกรองตดั เปน็ แผน่ แล้วชบุ ลงไปในเกลือพวก KNO3 ที่อม่ิ ตัว
มากๆ เพอื่ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการเดินทางขา้ มของไอออนของโลหะท้ัง 2 ฝ่ังของบีกเกอร์
4. โวลตม์ ิเตอร์ คืออปุ กรณ์ที่ใช้วดั ศกั ย์ไฟฟา้ ทเ่ี กิดขึน้ ภายในปฏกิ ริ ยิ า และสามารถใช้ทานายทิศ
ทางการไหลของอเิ ล็กตรอนไดด้ ว้ ย
เพอ่ื ความเข้าใจในเน้ือหามากขึ้น เราจะมาลองศึกษาเซลล์กัลวานิกกบั การทดลองท่ี 2 เร่ือง
การถ่ายโอนอเิ ล็กตรอนในเซลล์กัลวานกิ พร้อมกนั

21

4.2 ครใู หน้ กั เรียนแบ่งกลุ่ม กลุม่ ละ 4-5 คน โดยคละความสามารถของนักเรยี นและให้กาหนดหนา้ ท่ี
ของสมาชิกแตล่ ะคนใหช้ ัดเจน

4.3 นักเรียนรับใบกิจกรรมการทดลองที่ 2 เร่ือง การถ่ายโอนอเิ ลก็ ตรอนในเซลล์กลั วานิก (ดังแนบ

ในภาคผนวก) ศึกษาพร้อมกันและเขียนลาดับขั้นตอนของการทดลองในรูปของ flow chat ลงในสมุดเป็น

รายบคุ คล

Pre – Lab

ครูชี้แจงชอื่ และจดุ ประสงค์ กิจกรรมการทดลอง พรอ้ มแนะนาอุปกรณท์ ใ่ี ช้ในการทดลอง

จดุ ประสงค์ของการทดลอง(Objective)

1. เพื่อศึกษาวิธสี ร้างเซลลก์ ลั วานิกและปฏกิ ริ ิยาทเี่ กิดขนึ้ ภายในเซลล์

อุปกรณ์การทดลอง (Materials)

1. บกี เกอร์ (Beaker)

2. แทง่ แกว้ คนสาร (Sterling rod)

3. แผน่ พลาสติกติดเคร่ืองแก้ว (Lebel)

4. กระดาษกรอง

5. โวลต์มเิ ตอร์ (Volte meter)

สารเคมี (Chemicals)

1. สารละลายซงิ ค(์ II)ซลั เฟต ความเข้มข้น 0.1 mol/L (ZnSO4)
2. สารละลายคอปเปอร(์ II)ซลั เฟต ความเข้มขน้ 0.1 mol/L (CuSO4)
3. กรดไฮโดรคลอริกความเข้มขน้ 2.0 mol/L (HCl)

4. แผน่ โลหะทองแดงบริสทุ ธิ์

5. แผ่นโลหะสังกะสบี ริสุทธ์ิ

วธิ กี ารทดลอง (Procedure)
1. จุ่มแผ่นทองแดงขนาด 0.5 cm x 5.0 cm ลงในบีกเกอร์ขนาด 50 cm3 ท่ีมีสารละลาย CuSO4 1.0
mol/dm3 ปริมาตร 20 cm3 เขียนฉลาก Cu(s)/Cu2+(aq) ติดท่ีข้างบีกเกอร์ และจุ่มแผ่นสังกะสีขนาด
cm ลงในบีกเกอร์ขนาด 50 cm3 mol/dm3 cm3
0.5 cm x 5.0 Zn(s)/Zn2+(aq) ติดท่ีข้างบีกเกอร์ ที่มีสารละลาย ZnSO4 1.0 ปริมาตร 20
และเขยี นฉลาก

2. นาบกี เกอร์ที่มีโลหะจุ่มอยู่ในสารละลายท่ีเตรียมไว้ในข้อ 1 มาวางชิดกัน ใช้สะพานเกลือ (ทาจากกระดาษ

กรองจมุ่ ในสารละลายของแตล่ ะบีกเกอร)์

3. ต่อแผนทองแดงและแผ่นสังกะสีเข้ากับโวลต์มิเตอร์ สังเกตทิศทางการเบนของเข็มโวลต์มิเตอร์และอ่านค่า

ความตา่ งศักย์

4. สลบั ขั้วของโวลตม์ ิเตอร์ สังเกตทศิ ทางการเบนของเข็มโวลต์มเิ ตอร์และอา่ นค่าความต่างศกั ย์

5. ใชห้ ลอดไฟขนาด 1.0 V มาต่อกับขวั้ ทองแดงและข้วั สังกะสีแทนโวลต์มเิ ตอร์ สังเกตการเปลย่ี นแปลง

6. ทาการทดลองเชน่ เดียวกบั ข้อ 1-5 แต่ใชค้ ร่งึ เซลล์คู่ตอ่ ไปน้ี และเปลย่ี นสะพานเกลอื ใหม่ทุกครัง้

22

ตัวอย่างการสรา้ งเซลลก์ ัลวานกิ
Lab

นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมการทดลองท่ี 2 เรื่อง การถ่ายโอนอิเล็กตรอนในเซลล์
กัลวานิก โดยต้อง
ลงมอื ปฏิบัติการทดลองครบทุกตอน
Post – Lab
1) ครูสมุ่ ใหต้ ัวแทนของนกั เรียนบางกลุม่ ออกมาบันทกึ ผลการทดลองบนกระดาน
2) นกั เรียนและครรู ่วมกนั อภิปรายผลการทดลองพร้อมท้งั สรุปผลการทดลอง
คาถามทา้ ยการทดลอง (Observe)

1) เมื่อต่อคร่ึงเซลล์ Zn(s)/Zn2+(aq) กับคร่ึงเซลล์ Cu(s)/Cu2+(aq) มีปฏิกิริยาถ่ายโอนอิเล็กตรอนเกิดขึ้น
หรือไม่ ทราบได้อย่างไร จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาออกซิเดชัน รีดักชัน และปฏิกิริยารีดอกซ์ท่ีเกิดข้ึน
ภายในเซลล์ ?

2) จงเปรียบเทยี บความสามารถในการเปน็ ตัวออกซิไดสแ์ ละตัวรีดิวซข์ องสาร ?
3) การทดลองนม้ี ีประโยชน์อย่างไร ?
4) สะพานเกลือทาหนา้ ทอี่ ย่างไร ?
ขน้ั ที่ 5 ประเมิน (evaluation;30 นาที)

5.1 ครอู ภิปรายแนวทางผลการทดลองและตารางบันทึกผลการทดลองที่ 2 เรื่อง การถ่าย
โอน อเิ ล็กตรอนในเซลล์กัลวานิก ท่ไี ด้มอบหมายใหน้ กั เรยี นปฏิบัตกิ ิจกรรมไปก่อนหน้า

แนวทางการอภิปรายผลการทดลองและตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง
ครรู ่วมอภปิ รายผลการทดลองร่วมกับนักเรียนได้แนวสรุปออกมาดังน้ี

ตารางท่ี 2.2 แสดงผลการศึกษาการถ่ายโอนของอเิ ลก็ ตรอนในเซลล์กัลป์วานิก

ครึ่งเซลล์คู่ที่ต่อกัน ข้ัวไฟฟา้ ที่เข็มโวลต์ ค่าความตา่ งศักย์ (V)

มเิ ตอร์เบนเขา้ หา
Zn(s)/Zn2+(aq)//Cu2+(aq)/Cu(s) เบนเข้าหาข้ัวแคโทด ขน้ึ อยูก่ ับผลการทดลอง

Cu(s)/Cu2+(aq)//Zn2+(aq)/Zn(s) เบนเข้าหาขัว้ แอโนด ขึน้ อยูก่ ับผลการทดลอง

23

แนวทางการอภิปรายการตอบคาถามทา้ ยการทดลอง

1) เมื่อต่อคร่ึงเซลล์ Zn(s)/Zn2+(aq) กับครึ่งเซลล์ Cu(s)/Cu2+(aq) มีปฏิกิริยาถ่ายโอนอิเล็กตรอนเกิดข้ึน

หรือไม่ ทราบได้อย่างไร จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาออกซิเดชัน รีดักชัน และปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เกิดขึ้น

ภายในเซลล์ ? [แนวทางคาตอบ ; มีการไหลของอิเล็กตรอนเกิดขึ้นสังเกตจากเข็มของโวลต์มิเตอร์ที่เบนไป

ทางขัว้ ทองแดง Zn2+(aq) + 2e ตัวรดี วิ ซค์ อื Zn
ครง่ึ ปฏกิ ิริยาออกซิเดชนั คือ Zn(s) Cu(s) ตวั ออกซไิ ดส์ คอื Cu2+
ครงึ่ ปฏกิ ริ ยิ ารีดกั ชนั คอื Cu2+(aq) + 2e Zn2+(aq) + Cu(s)
ครง่ึ ปฏกิ ิริยารดี อกซ์ คือ Zn(s) + Cu2+(aq)

2) จงเปรียบเทยี บความสามารถในการเปน็ ตวั ออกซิไดส์และตัวรีดวิ ซ์ของสาร ? [แนวทางคาตอบ ; โลหะ
สังกะสสี ามารถให้อเิ ล็กตรอนได้ดกี ว่าโลหะทองแดง ดังนน้ั สงั กะสีจึงมีความเป็นตัวรีดิวซ์มากกว่าทองแดง
ในขณะเดยี วกนั ทองแดงสามารถรับอเิ ลก็ ตรอนได้ดีกว่าจงึ เปน็ ตวั ออกซไิ ดส์ได้ดีกวา่ สังกะสี ]

3) การทดลองน้ีมีประโยชน์อย่างไร ? [แนวทางคาตอบ ; ใช้ทานายทิศทางการเกิดปฏิกิริยาของเซลล์
กัลวานกิ หรือเปรยี บเทียบคา่ ศกั ย์ไฟฟ้าของโลหะแตล่ ะชนิดได้]

4) สะพานเกลอื ทาหนา้ ท่อี ย่างไร ? [แนวทางคาตอบ ; เชื่อมต่ออิเล็กโทรไลต์ 2 ครึ่งเซลล์ โดยสารอิเล็ก
โทรไลต์ไม่ปนกนั รักษาสมดลุ ระหว่างไอออนบวกและลบในอเิ ลก็ โทรไลต์]

แนวทางการอภปิ รายการสรุปผลการทดลอง
ครูให้นักเรียนศกึ ษาแนวทางการสรุปผลการทดลองจากคาถามท้ายการทดลองเพื่อเป็นแนวทาง

[แนวทางสรุปผลการทดลอง; จากการทดลอง เม่ือนาสองครึ่งเซลล์ต่างชนิดกันมาต่อด้วยสะพาน
เกลือ ซ่ึงทาหน้าท่ีให้ไอออนเคลื่อนที่จากสารละลายหน่ึงไปยังอีกสารละลายหน่ึง เมื่อองค์ประกอบครบ
วงจร จะพบว่าอิเล็กตรอนจะไหลออกจากโลหะท่ีมีค่าศักย์ไฟฟ้าต่า คือโลหะสังกะสี โดยเข็มของโวลต์
มิเตอร์จะเบนเข้าหาโลหะทองแดงที่มีค่าศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าโดยทาหน้าท่ีรับอิเล็กตรอนน่ันเอง และสามารถ
สังเกตเหตโุ ลหะสังกะสีเกิดการพอกพูนของตะกอนสีแดงของทองแดงเมื่อทิ้งไว้เป็นระยะเวลานาน ๆ โลหะ
สงั กะสีจะเกดิ การกร่อนเนอื่ งจากสญู เสยี อเิ ล็กตรอนน่นั เอง]

5.2 ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียน ดังน้ี การตอบคาถามในชั้นเรียน การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
ทกั ษะการทดลอง และประเมินการจดบันทึกในสมุดของนักเรยี น

ชวั่ โมงที่ 10-12 เรื่อง องค์ประกอบของเซลลก์ ลั วานกิ กับการเขียนแผนภาพเซลล์แบบย่อ (การทดลอง, ทักษะ
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์, กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด, กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล, การนาเสนอ
และและอภปิ รายข้อมลู , กระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบ 5 Es)
ข้ันท่ี 1 สรา้ งความสนใจ (Engagement;5 นาที)

1.1 ครูสร้างความสนใจให้นักเรียนรว่ มกนั อภปิ รายประเดน็ การทดลองดังน้ีใหน้ กั เรยี นรว่ มกันตอบ
คาถาม

Mg(s)/Mg2+(aq)//Cu2+(aq)/Cu(s)

24

- จากการทดลอง ครูกาหนดให้โลหะใดเปน็ ข้ัวแอโนด และ ขั้วใดเป็นข้ัวแคโทด [แนวทางคาตอบ ;
ข้ัวแอโนดคอื Mg ขว้ั แคโทด คือ Cu]

- เม่อื ต่อองค์ประกอบครบวงจรตามหลักการของเซลลก์ ัลวานิกจะเกิดกระแสไฟฟ้าหรือไม่ นักเรียน
ทราบได้อยา่ งไร ? [แนวทางคาตอบ ; ศึกษาขอ้ มลู จากค่าศักย์ไฟฟา้ มาตรฐานของคร่ึงเซลล์
รดี กั ชนั ท่ี 298 K ปฏิกริ ยิ าสามารถเกิดได้เน่ืองจาก Mg มีคา่ ศักยไ์ ฟฟ้าตา่ กวา่ Cu ทาหนา้ ท่ี
เปน็ ขวั้ แอโนดถกู ตอ้ ง และ Cu เปน็ ข้วั แคโทดถกู ตอ้ ง ]

เราสามารถคาดการณ์หรือเลือกขั้วไฟฟ้าในการทาปฏิกิริยาเบ้ืองต้นได้โดยการศึกษาค่าศักย์ไฟฟ้า
มาตรฐานของครงึ่ รีดักชนั ท่ี 298 K ได้เบ้ืองต้น โดยหลักการของเซลล์กัลวานิก ข้ัวแอโนดหรือขั้วท่ีทาหน้าท่ีให้
อิเลก็ ตรอนต้องมคี า่ ศกั ย์ไฟฟา้ ตา่ ๆ จะใหอ้ เิ ลก็ ตรอนไดด้ ี สว่ นข้ัวท่ีมีค่าศักย์ไฟฟ้าสูงจะทาหน้าท่ีรับอิเล็กตรอน
ได้ดีกว่า สาหรับทฤษฎีกับการปฏิบัติจะสอดคล้องสัมพันธ์กันหรือไม่เราจะมาลองศึกษาพร้อมกันกับกิจกรรม
การเรียนรตู้ อ่ ไปนี้

1.2 ครูแจง้ จุดประสงค์การเรยี นรูก้ ่อนเข้าสเู่ นื้อหา

ข้นั ที่ 2 สารวจและคน้ หา (Exploration;55 นาที)
2.1 ครูกาหนดคู่ของข้ัวไฟฟ้าต่อไปนี้ให้นักเรียนทานายทิศทางการเกิดปฏิกิริยาในเซลล์กัลวานิกว่า

ปฏิกริ ิยาสามารถเกดิ ข้นึ เองหรือไม่ (ใบงานที่ 2.1 การทานายทิศทางการไหลของอิเล็กตรอนในเซลล์กัลวา
นิก ดังแนบในภาคผนวก) โดยการเปรยี บเทยี บข้อมลู จาก คา่ ศกั ยไ์ ฟฟา้ มาตรฐานของครึง่ รดี กั ชันที่ 298 K

2.2 ครูให้นักเรียนศึกษาคาตอบเพิ่มเติมจากสื่อวีดีทัศน์ การทดลองเซลล์ไฟฟ้าเคมี ตอน เซลล์
กัลวานกิ ส่อื ประกอบการเรยี นการสอนของสถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.)

ขัน้ ที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation;30 นาที)
ครูร่วมอธิบายและลงข้อสรุปกับนักเรียนเก่ียวกับ ใบงานที่ 2.1 เรื่อง การทานายทิศทางการไหล

ของอิเลก็ ตรอนในเซลล์กัลวานิก (ดังแนบในภาคผนวก) ที่ได้มอบหมายให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมก่อนหน้า
เพ่อื ขยายความเข้าใจให้กับนกั เรียน

จากผลการศึกษาบางคู่การทดลองนักเรียนจะสังเกตเห็นได้ว่า ค่าศักย์ไฟฟ้าท่ีเกิดขึ้นมีค่าติดลบ แสดง
ให้เห็นว่า ปฏกิ ิรยิ าไม่สามารถเกดิ ขนึ้ เองได้ สาเหตุมาจากการใช้ข้ัวไฟฟ้าท่ีมีศักย์ไฟฟ้าไม่สอดคล้องกับครึ่งของ
ปฏกิ ิริยา เราสามารถแกไ้ ขได้โดยการสลบั ขั้วไฟฟ้า จะทาให้คา่ ศักยไ์ ฟฟ้าทไี่ ด้มีคา่ เป็นบวก ปฏิกิริยาจะสามารถ
ดาเนินต่อไปได้นั่นเอง

ขั้นท่ี 4 ขยายความรู้ (Elaboration;60 นาที)
4.1 ครขู ยายความร้ใู หก้ บั นักเรียนในเรอื่ ง การเขยี นแผนภาพเซลล์ โดยมีรายละเอียดดงั นี้
Zn(s)/Zn2+(aq)//Cu2+(aq)/Cu(s)
จากสมการแสดงดังกลา่ ว เรยี กวา่ แผนภาพเซลลแ์ บบย่อที่นกั เรียนคุ้นเคยและรู้จักกันมาบ้างแล้ว สาหรบั

หลกั การเขยี นมแี นวปฏิบัติอย่างไร เราจะมาศึกษาพรอ้ มกันกบั เนื้อหาต่อไปน้ี

25

ภาพท่ี 2.3 องค์ประกอบของเซลล์กลั วานิก
แผนภาพเซลล์แบบย่อ คอื การแสดงองคป์ ระกอบของการเกิดปฏิกิริยาของเซลลก์ ัลวานิกทั้งหมดดังแสดง
ในภาพ เพื่อความสะดวกในการศึกษาเร่ืองเซลล์ไฟฟ้าเคมี จึงนยิ มเขยี นแผนภาพเซลลแ์ ทนการวาดรปู หรือ
บรรยาย หลักการเขยี นตามฟอรม์ ดงั นี้

ขัว้ ไฟฟ้าแอโนด/สารละลายอิเลก็ โทรไลต์ท่ขี ้วั แอโนด//สารละลายอเิ ล็กโทรไลตท์ ี่ขัว้ แคโทด/ข้วั ไฟฟา้ แคโทด

- ข้วั ไฟฟ้าตอ้ งระบุสถานะของขัว้ ไฟฟ้าในวงเล็บดว้ ยเสมอ เช่น Zn(s)
- สารละลายอิเล็กโทรไลตก์ รณมี ีความเข้มขน้ ต้องใส่ความเข้มขน้ ด้วย เชน่ Cu2+ (aq, 1mol/L)
- แต่ละครึ่งปฏิกริ ยิ าท่ีเกดิ ต้องค่นั ดว้ ยสะพานเกลือ โดยการใชส้ ัญลักษณ์ (//)
ตวั อยา่ งการเขียนแผนภาพเซลล์ในกรณีทตี่ ้องระบคุ วามเข้มขน้ และค่าความดันของแก๊สกรณีขว้ั ไฟฟ้ามสี ถานะ
เป็นแก๊ส และมีขวั้ ไฟฟา้ ช่วยอย่ดู ว้ ย

การเขียนแผนภาพเซลลแ์ บบยอ่

ภาพท่ี 2.4 การตอ่ ครง่ึ เซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐานกบั คร่งึ เซลล์ทองแดงมาตรฐาน
สรุปหลกั ในการเขียนแผนภาพเซลลก์ ัลวานกิ ได้ดงั ต่อไปนี้
1. เขยี นครึ่งเซลลแ์ อโนดไว้ทางซ้าย คั่นดว้ ยสะพานเกลือ (//) แลว้ เขียนครึง่ เซลลแ์ คโทดไวท้ างขวา
2. แตล่ ะครึ่งเซลล์ใหเ้ ขยี นขั้วไฟฟา้ ไวร้ มิ สดุ สารท่อี ยู่ในสถานะเดยี วกนั ค่ันด้วย (,) ถา้ ตา่ งสถานะค่นั ด้วย (/)

26

3. ระบุสถานะของสารโดยใช้ (s), (l), (g) และ (aq) สารละลายทท่ี ราบความเข้มข้นใหร้ ะบคุ วามเข้มขน้ ใน
วงเลบ็ เชน่ (aq, 1 mol/dm3) หรือ (aq, 1 M) ขวั้ ไฟฟ้าแก๊สถา้ ทราบความดนั ตอ้ งระบุความดนั โดยใส่ใน
วงเล็บด้วย เช่น (g, 1 atm)
4. ถา้ ทราบแผนภาพเซลล์สามารถเยนสมการแสดงปฏิกิริยาคร่ึงเซลล์ และปฏิกริ ิยาของเซลลไ์ ฟฟ้าได้

4.2 ครูมอบหมายใหน้ กั เรียนทา ใบงานที่ 2.2 เรอ่ื ง แผนภาพเซลล์ (ดังแนบในภาคผนวก) เพื่อ
ตรวจสอบและทบทวนความรู้ความเข้าใจของนกั เรยี น

ขน้ั ท่ี 5 ประเมนิ (evaluation;30 นาที)
5.1 ครูอภิปรายแนวทางคาตอบจาก ใบงานท่ี 2.2 เรื่อง แผนภาพเซลล์ (ดังแนบในภาคผนวก) ที่

ไดม้ อบหมายให้นักเรยี นปฏิบัติกจิ กรรมไป
5.2 ครปู ระเมินการเรยี นรขู้ องนักเรยี น ดังน้ี การตอบคาถามในช้ันเรียน การร่วมกจิ กรรมกลุ่ม และ
ประเมินการจดบันทึกในสมุดของนักเรียน

ผลทไ่ี ดจ้ ากกจิ กรรม

1. นักเรียนเกิดทักษะทดลอง เปรียบเทียบ เพ่ือศึกษาปฏิกิริยาการถ่ายโอนอิเล็กตรอนระหว่างโลหะกับโลหะ
ไอออน พรอ้ มเขียนสมการออกซิเดชัน รดี ักชัน ปฏิกริ ิยารดี อกซ์ ระบุและเปรียบเทียบความสามารถในการเป็น
ตวั ออกซิไดส์ และตวั รีดิวซ์ของปฏิกริ ิยาได้
2. นักเรียนเกิดทักษะการทดลอง อธิบาย ระบุส่วนประกอบของเซลล์กัลวานิกและส่วนประกอบคร่ึงเซลล์
อธิบายปฏิกิริยาการถ่ายโอนอิเล็กตรอนในเซลล์ สามารถเขียนแผนภาพเซลล์ ตลอดจนอธิบายการหา
ศักยไ์ ฟฟา้ ของเซลล์ และ ใชค้ ่า E  หาศักย์ไฟฟ้าของเซลล์เปรยี บเทียบตวั ออกซไิ ดส์ ตัวรดี วิ ซ์ และทานายทิศ
ทางการเกิดปฏิกริ ิยาได้

รบั รองข้อมลู ถูกต้อง รับรองข้อมูลถูกต้อง

(นายรณชัย อนิ รัง) (นางจิรพร วงศ์ชัยพาณชิ ย์)
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการ ผู้อานวยการโรงเรยี นสรอยเสรีวิทยา
วันท่ี 26 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2564
วนั ท่ี 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

27

คาส่งั โรงเรียนสรอยเสรีวิทยา
ที่ 196 / 2564

เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการสร้างชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวิชาชีพ
(Professional Learning Community ) กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ประจาปีการศึกษา 2564

*******************************************************

ตามท่คี ณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานดาเนินการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC (Professional
learning community) ให้กับครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ
และรว่ มกนั วางแผนขบั เคล่ือนกระบวนการ PLC เพือ่ ให้การดาเนินงานดงั กล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

จึงขออาศัยอานาจตามความในมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2547 และมาตราท่ี 27(4) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 จึงแต่งตั้งคณะกรรมการ
ดาเนินการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional learning community : PLC) ประจาปี
การศกึ ษา 2564 ดังตอ่ ไปนี้

1. คณะกรรมการอานวยการ

มีหน้าที่ กาหนดนโยบาย แนวคิด รูปแบบในการดาเนินงาน ให้คาปรึกษา แนะนาแก่

คณะกรรมการฝา่ ย ต่างๆ และอานวยความสะดวก เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อยบรรลุ

วตั ถปุ ระสงคท์ ่ีกาหนดไว้

1.1 นางจิรพร วงศ์ชยั พาณิชย์ ประธานกรรมการ

1.2 นายสริ วชิ ญ์ ขัดเชงิ รองประธานกรรมการ

1.3 นางจนั ทร์สุรี สุรนิ ทร กรรมการ

1.4 นางสาวปรานี วันมูล กรรมการ

1.5 นายรณชัย อนิ รงั กรรมการและเลขานกุ าร

2. คณะกรรมการดาเนนิ การ

มีหน้าท่ี วางแผนการดาเนินการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional learning

community : PLC ของโรงเรียนประกอบดว้ ย

2.1 นายรณชัย อนิ รงั ประธานกรรมการ

2.2 นางจันทร์สรุ ี สรุ นิ ทร รองประธานกรรมการ

2.3 นายสริ วชิ ญ์ ขดั เชงิ กรรมการ

2.4 นางสาวนวรตั น์ กวางวเิ ศษ กรรมการ

2.5 นางภาวนิ ยี ์ ถอื คา กรรมการและเลขานุการ

28

3. คณะกรรมการประจากล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มีหน้าที่ วางแผน และดาเนินการ พร้อมการสรุปผลการดาเนินการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทาง

วิชาชีพ Professional learning community ; PLC ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาระบบกลไก
และแนวทางการหนุนเสริมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพ่ือพัฒนาผู้เรียนเสนอต่องานวิชาการต่อไป
ประกอบดว้ ย

2.1 กจิ กรรม PLC วงรอบท่ี 2 ภายใต้กิจกรรม ไฟฟ้าเคมี เซลล์อเิ ล็กโทรไลต์ โดยใช้แนวคดิ เชิง

รกุ (Active learning) รปู แบบการสอนตามวัฎจกั รการสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยเนน้ การปฏิบัตกิ าร

ทดลอง ประกอบไปด้วย

1. นายรณชัย อนิ รงั ปฏิบัติหนา้ ที่ Model Teacher
2. นางสาวรัตตภิ รณ์ ชานาญ ปฏบิ ัตหิ น้าท่ี Buddy Teacher
3. นายจกั รกฤษณ์ สมภรณว์ รพล ปฏิบตั หิ น้าที่ Mentor Teacher

2.2 กิจกรรม PLC วงรอบที่ 2 ภายใต้กิจกรรม การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 2

ลักษณะ โดยใชแ้ นวคิดเชิงรุก (Active learning) รูปแบบการสอนตามวัฎจักรการสืบเสาะหาความรู้

(5E) โดยเนน้ การปฏบิ ตั กิ ารทดลอง ประกอบไปดว้ ย

1. นางสาวรตั ติภรณ์ ชานาญ ปฏิบตั ิหนา้ ท่ี Model Teacher

2. นายรณชยั อินรัง ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ี Buddy Teacher

3. นายจักรกฤษณ์ สมภรณ์วรพล ปฏิบตั หิ น้าที่ Mentor Teacher

2.3 กิจกรรม PLC วงรอบที่ 2 ภายใต้กิจกรรม ออกแบบและเขียนโปรแกรมด้วยภาษา

ไพทอน 2 โดยใช้ส่ือเทคโนโลยีดิจิทัลและใช้กระบวนการเรียนการสอนห้องเรียนสอนคิด Thinking

school เป็นฐาน ประกอบไปดว้ ย

1. นายจกั รกฤษณ์ สมภรณว์ รพล ปฏิบัติหน้าที่ Model Teacher

2. นางสาวรัตติภรณ์ ชานาญ ปฏิบัตหิ น้าที่ Buddy Teacher

3. นายรณชัย อนิ รงั ปฏบิ ัติหนา้ ที่ Mentor Teacher

มหี น้าท่ี 1. เขา้ รับปฏิบัตกิ ิจกรรม PLC จานวนไม่ต่ากว่า 20 ชัว่ โมง
2. สรปุ ผลการดาเนินงานเข้ารบั การปฏิบตั ิกจิ กรรมเสนอตอ่ ครูผูบ้ ริหาร
3. ถา่ ยภาพและบันทึกวีดที ัศน์ตลอดการ PLC
4. สรุปวิเคราะหร์ ายงานผลการประเมนิ เสนอต่อผอู้ านวยการโรงเรียน

29

ขอให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีได้รับการแต่งตั้งปฏิบัติหน้าท่ีอย่างเต็มความสามารถเพ่ือ
ประโยชน์สงู สุดแก่ราชการ

ทั้งนี้ต้งั แต่วันท่ี 2 ธันวาคม พ.ศ. 2564

สัง่ ณ วันที่ 2 ธนั วาคม พ.ศ. 2564

นางจิรพร วงศ์ชัยพาณชิ ย์
(ผอู้ านวยการโรงเรียนสรอยเสรีวิทยา)

30

แบบสรปุ การดาเนินงานการมีส่วนรว่ มในชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวิชาชีพ
(Professional Learning Community PLC) ปกี ารศึกษา 2564
โดย นายรณชยั อนิ รัง ตาแหน่งครู วิทยฐานะ ชานาญการ

โรงเรยี นสรอยเสรีวิทยา อาเภอวังชิน้ สังกัดสานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาแพร่
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

วงรอบที่ 2 ระหวา่ งวันที่ 20 ธนั วาคม – 30 ธนั วาคม 2564

รอบการแก้ปัญหา 2
ช่ือกลุ่มกจิ กรรม Science Saroy
จานวนสมาชกิ ทเี่ ข้าร่วม 3
กิจกรรม
ชอ่ื กิจกรรม แกป้ ญั หาการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาเคมีเพมิ่ เติม 4 (ว32224)
วัน/เดอื น/ปี เรอื่ ง เซลล์อิเลก็ โทรไลต์
ภาคเรียนท่ี ระหว่างวนั ท่ี 20 ธันวาคม – 30 ธนั วาคม 2564
ปกี ารศกึ ษา 2
จานวนชั่วโมง 2564
บทบาท 6 ชว่ั โมง
Model Teacher
ประเด็น จากประสบการณ์สอนวิชาเคมี ในเนื้อหาเกี่ยวกับไฟฟ้าเคมี พบว่า ทฤษฎีของตัว
เน้ือหามีความซับซ้อนเข้าใจยาก ต้องอาศัยหลักการจินตนาการให้เกิดมโนภาพ
สาเหตุ เพ่ือนาไปสู่กระบวนการคิดเชิงวิทยาศาสตร์ แล้วนาไปสู่การลงมือปฏิบัติฝึกทา
โจทยห์ รือแบบฝึกที่หลากหลาย จะทาให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจในตัวของทฤษฎี
ความรู้/หลักการท่ี เนื้อหาวิชามากข้ึน โดยทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ท่ีสาคัญประการหน่ึงท่ี
นามาใช้ กระตุ้นความคิดของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี คือ ทักษะการทดลอง โดยการได้ลงมือ
กิจกรรมทท่ี า ปัญหาเพื่อค้นพบคาตอบด้วยการลงมือทาเพ่ือกระตุ้นให้เกิดภาพจา เชื่อมโยงสู่
การวิเคราะห์ อภิปรายผล และ สรุปผลการทดลอง แล้วเชื่อมโยงเพ่ือการพิสูจน์
กับทฤษฎเี นือ้ หารายวชิ า
นกั เรยี นไม่สามารถลงข้อสรปุ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ขอ้ มูลจากการทดลอง โดย
ขาดการนาข้อมูลจากเนื้อหาในทฤษฎีมาเชื่อมโยง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยทักษะ
กระบวนการลงมือปฏิบัติการทดลองร่วมกับชุดแบบฝึกกิจกรรมแบบสื่อผสม ใน
รายวชิ า เคมีเพม่ิ เตมิ 4 ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5/1 โรงเรียนสรอยเสรีวทิ ยา

31

ชั่วโมงท่ี 21-22 เรือ่ ง สว่ นประกอบและหลกั การของเซลลอ์ ิเลก็ โทรไลต์ (ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์,
กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด, กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล, การนาเสนอและและอภิปรายข้อมูล,
กระบวนการจดั การเรียนการสอนแบบ 5 Es)
ขนั้ ที่ 1 สร้างความสนใจ (Engagement;5 นาที)

1.1 ครูกาหนดประเด็นใหน้ กั เรยี นรว่ มกันอภิปรายก่อนนาเขา้ สู่เนือ้ หาดงั นี้
- เซลลอ์ ิเล็กโทรไลต์กับเซลล์กัลวานกิ ทน่ี ักเรียนไดศ้ ึกษามาแตง่ ต่างกันอย่างไรบา้ ง ?
[แนวทางคาตอบ ; เซลล์อเิ ล็กโทรไลตไ์ มส่ ามารถเกดิ เองไดต้ ้องอาศัยกระแสไฟฟ้าจากภายนอกเขา้ มาช่วย
ในการเกิดปฏิกริ ิยา ดังนัน้ จึงเป็นการเปลีย่ นแปลงจากไฟฟ้าเป็นปฏิกริ ยิ าเคมี โดยเซลลก์ ลั วานิกเกดิ เองได้
เปน็ การเปลีย่ นแปลงจากปฏิกริ ยิ าเคมีเป็นไฟฟา้ ]

นักเรียนจะเห็นแล้วว่า เซลล์อิเล็กโทรไลติกเป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมีอีกชนิดหน่ึงประกอบด้วยขั้วไฟฟ้า 2
ข้ัวจุ่มอยู่ในอิเล็กโทรไลต์ เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าจากแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงเข้าไปในเซลล์ จะมีปฏิกิริยา
เคมีเกิดขึ้นและได้สารใหม่ เรียกกระบวนการน้ีว่า อิเล็กโทรลิซิส โดยการเปล่ียนแปลงเกิดโดยการเปลี่ยน
กระแสไฟฟ้าเป็นปฏิกิริยาเคมีซ่ึงต่างจากเซลล์กัลวานิก ดังน้ันอิเล็กตรอนจะเคล่ือนท่ีจากขั้วไฟฟ้าที่มีค่า
ศกั ยไ์ ฟฟ้าไปยงั ศกั ยไ์ ฟฟ้าสงู สาหรบั หลักการและปฏิกิริยาเคมีท่ีเกิดข้ึนภายในเซลล์อิเล็กโทรไลติกเป็นอย่างไร
เราจะมาศกึ ษาพร้อมกันกับกิจกรรมการเรยี นต่อไปนี้

1.2 ครูแจ้งจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ก่อนนาเข้าสู่เนอ้ื หา

ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา (Exploration;40 นาที)
2.1 ครูอธิบายหลักการของเซลล์อิเล็กโทรไลติก เบ้ืองต้นก่อนนาเข้าสู่กิจกรรมการเรียนรู้โดยการใช้

สือ่ วดี ที ศั น์ประกอบการบรรยาย เร่อื ง การแยกนา้ ดว้ ยกระแสไฟฟา้
เ ซ ล ล์ อิ เ ล็ ก โ ท ร ไ ล ติ ก เ ป็ น เ ซ ล ล์ ไ ฟ ฟ้ า เ ค มี อี ก ช นิ ด ห น่ึ ง
ประกอบด้วยขั้วไฟฟ้า 2 ขั้วจุ่มอยู่ในอิเล็กโทรไลต์ เมื่อผ่าน
กระแสไฟฟ้าจากแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงเข้าไปในเซลล์
จะมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นและได้สารใหม่ เรียกกระบวนการนี้
ว่า อเิ ล็กโทรลิซิส ดังแสดงตามตวั อย่าง

ภาพที่ 5.1 อุปกรณก์ ารแยกนา้ ด้วยกระแสไฟฟา้

2.2 ครูมอบหมายให้นักเรียนทาใบงานท่ี 5.1 เรื่อง ส่วนประกอบและหลักการของเซลล์อิเล็กโทร
ไลต์ (ดงั แนบในภาคผนวก) เพอ่ื สารวจและคน้ หาความรจู้ ากในหนังสือประกอบการเรียน

ข้ันที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation;15 นาที)
ครอู ธบิ ายและลงข้อสรุปเก่ียวกับ ใบงานท่ี 5.1 เร่ือง ส่วนประกอบและหลักการของเซลล์อิเล็กโทร

ไลต์ (ดังแนบในภาคผนวก) และอธิบายเพม่ิ เติมเกีย่ วกบั องคป์ ระกอบของเซลลอ์ เิ ลก็ โทรไลต์เพิม่ เติม

32

ภาพที่ 5.2 องค์ประกอบของเซลลอ์ เิ ล็กโทรไลต์

ขนั้ ท่ี 4 ขยายความรู้ (Elaboration;35 นาที)
4.1 ครขู ยายความรใู้ หก้ ับนักเรยี นในเรือ่ งการแยกการแยกสารไอออนิกที่หลอมเหลวด้วยกระแสไฟฟ้า

และ การแยกสารละลายไอออนิกด้วยกระแสไฟฟ้า โดยการใช้ส่ือวีดีทัศน์ เร่ือง การแยกสารไอออนิกด้วย
เทคนคิ อิเลก็ โทรไลซสิ ประกอบกับการบรรยาย

ภาพที่ 5.3 การแยกสารละลายไอออนิกด้วย ภาพท่ี 5.4 การแยกสารไอออนกิ ทห่ี ลอมเหลวดว้ ย
ไฟฟา้ ไฟฟ้า
4.2 ครใู ห้นักเรียนทา ใบงานที่ 5.2 เรื่อง การแยกการแยกสารไอออนิกทห่ี ลอมเหลว และ
สารละลาย ไอออนกิ ด้วยกระแสไฟฟา้ (ดงั แนบในภาคผนวก) เพอื่ ตรวจสอบและทบทวนความเข้าใจ
ขัน้ ท่ี 5 ประเมนิ (evaluation;25 นาที)
5.1 ครูอภิปรายแนวทางคาตอบจาก ใบงานที่ 5.2 เรือ่ ง การแยกการแยกสารไอออนกิ ท่หี ลอมเหลว และ
สารละลาย ไอออนกิ ด้วยกระแสไฟฟ้า (ดงั แนบในภาคผนวก) ท่ีไดม้ อบหมายใหน้ ักเรียนปฏิบัตกิ จิ กรรมไป
5.2 ครปู ระเมนิ การเรยี นรขู้ องนักเรียน ดังนี้ การตอบคาถามในชนั้ เรยี น การรว่ มกิจกรรมกลุม่ และ
ประเมนิ การจดบันทึกในสมุดของนักเรียน

33

กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ชั่วโมงท่ี 23-25 เร่ือง หลักการของเซลล์อิเล็กโทรไลต์และการหาค่าศักย์ไฟฟ้า (ทดลอง, ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์, กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด, กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล, การนาเสนอและและ
อภปิ รายข้อมลู , กระบวนการจัดการเรยี นการสอนแบบ 5 Es)
ขั้นที่ 1 สรา้ งความสนใจ (Engagement;5 นาที)

1.1 ครูทบทวนความเขา้ ใจเกย่ี วกบั องค์ประกอบของเซลล์อเิ ลก็ โทรไลต์ ใหก้ บั นกั เรยี นเพมิ่ เติม
เซลล์อเิ ล็กโทรไลต์ประกอบด้วย 2 ข้ัว จุ่มอยู่ในสารละลายอิเล็ก
โทรไลต์ ต่อเข้ากับแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง ส่วนจะเป็นข้ัว
แคโทดหรือแอโนดให้พิจารณาจากชนิดของปฏิกิริยาท่ีเกิดขึ้น
เมื่อต่อวงจรเสร็จแล้ว อิเล็กตรอนจากขั้วลบของแหล่งจ่ายไฟลง
มาในสารละลายจะเกิดปฏิกิริยา โดยข้ัวลบจะเกิดปฏิกิริยารับ
อิเลก็ ตรอนหรือรีดักชัน เรียกว่า แคโทด ข้ัวน้ีมักจะเกิดปฏิกิริยา
ก่อนเสมอ ขั้วบอกจะเกิดปฏิกิริยาให้อิเล็กตรอนหรือออกซิเดชัน

เรยี กวา่ แอโนด
จากหลักการนี้ นักวิทยาศาสตร์ได้นามาประยุกต์ใช้ในการแยกสารให้บริสุทธิ์เช่นตัวอย่าง การแยก

สารละลาย CuSO4 จากทฤษฎีท่ีนักเรียนได้ศึกษามาก่อนหน้า สาหรับแนวปฏิบัติการทดลองจะสอดคล้องหรือ
สัมพนั ธก์ บั หลกั การหรอื ไมเ่ ราจะมาศึกษาพร้อมกนั กบั กิจกรรมต่อไปน้ี

1.2 ครแู จง้ จดุ ประสงค์การเรียนร้กู ่อนนาเข้าสเู่ นอ้ื หา

ขัน้ ท่ี 2 สารวจและค้นหา (Exploration;90 นาที)
2.1 ครใู หน้ กั เรยี นแบ่งกล่มุ กลุ่มละ 4-5 คน โดยคละความสามารถของนักเรียนและให้กาหนดหนา้ ท่ี

ของสมาชิกแต่ละคนให้ชัดเจน
2.2 นักเรียนรับใบกิจกรรม การทดลองท่ี 3 เรื่อง การแยกสารละลาย CuSO4 และสารละลาย KI

ใหบ้ รสิ ุทธิด์ ้วยไฟฟ้า (ดังแนบในภาคผนวก) ศกึ ษาพร้อมกันและเขยี นลาดับข้ันตอนของการทดลองในรูปของ

flow chat ลงในสมดุ เปน็ รายบุคคล

Pre – Lab
ครชู ้ีแจงชื่อและจดุ ประสงค์ กิจกรรมการทดลอง พรอ้ มแนะนาอปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการทดลอง

จุดประสงคข์ องการทดลอง(Objective)
1. เพ่อื ศกึ ษาหลักการและสว่ นประกอบของเซลลอ์ เิ ล็กโทรไลต์

2. เพอ่ื ศึกษาหลกั การแยกสารละลายอเิ ลก็ โทรไลตด์ ้วยกระแสไฟฟ้า

อุปกรณก์ ารทดลอง (Materials) 6. ธูป
1. บีกเกอร์ 7. ไส้ดนิ สอขนาดใหญ่
2. หลอดแกว้ รูปตวั W 8. กระบะถา่ นไฟฉาย
3. แบตเตอรข่ี นาด 6 V 9. ไม้ขดี ไฟ
4. จุกยางสาหรบั เสียบไสด้ นิ สอ 10.ขวดปรบั ปริมาตร
5. หลอดหยดสาร

34

สารเคมี (Chemicals)
1. สารละลาย CuSO4 0.5 mol/L
2. สารละลาย KI 0.5 mol/L
3. สารละลายฟีนอฟาทาลีน 0.1 w/v
วิธกี ารทดลอง (Procedure)
ตอนที่ 1 แยกสารละลาย CuSO4 ดว้ ยกระแสไฟฟ้า
จัดอปุ กรณแ์ ละสารเคมีแลว้ ทดลองตามข้นั ตอนดงั น้ี

1.1 รินสารละลาย CuSO4 0.5 mol/L ลงในหลอดแก้วรูป
ตัว W ทางด้านหลอด ก จนกระทั้งสารละลายเต็มทางด้าน
หลอด ข แล ค
1.2 ใช้จุกยางทเี่ สยี ด้วยไส้ดินสอปดิ หลอด ข และ ค
1.3 ต่อข้ัวแกรไฟต์เข้ากับกระบะถ่ายไฟฉายหรือแบตเตอร่ี
ขนาด 6 V แลว้ สงั เกตการณ์เปลี่ยนแปลงทห่ี ลอด ข แล ค

ตอนที่ 2 แยกสารละลาย KI ดว้ ยกระแสไฟฟา้
เตรียมอุปกรณ์และสารเคมีแลว้ ทดลองตามข้นั ตอนการแยกสาร CuSO4
2.1 รินสารละลาย KI 0.5 mol/L ลงในหลอดแก้วรปู ตวั W ทางด้านหลอด ก จนเต็มหลอด ข และ ค
2.2 เตมิ ฟนี อล์ฟทาลนี ลงในหลอด ข และ หลอด ค หลอดละ 2-3 หยด
2.3 ปิดหลอด ข และ ค ด้วยจุกยางท่ีมีแทง่ แกรไฟตเ์ ปน็ ขว้ั ไฟฟ้าเสยี บอยู่
2.4 ต่อขว้ั ไฟฟา้ (แกรไฟต)์ เข้ากบั ข้วั บวกและขว้ั ลบของกระบะถ่านไฟฉายหรือแบตเตอรขี่ นาด 6 V ดังรูป
แลว้ สังเกตการณเ์ ปลย่ี นแปลงทห่ี ลอด ข และ ค
2.5 ทดสอบแกส๊ ท่เี กิดข้นึ โดยจดุ ไมข้ ดี ไฟให้มเี ปลวไฟ แล้วนาไปจ่อท่ีปากหลอดทดลองทันทีท่เี กดิ ปากหลอด
สงั เกต

Lab
นกั เรียนลงมือปฏิบตั ิกจิ กรรมการทดลองที่ 3 เร่อื ง การแยกสารละลาย CuSO4 และ

สารละลาย KI ให้บริสทุ ธิ์ด้วยไฟฟา้ โดยต้องลงมือปฏบิ ัตกิ ารทดลองครบทุกตอน
Post – Lab

1) ครูสุม่ ใหต้ วั แทนของนกั เรยี นบางกล่มุ ออกมาบนั ทึกผลการทดลองบนกระดาน
2) นกั เรยี นและครรู ่วมกันอภปิ รายผลการทดลองพร้อมท้ังสรปุ ผลการทดลอง
คาถามทา้ ยการทดลอง (Observe)
ตอนท่ี 1 การแยก CuSO4 ด้วยไฟฟ้า

1.1) สารละลาย CuSO4 แตกตวั ให้ไอออนชนดิ ใด จงเขียนสมการ ?
1.2) สารละลาย CuSO4 มีสีฟ้า เกิดจากสีของไอออนชนิดใด และในสารละลายมีอนุภาค
ใดบา้ ง ?

35

1.3) ท่ขี ้วั ลบสารใดบ้างที่เกิดปฏิกิริยารับอิเล็กตรอนได้ สารใดรับอิเล็กตรอนได้ดีกว่า ทราบ
ได้อย่างไร จงเขยี นสมการแสดงปฏกิ ิริยาทเี่ กิดขึ้น ?

1.4) ทข่ี ้ัวบวกสารใดบา้ งทเ่ี กิดปฏิกิรยิ ารบั อเิ ลก็ ตรอนได้ สารใดให้อิเล็กตรอนได้ดีกว่า ทราบ
ไดอ้ ยา่ งไร จงเขียนสมการแสดงปฏิกริ ิยาทเ่ี กดิ ขึน้ ?

ตอนที่ 2 การแยก KI ด้วยไฟฟ้า
2.1) ในสารละลาย KI มีอนุภาคใดบ้าง ?
2.2) สารใดบา้ งท่ีเกิดปฏกิ ิรยิ ารับอิเลก็ ตรอนที่ข้วั ลบได้ ?
2.3) สารใดบา้ งทเี่ กิดปฏิกริ ิยาใหอ้ เิ ล็กตรอนทข่ี ้วั บวกได้ ?
2.4) ท่ขี วั้ ลบสารใดบ้างที่เกิดปฏิกิริยารับอิเล็กตรอนได้ สารใดรับอิเล็กตรอนได้ดีกว่า ทราบ

ไดอ้ ยา่ งไร จงเขียนสมการแสดงปฏกิ ริ ิยาทเ่ี กดิ ขนึ้ ?
2.5) ทขี่ ้วั บวกสารใดบา้ งทีเ่ กดิ ปฏกิ ิริยารบั อเิ ลก็ ตรอนได้ สารใดให้อิเล็กตรอนได้ดีกว่า ทราบ

ได้อยา่ งไร จงเขยี นสมการแสดงปฏกิ ิริยาท่ีเกดิ ขึ้น ?

ข้ันท่ี 3 อธบิ ายและลงข้อสรุป (explanation;25 นาที)

แนวทางการอภิปรายผลการทดลองและตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง

ครรู ่วมอภปิ รายผลการทดลองร่วมกบั นกั เรยี นไดแ้ นวสรุปออกมาดังนี้

ตารางที่ 5.1 แสดงผลการแยกสารสารละลาย CuSO4 ดว้ ยไฟฟ้า

การทดลอง การเปลยี่ นแปลงท่ีสังเกตได้ ผลการทดสอบแกส๊ ท่ี
ทข่ี ้ัวลบ (แคโทด) ที่ขว้ั บวก (แอโนด) เกดิ ขน้ึ

แยกสารละลาย CuSO4 เกดิ ตะกอนสแี ดงมาเกาะ เ กิ ด ฟ อ ง แ ก๊ ส เกิดการติดไฟกว่าเดมิ ท่ี
ฟองอากาศ ก้านธปู

ตารางท่ี 5.2 แสดงผลการแยกสารสารละลาย KI ดว้ ยไฟฟา้

การทดลอง การเปลย่ี นแปลงท่ีสงั เกตได้ ผลการทดสอบแกส๊ ที่
ทีข่ ั้วลบ (แคโทด) ทีข่ ั้วบวก (แอโนด) เกดิ ขน้ึ

แยกสารละลาย KI เกิดการเปลี่ยนแปลง เกิดสารละลายสีนา้ ตาล เกิดการลกุ ตดิ ไฟ

สารละลายจากใสไม่มีสี

เปน็ สชี มพู

แนวทางการอภิปรายการตอบคาถามทา้ ยการทดลอง

ตอนท่ี 1 การแยก CuSO4 ด้วยไฟฟา้
1.1) สารละลาย CuSO4 แตกตวั ใหไ้ อออนชนดิ ใด จงเขยี นสมการ ?
[แนวทางคาตอบ ; CuSO4(aq) Cu2+(aq) + SO42-(aq)]

36

1.2) สารละลาย CuSO4 มีสีฟ้า เกิดจากสีของไอออนชนิดใด และในสารละลายมีอนุภาค
ใดบ้าง ? [แนวทางคาตอบ ; สีฟ้ามาจากไอออนของ Cu2+(aq) ภายในสารละลายประกอบด้วยไอออน
Cu2+(aq) , SO42-(aq), OH-(aq) ]

1.3) ที่ขวั้ ลบสารใดบ้างท่ีเกิดปฏิกิริยารับอิเล็กตรอนได้ สารใดรับอิเล็กตรอนได้ดีกว่า ทราบ

ไดอ้ ย่างไร จงเขยี นสมการแสดงปฏกิ ริ ยิ าที่เกิดขึน้ ?
[แนวทางคาตอบ ; Cu2+(aq)
2OH- (aq) Cu(s) + 2 e , 2H2O(l) + 2 e H2(g) +

Cu2+(aq) Cu(s) + 2 e รบั อิเลก็ ตรอนได้ดกี วา่

1.4) ที่ขว้ั บวกสารใดบา้ งทเ่ี กดิ ปฏิกริ ิยารบั อเิ ลก็ ตรอนได้ สารใดให้อิเล็กตรอนได้ดีกว่า ทราบ

ไดอ้ ยา่ งไร จงเขยี นสมการแสดงปฏกิ ริ ยิ าที่เกิดขึ้น ?

[แนวทางคาตอบ ; S2O82-(aq) + e SO42-(aq), O2(g) + 2H+(aq) + 2 e

H2O(l) H2O(l) ใหอ้ เิ ลก็ ตรอนได้ดกี ว่า
O2(g) + 2H+(aq) + 2 e

ตอนที่ 2 การแยก KI ด้วยไฟฟา้
2.1) ในสารละลาย KI มอี นภุ าคใดบา้ ง ? [แนวทางคาตอบ ;K+, I-, OH-]
2.2) สารใดบ้างทเ่ี กดิ ปฏิกริ ยิ ารบั อิเลก็ ตรอนท่ีขว้ั ลบได้ ?

[แนวทางคาตอบ ; K+(aq)+ e K(s), 2H2O(l) + 2 e H2(g) + 2OH- (aq)]

2.3) สารใดบ้างที่เกดิ ปฏกิ ิริยาให้อเิ ล็กตรอนท่ีข้วั บวกได้ ?

[แนวทางคาตอบ ; I-(aq) I(s) + e , O2(g) + 2H+(aq) + 2 e H2O(l)]

2.4) ทข่ี วั้ ลบสารใดบ้างที่เกิดปฏิกิริยารับอิเล็กตรอนได้ สารใดรับอิเล็กตรอนได้ดีกว่า ทราบ

ได้อย่างไร จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดข้ึน ? [แนวทางคาตอบ ; 2H2O(l) + 2 e H2(g) +
2OH- (aq) เกิดการเปลี่ยนแปลงสีของสารละลายจากใสไม่สีของฟีนอฟาทาลีนเป็นสีชมพู ซึ่งสอดคล้อง

สัมพันธก์ ับ ไฮดรอกไซด์ไอออนจากสมการท่ีแสดงความเปน็ เบสของสาร]

2.5) ท่ขี ว้ั บวกสารใดบา้ งที่เกิดปฏิกริ ิยารับอเิ ลก็ ตรอนได้ สารใดให้อิเล็กตรอนได้ดีกว่า ทราบ
ได้อยา่ งไร จงเขยี นสมการแสดงปฏกิ ริ ยิ าท่ีเกดิ ขน้ึ ? [แนวทางคาตอบ ; I-(aq)
I(s) + e สังเกตการ

เปลีย่ นแปลงสีนา้ ตาลของไอโอดีนทบี่ รเิ วณขว้ั บวก]

37

แนวทางการอภปิ รายการสรุปผลการทดลอง
ครูให้นักเรียนศึกษาแนวทางการสรุปผลการทดลองจากคาถามท้ายการทดลองเพ่ือเป็นแนวทาง

[แนวทางสรุปผลการทดลอง;
จากผลการแยก CuSO4 ด้วยไฟฟ้า พบว่า ท้ัง Cu2+(aq)ในสารละลาย และ H2O มีโอกาสรับอิเล็กตรอน
จากแบตเตอรี่ แต่ค่า E  Cu2+ ในสารละลายรบั อเิ ลก็ ตรอนไดด้ กี ว่าในสารละลายจึงเกิดปฏิกิริยารีดักชันได้
โลหะ Cu(s) ในส่วนของทงั้ SO42-(aq) และ H2O มีโอกาสให้อิเล็กตรอนหรือเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน เมื่อ
เทียบค่า E  พบว่าค่า E  H2O ได้มีค่าน้อยกว่าจึงเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน และเม่ือทดสอบแก๊สที่เกิดขึ้น
ชว่ ยให้ติดไฟ แก๊สดังกลา่ วคือแก๊ส O2

จากผลการแยก KI ด้วยไฟฟ้า พบว่า ท้ัง K+(aq)ในสารละลาย และ H2O มีโอกาสรับอิเล็กตรอนจาก
แบตเตอร่ี แต่ค่า E  H2O มีค่าสูงกว่าจึงรับอิเล็กตรอนได้ดีกว่าในสารละลายจึงเกิดปฏิกิริยารีดักชันได้ ใน
สว่ นของทัง้ I-(aq) และ H2O มีโอกาสให้อเิ ลก็ ตรอนหรือเกดิ ปฏกิ ิรยิ าออกซิเดชัน เมอ่ื เทียบค่า E พบว่าค่า
E  I ได้มีค่าน้อยกว่าจึงเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน และเม่ือทดสอบแก๊สท่ีเกิดข้ึนช่วยให้ติดไฟ แก๊สดัง
เกปลน็ ่าสวีชคมือพแกเู น๊ส่อื Hงจ2าแกลเะกทดิ ดสสภอาบวะดค้ววยาสมาเรปล็นะเลบาสยขฟอีนงอOฟHา-ทบารลิเีนวพณบขวัว้ ่าแบครโทิเวดณข้ัวแคโทดเกิดการเปลี่ยนแปลง

ขน้ั ท่ี 4 ขยายความรู้ (Elaboration;40 นาที)

4.1 ครูขยายความรเู้ รือ่ ง การคานวณหาคา่ ศักยไ์ ฟฟ้า (E  ) ของเซลล์อเิ ล็กโทรไลต์ การคานวณหาค่า E

ของเซลล์อิเล็กโทรไลตท์ าได้ 2 วิธีคือ

1) วิธีที่ 1 E  cell อิเล็กโทรไลต์ = E  r + E  o ที่เกิดจริง เช่น การแยกสายละลาย CuSO4 ด้วย
กระแสไฟฟา้ เกดิ ปฏิกริ ยิ าดงั น้ี
ปฏิกริ ิยาทเ่ี กดิ ทข่ี วั้ แคโทด ; Cu2+(aq) + 2 e Cu(s) E  r = +0.34 V

ปฏกิ ิรยิ าที่เกิดท่ขี ้วั แอโนด ; H2O(l) 2H+(l) + O2(g) + 2 e E  o = -1.23 V

ดังนั้น E  cell อิเล็กโทรไลต์ = E  r + E  o
E  cell อิเลก็ โทรไลต์ = +0.34 V + (-1.23 V)
E  cell อเิ ลก็ โทรไลต์ = - 0.89 V
คา่ E  cell อิเล็กโทรไลต์ มีค่าติดลบ เพราะเป็นเซลล์ท่ตี อ้ งใช้กระแสไฟฟ้าทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมีแสดงว่าเซลล์นี้
ตอ้ งใช้ไฟฟา้ ที่มีค่าความตา่ งศักย์อย่างน้อย 0.89 V จึงจะเกดิ ปฏิกริ ยิ า

2) วธิ ที ่ี 2 E  cell อิเลก็ โทรไลต์ = E  rแคโทด + E  rแอโนด
E  cell อิเลก็ โทรไลต์ = +0.34 V - (+1.23V)
E  cell อิเลก็ โทรไลต์ = -0.89 V

38

4.2 ครูให้นักเรียนทา ใบงานที่ 5.3 เรื่อง การคานวณหาค่าศักย์ไฟฟ้า (E  ) ของเซลล์อิเล็กโทรไลต์
(ดังแนบในภาคผนวก) เพ่อื ตรวจสอบความเขา้ ใจใหก้ บั นกั เรยี น

ข้ันท่ี 5 ประเมนิ (evaluation;20 นาที)
5.1 ครอู ภปิ รายแนวทางคาตอบจาก ใบงานท่ี 5.3 เรือ่ ง การคานวณหาคา่ ศักย์ไฟฟ้า (E ) ของเซลลอ์ ิเลก็
โทรไลต์ (ดงั แนบในภาคผนวก) ที่ได้มอบหมายใหน้ ักเรียนปฏบิ ตั ิกจิ กรรมไป

5.2 ครูประเมินการเรียนรู้ของนกั เรยี น ดงั น้ี การตอบคาถามในชั้นเรยี น การร่วมกจิ กรรมกลุ่ม และ
ประเมินการจดบันทึกในสมุดของนักเรียน

ผลทไ่ี ด้จากกิจกรรม

ด้านความรู้
1. นักเรียนสามารถบอกหลกั การและส่วนประกอบของเซลล์อเิ ลก็ โทรไลต์ได้
2. นักเรยี นสามารถอธบิ ายการแยกสารละลายอิเลก็ โทรไลต์ด้วยกระแสไฟฟ้าได้
3. นักเรยี นสามารถเขยี นสมการของปฏกิ ริ ิยาทเี่ กดิ ขึ้นทแี่ คโทดและแอโนดได้

ดา้ นทักษะและกระบวนการ
1. นักเรียนสามารถทาการทดลอง วิเคราะห์ผลการทดลอง นาไปสู่การสรุปผลการทดลองเก่ียวกับ

การแยกสารละลายไอออนิกด้วยไฟฟา้ โดยใชห้ ลักการเซลลอ์ ิเลก็ โทรไลต์ได้

รบั รองข้อมูลถูกต้อง รับรองข้อมลู ถูกต้อง

(นายรณชัย อนิ รัง) (นางจริ พร วงศช์ ัยพาณชิ ย์)
ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการ ผอู้ านวยการโรงเรยี นสรอยเสรวี ิทยา

วนั ท่ี 30 ธนั วาคม พ.ศ. 2564 วนั ท่ี 30 ธนั วาคม พ.ศ. 2564

39

คาสั่งโรงเรียนสรอยเสรีวิทยา
ที่ 001 / 2565

เร่ือง แตง่ ตงั้ คณะกรรมการดาเนนิ การสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ

(Professional Learning Community ) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประจาปีการศึกษา 2564

*******************************************************

ตามท่คี ณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐานดาเนินการขับเคล่ือนกระบวนการ PLC (Professional
learning community) ให้กับครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ
และร่วมกนั วางแผนขับเคลื่อนกระบวนการ PLC เพอ่ื ใหก้ ารดาเนินงานดงั กล่าวเปน็ ไปด้วยความเรียบรอ้ ย

จึงขออาศัยอานาจตามความในมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2547 และมาตราท่ี 27(4) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2551 จึงแต่งตั้งคณะกรรมการ
ดาเนินการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional learning community : PLC) ประจาปี
การศกึ ษา 2564 ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. คณะกรรมการอานวยการ

มีหน้าท่ี กาหนดนโยบาย แนวคิด รูปแบบในการดาเนินงาน ให้คาปรึกษา แนะนาแก่

คณะกรรมการฝ่าย ตา่ งๆ และอานวยความสะดวก เพ่ือให้การดาเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อยบรรลุ

วตั ถปุ ระสงคท์ กี่ าหนดไว้

1.1 นางจริ พร วงศช์ ัยพาณชิ ย์ ประธานกรรมการ

1.2 นายสริ วิชญ์ ขัดเชิง รองประธานกรรมการ

1.3 นางจนั ทร์สุรี สุรินทร กรรมการ

1.4 นางสาวปรานี วันมลู กรรมการ

1.5 นายรณชัย อินรงั กรรมการและเลขานกุ าร

2. คณะกรรมการดาเนนิ การ

มหี นา้ ท่ี วางแผนการดาเนินการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional learning

community : PLC ของโรงเรียนประกอบดว้ ย

2.1 นายรณชยั อินรงั ประธานกรรมการ

2.2 นางจันทร์สุรี สุรนิ ทร รองประธานกรรมการ

2.3 นายสิรวชิ ญ์ ขัดเชิง กรรมการ

2.4 นางสาวนวรตั น์ กวางวิเศษ กรรมการ

40

2.5 นางภาวนิ ยี ์ ถอื คา กรรมการและเลขานุการ

3. คณะกรรมการประจากลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มีหน้าท่ี วางแผน และดาเนินการ พร้อมการสรุปผลการดาเนินการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทาง

วิชาชีพ Professional learning community ; PLC ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาระบบกลไก

และแนวทางการหนุนเสริมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาผู้เรียนเสนอต่องานวิชาการต่อไป
ประกอบดว้ ย

2.1 กิจกรรม PLC วงรอบท่ี 3 ภายใต้กจิ กรรม ไฟฟ้าเคมี การชบุ โลหะและการทาให้โลหะบริสุทธ์ิ

ดว้ ยไฟฟา้ โดยใช้แนวคดิ เชงิ รกุ (Active learning) รปู แบบการสอนตามวฎั จกั รการสบื เสาะหาความรู้

(5E) โดยเน้นการปฏิบัติการทดลอง ประกอบไปด้วย

1. นายรณชัย อนิ รัง ปฏบิ ตั ิหน้าที่ Model Teacher
2. นางสาวรตั ตภิ รณ์ ชานาญ ปฏบิ ัตหิ น้าท่ี Buddy Teacher
3. นายจักรกฤษณ์ สมภรณ์วรพล ปฏบิ ตั หิ น้าที่ Mentor Teacher

2.2 กิจกรรม PLC วงรอบที่ 3 ภายใต้กิจกรรม การประยุกต์กฎของเมนเดล โดยใช้แนวคิด

เชิงรุก (Active learning) รูปแบบการสอนตามวัฎจักรการสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยเน้นการ

ปฏบิ ตั กิ ารทดลอง ประกอบไปด้วย

1. นางสาวรัตติภรณ์ ชานาญ ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ Model Teacher

2. นายรณชยั อนิ รงั ปฏบิ ตั ิหน้าที่ Buddy Teacher

3. นายจกั รกฤษณ์ สมภรณว์ รพล ปฏบิ ัตหิ น้าท่ี Mentor Teacher

2.3 กิจกรรม PLC วงรอบที่ 3 ภายใต้กิจกรรม ออกแบบและเขียนโปรแกรมด้วยภาษา

ไพทอน 3 โดยใช้สื่อเทคโนโลยีดิจิทัลและใช้กระบวนการเรียนการสอนห้องเรียนสอนคิด Thinking

school เปน็ ฐาน ประกอบไปด้วย

1. นายจกั รกฤษณ์ สมภรณว์ รพล ปฏิบตั หิ น้าที่ Model Teacher

2. นางสาวรัตติภรณ์ ชานาญ ปฏิบตั หิ นา้ ท่ี Buddy Teacher

3. นายรณชัย อนิ รัง ปฏิบตั หิ น้าท่ี Mentor Teacher

มีหน้าท่ี 1. เข้ารับปฏิบัตกิ ิจกรรม PLC จานวนไม่ต่ากว่า 20 ชวั่ โมง
2. สรุปผลการดาเนินงานเข้ารบั การปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเสนอต่อครูผู้บรหิ าร
3. ถา่ ยภาพและบนั ทึกวีดีทัศนต์ ลอดการ PLC
4. สรปุ วิเคราะห์รายงานผลการประเมิน เสนอตอ่ ผู้อานวยการโรงเรียน

41

ขอให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการแต่งตั้งปฏิบัติหน้าท่ีอย่างเต็มความสามารถเพ่ือ
ประโยชนส์ งู สุดแก่ราชการ

ทัง้ น้ตี ง้ั แตว่ นั ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2565

สง่ั ณ วนั ท่ี 4 มกราคม พ.ศ. 2565

นางจิรพร วงศ์ชัยพาณชิ ย์
(ผ้อู านวยการโรงเรียนสรอยเสรีวิทยา)

42

แบบสรปุ การดาเนนิ งานการมีสว่ นรว่ มในชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชพี
(Professional Learning Community PLC) ปกี ารศึกษา 2564
โดย นายรณชยั อนิ รงั ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ชานาญการ

โรงเรยี นสรอยเสรีวิทยา อาเภอวงั ช้นิ สังกัดสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาแพร่
กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วงรอบที่ 3 ระหว่างวนั ท่ี 4 มกราคม – 7 มกราคม 2565

รอบการแก้ปญั หา 3
ชื่อกลุ่มกจิ กรรม Science Saroy
จานวนสมาชกิ ทเี่ ขา้ ร่วม 3
กจิ กรรม
ชื่อกิจกรรม แก้ปัญหาการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าเคมเี พม่ิ เติม 4 (ว32224)
วัน/เดอื น/ปี เรื่อง การชบุ และการแยกโลหะให้บริสุทธิ์
ภาคเรียนท่ี ระหว่างวนั ที่ 4 มกราคม – 7 มกราคม 2565
ปกี ารศึกษา 2
จานวนชั่วโมง 2564
บทบาท 3 ช่วั โมง
Model Teacher
ประเดน็ จากประสบการณ์สอนวิชาเคมี ในเนื้อหาเก่ียวกับไฟฟ้าเคมี พบว่า ทฤษฎีของตัว
เน้ือหามีความซับซ้อนเข้าใจยาก ต้องอาศัยหลักการจินตนาการให้เกิดมโนภาพ
สาเหตุ เพื่อนาไปสู่กระบวนการคิดเชิงวิทยาศาสตร์ แล้วนาไปสู่การลงมือปฏิบัติฝึกทา
โจทยห์ รอื แบบฝกึ ที่หลากหลาย จะทาให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจในตัวของทฤษฎี
ความรู้/หลกั การที่ เนื้อหาวิชามากขึ้น โดยทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ที่สาคัญประการหนึ่งที่
นามาใช้ กระตุ้นความคิดของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี คือ ทักษะการทดลอง โดยการได้ลงมือ
กิจกรรมทท่ี า ปัญหาเพ่ือค้นพบคาตอบด้วยการลงมือทาเพ่ือกระตุ้นให้เกิดภาพจา เช่ือมโยงสู่
การวิเคราะห์ อภิปรายผล และ สรุปผลการทดลอง แล้วเชื่อมโยงเพื่อการพิสูจน์
กับทฤษฎเี นอ้ื หารายวชิ า
นักเรียนไมส่ ามารถลงข้อสรุป วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ขอ้ มลู จากการทดลอง โดย
ขาดการนาข้อมูลจากเน้ือหาในทฤษฎมี าเช่ือมโยง
การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยทักษะ
กระบวนการลงมือปฏิบัติการทดลองร่วมกับชุดแบบฝึกกิจกรรมแบบส่ือผสม ใน
รายวชิ า เคมีเพ่มิ เตมิ 4 ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5/1 โรงเรียนสรอยเสรวี ิทยา

43

ชวั่ โมงท่ี 26-28 เรอื่ ง การชุบโลหะและการทาโลหะให้บริสุทธ์ิ (ทดลอง, ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์,
กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด, กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล, การนาเสนอและและอภิปรายข้อมูล,
กระบวนการจดั การเรยี นการสอนแบบ 5 Es)
ขน้ั ที่ 1 สร้างความสนใจ (Engagement;5 นาที)

1.1 ครูนาอภิปรายประเด็นการชุบโครเมียมนวัตกรรมในรถยนต์สมัยใหม่ ก่อนต้ังคาถาม ถาม
นกั เรยี นเพอื่ นาเข้าสบู่ ทเรียน

- ประโยชน์ของการนาโครเมียมมาชุบช้ินส่วนรถยนต์เพ่ืออะไร ? [แนวทางคาตอบ; เพื่อเพิ่มความ
มนั วาวเป็นประกายให้รถยนต์, ป้องกันการกดั กรอ่ นและการเกดิ สนิมของชน้ิ ส่วนรถยนต]์

- ในความคิดของนักเรียน คาว่าชุบโครเมียม มีวิธีปฏิบัติอย่างไร ? [แนวทางคาตอบ; ขึ้นอยู่กับ
คาตอบนกั เรียน]

นวตั กรรมใหม่ ของการชุบโลหะที่ทันสมัยและคงทนต่ออายุการใช้งานของชิ้นงาน คือการประยุกต์นา
หลักการไฟฟ้าเคมี แบบเซลล์อเิ ลก็ โทรไลตเ์ ข้าไปใชป้ ระโยชน์ ดังนั้นการชุบโครเมียมที่นักเรียนคุ้นเคยก็คือการ
ชุบด้วยการใช้กระแสไฟฟ้า หลักการของเซลล์อิเล็กโทรไลติกสามารถนาไปในการทาให้โลหะชนิดหน่ึงเคลือบ
อยู่บนผิวของโลหะอีกชนิดหน่ึงได้ซึ่งเรียกว่า การชุบด้วยไฟฟ้า (Electroplating) เราจะมาศึกษากลไกการ
เกดิ ปฏกิ ริ ิยาพรอ้ มกันกบั กจิ กรรมการทดลองต่อไปน้ี

1.2 ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรกู้ ่อนนาเขา้ ส่เู น้ือหา

ขัน้ ที่ 2 สารวจและค้นหา (Exploration;55 นาที)
2.1 ครใู ห้นกั เรียนแบ่งกลมุ่ กล่มุ ละ 4-5 คน โดยคละความสามารถของนักเรียนและให้กาหนดหนา้ ท่ี

ของสมาชิกแตล่ ะคนให้ชัดเจน
2.2 นักเรียนรับใบกิจกรรม การทดลองท่ี 4 เรื่อง การชุบตะปูเหล็กด้วยสังกะสี (ดังแนบใน

ภาคผนวก) ศึกษาพร้อมกันและเขียนลาดับขั้นตอนของการทดลองในรูปของ flow chat ลงในสมุดเป็น

รายบุคคล

Pre – Lab
ครูชแ้ี จงชอื่ และจดุ ประสงค์ กิจกรรมการทดลอง พรอ้ มแนะนาอปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นการทดลอง

จุดประสงคข์ องการทดลอง(Objective)
1. เพอ่ื ศึกษาปฏกิ ริ ยิ าของการชุบโลหะดว้ ยกระแสไฟฟ้า

เคร่ืองมือและอุปกรณก์ ารทดลอง (Materials)

1. แหล่งกาเนดิ ไฟฟา้ กระแสตรง 4. ตะปูขนาดยาวประมาณ 3 ซม.

2. บีกเกอร์ 5. แผน่ สงั กะสบี รสิ ุทธิ์

3. กระดาษทราย 6. แท่งแก้วคนสาร

สารเคมี (Chemicals)
1. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ความเข้มขน้ 1.0 mol/dm3
2. สารละลายซิงค์(II)ซัลเฟต (ZnSO4) ความเขม้ ข้น 0.1 mol/dm3

44

วธิ กี ารทดลอง (Procedure)

1. ใช้กระดาษทราบขัดตะปูเหล็กขนาดยาวประมาณ 3 ซม. แล้วนาไปแช่ใน
สารละลายกรด HCl 1.O mol/dm3 2นาที นาออกมาล้างน้าให้สะอาดและเช็ด

ผิวใหแ้ หง้ mol/dm3 cm3

2. เติมสารละลาย ZnSO4 0.1 70 ลงในบีกเกอร์ขนาด 100
cm3

3. ต่อแผน่ สังกะสีเข้ากับขั้วบวกและต่อตะปูเหล็กเข้ากับข้ัวลบของแบตเตอรี่ ใช้

ศักย์ไฟฟ้าประมาณ 3 โวลต์ ดังแสดงในรูปตัวอย่างภาพท่ี 6.1 สังเกตการณ์

เปล่ยี นแปลงทเี่ กิดขึน้ เมือ่ เวลาผ่านไปประมาณ 5 นาที

ภาพท่ี 6.1 การชบุ ตะปดู ว้ ยสงั กะสี

Lab

นักเรยี นลงมือปฏิบตั ิกจิ กรรมการทดลองท่ี 4 เรือ่ ง การชบุ ตะปูเหล็กด้วยสังกะสโี ดยต้องลงมอื

ปฏบิ ัตกิ ารทดลองครบทุกตอน

Post – Lab
1) ครสู ุ่มใหต้ ัวแทนของนกั เรยี นบางกล่มุ ออกมาบันทึกผลการทดลองบนกระดาน
2) นักเรียนและครูรว่ มกนั อภปิ รายผลการทดลองพรอ้ มท้ังสรปุ ผลการทดลอง

คาถามทา้ ยการทดลอง (Observe)
1. ข้ัวโลหะสังกะสีและตะปูเหลก็ มกี ารเปลี่ยนแปลงอยา่ งไร ?
2. จงเขียนสมการแสดงปฏิกริ ิยาที่ขว้ั แคโทดและแอโนด ?
3. ความเขม้ ข้นของอิเล็กโทรไลต์เปลย่ี นแปลงหรือไมอ่ ย่างไร ?
4. จงสรุปหลักการชุบโลหะดว้ ยกระแสไฟฟ้าเกีย่ วกบั โลหะท่ใี ชท้ าขั้วไฟฟา้ สารละลายอเิ ลก็ โทรไลตแ์ ละวตั ถทุ ี่
นามาชบุ ?

ขน้ั ท่ี 3 อธิบายและลงข้อสรุป (explanation;30 นาที)
แนวทางการอภปิ รายผลการทดลองและตารางบนั ทึกผลการทดลอง

ครรู ว่ มอภิปรายผลการทดลองร่วมกับนักเรยี นไดแ้ นวสรุปออกมาดังนี้


Click to View FlipBook Version