45
ตารางที่ 6.1 ผลการเปลยี่ นแปลงของการชุบตะปูเหล็กด้วยกระแสไฟฟา้
ผลการสังเกต
ขั้วแคโทด ขว้ั แอโนด
ตะปูมีตะกอนสีเงนิ ของสังกะสี แผ่นสงั กะสีเกดิ การผกุ ร่อน
เกาะอยู่
แนวทางการอภิปรายการตอบคาถามท้ายการทดลอง
1. ขว้ั โลหะสังกะสแี ละตะปเู หล็กมีการเปลย่ี นแปลงอยา่ งไร ? [แนวทางคาตอบ; โลหะสังกะสผี ุกร่อน ส่วน
ตะปูเหล็กมตี ะกอนสเี งนิ ของสังกะสีเกาะ]
2. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาท่ีขัว้ แคโทดและแอโนด ?
[แนวทางคาตอบ;ข้ัวแคโทด ; Zn2+(aq) + 2 e Zn(s), ขวั้ แอโนด ; Zn(s) Zn2+(aq) + 2 e ]
3. ความเขม้ ข้นของอิเล็กโทรไลต์เปล่ยี นแปลงหรือไมอ่ ย่างไร ? [แนวทางคาตอบ; คงที่เนอื่ งจากได้ไอออน
จากแผ่นสังกะสีทนแทนท่เี สียไป]
4. จงสรปุ หลกั การชุบโลหะดว้ ยกระแสไฟฟ้าเกี่ยวกับโลหะท่ีใช้ทาขั้วไฟฟ้า สารละลายอิเล็กโทรไลต์และวัตถุที่
นามาชุบ ? [แนวคาตอบ ; นาวัตถุท่ีต้องการชุบไปต่อเข้ากับข้ัวลบของแบตเตอร่ีหรือเป็นขั้วแคโทด ส่วน
โลหะท่ีใช้ชุบให้ต่อเข้ากับขั้วบวกของแบตเตอรี่หรือเป็นข้ัวแอโนด สารละลายอิเล็กโทรไลต์ท่ีใช้ต้องมี
ไอออนของโลหะชนิดเดยี วกบั โลหะทเ่ี ป็นขั้วแอโนดหรือโลหะที่ใช้ชุบ ใช้ไฟฟ้ากระแสตรงเพื่อไม่ให้เกิดการ
สลับขั้ว และปฏิกิริยาดาเนนิ ไปในทิศทางเดียวกนั ]
แนวทางการอภปิ รายการสรุปผลการทดลอง
ครใู ห้นักเรียนศกึ ษาแนวทางการสรุปผลการทดลองจากคาถามท้ายการทดลองเพื่อเปน็ แนวทาง
[แนวทางสรุปผลการทดลอง; เม่ือผ่านกระแสไฟฟ้ากระแสตรงเข้าไปในเซลล์ไอออนของโลหะ
Zn2+(aq) ในสารละลายท่ีมีความสามารถในการรับอิเล็กตรอนได้ดีกว่าน้า ไอออนของโลหะจะรับ
อิเล็กตรอนจากวัตถุทีต่ ่ออยูก่ ับข้ัวลบของแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงหรือขั้วแคโทด เกิดเป็นอะตอมของ
โลหะเคลือบติดบนผิวของตะปู ขณะเดียวกันสังกะสีที่ข้ัวบวกเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันให้ไอออนของโลหะ
ในสารละลายอิเล็กโทรไลตเ์ พ่ือชดเชยไอออนทเี่ ปลย่ี นแปลงขณะชบุ ทาใหส้ งั กะสที ่แี อโนดเกดิ การสึกกร่อน
ส่วนขว้ั แคโทดมโี ลหะเกาะเพิม่ ข้ึน]
ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ (Elaboration;60 นาที)
4.1 ครขู ยายความรู้ทบทวนเกย่ี วกบั หลกั การชบุ โลหะดว้ ยไฟฟ้า ดังน้ี
46
ภาพท่ี 6.2 หลกั การชบุ ตะปูด้วยไฟฟ้า
4.2 ครูเพม่ิ เติมหลกั การทาโลหะให้บรสิ ุทธโ์ิ ดยใช้เซลล์อเิ ล็กโทรไลติก โดยการใช้สือ่ วีดที ัศน์
ประกอบการบรรยาย เร่ือง การทาทองแดงให้บริสุทธิ์
ภาพท่ี 6.3 การทาทองแดงให้บรสิ ทุ ธ์ิ
4.3 ครูให้นกั เรียนทาใบงานที่ 6.1 เรอ่ื ง การชุบโลหะและการทาโลหะให้บริสุทธ์ิ (ดังแนบใน
ภาคผนวก) เพ่ือทบทวนและตรวจสอบความเขา้ ใจในเนอ้ื หาให้กับนกั เรยี น
ขนั้ ที่ 5 ประเมนิ (evaluation;30 นาที)
5.1 ครูอภิปรายแนวทางคาตอบจาก ใบงานท่ี 6.1 เรอ่ื ง เรื่อง การชุบโลหะและการทาโลหะให้
บรสิ ุทธ์ิ (ดังแนบในภาคผนวก) ที่ได้มอบหมายให้นกั เรยี นปฏิบตั กิ ิจกรรมไป
5.2 ครูประเมินการเรียนรู้ของนกั เรยี น ดังนี้ การตอบคาถามในช้นั เรียน การร่วมกิจกรรมกลุ่ม และ
ประเมนิ การจดบนั ทึกในสมดุ ของนักเรยี น
47
ผลทไ่ี ดจ้ ากกจิ กรรม
ด้านความรู้
1. นกั เรยี นสามารถเขยี นสมการของปฏิกริ ยิ าเคมที ่แี อโนดและแคโทด จากการชบุ เหล็กด้วยสงั กะสีได้
2. นักเรียนสามารถบอกหลักการแยกโลหะให้บริสุทธิด์ ว้ ยกระแสไฟฟ้าได้
3. นักเรียนสามารถเขยี นสมการแยกโลหะให้บริสทุ ธดิ์ ว้ ยกระแสไฟฟา้ ได้
ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ
1. นกั เรยี นสามารถทาการทดลองและอธบิ ายการชุบตะปเู หลก็ ด้วยสังกะสไี ด้
รับรองข้อมลู ถูกต้อง รบั รองข้อมลู ถูกต้อง
(นายรณชยั อินรงั ) (นางจิรพร วงศช์ ัยพาณิชย์)
ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการ ผ้อู านวยการโรงเรียนสรอยเสรวี ิทยา
วันท่ี 7 มกราคม พ.ศ. 2565 วนั ท่ี 7 มกราคม พ.ศ. 2565
48
แบบสรุปการทากจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ
(Professional Learning Community ; PLC)
ของนาย รณชัย อนิ รัง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ชานาญการ
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระหวา่ งวนั ที่ 1 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2564 – 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565
ครูผรู้ ว่ มเรยี นรู้ นายจักรกฤษณ์ สมภรณว์ รพล และ นางสาวรตั ติภรณ์ ชานาญ
ประเดน็ รายละเอยี ด
ชอ่ื กลุ่ม Science saroy
วงรอบท่ีแก้ปัญหา 1
จานวนสมาชกิ 3
ช่อื กจิ กรรม แกป้ ัญหาการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเคมีเพมิ่ เติม 4 (ว32224)
เรอ่ื ง เซลลก์ ลั วานกิ
วนั เดือน ปี 15 พฤศจิกายน – 26 พฤศจิกายน 2564
ปีการศึกษา 2564
จานวนชว่ั โมง 6
บทบาท Model Teacher
ประเด็นปญั หา ทฤษฎีของตัวเนื้อหามีความซับซ้อนเข้าใจยาก ต้องอาศัยหลักการจินตนาการให้เกิด
มโนภาพเพ่ือนาไปสู่กระบวนการคิดเชิงวิทยาศาสตร์ แล้วนาไปสู่การลงมือปฏิบัติฝึก
ทาโจทยห์ รือแบบฝึกทีห่ ลากหลาย
สาเหตุ นักเรยี นไมส่ ามารถลงข้อสรุป วิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูลจากการทดลอง โดยขาด
การนาข้อมูลจากเน้ือหาในทฤษฎีมาเชื่อมโยง
ความรู้ /หลกั การที่ การจดั กิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ร่วมกับ การใช้
นามาใช้ โครงงานเป็นฐาน (PBL)
กจิ กรรมทีท่ า 1. กิจกรรมการใชเ้ กมแข่งขันเพอ่ื นาเข้าสู่บทเรยี น (Games-based Learning)
2. กิจกรรมระดมความคดิ รว่ มกนั ภายในกลมุ่ (Brainstorming)
3. กิจกรรมสะทอ้ นความคิดของแตล่ ะกลุ่ม (Student’s Reflection)
4. กจิ กรรมเรยี นรู้แบบเพื่อนคู่คดิ (Think Pair Share)
5. กิจกรรมเรยี นรแู้ บบห้องเรยี นสอนคดิ (Thinking tools)
6. กจิ กรรมแบบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน (PBL)
การนาผลทไ่ี ด้ไปใช้ ได้รูปแบบและแนวทางการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้
รูปแบบของเกมซ่ึงกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจในการเรียน จนทาให้ผู้เรียนเกิดความ
สนใจและต้ังใจในการทากิจกรรมในชั้นเรียน ทาให้บรรยากาศในช้ันเรียนเกิดความ
สนุกสร้างความรู้สึกอยากเรียนอยากรู้ว่าอะไรต่อไป สิ่งท่ีเรียนรู้จะเอาไปใช้ในชีวิต
จริงอย่างไร นาปัญหาหรือเหตุการณ์ในชีวิตจริงที่เกี่ยวกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้
นามาสู่การเรียนการสอนเป็นการเลือกกิจกรรมที่มีความเหมาะสมกับผู้เรีย นและ
สามารถส่งเสริมผ้เู รียนให้เกิดการเรยี นรไู้ ด้อย่างมากยิ่งขึ้น
49
ประเดน็ รายละเอียด
ช่อื กลุ่ม
วงรอบทแี่ ก้ปัญหา Science saroy
จานวนสมาชกิ
ชื่อกจิ กรรม 2
วนั เดอื น ปี 3
ปกี ารศกึ ษา
จานวนชว่ั โมง แกป้ ัญหาการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาเคมีเพ่มิ เตมิ 4 (ว32224)
บทบาท เรื่อง เซลล์อเิ ล็กโทรไลต์
ประเดน็ ปัญหา
20 ธนั วาคม – 30 ธันวาคม 2564
สาเหตุ
2564
ความรู้ /หลักการที่
นามาใช้ 6
กจิ กรรมทีท่ า
Model Teacher
การนาผลทไี่ ดไ้ ปใช้
ทฤษฎีของตัวเนื้อหามีความซับซ้อนเข้าใจยาก ต้องอาศัยหลักการจินตนาการให้เกิด
มโนภาพเพอ่ื นาไปสู่กระบวนการคดิ เชิงวทิ ยาศาสตร์ แลว้ นาไปสู่การลงมือปฏิบัติฝึกทา
โจทยห์ รอื แบบฝกึ ท่ีหลากหลาย
นกั เรยี นไม่สามารถลงขอ้ สรปุ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ข้อมลู จากการทดลอง โดยขาดการ
นาขอ้ มูลจากเน้ือหาในทฤษฎีมาเชือ่ มโยง
การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ รว่ มกับ การใช้
โครงงานเป็นฐาน (PBL)
1. กจิ กรรมการใช้เกมแข่งขนั เพ่อื นาเขา้ สบู่ ทเรยี น (Games-based Learning)
2. กิจกรรมระดมความคดิ ร่วมกนั ภายในกลุ่ม (Brainstorming)
3. กจิ กรรมสะทอ้ นความคิดของแตล่ ะกลุ่ม (Student’s Reflection)
4. กิจกรรมเรยี นรู้แบบเพ่อื นคู่คิด (Think Pair Share)
5. กจิ กรรมเรยี นรแู้ บบหอ้ งเรยี นสอนคดิ (Thinking tools)
6. กิจกรรมแบบใช้โครงงานเปน็ ฐาน (PBL)
ไดร้ ูปแบบและแนวทางการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้
เพื่อช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ทั้งเน้ือหาหลักและหลักการ ทฤษฏี โดยเรียนรู้ผ่าน
รูปแบบแบ่งปันความคิด Think-pair-share การเรียนรู้แบบร่วมมือ Cooperative
Learning เป็นการเรยี นท่เี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั พัฒนาทักษะการคิด ลักษณะความคิด
และกระบวนการคิด ตลอดจนการฝึกทักษะการปฏิบัติจริงเพื่อให้ผู้เรียนสร้างองค์
ความรู้ด้วยตนเองเข้าใจจากส่ิงที่ได้ลงมือปฏิบัติและเพื่อให้ได้ความรู้ซ่ึงจะเป็นพ้ืนฐาน
ในการเรียนตอ่ ไป
50
ประเด็น รายละเอยี ด
ช่ือกลุ่ม Science saroy
วงรอบทแ่ี ก้ปัญหา 3
จานวนสมาชิก 3
ชื่อกิจกรรม แกป้ ญั หาการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาเคมเี พิ่มเตมิ 4 (ว32224)
เรื่อง การชุบโลหะและการทาโลหะให้บริสทุ ธิ์
วัน เดือน ปี 4 มกราคม – 7 มกราคม 2565
ปกี ารศกึ ษา 2564
จานวนชว่ั โมง 3
บทบาท Model Teacher
ประเด็นปญั หา ทฤษฎีของตัวเนื้อหามีความซับซ้อนเข้าใจยาก ต้องอาศัยหลักการจินตนาการให้เกิด
มโนภาพเพ่อื นาไปสู่กระบวนการคิดเชิงวิทยาศาสตร์ แล้วนาไปสู่การลงมือปฏิบัติฝึกทา
โจทย์หรือแบบฝกึ ที่หลากหลาย
สาเหตุ นกั เรยี นไมส่ ามารถลงขอ้ สรปุ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ขอ้ มูลจากการทดลอง โดยขาดการ
นาขอ้ มลู จากเนื้อหาในทฤษฎีมาเชือ่ มโยง
ความรู้ /หลักการที่ การจัดกจิ กรรมการเรียนร้โู ดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ รว่ มกบั การใช้
นามาใช้ โครงงานเปน็ ฐาน (PBL)
กิจกรรมท่ที า 1. กิจกรรมการใช้เกมแขง่ ขนั เพื่อนาเขา้ ส่บู ทเรียน (Games-based Learning)
2. กิจกรรมระดมความคิดร่วมกันภายในกลมุ่ (Brainstorming)
3. กจิ กรรมสะท้อนความคิดของแตล่ ะกลุ่ม (Student’s Reflection)
4. กจิ กรรมเรียนรแู้ บบเพ่ือนคู่คดิ (Think Pair Share)
5. กิจกรรมเรียนรูแ้ บบห้องเรยี นสอนคดิ (Thinking tools)
6. กิจกรรมแบบใช้โครงงานเปน็ ฐาน (PBL)
การนาผลท่ไี ด้ไปใช้ ได้รปู แบบ แนวทางการจดั การเรียนการสอนหลากหลายรปู แบบ โดยใชก้ ระบวนการ
สืบเสาะหาความรู้ เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รยี นรูจ้ ากการลงมือปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง เปน็ การ
ส่งเสรมิ พัฒนาศักยภาพทางสมองในการคิด การแก้ปัญหา การนาความรู้ไป
ประยกุ ต์ใชท้ าใหผ้ เู้ รยี นได้พฒั นาตนเองเต็มความสามารถ รวมถงึ ทาให้เขาไดม้ ีโอกาส
ร่วมอภิปรายใหม้ โี อกาสฝกึ ทักษะการสือ่ สาร ทาใหผ้ ลการเรยี นรเู้ พิ่มขึน้
จากตารางสรุปการทากจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning
Community : PLC) ของขา้ พเจา้ นายรณชยั อินรัง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ชานาญการ
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสรอยเสรวี ิทยา ภาคเรยี นท่ี 2 ประจาปีการศึกษา
2564 ในบทบาท Model Teacher และ บทบาท Buddy Teacher โดยสรุปช่วั โมงการทากิจกรรมชุมชนแห่ง
การเรียนรู้ทางวชิ าชีพ ตามบทบาทดังน้ี
51 ช่วั โมง
15
ลาดับ บทบาท 15
1. Model Teacher 15
2. Buddy Teacher 45
3. Mentor Teacher
รวมช่ัวโมงแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564
ลงชื่อ……………………………………………………..
(นายรณชยั อินรงั )
ตาแหน่ง ครูชานาญการ
ผู้สรปุ การทากจิ กรรม
ลงช่อื ……………………………………………………..
(นางสาวรตั ติภรณ์ ชานาญ)
ตาแหนง่ ครชู านาญการ
ผสู้ รปุ การทากจิ กรรม
ลงชื่อ……………………………………………………..
(นายจกั กฤษณ์ สมภรณว์ รพล)
ตาแหนง่ ครูชานาญการพเิ ศษ
ผู้สรปุ การทากจิ กรรม
ลงชื่อ……………………………………………………..
(นายรณชยั อนิ รงั )
ตาแหนง่ ครชู านาญการ
หัวหน้าผ้รู ับผิดชอบโครงการ PLC โรงเรียน
52
ลงชอื่ ……………………………………………………..
(นายสิรวชิ ญ์ ขัดเชงิ )
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
หัวหน้างานวชิ าการ
ลงช่อื ……………………………………………………..
(นายสุชาติ เวียงชยั )
ตาแหน่ง รองผู้อานวยการโรงเรยี นสรอยเสรวี ทิ ยา
ผู้รับรองข้อมลู
ลงชอ่ื ……………………………………………………..
(นางจริ พร วงศ์ชยั พาณิชย์)
ตาแหนง่ ผอู้ านวยการโรงเรยี นสรอยเสรีวิทยา
ผูร้ บั รองข้อมลู