รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาก
(Self Assessment Report : SAR)
ระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนบา้ นป่าพอ้
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
ก
บทสรปุ ผ้บู ริหาร
โรงเรียนบ้านป่าพ้อ ตั้งอยู่ หมู่ที่ 3 ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสไปรษณีย์
95160 เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เปิดสอนต้ังแต่ระดับชั้นอนุบาลปีท่ี 2 ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
นักเรียนชั้นอนุบาล 2 จำนวน 13 คน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 – 6 จำนวน 68 คน รวมมีนักเรียน
ทั้งหมดจำนวน 81 คน ข้าราชการครูจำนวน 5 คน พนักงานราชการจำนวน 2 คน เจ้าหน้าท่ีธุรการจำนวน
1 คน พนักงานรักษาความปลอดภัย จำนวน 1 คน มีผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาตาม
มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ดังนี้
มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ระดับคณุ ภาพ
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ดเี ลศิ
1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รยี น ดีเลิศ
1.2 คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผเู้ รยี น ดี
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผ้เู รียนเปน็ สำคัญ
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเ้ รียน
โรงเรียนบ้านป่าพ้อมีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร
และการคิดคำนวณ โดยโรงเรียนจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้วยกระบวนการที่หลากหลาย ครูจัดการเรียนรู้ตาม
มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรียนได้เรียนรู้
ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง จัดกิจกรรมส่งเสริมด้านอาชีพ และปลูกฝังทักษะการทำงานรู้จักอาชีพ
ต่างๆ และเห็นความสำคัญของอาชีพ และมีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพในชุมชน โรงเรียนมีการใช้ส่ือเทคโนโลยี
DLTV ในการเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม ทั้งนี้เพื่อแก้ปัญหาครูสอนไม่ตรงเอก ทำให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิเป็นไป
ตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนด ส่งผลให้สัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษา นอกจากน้ียัง
ส่งเสริมการมีค่านิยมและจิตสำนึกท่ีดีตามที่สถานศึกษากำหนด มีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความ
เป็นไทย ยอมรับและอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้าน เพศ วัย เช้ือชาติ ศาสนา วัฒนธรรม
ประเพณี รวมท้ังมีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์และสังคม สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี
ความสุข
จุดเดน่
โรงเรยี นบ้านป่าพอ้ เป็นโรงเรียนที่จดั การเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) จากโรงเรียนต้น
ทางจึงทำให้ลดปัญหาการขาดแคลนครู และครูไม่ตรงวิชาเอก และส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ท่ีดีและเป็นไปตาม
หลักสูตรสถานศึกษา อีกท้ังยังส่งเสริมการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรยี น
การสอนดา้ นการอนรุ กั ษ์ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ เช่นการทำตปู ะ (ขนมต้ม) การทำตาแป (แป้งขา้ วหมาก) เป็นตน้
จดุ ทค่ี วรพัฒนา
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระ รวมทั้งผลการทดสอบระดับชาติขั้นพ้ืนฐานให้สูงขึ้น
กว่าเดิม ในแต่ละปีการศึกษาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 3 อีกท้ังผู้เรียนควรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาความสามารถ
ข
ด้านการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างสร้างสรรค์ และการคิดแก้ปัญหา ปลูกฝังให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน รักการ
เรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้โรงเรียนควรจัดกิจกรรมส่งเสริมความสามารถในการสร้าง
นวตั กรรม สรา้ งช้ินงานโดยให้นกั เรียนฝกึ ปฏบิ ตั จิ ริง
แผนการยกระดบั คุณภาพใหส้ งู ข้นึ
1. จัดกิจกรรมในการยกระดับความสามารถในการเรียนรู้ของนักเรียนใน “โครงการยกระดับ
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน” เพ่ือพัฒนาหลักสูตร จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ จัดทำสื่อการเรียนการสอน และ
ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทุกกลุ่มสาระให้สูงข้ึน รวมถึงพัฒนาความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ คิด
อย่างสรา้ งสรรค์ และการคดิ แก้ปัญหา
2. ส่งเสริมความสามารถในการอ่าน การเขียน ปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน ใฝ่เรียนรู้ ผ่านโครงการ
“แก้ปัญหานักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้”เพ่ือให้ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านการอ่าน การเขียนที่เหมาะสมกับวัย
มีนสิ ัยรกั การอ่าน และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นดีขึ้น
3. ปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน รู้จักพัฒนาตนเอง และสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร
การทำงาน อย่างสร้างสรรค์และเตรียมความพร้อมนักเรียนในการแข่งขันความสามารถทางวิชาการในระดับ
ต่าง ๆ ผา่ น “โครงการสง่ เสริมความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการ”
4. จัดกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี
ความกา้ วหน้าในด้านเทคโนโลยี
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
โรงเรียนบ้านป่าพ้อใช้ ระบบ PDCA ในกระบวนการบริหารและการจัดการ โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
ยึดหลักหลักธรรมาภิบาล และแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียน ตามแนวทาง
ปฏิรูปการศึกษา ส่งผลให้ สถานศึกษามี วิสัยทัศน์และพันธกิจท่ีชัดเจนสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา
ความต้องการของชุมชน นโยบายสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการและจุดเน้นของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษายะลา เขต 1 โรงเรียนสามารถบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบทั้งการ
วางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษา การนำแผนไปปฏิบัตกิ ารประจำปี เพ่อื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา มีการ
ติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรบั ปรุงพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง บุคลากรและผทู้ ี่เกยี่ วข้องทุกฝ่ายมีส่วนรว่ ม
ในการการวางแผน ปรับปรุง พัฒนาและร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาสถานศึกษา มีหลักสูตร
สถานศึกษาที่ยืดหยุ่น สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาและสอดคล้องกับความต้องการของท้องถ่ิน
มสี ภาพแวดล้อมทางกายภาพทงั้ ภายในและภายนอกห้องเรียนท่เี อ้อื ตอ่ การจัดการเรียนรูแ้ ละมีความปลอดภัย
จดุ เด่น
โรงเรียนมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ท่ีกำหนดไว้ชดั เจน สอดคล้องกับบรบิ ทของโรงเรียนตามความ
ต้องการของชุมชน วัตถุประสงค์ของแผนการจัดการศึกษาของชาติ นโยบายของรัฐบาลและต้นสัง กัด
มีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุ่น สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาและสอดคล้องกับความต้องการของ
ท้องถ่ิน ครูมีความรู้ ความเช่ียวชาญด้านเทคนิคการสอนและสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนด้วยวิธีท่ีหลากหลาย ควบคู่กับการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV อีกทั้ง
มบี รรยากาศและสภาพแวดล้อมภายในโรงเรยี นเป็นระเบียบ สะอาด ร่มร่ืน สวยงาม และปลอดภัย มีการปรับ
ค
ภูมิทัศน์ ทั้งภายในและภายนอกอาคารเรียนให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ ดังเอกลักษณ์ของสถานศึกษา“ภูมิทัศน์
สวยงาม นามปา่ พอ้ ”
จุดทค่ี วรพัฒนา
การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนให้เข้มแข็ง มีความต่อเนื่อง และสามารถ
ตรวจสอบได้ตลอดเวลา สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียน และ
การขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา ส่งเสริมครูด้านการทำวิจัยในช้ันเรียนเพ่ือพัฒนางานวิชาการ รวมถึง
การบริหารจัดการห้องปฏิบัติต่างๆ ในการจัดหาส่ือเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ พัฒนาแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้เรียน
เพอ่ื คุณภาพการจัดการศึกษา
แผนการยกระดบั คุณภาพให้สูงขึ้น
1. สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง
มสี ว่ นร่วมรับผดิ ชอบตอ่ ผลการจดั การศกึ ษา และการขับเคลือ่ นคณุ ภาพการจัดการศึกษา
2. จัดระบบการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนให้เข้มแข็ง ต่อเน่ือง และสามารถตรวจสอบได้
ตลอดเวลา
3. ส่งเสริมและพัฒนารปู แบบการใช้กระบวนการวิจยั เปน็ ฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
4. ส่งเสริมให้ครูจัดทำนวัตกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและกระบวนการเรียนรู้
ไปสกู่ ารปฏบิ ัติงานอยา่ งมีประสิทธิภาพ และเกดิ ประโยชน์สงู สุดแก่ผเู้ รยี น
5. พัฒนาแหล่งเรียนรู้/แหล่งข้อมูลข่าวสาร/ห้องสมุด ภายในโรงเรียน ให้มีบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการ
เรียนรู้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนใฝ่เรียน ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัยอย่างกว้างขวางและ
ตอ่ เนอื่ ง
6. โรงเรียนควรจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เพียงพอกับการใช้งานและการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอน
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
โรงเรียนบ้านป่าพ้อได้ดำเนินการพัฒนาครูและบุคลากรอย่างต่อเน่ือง มีกระบวนการพัฒนา
การจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการท่ีหลากหลายและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการนิเทศการจัดการเรียนร้อู ย่าง
ต่อเนื่อง ครูมีความมุ่งม่ันตั้งใจ ในการพัฒนาการสอน พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ
โรงเรียนจัดการเรียนการสอนผ่านระบบทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน
เป็นสำคัญ จัดการเรียนการสอนท่ีมุ่งเน้นการฝึกทักษะ ฝึกการปฏิบัติเพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์
จริง สามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ชีวิตประจำวนั ได้
จดุ เดน่
ครูมีความมุ่งม่ันตั้งใจในการพัฒนาการเรียนการสอน มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือส่งเสริม
กระบวนการคิดและปฏิบัติจริง จัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการใช้สื่อการสอนทางไกล
ผ่านดาวเทียม DLTV และสื่อการเรียนรู้ทางอินเตอร์เน็ต มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชนและท้องถ่ินโดยการ
นำชมุ ชนเข้ามามสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมตา่ งๆ ของโรงเรียน
ง
จดุ ทค่ี วรพฒั นา
ครูควรจัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิดแบบโครงงานอย่างหลากหลายเพื่อเพ่ิมทักษะการคิด
วิเคราะห์ให้กับนักเรียน ควรพัฒนาวิชาชีพหรือ PLC เพื่อส่งเสริมให้ครไู ด้แลกเปล่ียนเรียนรู้และสร้างเครือข่าย
ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญรว่ มกัน นำกระบวนการวิจัยมาใชใ้ นการแกป้ ัญหา
และพฒั นาผู้เรยี นอย่างจริงจงั
แผนการยกระดับคณุ ภาพใหส้ ูงข้นึ
1. ส่งเสริมใหค้ รจู ัดการเรยี นการสอนแบบโครงงาน เพื่อเนน้ ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ทหี่ ลากหลาย
2. ส่งเสริมให้พัฒนาวิชาชีพหรือ PLC พัฒนานวัตกรรมมาใช้ในการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียน
เปน็ สำคญั
3. ส่งเสริมครูในด้านการทำวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้โดยการนำผลการประเมินหรือผลการวิจัยไปใช้
ในการพัฒนาการจดั กระบวนการเรียนการสอน
4. พฒั นาสภาพแวดล้อม ห้องปฏิบตั ิการ แหลง่ เรยี นรู้ภายในสถานศกึ ษา สร้างบรรยากาศท่ีเอ้อื ต่อการ
เรียนรู้ ส่งเสริมให้นักเรียนรกั การเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เน่ือง และพัฒนาสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ สงั คมแห่ง
การเรยี นรู้ของชุมชนตอ่ ไป
จ
คำนำ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Salf - Assessment Report : SAR) ระดับการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน ของโรงเรียนบ้านป่าพ้อ ปีการศึกษา 2563 เล่มน้ี ได้จัดทำข้ึนเพื่อรายงานผลการจัดการศึกษาตลอดปี
การศึกษา 2563 ทค่ี รอบคลุมมาตรฐานการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 3 มาตรฐานของสถานศึกษา ได้แก่ มาตรฐานที่ 1
คุณภาพของผู้เรียน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ และมาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการ
เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสาธารณชนได้รับทราบ
ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 เพ่ือให้ทราบถงึ ผลการดำเนินงาน จดุ เด่น จดุ ทค่ี วร
พัฒนา และแผนการยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น เพ่ือนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ ประเมินผล และปรับปรุงการ
ดำเนินงานในปีต่อไป อีกท้ังเพ่ือรองรับการประเมินภายนอกโดยสำนักงานรับรองมาตรฐานการศึกษา และ
ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา(องคก์ ารมหาชน)
ขอขอบคุณผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาทุกท่าน ท่ีได้ให้คำแนะนำ คำปรึกษา ในการ
ดำเนนิ งานโดยเฉพาะคณะครู นักเรียน ผปู้ กครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และผ้เู กยี่ วข้องทกุ ผ่าย
ทไี่ ด้ให้การสนับสนนุ ตลอดจนให้ความร่วมมอื ในการดำเนินงาน ให้บรรลุเปา้ หมายทก่ี ำหนด จนสามารถรายงาน
ผลให้สาธารณชนทราบ และพฒั นาไปสมู่ าตรฐานการศกึ ษาต่อไป
โรงเรียนบ้านปา่ พอ้
สารบญั ฉ
บทสรุปสำหรับผ้บู ริหาร หน้า
คำนำ ก-ง
สารบญั จ
ส่วนที่ 1 ขอ้ มลู พนื้ ฐาน ฉ-ช
1
- ข้อมูลท่ัวไป 1
- ขอ้ มูลครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 3
- ข้อมูลนักเรียน 3
- สรุปข้อมูลผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนระดับสถานศึกษา 4
- ผลการทดสอบระดบั ชาติของผู้เรยี น 9
- การใชแ้ หล่งเรียนรภู้ ายในและภายนอกสถานศกึ ษา 13
สว่ นท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 14
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผู้เรียน 14
- ระดบั คุณภาพ 14
- กระบวนการพัฒนา 14
- ผลการดำเนนิ งาน 20
- จุดเดน่ 21
- จดุ ท่คี วรพฒั นา 21
- แผนยกระดับคุณภาพให้สงู ขึ้น 21
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 22
- ระดับคุณภาพ 22
- กระบวนการพฒั นา 22
- ผลการดำเนินงาน 23
- จดุ เดน่ 24
- จดุ ทค่ี วรพัฒนา 24
- แผนยกระดับคณุ ภาพให้สงู ข้ึน 24
สารบญั (ตอ่ ) ช
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผ้เู รยี นเป็นสำคญั หนา้
- ระดบั คณุ ภาพ 25
- กระบวนการพัฒนา 25
- ผลการดำเนินงาน 25
- จดุ เด่น 26
- จดุ ทคี่ วรพัฒนา 26
- แผนยกระดับคุณภาพให้สงู ข้นึ 27
- สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2563 27
28
ส่วนที่ 3 วธิ ีการปฏบิ ตั ทิ ีด่ /ี นวัตกรรม ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา 30
- ช่อื วธิ กี ารปฏบิ ัติท่ีดี/นวตั กรรม 30
- สภาพความจำเปน็ ในการแก้ปญั หา 30
- วิธีการดำเนนิ งาน 32
- ผลที่เกิดข้นึ 34
- การเผยแพร่ 36
สว่ นท่ี 4 ภาคผนวก
- บนั ทึกผลการให้ความเหน็ ชอบคณะกรรมการสถานศึกษา
- คำส่ังแต่งต้งั คณะกรรมการจดั ทำรายงานคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
(SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2563
- ประกาศโรงเรยี นบ้านป่าพ้อ เรื่อง มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้น
พ้นื ฐาน พ.ศ.2363
- ตัวบง่ ชี้และคา่ เปา้ หมายความสำเร็จของแตล่ ะมาตรฐานการศกึ ษาระดบั
การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ปกี ารศึกษา 2563
- ผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ.2363
- เกณฑร์ ะดับคณุ ภาพมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พ.ศ. 2563
- คณะผ้จู ัดทำ
- ข้อมูลการติดต่อของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาและผู้รบั ผดิ ชอบ
1
ส่วนที่ 1
ขอ้ มลู พื้นฐาน
1) ข้อมูลทั่วไป
ช่ือโรงเรียน บ้านป่าพ้อ ต้ังอยู่ หมู่ท่ี 3 ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสไปรษณีย์
95160 เปน็ โรงเรยี นขนาดเล็ก
สังกัด สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
เปดิ สอนตั้งแตร่ ะดบั ชั้นอนุบาลปที ่ี 2 ถงึ ระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6
ช่ือผบู้ ริหารโรงเรียน นางสมถวลิ สมงิ แก้ว เบอรโ์ ทรศพั ท์ 082-7053345
ประวัติโรงเรียนบา้ นป่าพ้อ
โรงเรียนบ้านป่าพ้อเดิมชื่อโรงเรียนบ้านตลาดลำใหม่ สาขาป่าพ้อ ก่อตั้งเม่ือวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ.
2513 โดยอาศัยอาคารเรียนชั่วคราวของโรงเรียนราษฎร์สอนศาสนาอิสลาม ซ่ึงนายหะยีหะมะ มะแซ เจ้าของ
โรงเรยี นเปน็ ผู้มอบให้ เพอ่ื เป็นสถานที่เรยี นชั่วคราว เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2514 นายหะยีอบั ดุลลาเตะ มะแซ
ได้มอบท่ีดินให้ทางราชการเพื่อสร้างอาคารเรียนถาวร คิดเป็นเนื้อท่ีท้ังหมด 3 งาน 74 ตารางวา คิดเป็นเงิน
ราคาประมาณ 8,000 บาท
พ.ศ. 2515 โรงเรียนได้รับงบประมาณจากทางราชการเป็นเงิน 120,000 บาท ได้นำเงินจำนวน
ดังกล่าวนสี้ ร้างอาคารเรยี นหนึง่ หลงั (แบบ ป.1 ก) 3 ห้องเรียน พรอ้ มครภุ ัณฑ์โต๊ะนกั เรยี นจำนวน 120
ชุดโต๊ะครูจำนวน 3 ชุด กระดานดำติดฝาผนังจำนวน 3 แผ่น เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ.2515 นายช่วง
ศรีสุวรรณ ไดน้ ำงบประมาณสรา้ งเสาธงเหล็กมอบใหโ้ รงเรยี นใชง้ บประมาณ 1,000 บาท
วันท่ี 13 สิงหาคม พ.ศ. 2519 นายหะยีหะมะ มะแซ ได้บริจาคที่ดินให้กับโรงเรียน 80 ตารางเมตร
(กว้าง 4 เมตร ยาว 20 เมตร) ซึง่ โรงเรียนไดน้ ำทด่ี นิ ดงั กลา่ วไปสรา้ งส้วม
วันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2519 อำเภอเมืองยะลาได้จัดสรรงบประมาณให้กับโรงเรียน เพื่อสร้างส้วม
จำนวน 1 หลัง 3 ท่นี ่ังราคาโดยประมาณ 7,000 บาท
วันท่ี 9 กันยายน พ.ศ. 2520 อำเภอเมืองยะลาได้สร้างส้วมให้กับโรงเรียนอีก 1 หลัง 2 ที่น่ัง เป็นส้วม
แบบ 401
วันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 โรงเรียนถูกลอบวางเพลิง ห้องเรียนเสียหาย 1 ห้องเรียน ส่วนอีก 2
ห้องเรียนเสยี หายบางส่วน
ปี 2550 โรงเรียนได้งบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนแบบ สปช.105/29 จำนวนงบประมาณ
3,341,000 บาท การก่อสร้างเสร็จสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี และปีการศึกษา 2551 โรงเรียนได้ทำพิธีเปิดอาคาร
เรียนหลังใหม่ เพื่อใช้ในการเรยี นการสอนต่อไป
ปีการศึกษา 2553 สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษายะลา เขต 1 ได้ประกาศจัดตั้งสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
เม่อื วนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2553 จากเดิมชื่อ “โรงเรยี นบ้านตลาดลำใหม่ สาขาบา้ นป่าพ้อ” เป็น “โรงเรียนบ้านป่า
พ้อ” และนักเรียนช้ัน ป.4-6 ท่ีเรียนอยู่โรงเรียนบ้านตลาดลำใหม่ กลับมาเรียนท่ีโรงเรียนบ้านป่าพ้อ มีจำนวน
นักเรยี นต้งั แตช่ น้ั อนบุ าล - ป.6 จำนวน 122 คน
วนั ท่ี 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษายะลา เขต 1 ได้มีคำสั่งแต่งตั้ง นายจรัส
ภพู่ ันธต์ ระกูล มาดำรงตำแหน่งผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบา้ นปา่ พ้อ ซ่ึงถือเป็นผอู้ ำนวยการคนแรกของโรงเรียน
2
วันท่ี 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษายะลา เขต 1 ได้จัดสรรงบประมาณ
จำนวน 120,000 บาท เพ่อื จัดซื้อวสั ดุ อุปกรณ์ต่อเติมอาคารเรยี น สปช.105/29 จำนวน 4 หอ้ งเรยี นและไดร้ ับ
งบประมาณจากสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษายะลา เขต 1 จำนวน 50,000 บาท เพื่อทาสีอาคารที่ต่อเติม
4 ห้องเรียน
วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2562 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษายะลา เขต 1 ได้มีคำส่ังแต่งตั้ง นางสมถวิล
สมงิ แก้ว มาดำรงตำแหน่งผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นป่าพ้อจนถึงปัจจบุ นั
วสิ ยั ทัศน์ (Vision)
โรงเรียนบ้านป่าพ้อ โรงเรยี นแห่งการปฏิรูปกระบวนการเรยี นรู้ นักเรียนมีคุณภาพตามเกณฑ์
มาตรฐาน พฒั นาบุคลากรสู่มอื อาชพี และชมุ ชนมสี ว่ นร่วมในการจดั การศึกษา
พันธกจิ (Mission)
1. สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาโดยยึดคุณธรรมนำความรู้ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
2. พฒั นาคณุ ภาพทางการศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษา
3. จดั การศึกษาแบบมสี ่วนรว่ มโดยผู้ปกครอง ชุมชน ภาคเอกชน และท้องถน่ิ
4. ส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพตามแนวทางปฏิรูป
การศกึ ษาสู่ครู มอื อาชพี
5. พัฒนาสภาพแวดล้อม แหล่งเรียนรู้ และภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ให้เอื้อต่อการเรียนรู้
เปา้ ประสงค์ (Goals)
1. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ มีความรู้และทักษะ มีคุณธรรมจริยธรรม แสวงหา
การเรยี นร้ทู ห่ี ลากหลาย เพือ่ นำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวัน
2. ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
3. การบรหิ ารจัดการแบบมสี ่วนร่วม ตรวจสอบได้
4. ชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษาระบบ
กลยทุ ธ์ (Strategy)
กลยทุ ธ์ที่ 1 พัฒนาผู้เรยี นให้ไดต้ ามเกณฑม์ าตรฐานการศกึ ษา
กลยทุ ธ์ที่ 2 ปลกู ฝงั คุณธรรมจริยธรรมและและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์แกผ่ ้เู รียน
กลยุทธท์ ี่ 3 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาสู่มืออาชีพ
กลยทุ ธท์ ่ี 4 พัฒนาการบริหารจัดการใหม้ ปี ระสิทธิภาพ
คำขวญั
“คุณธรรม นำความรู้ คู่วินยั ใส่ใจสงิ่ แวดล้อม”
อตั ลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา
“ รับผิดชอบ สะอาด มารยาทงาม ”
เอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา
“ ภมู ิทศั น์สวยงาม นามป่าพอ้ ”
2) ข้อมูลครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา 3
2.1 จำนวนครูและบคุ ลากรทางการศึกษา รวม
10
ผ้สู อน เจ้าหนา้ ทอ่ี น่ื ๆ
ผู้บรหิ าร ครู พนกั งาน อัตราจ้าง เจ้าหน้าที่ธุรการ พนักงานรกั ษา
ราชการ ความปลอดภยั
1 421 11
2.2 ครูประจำการ
อายุ
ที่ ชอ่ื สกุล ราชการ ตำแหน่ง วุฒิ วชิ าเอก ประจำชั้น
/ ปี
1 นางสมถวิล สมิงแกว้ 17 ผู้อำนวยการโรงเรยี น ศษ.ม บริหารการศึกษา -
2 นางจงใจ เจมิ ผอ่ งพงศ์ 33 ครู กศ.ม. บริหารการศึกษา ประถมศึกษาปที ่ี 1
3 นางสาวไซมาโตน 23 ครู คบ. ภาษาอังกฤษ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
อบั ดุลลอฮ์
4 นางวินิภา สะอาดพนั ธ์ 17 ครู คบ. การศึกษาปฐมวัย อนบุ าลปีท่ี 2-3
5 นางพาตเี มาะ ยะผา 16 ครู คบ. จิตวิทยาและการแนะแนว ประถมศกึ ษาปที ี่ 2
6 นางอาสารอ เกษธมิ า 14 พนักงานราชการ คบ. การประถมศึกษา ประถมศึกษาปที ี่ 3
7 นายซัฟฟาร์ หลังเตมนี 14 พนักงานราชการ ศศ.บ. ศลิ ปกรรม ประถมศึกษาปีท่ี 5
8 นางสาวรูซัยดาร์ ยูโซะ 10 ครอู ิสลามศึกษา ศศ.บ. ชะรีอะห์ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4
(แบบเข้ม) (กฎหมายอสิ ลาม)
3) ข้อมูลนกั เรียน
ชน้ั จำนวนห้องเรยี น ชาย จำนวนนักเรียน รวม
หญงิ
อนุบาล 1 0 0 0 0
อนบุ าล 2 1 3 1 4
อนุบาล 3 1 6 3 9
รวมอนบุ าล 2 9 4 13
ป.1 1 8 6 14
ป.2 1 8 3 11
ป.3 1 6 4 10
ป.4 1 7 6 13
ป.5 1 5 5 10
ป.6 1 6 4 10
รวมประถม 6 40 28 68
รวมท้ังสิ้น 8 49 32 81
4
4) สรุปขอ้ มลู ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นระดบั สถานศึกษา
4.1. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ประจำปกี ารศึกษา 2563
กลุ่มสาระ ภาษา คณติ วิทยา สงั คม ประวตั ิ สขุ ศกึ ษา ศลิ ปะ การงาน ภาษา อสิ ลาม เฉลย่ี /รอ้ ย
ชั้น ไทย ศาสตร์ ศาสตร์และ ศกึ ษา ศาสตร์ อาชพี ฯ องั กฤษ ศกึ ษา ละ
เทคโนโลยี
ประถมศึกษาปีท่ี
1 68.93 67.79 67.29 72.50 64.93 74.14 70.71 72.21 65.71 73.29 69.75
ประถมศึกษาปีท่ี
2 69.18 64.64 66.73 69.00 65.09 70.64 70.91 71.36 67.18 67.73 68.25
ประถมศึกษาปที ่ี
3 70.80 61.60 68.70 69.10 64.10 66.90 66.20 65.90 64.90 70.10 66.83
ประถมศกึ ษาปที ี่
4 64.77 65.69 68.15 66.15 66.15 73.31 71.46 73.46 68.23 70.62 68.80
ประถมศกึ ษาปีที่
5 75.78 64.67 72.00 73.44 75.67 68.22 76.44 76.22 70.67 65.89 71.90
ประถมศึกษาปีที่
6 68.90 64.10 68.50 67.50 69.90 74.60 76.20 71.80 66.30 64.40 69.22
เฉลย่ี /รอ้ ยละ 69.73 64.75 68.56 69.62 67.64 71.30 71.99 71.83 67.17 68.67 69.13
แผนภูมิแสดงผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน
78 90
76 80
74 70
72 60
70 50
68
66 40
64 30
62 20
60 10
58 0
ป.1 ป.2 ป.4 ป.5 ป.3 ป.6
แผนภูมแิ สดงผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ประจำปกี ารศกึ ษา 2563
5
4.2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรายวชิ า ทีม่ ีผลการเรียนระดับ 3 ขึน้ ไป ประจำปีการศกึ ษา 2563
กลุ่มสาระ ภาษา คณติ วทิ ยา สงั คม ประวตั ิ สขุ ศิลปะ การงาน ภาษา อิสลาม
ช้ัน ไทย ศาสตร์ ศาสตร์ ศึกษา ศาสตร์ ศกึ ษา อาชพี ฯ อังกฤษ ศกึ ษา
ประถมศึกษาปีท่ี 1 50.00 42.86 50.00 64.29 28.57 78.57 50.00 71.42 42.86 78.57
ประถมศึกษาปที ่ี 2 54.55 36.36 27.27 54.55 27.27 63.64 63.64 54.55 36.36 45.45
ประถมศึกษาปีที่ 3 40.00 20.00 40.00 40.00 30.00 30.00 20.00 40.00 30.00 50.00
ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 23.08 23.08 38.46 30.77 30.77 84.62 61.54 84.62 23.08 53.85
ประถมศึกษาปีท่ี 5 77.78 22.22 44.44 66.67 100 44.44 88.89 88.89 44.44 22.22
ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 40.00 40.00 40.00 40.00 40.00 80.00 60.00 60.00 30.00 20.00
รวม 47.57 30.75 40.03 49.38 42.77 63.55 57.35 66.58 34.46 45.02
แผนภูมิแสดงผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนรายวิชา ที่มีผลการเรยี นระดบั 3 ข้นึ ไป ประจำปีการศกึ ษา 2563
แผนภมู แิ สดงผลการเรียนระดับ ข้ึนไป
74.14
73.29
72.5 72.21
70.71
68.93
67.79 67.29
64.93 65.71
6
4.3. ผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนส่ือความของนักเรียนแยกตามระดับชั้น
ประจำปกี ารศึกษา 2563
ระดบั ชน้ั จำนวน ดเี ยยี่ ม ดี ผา่ น ไม่ผา่ น นร.ทไี่ ด้ เฉลยี่
นักเรยี น ระดบั ดี ร้อยละ
จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ ข้นึ ไป
35.71
ป.1 14 2 14.28 3 21.43 9 64.29 0 0.00 5 63.64
ป.2 11 2 18.18 5 45.45 4 36.36 30.00
ป.3 10 1 10.00 2 20.00 7 70.00 0 0.00 7 15.38
ป.4 13 0 0.00 2 15.38 11 84.61 33.33
ป.5 9 0 0.00 3 33.33 6 66.67 0 0.00 3 40.00
ป.6 10 0 0.00 4 40.00 6 60.00
รวม 67 5 19 43 0 0.00 2 35.82
7.46 28.36 64.18 0 0.00 3
0 0.00 4
0 24
เฉล่ีย/ร้อยละ 0.00
แผนภมู แิ สดงร้อยละผลการประเมนิ การอา่ นคดิ วิเคราะห์และเขยี นสอ่ื ความ
ดเี ยี่ยม ดี ผา่ น ไมผ่ ่าน
ป.6 0.00 40.00 60.00 0.00
66.67 0.00
ป.5 0.00 33.33 84.61 0.00
70.00 0.00
ป.4 0.00 15.38 0.00
64.29 0.00
ป.3 10.00 20.00
ป.2 18.18 45.45 36.36
ป.1 14.28 21.43
แผนภมู แิ สดงรอ้ ยละผลการประเมนิ ระดับ "ด"ี ข้นึ ไป
ป.6 40.00
ป.5 33.33
ป.4 15.38
ป.3 30.00
ป.2 63.64
ป.1 35.71
7
4.4. ผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของนกั เรียนแยกตามระดบั ชนั้ ประจำปีการศกึ ษา 2563
ระดับชน้ั จำนวน ดเี ย่ยี ม ดี ผา่ น ไม่ผา่ น นร.ที่ได้ เฉลี่ย
นักเรยี น จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ ระดับ ดี ร้อยละ
ขึน้ ไป
ป.1 14 9 64.29 2 14.28 3 21.43 0 0.00 11 78.57
ป.2 11 5 45.45 6 54.55 0 0.00 0 0.00 11 100
ป.3 10 7 70.00 3 30.00 0 0.00 0 0.00 10 100
ป.4 13 1 7.69 9 69.23 3 23.07 0 0.00 10 76.92
ป.5 9 3 33.33 6 66.67 0 0.00 0 0.00 9 100
ป.6 10 9 90.00 1 10.00 0 0.00 0 0.00 10 100
รวม 67 34 27 6 0 61
เฉลย่ี /ร้อยละ 50.74 40.30 8.96 0.00 91.04
แผนภูมแิ สดงร้อยละผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
ดีเยยี่ ม ดี ผ่าน ไม่ผา่ น
ป.6 90.00 66.67 10.00 0.00
ป.5 33.33 0.00
ป.4 7.69 54.55
ป.3 69.23 14.28 23.07 0.00
ป.2 70.00 30.00 0.00
ป.1 45.45
64.29 0.00
21.43 0.00
แผนภมู แิ สดงรอ้ ยละผลการประเมนิ ระดับ "ด"ี ขึ้นไป
ป.6 100.00
ป.5 100.00
ป.4 76.92
ป.3 100.00
ป.2 100.00
ป.1 78.57
8
4.5. ผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน แยกตามระดับชัน้ ประจำปีการศกึ ษา 2563
ระดับชน้ั จำนวน ดีเยยี่ ม ดี ผา่ น ไม่ผา่ น นร.ทีไ่ ด้ เฉลยี่
นกั เรียน จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ ระดบั ดี รอ้ ยละ
จำนวน รอ้ ยละ ขนึ้ ไป
ป.1 14 7 50.00 3 21.43 4 28.57 0 0.00 10 71.43
ป.2 11 2 18.18 5 45.45 4 36.36 0 0.00 7 63.64
ป.3 10 2 20.00 2 20.00 6 60.00 0 0.00 4 40.00
ป.4 13 1 7.69 7 53.84 5 38.46 0 0.00 8 61.54
ป.5 9 0 0.00 6 66.67 3 33.33 0 0.00 6 66.67
ป.6 10 4 40.00 6 60.00 0 0.00 0 0.00 10 100.00
รวม 67 16 29 22 0 45
เฉลี่ย/รอ้ ยละ 23.88 43.28 32.84 0.00 67.16
แผนภมู แิ สดงร้อยละผลการประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ดีเย่ียม ดี ผา่ น ไม่ผ่าน
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
28.57 36.36 38.46 33.33
21.43
50.00 60.00 60.00
ป 45.45 20.00 53.84 66.67
40.00
71.43
18.18 20.00 7.69 0.00
ปปปปป
แผนภูมแิ สดงรอ้ ยละผลการประเมนิ ระดบั "ด"ี ขึน้ ไป
100.00
63.64 61.54 66.67
40.00
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
9
5) ผลการทดสอบระดบั ชาติของผู้เรียน
5.1 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศกึ ษา
ปที ี่ 1 ปีการศกึ ษา 2563
5.1.1 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้น
ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 ระดับโรงเรยี น ระดบั เขตพน้ื ท่ี และระดบั ประเทศ
ดา้ น ระดับโรงเรียน คะแนนเฉล่ยี ระดบั ประเทศ
74.25 ระดับเขตพน้ื ท่ี 74.14
การอ่านออกเสียง 73.75 71.86
การอ่านรเู้ ร่ือง 74.00 55.74 73.02
รวม 2 ด้าน 64.76
60.28
ระดับโรงเรยี น ระดบั เขตพืน้ ท่ี ระดับประเทศ
74.00 73.02
74.25 74.14 73.75 71.86 60.28
55.74 64.76
การอ่านออกเสยี ง การอ่านร้เู รื่อง รวม ด้าน
แผนภูมแิ สดงการเปรยี บเทยี บผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT)
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 ระดบั โรงเรียน ระดบั เขตพน้ื ที่ และระดับประเทศ
10
5.1.2 เปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test :
RT) ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 และ 2563
ดา้ น คะแนนเฉลีย่ ผลตา่ ง
ปกี ารศกึ ษา 2562 ปีการศึกษา 2563 ระหว่างปีการศึกษา
การอ่านออกเสยี ง
การอ่านรู้เรื่อง 31.91 74.25 +42.34
58.00 73.75 +15.75
รวม 2 ดา้ น 44.95 74.00 +29.05
การอ่านออกเสียง 31.91 74.25
การอ่านรเู้ ร่อื ง 73.75
58.00
รวม 2 ด้าน 74.00
44.95
0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00
ปกี ารศึกษา 2563 ปกี ารศึกษา2562
แผนภูมิแสดงการเปรยี บเทียบผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT)
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 ปีการศึกษา 2562 และ 2563
11
5.2 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผูเ้ รยี นระดบั ชาติ (National Test :
NT)
5.2.1 ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผูเ้ รยี นระดับชาติ
(NationalTest : NT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2563 ระดับโรงเรยี น ระดบั เขตพน้ื ท่ี
และระดับประเทศ
ความสามารถ/ด้าน ระดบั โรงเรยี น คะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศ
28.66 ระดบั เขตพนื้ ท่ี 40.47
ด้านคณติ ศาสตร์ (Mathematics) 27.58 47.46
ด้านภาษาไทย (Thai Language) 28.12 34.68 43.97
38.49
รวมความสามารถท้ัง 2 ดา้ น 36.59
ระดับโรงเรียน ระดบั เขตพื้นที่ ระดับประเทศ
40.47 47.46 43.97
34.68 38.49 36.59
28.66 27.58 28.12
ด้านคณติ ศาสตร์ ด้านภาษาไทย รวมความสามารถท้งั 2 ดา้ น
แผนภมู แิ สดงผลการประเมินการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผ้เู รยี นระดบั ชาติ
(NationalTest : NT) ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2563
ระดับโรงเรียน ระดบั เขตพื้นท่ี และระดับประเทศ
12
5.2.2 เปรียบเทยี บผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ
(NationalTest : NT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 และ 2563
ความสามารถ/ด้าน คะแนนเฉลี่ย ผลต่าง
ปีการศกึ ษา 2562 ปกี ารศึกษา 2563 ระหว่างปกี ารศึกษา
ด้านคณิตศาสตร์ (Mathematics)
ดา้ นภาษาไทย (Thai Language) 38.22 28.66 -9.56
25.77 27.58 +1.81
รวมความสามารถทง้ั 2 ดา้ น 32.00 28.12 -3.88
38.22 25.77 27.58 32.00
28.66 28.12
ด้านคณิตศาสตร์ ด้านภาษาไทย รวมความสามารถทั้ง 2 ด้าน
ปกี ารศกึ ษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2563
แผนภมู ิแสดงการเปรยี บเทยี บผลการประเมนิ ของผู้เรยี นระดับชาติ
(NationalTest : NT) ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 และ 2563
13
6) การใช้แหล่งเรยี นรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา
6.1 จำนวนนักเรียนที่ใชแ้ หล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2563
แหลง่ เรียนรู้ จำนวนนกั เรียน จำนวนครง้ั ท่ีใช้ตอ่ ปี
ทุกวนั
1. ห้องสมดุ 67 ทกุ วัน
40
2. หอ้ งคอมพวิ เตอร์ 67 ทกุ วัน
ทกุ วนั
3. โรงครวั (กจิ กรรมชมุ นมุ ขนมไทย) 32
4. ลานปลูกผกั รอบบรเิ วณโรงเรยี น 67
5. หอ้ งละหมาด 67
6.2 จำนวนนกั เรยี นท่ีใชแ้ หล่งเรยี นรภู้ ายนอกสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2563
แหลง่ เรยี นรู้ จำนวนนกั เรยี น จำนวนคร้ังท่ใี ช้ต่อปี
สปั ดาห์ละ 1 ครง้ั
1. มสั ยิดบ้านป่าพ้อ 32
1
2. องค์การบรหิ ารส่วนตำบลลำใหม่ จ.ยะลา 32 1
1
3. พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ จ.สงขลา 35 1
1
4. สวนญ่ปี นุ่ จ.สงขลา 35 1
1
5. แหลมสมหิ ลา จ.สงขลา 35 1
1
6. สวนประวตั ิศาสตร์ พลเอกเปรม ตณิ สลู านนท์ 35
4. แหลง่ เรียนรูว้ ถิ เี กษตรกรไทย ‘นาโปแก’ จ.พทั ลงุ 32
5. อทุ ยานนกนำ้ ทะเลน้อย จ.พทั ลุง 32
6. บ่อนำ้ ร้อนเขาชันสน จ.พัทลุง 32
7. สะพานเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธนั วาคม 2550 32
จ.พัทลุง
14
สว่ นท่ี 2
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนบ้านป่าพ้อได้ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาตามกฎกระทรวงการประกัน
คุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ประจำปีการศึกษา 2563 มีผลการประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ปีการศึกษา 2563 ดงั นี้
มาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ระดับคุณภาพ
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รยี น ดเี ลศิ
1.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน ดีเลศิ
1.2 คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผู้เรียน ดี
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รียนเปน็ สำคญั
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน
ระดับคุณภาพ : ดเี ลศิ
1. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนบ้านป่าพอ้ มีกระบวนการพฒั นาผู้เรียนด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย สง่ เสรมิ ให้ครูจัดกระบวนการ
เรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมีการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
เพ่ือให้ครูใช้เป็นกรอบในการจัดกระบวนการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียน
บรรลุตามเป้าหมาย โดยกำหนดกรอบมาตรฐานการศึกษาดา้ นคุณภาพผู้เรียนไว้ 2 ด้าน คือ ด้านผลสัมฤทธ์ิทาง
วิชาการของผู้เรียน และด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน โรงเรียนมีกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่
หลากหลายเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถและมีทักษะ ซึ่งในศตวรรษท่ี 21 เน้นการให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติ
จริง ผ่านกระบวนการเสริมทักษะต่าง ๆ ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนอยู่ในระดับดีเลิศ ตามค่า
เปา้ หมายที่กำหนด
1.1 ด้านผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผู้เรยี น
1.1.1 การพัฒนานกั เรียนให้มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคดิ
คำนวณ
โรงเรียนบ้านป่าพ้อมกี ระบวนการพฒั นาผู้เรยี นให้มีความสามารถในการอา่ น การเขียนการสอ่ื สาร
และการคิดคำนวณ โดยโรงเรียนจดั กิจกรรมส่งเสริมการอ่านอย่างหลากหลาย ผ่านกิจกรรมหน้าเสาธงยามเช้า
กิจกรรมภาษาไทยวันละคำ ภาษาอังกฤษวันละคำ กิจกรรมภ าษาอาเซียน การนำเสนอสาระน่ารู้ใน
ชีวิตประจำวัน สุภาษิตไทย เพ่ือเป็นการส่งเสริมการทักษะการอ่าน การสื่อสาร ความกล้าแสดงออก ส่งเสริม
การศึกษาหาความรดู้ ้วยตนเอง และในช่วงเวลา ก่อนเข้าห้องเรยี นช่วงบ่าย จะมีกจิ กรรมการท่องสูตรคูณ ท่อง
บทอาขยาน
นอกจากนี้โรงเรียนยังมีโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีส่งเสริมความสามารถในการอ่านการเขียน การ
สอ่ื สารและการคดิ คำนวณ เช่น
15
1. โครงการแก้ปญั หานักเรยี นอา่ นไม่ออกเขียนไม่ได้ เพื่อแก้ปัญหาด้านการอา่ นการเขียน และเพื่อ
พัฒนาความสามารถในการอ่านการเขียนของนักเรียน มีการจัดทำสมุดบัญชีคำพื้นฐานส่งเสริมการอ่านออก
เขียนได้ของนักเรียนทุกระดับชั้น ตั้งแต่ชั้น อนุบาลปีท่ี 2 – ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยให้นักเรียนฝึกการอ่าน
คำ เขียนคำ แต่งประโยคจากคำ ฯลฯ ซึ่งกิจกรรมน้ีจะมที ุกๆ วัน ในช่วั โมงกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน
2. โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งมีกิจกรรมย่อยที่หลากหลาย เช่น กิจกรรมการ
วิเคราะห์หลักสูตร ที่ครูทุกคนร่วมกันวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อนำไปใช้ ปรับปรุงและพัฒนาให้เข้ากับบริบทของ
โรงเรียน กิจกรรมการสร้างและพัฒนาส่ือ เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ครูจัดหา และจัดทำส่ือการเรียนรู้ โดยให้
นักเรียนมีส่วนร่วม เพื่อใช้ในการพัฒนานักเรียน และแก้ปัญหานักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ รวมถึงส่งเสริม
และพัฒนานักเรียน กิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธ์ิการสอบโอเน็ต เป็นกิจกรรมที่เน้นการสอนเสริมเนื้อหา
เทคนิควิธีที่ใช้ในการทดสอบระดับชาติ O-net ให้แก่นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ใน 4 กลุ่มสาระท่ีมีการ
ประเมนิ คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ
1.1.2 การส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน
ความคดิ เห็น และแกป้ ญั หา
ครูผู้สอนมีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะการคิดวิเคราะห์ โดยการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้สัมผัส และฝึกปฏิบัติจริง ซ่ึงการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวจะตอบสนองต่อการพัฒนาทักษะ
การคิด วิเคราะห์ของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี จะเน้นให้นักเรียนได้ใช้ความคิดในการทำกิจกรรมแต่ละกิจกรรม
เป็นการเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ โดยเน้นการใช้ส่ือการเรียนการสอน ซึ่งโรงเรียนบ้านป่าพ้อ ได้
บูรณาการการเรียนการสอน ตาม DLTV จากโรงเรียนต้นทางวังไกลกังวล ทำให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการคิด
วิเคราะห์ โดยในแผนการจัดการเรียนรู้จะมีเคร่ืองมือวัดท่ีใช้ในการวัดและประเมินผลแต่ละเรื่องท่ีสอน และมี
ส่ือการสอนที่จะช่วยส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และในแต่ละคร้ังท่ีสอนก็จะมี
กจิ กรรม เช่นใบความรู้ ใบงาน มีผลงานนักเรียน โดยผลงานนักเรียนทุกชิ้นจะมีการประเมินช้ินงานเพ่ือวดั และ
ประเมินความสามารถและความกา้ วหน้าของนกั เรียน
นอกจากน้ีโรงเรียนยังมีโครงการท่ีมาสนับสนุน เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านการเขียน การ
สื่อสารและการคิดคำนวณ เช่น
1. โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ มีการจัดกิจกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการ
ภายในโรงเรียน เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย ในการประกวด
ด้านต่างๆ เช่น การ การวาดภาพระบายสี ศิลป์สร้างสรรค์ การประกวดการคัดลายมือ การประกวดการเขียน
เรียงความ การสร้างสรรค์ผลงานส่ิงประดิษฐ์ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนได้มีความคิดสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ๆ
เนน้ ใหน้ กั เรียนเล็งเห็นประโยชนใ์ นการนำมาใชใ้ นชีวิตประจำวนั ผา่ นกระบวนการคดิ วิเคราะหแ์ ละแก้ปัญหา
1.1.3 การส่งเสริมความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม
ครูผู้สอนมีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาศิลปะ การงานอาชีพ มีกิจกรรมการเรียนการ
สอนดา้ นการงานอาชีพ ฝึกทักษะด้านการประดษิ ฐ์ใหแ้ กน่ ักเรียน โดยเน้ือหาจะเปน็ เรือ่ งทนี่ ักเรียนสนใจ เน้นให้
นักเรียนเกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และคำนึงถึงประโยชน์ที่จะนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน โดย
กระบวนการในการประดิษฐ์หรือผลิตสิ่งของต่าง ๆ ต้องผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์และการแก้ปัญหา เกิด
การเรียนรู้วิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือต่าง ๆ โดยแต่ละช้ันจะมีความยากง่ายในการประดิษฐ์ที่
16
แตกตา่ งกัน จากการประดิษฐ์ของเล่น ของใชแ้ บบง่ายๆ สู่การประดิษฐ์ของใช้จากวสั ดเุ หลือใช้รปู แบบต่างๆ ซ่ึง
เปน็ การฝึกใหน้ ักเรยี นมคี วามร้แู ละทกั ษะในการสรา้ งนวตั กรรมชน้ิ ใหม่ๆ ต่อไป
1.1.4 การส่งเสริมความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่ือสาร
การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร โดยครผู ู้สอนได้วิเคราะห์
หลักสูตรจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ แต่เนื่องจากทางโรงเรียนมีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ไม่
เพียงพอกับจำนวนของผู้เรียน ทางโรงเรียนจึงได้จัดการเรียนการสอนโดยการบูรณาการและใช้ส่อื ทางไกลผ่าน
ดาวเทียม DLTV จากโรงเรียนต้นทางวังไกลกังวล และได้มีการใช้สื่อ DLIT มาใช้ให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ใน
แต่ละเนื้อหา ตามระดบั ช้ัน
1.1.5 การสง่ เสริมผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศกึ ษา
มกี ารจัดการเรยี นการสอนที่มุ่งผลสมั ฤทธใ์ิ นแต่ละรายวชิ า มีโครงการและกจิ กรรมทหี่ ลากหลายในการ
พัฒนานักเรียน เช่น โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพ่ือเป็นการพัฒนาหลักสูตร พัฒนาการจัดการ
เรียนการสอนเพ่ือให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ท่ีดีขึ้น ซึ่งในโครงการดังกล่าวได้มีกิจกรรมย่อยหลากหลายกิจกรรม
เช่น กิจกรรมพัฒนาหลักสูตร กิจกรรมจัดอบรมครูผู้สอนเพื่อให้ความรู้ในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้สู่
ห้องเรียน กิจกรรมพัฒนาส่ือ การเรียนการสอน กิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธ์ิ O –Net NT และ RT กิจกรรม
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน กิจกรรมการจัดบอร์ด จัดนิทรรศการทางวิชาการ ซึ่งแต่ละกิจกรรมมุ่งพัฒนา
นกั เรยี นให้มีความสามารถและผลสัมฤทธ์ิท่ีดีขนึ้ ควบคไู่ ปกับโครงการต่างๆ ท่ีโรงเรียนได้จัดให้กับนักเรียน เช่น
โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ ซ่ึงมีการจัดกิจกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการภายในโรงเรียน
ในการประกวดดา้ นต่างๆ เช่น การวาดภาพระบายสี ศิลป์สร้างสรรค์ การประกวดการคัดลายมอื การประกวด
การเขียนเรียงความ เป็นการฝึกทักษะและความสามารถในหลักสูตร การเรียนการสอน ผ่านกระบวนการคิด
วิเคราะห์และแก้ปัญหา เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงข้ึน อีกท้ังยังเป็นการเตรียม
ความพร้อมของนักเรยี นในการแข่งขนั ความสามารถทางวิชาการในระดบั ต่างๆ
นอกจากนี้โรงเรียนยังมีกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เป็นการฝึกทักษะในการอ่านคำ เขียนคำ เขียน
ประโยค ตามบัญชีคำในทุกระดับชั้น เพ่ือให้นักเรียนสามารถอ่านและเขียนได้ถูกต้องตามระดับช้ัน มีสัมฤทธิ์
ทางการเรียนสูงข้ึน อีกทั้งยังส่งเสริมให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน สามารถพัฒนาการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับวัย
และระดบั ช้ัน ยกระดับประสทิ ธิภาพในการจดั การเรียนการสอนให้ดี
1.1.6 การสง่ เสรมิ ความรู้ ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคติที่ดตี อ่ งานอาชพี
ครูผู้สอนมีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นภูมิปัญญาท้องถิ่น ในสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
โรงเรยี นได้จัดการเรียนการสอนที่ปลูกฝังทกั ษะการทำงานให้นกั เรียน เพ่อื เป็นการปลูกฝังใหน้ ักเรียนรู้จักอาชีพ
และเห็นความสำคัญของอาชีพ ท้ังอาชีพของครอบครวั อาชีพในชุมชน อาชีพในทอ้ งถิ่น มีการให้นักเรียนลงมือ
ปฏิบัติจริง ได้แก่ การทำตูปะ(ขนมต้มใบพ้อ) ซ่ึงเป็นขนมโบราณของท้องถ่ิน และเป็นภูมิปัญญาท่ีสืบทอดกัน
มายาวนานของชุมชน ประกอบกับ พื้นที่ในบริเวณหมู่บ้านป่าพ้อ มีใบพ้อซ่ึงเป็นวัตถุดิบหลักในการทำอยู่
มากมายและหาได้ตลอดปี จึงสามารถนำมาทำตูปะ (ขนมต้มใบพ้อ) ได้ตลอดทั้งปี ผ่านกิจกรรมดังกล่าว
นักเรียนจะเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประกอบอาชีพเพื่อหารายได้เสริมระหว่างเรียนได้ด้วย
ท้ังนจ้ี ะส่งผลใหน้ กั เรยี นมีความรกั และมีเจตคติทด่ี ตี อ่ งานอาชีพทีส่ จุ ริต
นอกจากน้ีโรงเรียนบ้านป่าพ้อยังมีโครงการและกิจกรรมที่ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน
และเจตคติท่ีดตี ่องานอาชีพ เช่น กิจกรรมชุมนุมกลุ่มสนใจ ให้นักเรียนได้เลือกเขา้ รว่ มกิจกรรมชมุ นุมตามความ
สนใจ คือ ชุมนุมศิลป์สร้างสรรค์ ชุมนุมขนมไทย และชุมนุมเกษรตามรอยพ่อ เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้
17
ทักษะในการทำงาน ให้นักเรียนได้มีเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ จากการดำเนินกิจกรรมชุมนุมดังกล่าว นักเรียนมี
ความรู้และทกั ษะทจี่ ำเปน็ พ้นื ฐานเกี่ยวกับงานอาชีพ และที่สำคญั คอื นกั เรยี นมเี จตคตทิ ด่ี ีต่องานอาชีพท่ีสจุ ริต
1.2 คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผูเ้ รยี น
1.2.1 การส่งเสริมคณุ ลกั ษณะและคา่ นิยมทด่ี ตี ามทีส่ ถานศึกษากำหนด
โรงเรียนบ้านป่าพ้อได้มกี ารกำหนดเป้าหมาย วิสยั ทัศน์ และพนั ธกิจของสถานศึกษาไว้อยา่ งชัดเจน ใน
เร่ืองของคุณธรรม จรยิ ธรรม การมีคุณลักษณะและค่านิยมอันพึงประสงค์ รวมถึงอตั ลักษณ์ของสถานศึกษา คือ
“รับผิดชอบ สะอาด มารยาทงาม” มีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนในด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ด้วยวิธีการที่
หลากหลาย โดยที่ครไู ด้สอดแทรกคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คุณธรรมจริยธรรมในแผนการจัดการเรียนรู้ และ
มีการประเมินตามแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โรงเรียนได้จัดกิจกรรมประจำวันเพ่ือพัฒนา
คุณลักษณะและค่านิยมท่ีดีภายในโรงเรียน เริ่มตั้งแต่เดินเข้ามาในโรงเรียน ด้วยในปีการศึกษา 2563 มีการ
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (covid-19) โรงเรียนได้มีการดำเนินการตามมาตรการป้องกันการ
แพร่ระบาดของเชื้อโรค โดยให้ครูเวรประจำวันรับนักเรียนหน้าประตู มีการตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย และให้
นักเรียนล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ก่อนเข้าในบริเวณโรงเรียน นักเรียนทุกคนต้องมีการสวมหน้ากากอนามัย
หรอื หนา้ กากผ้า และทักทายครูดว้ ยการกล่าวคำสลาม (อสั ลามุอาลัยกุม) แทนการสลามด้วยการสัมผัสมือ เพ่ือ
เป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (covid-19) โรงเรียนได้จัดกิจกรรมที่
หลากหลาย เพ่ือให้นักเรียนรู้จักหน้าท่ี มีความรับผิดชอบ เช่น การแบ่งเขตพ้ืนที่ในการทำความสะอาดรอบๆ
บริเวณโรงเรียน โดยแบ่งเป็นโซนงานต่างๆ เช่น โซนลีลาวดี รับผดิ ชอบบริเวณหน้าโรงเรียนไปจนถึงทางเดินเข้า
โรงเรียน โซนดอกแก้ว รับผิดชอบบริเวณหน้าห้องน้ำ ในห้องน้ำและรอบๆ ห้องน้ำ กิจกรรมเข้าแถวเคารพธง
ชาติ อา่ นดอุ าร์ (สวดมนต)์ ในตอนเชา้ ทกุ วัน เป็นตน้
นอกจากนท้ี างโรงเรยี นยงั มโี ครงการและกจิ กรรมท่ีสง่ เสรมิ การพฒั นาคณุ ลักษณะและคา่ นยิ มท่ีดี เชน่
1. โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม เพ่ือปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมและระเบียบวินัยให้กับ
นักเรียน โดยมีกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น กิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม โดยครูหรือวิทยากรจากภายนอก
มาให้ความรู้กับนักเรียน กิจกรรมการละหมาดร่วมกันในตอนเที่ยง (ละหมาดซุฮรี) โดยมีครูหรือนักเรียนรุ่นพี่
สับเปล่ียนหมุนเวียนกันเป็นผู้นำละหมาด และการนำนักเรียนไปร่วมละหมาดวันศุกร์ท่ีมัสยิดบ้านป่าพ้อ การ
อบรมคุณธรรมจริยธรรมในทุก ๆ เย็นของวันศุกร์ นอกจากน้ีโรงเรียนยังมีทุนการศึกษาให้กับนักเรียนที่เรียนดี
มจี ิตอาสา เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้นักเรยี นมคี ุณลกั ษณะและคา่ นิยมท่ีดี และเปน็ ตัวอย่างท่ีดใี หแ้ ก่นักเรียนคนอนื่ ๆ ได้
2. โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน การจัดให้มีการเลือกตั้งประธานนักเรียน
คณะกรรมการนักเรียน เพ่ือให้นักเรียนรู้จักการอยู่ร่วมกันในสังคมตามระบอบประชาธิปไตย รับฟังความ
คิดเหน็ ของผู้อนื่ ยอมรบั ความคิดเหน็ ที่แตกตา่ งในสงั คม
3. กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี เพื่อให้นักเรียนรูจ้ ักภาวะผูน้ ำและผู้ตามท่ีดี รจู้ ักการทำงานเปน็ กล่มุ มี
ความอดทน ความเสียสละ ความรกั สามคั คีในหมคู่ ณะ ความรบั ผิดชอบในหนา้ ทีท่ ่ไี ดร้ บั มอบหมาย ฯลฯ
4. กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ เพ่ือให้นักเรียนได้รู้จักการทำงานเพ่ือส่วนรวม การมีจิตอาสา
เสยี สละ รู้จกั หวงแหนและรกั ษาสิ่งแวดล้อม
5. โครงการออมสนิ อิม่ ใจ เพือ่ ฝกึ ใหน้ กั เรยี นเห็นคณุ คา่ ของเงิน รู้จกั ประหยัด และอดออม
6. กิจกรรมวันสำคัญต่างๆ เช่น กิจกรรมวันพ่อ วันแม่ วันสำคัญทางศาสนาต่างๆ เช่น นิทรรศการ
วันฮารีรายอ ฯลฯ สง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นรักความเป็นไทย เหน็ ความสำคัญของวันสำคญั ต่าง ๆ ทางศาสนา เป็นตน้
18
1.2.2 การส่งเสรมิ ความภมู ใิ จในท้องถ่ินและความเป็นไทย
โรงเรียนบ้านป่าพ้อมีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีจิตสำนึก มีความภูมิใจในท้องถ่ินและความ
เป็นไทย ฝึกให้นักเรียนมีความนอบน้อม อนุรักษ์ความเป็นไทยโดยการยกมือไหว้และกล่าว “สวัสดีค่ะ/สวัสดี
ครับ” หรือกล่าวคำสลาม “อัสลามุอาลัยกุม” และเน้นการสื่อสารกันโดยใช้ภาษาไทย แม้ว่านักเรียนอยู่ใน
ท้องถ่ินท่ีใช้ภาษามลายูเป็นภาษาหลัก เพื่อฝึกการใช้ภาษาไทย อีกท้ังยังเป็นการปลูกฝังให้นักเรียนหวงแหน
และรักภาษาไทย สร้างความตระหนักและความภาคภูมิใจในท้องถ่ินและสบื สานประเพณีวัฒนธรรมในทอ้ งถิ่น
โดยการนำ ภูมิปัญญาท้องถ่ินมาใช้ เช่นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การทำตูปะ (ขนมต้มใบพ้อ) และการทำตา
แป (แป้งข้าวหมาก) และอ่ืนๆ ส่งผลให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกในความเป็นไทย และ ความสำนึกในความเป็นชาติ
ไทย รัก หวงแหน ช่ืนชม ภาคภูมิใจ และ อนุรักษ์สร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมไทย สามารถเผยแพร่
ศิลปวัฒนธรรมไทย ประเพณีไทย และ ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาติไทย ให้ดำรงอยู่ได้อย่างถาวรและย่ังยืน
โรงเรียนได้จัดกิจกรรมอย่างต่อเน่ืองเพ่ือให้กิจกรรมเป็นส่วนหน่ึงของวิถีชีวิตเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีจิตสำนึก
ความเปน็ ไทย
ผู้เรียนทุกคนได้รับการปลูกฝังให้ยึดม่ันและจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ผ่านกิจกรรมที่
หลากหลาย โดยโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมที่แสดงถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ เช่น กิจกรรม
ปลูกต้นไม้ในวันแม่แห่งชาติ กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ในวันคล้ายวันพระราชสมภพของในหลวงรัชกาลที่ 9
กิจกรรมวันเฉลิมพระชนมพรรษา รัชกาลที่ 10 กิจกรรมวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบรมราชชนนีพันปีหลวง
การยนื ตรงเมอื่ ได้ยนิ เพลงชาติ เปน็ ตน้
โรงเรียนยังมีกิจกรรมการบูรณาการการเรียนการสอนตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
เช่น กิจกรรมการปลูกผักในกระถาง ในล้อยางรถยนต์ รอบๆ บริเวณโรงเรียน เนื่องจากโรงเรียนบ้านป่าพ้อ
เป็นโรงเรียนท่ีมเี นื้อที่น้อย ไมม่ ีแปลงเกษตรภายในโรงเรียน จงึ ต้องมีการบูรณาการ ด้วยการปลูกผักในรปู แบบ
ดังกล่าว
1.2.3 การส่งเสรมิ การยอมรับทีจ่ ะอยู่รว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย
โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเน้นกระบวนการคิด การทำงานเป็นกลุ่ม เพ่ือให้นักเรียนได้
แสดงออกทางความคิด ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืนเสนอความคิดเห็นด้วยความสุภาพ และยอมรับความ
คิดเห็นที่แตกต่าง มีมารยาทและให้เกียรติกัน ส่งผลให้นักเรียนสามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง
และหลากหลายได้ และในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูผู้สอนมีการวัดและประเมินผลโดยเคร่ืองมือท่ี
หลากหลาย ตอบสนองเรื่องความแตกต่างของนักเรยี น เป็นตน้
นอกจากน้ี โรงเรียนยงั มีโครงการท่ีสง่ เสริมการพัฒนาผู้เรยี นให้ยอมรบั ทจี่ ะอยู่ร่วมกันบนความแตกตา่ ง
และหลากหลาย เช่น
1. โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนรู้จักการอยู่ร่วมกันในสังคมตาม
ระบอบประชาธิปไตย รับฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืน ยอมรับความคิดเห็นทแ่ี ตกต่าง โดยเน้นการฝึกให้รจู้ ักหน้าท่ี
ของตนเอง หนา้ ท่ตี อ่ ครอบครัว และ สงั คมสว่ นรวม
2. กิจกรรมลูกเสือเนตรนารี เพื่อให้นักเรียนมีความสามัคคี ความเสียสละ เรียนรู้การอยู่ร่วมกันใน
สังคม รู้จักการทำงานเป็นกลุ่มเป็นทีม มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ยอมรับความคิดเห็นท่ี
แตกต่าง มีน้ำใจชว่ ยเหลือซงึ่ กนั และกนั และรจู้ กั การแก้ปญั หา
19
1.2.4 การส่งเสริมสุขภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม
โรงเรียนบา้ นป่าพ้อจัดกิจกรรมส่งเสรมิ กระบวนการพัฒนานักเรียนท่ีหลากหลาย สง่ เสริมให้นักเรียนมี
พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย และมสี ุขนิสัยท่ีดี มีการประเมินสมรรถนะทางร่างกาย โดยโรงเรยี นจัดให้นักเรียนได้รับ
ประทานอาหารที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ มคี ุณค่าตามโภชนาการ มีการควบคุมดูแลให้นักเรียนดม่ื นมเป็นประจำ
ทุกวันอย่างสม่ำเสมอ โดยโรงเรียนได้จัดทำสมุดบันทึกการรับประทานอาหารกลางวัน และอาหารเสริม (นม)
รวมถึงการแปรงฟัน โดยครูประจำช้ันบันทึก เพื่อเป็นข้อมูลในการดูแลสุขภาพนักเรียน มีการช่ังน้ำหนัก วัด
ส่วนสูง เดือนละ 1 ครั้ง เพื่อประเมินพัฒนาการของนักเรยี น นักเรยี นได้ออกกำลงั กายในรายวิชาพลศึกษา และ
ในการดูแลรักษาสุขภาพร่างกายของนักเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019
(covid-19 ) น้ัน โรงเรียนได้มีการดำเนินการที่หลากหลาย เช่น การจัดทำแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการโดย
แทรกความรู้เรื่องการป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (covid-19 ) ใน
รายวิชาต่าง ๆ การจดั ทำเอกสารความรูใ้ ห้แก่ผปู้ กครองนักเรยี นเผื่อเผยแพร่ความรู้ในการเฝา้ ระวังและป้องกัน
การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ 2019 (covid-19 )
โรงเรียนมีมาตรการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (covid-19 ) ให้
นักเรียน ครูบุคลากรทางการศึกษาทุกคน รวมทั้งผู้ที่เข้ามาติดต่องานในโรงเรียน โดยการตรวจวัดอุณภูมิ การ
ล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ สวมหน้ากากอนามัยก่อนเข้าโรงเรียน นอกจากน้ีโรงเรียนได้รับความร่วมมือเป็น
อย่างดีจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ มาให้บริการด้านสุขภาพแก่นักเรียนเป็นประจำ เช่น การ
ฉีดวัคซีน การตรวจฟัน การมาให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพและโรคภัยต่างๆ โรงเรียนยังได้รับการสนับสนุนจาก
สถานีตำรวจภูธรตำบล ลำใหม่มาให้ความรู้ในด้านต่างๆ เช่น การดูแลตนเองให้ห่างจากยาเสพติดให้โทษ
การจราจรปลอดภยั เปน็ ตน้
นอกจากน้ี โรงเรียนยังมโี ครงการท่ีสง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นใหม้ สี ุขภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม เช่น
1. โครงการส่งเสริมสุขภาพ เพ่ือส่งเสริมการมีสุขภาพร่างกายท่ีดี การรับประทานอาหารที่ดีและเป็น
ประโยชน์ต่อร่างกาย การเล่นกีฬาและออกกำลังกายเพ่ือสุขภาพร่างกายแข็งแรง สุขภาพจิตท่ีดี และร่าเริง
แจม่ ใส
2. โครงการเรียนรู้ในโลกกว้าง เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนมีพัฒนาการด้านสังคม เป็นสมาชิกที่ดีของ
สังคม ได้ประสบการณ์จากการเรียนรู้นอกห้องเรียน สามารถพัฒนาผู้เรียนในด้านร่างกายสติปัญญา จิตใจ
อารมณ์และสังคม อีกทั้งยังเสริมสร้างการเรียนรู้และการอยู่ร่วมกันในสังคมทำให้มีสุขภาพจิตที่ดี สามารถอยู่
ร่วมกับผู้อ่ืนไดอ้ ย่างมีความสุข
20
2. ผลการดำเนินงาน
จากกระบวนการดำเนนิ งานดังกล่าวสง่ ผลให้โรงเรียนบ้านป่าพ้อ มผี ลการประเมินตนเอง ในมาตรฐาน
ท่ี 1 ดา้ นคุณภาพของผู้เรยี นอยู่ในระดบั ดีเลิศ ดังตารางตอ่ ไปน้ี
ตารางแสดงคา่ รอ้ ยละของเป้าหมายและผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2563
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผ้เู รียน คา่ เป้าหมาย ผลการประเมิน
1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผเู้ รียน
1) นกั เรียนมคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการ 70 65.97
คิดคำนวณ
2) นักเรียนมคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ อย่างมีวิจารณญาณ 70 71.16
อภปิ รายแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ และแกป้ ัญหา
3) นักเรยี นมีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม 70 87.44
4) นักเรยี นมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ 70 78.44
สื่อสาร
5) นักเรยี นมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา 70 69.13
6) นกั เรยี นมคี วามรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ี่ดตี อ่ งานอาชีพ 70 90.45
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผเู้ รยี น
1) นกั เรยี นมคี ุณลักษณะและค่านยิ มทดี่ ีตามทส่ี ถานศกึ ษากำหนด 80 95.39
2) นักเรยี นมคี วามภูมิใจในท้องถิ่นและความเปน็ ไทย 80 95.77
3) นกั เรยี นยอมรบั ที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย 80 92.44
4) นักเรียนมสี ุขภาวะทางร่างกายและจติ สงั คม 80 95.52
สรปุ ผลการประเมนิ ดี ดเี ลิศ
(74) (86.31)
จากผลการดำเนินการดังกล่าว ส่งผลให้ผู้เรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1-6 มีความสามารถในด้านต่าง ๆ
อยู่ในระดับ ดีเลิศ ดังนี้ ผู้เรียนร้อยละ 65.97 มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิด
คำนวณ ผเู้ รียนร้อยละ 71.16 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น และแก้ปัญหา ผู้เรียนร้อยละ 87.44 มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ผู้เรยี นร้อยละ 78.44
มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ผู้เรียนร้อยละ 69.13 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ตามหลักสูตรสถานศึกษา ผู้เรียนร้อยละ 90.45 มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ ผู้เรียน
ร้อยละ 95.39 มีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดีตามท่ีสถานศึกษากำหนด ผู้เรียนร้อยละ 95.77 มีความภูมิใจใน
ท้องถ่ินและความเป็นไทย ผู้เรียนร้อยละ 92.44 ยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย และ
ผเู้ รยี นร้อยละ 95.52 มีสุขภาวะทางรา่ งกายและจติ สังคม
จากตารางแสดงค่าร้อยละของเป้าหมายและผลการประเมินมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
ประเด็นที่ 1.1 ด้านผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน พบว่า ผลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนบรรลุผล
ตามเป้าหมาย จำนวน 4 ประเด็นย่อย และต่ำกว่าเป้าหมาย จำนวน 2 ประเด็นย่อย ซ่ึงเม่ือพิจารณาค่าเฉล่ีย
โดยภาพรวมของการดำเนนิ การแลว้ ถือวา่ บรรลผุ ลตามเป้าหมาย
21
ประเด็นที่ 1.2 ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน พบว่า ผลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียนสูงกว่าเป้าหมายในทุกประเด็นย่อย ซึ่งเมื่อพิจารณาโดยภาพรวมของการดำเนินการแล้วถือว่าบรรลุผล
ตามเปา้ หมาย
สรุปค่าเฉลี่ยทั้ง 2 ประเดน็ การพิจารณา ด้านผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน และ ด้านคุณลักษณะ
ที่พงึ ประสงคข์ องผู้เรียน คา่ เฉลยี่ คือ 86.31 สรุปไดว้ ่า ผลการดำเนินงานตามมาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น
อยู่ในระดับคณุ ภาพ ดีเลศิ
3. จดุ เดน่
1. โรงเรียนบ้านป่าพ้อเป็นโรงเรยี นท่ีจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) จากโรงเรียน
ต้นทางจึงทำให้ลดปัญหาการขาดแคลนครู และครูไม่ตรงวิชาเอก และส่งผลให้ผลการประเมินโดยรวมบรรลุ
เปา้ ประสงคแ์ ละเปน็ ไปตามหลักสูตรสถานศึกษา
2. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ มีน้ำหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์มาตรฐาน มีสุขภาพจิตท่ีดี
ไม่ยุ่งเก่ียวกับยาเสพติด ร่วมกันอนุรักษ์ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในโรงเรียน มีจิตสาธารณะ และมีมนุษย
สมั พันธท์ ีด่ ี สามารถอยรู่ ่วมกับผูอ้ ืน่ อย่างมีความสุข
3. ชุมชนให้ความร่วมมือในการจัดการศึกษา โดยการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเข้ามามีส่วนร่วมในการ
จดั กิจกรรมการเรียนการสอนด้านการอนุรักษ์ภูมิปัญญาและสืบสานประเพณีวฒั นธรรมในท้องถ่ิน เช่น การทำ
ตปู ะ (ขนมต้ม) การทำตาแป (แปง้ ขา้ วหมาก)
4. จดุ ท่คี วรพัฒนา
ควรจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง ส่งเสริมการใช้ภาษาในการส่ือสารให้มากขึ้น
สนับสนุนให้มีการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานอย่างหลากหลาย เพ่ือพัฒนาให้ผู้ เรียนมีความรู้
ความสามารถด้านทักษะ กระบวนการคิดวิเคราะห์ และจัดหาสื่อเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ และพัฒนาสื่อการ
เรียนการสอน เพ่อื ใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนให้มากขนึ้
5. แผนการยกระดับคุณภาพให้สูงขน้ึ
1. พัฒนาและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระให้สูงขึ้น โดยการพัฒนาหลักสูตร วาง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์มากข้ึน จัดกิจกรรมที่เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง การ
จัดการเรยี นการสอนแบบโครงงานอยา่ งหลากหลาย
2. พัฒนาให้นักเรยี นมีทักษะในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคิดคำนวณเป็นไปตามเกณฑ์ที่
โรงเรียนกำหนดในแตร่ ะดับชั้น
3. พัฒนาให้นกั เรยี นมีความก้าวหนา้ ในผลการทดสอบระดบั ชาติ โดยตอ้ งมีผลการพัฒนาขึ้นในแต่ละปี
การศกึ ษาไมต่ ำ่ กวา่ รอ้ ยละ 3
4. พัฒนาให้นักเรียน มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร
โดยมโี ครงการ/กจิ กรรม ดงั น้ี
1. โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น
2. โครงการแก้ปญั หานกั เรยี นอ่านไม่ออกเขยี นไม่ได้ / กิจกรรมสง่ เสริมการอ่าน
3. โครงการส่งเสรมิ ความเปน็ เลิศทางวชิ าการ
22
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ระดบั คุณภาพ : ดเี ลิศ
1. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนบ้านป่าพ้อมีการกำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษาอย่างชัดเจน โดยมี
การวิเคราะห์บริบทของสถานศึกษาผ่านการประชุมของบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนและบุคคลท่ีมีส่วน
เกี่ยวข้องกับการจดั การศึกษาของโรงเรยี น ทั้งนี้เพื่อให้ทั้งเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจของสถานศึกษานั้นมี
ความสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของสถานศึกษา และตอบสนองความต้องการของชุมชน
โรงเรียนบ้านป่าพ้อใช้กระบวนการ PDCA ในบริหารและการจัดการ โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลัก
หลักธรรมาภิบาล และแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียน ตามแนวทางปฏิรูป
การศึกษา มกี ารดำเนินการวิเคราะห์สภาพปญั หา ผลการจัดการศึกษาท่ผี ่านมา โดยการศกึ ษาขอ้ มลู สารสนเทศ
ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุม ระดมความคิดเห็น จาก
บุคลากรในสถานศึกษาเพ่ือวางแผนร่วมกันกำหนดเปา้ หมาย ปรบั วิสยั ทศั น์ กำหนด พันธกิจ กลยทุ ธ์ ในการจัด
การศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
แผนปฏิบัติการประจำปีให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนาและนโยบายการปฏิรูปการศึกษา
โดยมีคณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็น กำหนดทิศทางการพัฒนาคุณภาพ
สถานศกึ ษา มกี ารดำเนินการนเิ ทศ กำกับ ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน และจัดทำรายงานผลการประเมิน
ตนเองประจำปีให้หน่วยงานต้นสังกัด และนำผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาในปี
ต่อไป โดยทุกขน้ั ตอนดำเนนิ การภายใตก้ ารมีสว่ นรว่ มของทุกฝา่ ย
โรงเรียนบา้ นป่าพ้อมีการวางแผนและดำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการทีเ่ น้นคุณภาพของผ้เู รียนตามหลักสูตร
สถานศึกษา โดยคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้ร่วมกันปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีการ
วเิ คราะห์หลักสูตร จัดทำคำอธิบายรายวิชา กำหนดโครงสร้างรายวิชาของแต่ละรายวิชา กำหนดเกณฑ์การวัด
และประเมินผลมกี ารส่งเสริมสนับสนุนให้มีการใช้หลักสูตรนำผลการใช้หลักสตู รมาปรับปรงุ พัฒนาตามหลกั สตู ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2562) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตสาสตร์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศึกษา สาระภูมิศาสตร์ และการงานอาชีพ โดยคณะครูร่วมกนั จัดทำหลักสตู ร
มกี ารวิเคราะห์หลักสูตร จดั ทำคำอธบิ ายรายวิชา กำหนดโครงสร้างของแต่ละรายวิชา กำหนดเกณฑก์ ารวัดและ
ประเมินผล นำผลการใช้หลักสูตรมาปรับปรุง พัฒนาให้ดีข้ึน มีการสนับสนุน ส่งเสริมให้ครูผู้สอนจัดทำ จัดหา
สื่อ แหล่งเรียนรู้ การวัดประเมินผลการเรียนรู้ มีการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
จากประสบการณ์ตรงฝึกการปฏิบัติจริง การเชิญวิทยากรในท้องถิ่นมาให้ความรู้แก่นักเรียน เช่น วิทยากรจาก
วิทยาลัยชุมชนยะลา มาสาธิตการทำการเกษตรตามแนวทางเศษฐกิจพอเพยี ง วทิ ยากรในท้องถนิ่ สาธิตการทำตู
ปะ (ขนมต้มใบพ้อ) และการทำตาแป (แป้งข้าวหมาก) เปน็ ต้น
โรงเรียนบ้านป่าพ้อส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญในด้านการจัดการเรียนการสอน มีการพัฒนา
คุณภาพครูอย่างต่อเน่ือง เปิดโอกาสให้ครูและบุคลากรได้รับการอบรมสัมมนา พัฒนาความรู้ความสามารถ
ในวิชาชีพครู เช่น การอบรมครูผูส้ อนท่ีไม่ตรงวุฒิ การอบรมจัดทำแผนการสอน การอบรมการผลิตสอ่ื การเรยี น
การสอน โครงการพระราโชบายโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน การใช้
23
นวตั กรรมแบบเร่ิมเรยี นภาษาไทย (มูลาบาฮาซา) ป.1- 6 และอื่น ๆ ซึง่ ส่งผลให้ครมู ีความรคู้ วามสามารถในการ
วิเคราะห์และออกแบบการจัดการเรียนรู้ ผลิตสื่อนวัตกรรมท่ีสอดคล้องกับเนื้อหาหลักสูตร จนทำให้นักเรียน
เกิดทักษะความรคู้ วามสามารถตามมาตรฐานตัวชว้ี ดั ของหลักสตู ร
โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัยของผู้เรียน
สภาพแวดล้อมทางกายภาพในห้องเรียนเพียงพอ มั่งคง แข็งแรง สะอาด ปลอดภัย สวยงามและเอื้อต่อการ
จดั การเรยี นรู้ โรงเรียนบา้ นป่าพ้อมีข้อจำกัดด้านสถานที่ ซึ่งมีเน้ือท่ีเพียงแค่ 3 งาน 74 ตารางวา จึงจำเป็นต้อง
บริหารด้วยการใช้ทุกพ้ืนท่ีอย่างคุ้มค่าและเป็นประโยชน์มากท่ีสุด เช่น การปลูกผักในกระถางรอบบริเวณ
โรงเรียน ภายใต้สโลแกน‘ไร้ที่มีผักกิน’ จัดสภาพแวดล้อมให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนการสอน
เช่น ห้องสมุด ห้องครัว ห้องน้ำ และสวนหย่อม ฯลฯ บรรยากาศโดยรอบมีความสะอาดปลอดภัย มีสิ่งอำนวย
ความสะดวกท่ีจำเป็นข้ันพ้ืนฐานที่เอ้ือประโยชน์กับนักเรียนและผู้รับบริการอย่างเพียงพอ และเพ่ือป้องกันการ
แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 โรงเรียนจึงได้จัดหาวัสดุอุปกรณ์ท่ีจำเป็นสำหรับ เช่น อ่างล้างมือให้
เพียงพอแก่ความจำเป็น มีความสะอาดปลอดภัย และจัดเตรียมสถานที่ที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอน เพอ่ื ปอ้ งกนั การระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา่ 2019
นอกจากน้ีโรงเรียนบ้านป่าพ้อยังส่งเสริมให้ครูและบุคลากรพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อรองรับ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สนับสนุนให้ครูผู้สอนนำเทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ เช่น การ
จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อ DLTV , DLIT และสื่อออนไลน์ต่างๆ โรงเรียนได้ติดตั้งอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงและ
ติดตัง้ โทรทัศน์ทุกห้องเรยี นเพื่อให้ครผู ู้สอนสามารถใช้ส่ือออนไลน์ได้สะดวกยิ่งขึ้น ปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศให้
มคี วามถกู ตอ้ งและเปน็ ปจั จุบันอยา่ งตอ่ เน่ือง
2. ผลการดำเนนิ งาน
จากกระบวนการดำเนินงานดังกล่าวสง่ ผลให้โรงเรียนบ้านป่าพ้อ มผี ลการประเมินตนเอง ในมาตรฐาน
ท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ อยู่ในระดบั ดีเลศิ ดงั ตารางต่อไปนี้
ตาราง แสดงผลการประเมินมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ปีการศึกษา 2563
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ คา่ เป้าหมาย ผลการประเมนิ
ดีเลศิ ดีเลศิ
2.1 มเี ป้าหมายวิสัยทัศนแ์ ละพนั ธกจิ ทีส่ ถานศึกษากำหนดชดั เจน ดเี ลิศ ดเี ลศิ
2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ดเี ลศิ ดีเลิศ
2.3 ดำเนินงานพัฒนาวชิ าการทเี่ นน้ คณุ ภาพผู้เรยี นรอบด้านตาม
หลักสตู รสถานศกึ ษา ดเี ลิศ ดเี ลิศ
2.4 พฒั นาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชพี ดีเลิศ ดีเลิศ
2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทีเ่ อื้อต่อการจดั การ
เรยี นร้อู ย่างมีคุณภาพ ดีเลศิ ดีเลิศ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ การบริหารจดั การ
และการจดั การเรยี นรู้ ดีเลศิ ดีเลิศ
สรปุ ผลการประเมนิ
24
จากตาราง แสดงผลการประเมินมาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ปีการศึกษา 2563
พบว่า ผลการประเมินด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ เป็นไปตามเป้าหมายทุกประเด็น เม่ือพิจารณา
โดยภาพรวมของการดำเนนิ การแลว้ ถอื วา่ บรรลุผลการดำเนินงาน
3. จดุ เดน่
1. โรงเรียนมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ที่กำหนดไว้ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนตาม
ความต้องการของชมุ ชน วตั ถปุ ระสงคข์ องแผนการจัดการศึกษาของชาติ นโยบายของรฐั บาลและต้นสังกดั
2. โรงเรยี นมีระบบบริหารจัดการคุณภาพอยา่ งเป็นระบบ โดยนำแนวคิดการบริหารจัดการแบบมีส่วน
ร่วมในการร่วมคดิ รว่ มทำ ร่วมแก้ปัญหา นำผลการประเมนิ กจิ กรรมมาปรับปรงุ การดำเนนิ งานในปถี ัดไป
3. โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุ่น สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาและสอดคล้องกับ
ความต้องการของทอ้ งถนิ่
4. โรงเรียนมีครูท่ีมีความรู้ ความเช่ียวด้านเทคนิคการสอนและสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการจัด
กจิ กรรมการเรียนการสอนดว้ ยวิธีทีห่ ลากหลาย ควบคูก่ บั การเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทยี ม DLTV
5. โรงเรียนบ้านป่าพ้อมีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนเป็นระเบียบ สะอาด ร่มรื่น
สวยงาม และปลอดภัย มีการปรับภูมิทัศน์ ท้ังภายในและภายนอกอาคารเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้
ดงั เอกลักษณข์ องสถานศกึ ษา“ภูมทิ ัศน์สวยงาม นามปา่ พ้อ”
4. จุดท่คี วรพัฒนา
1. ระบบการประกนั คุณภาพภายในโรงเรียนยงั ขาดความตอ่ เนื่อง
2. ส่งเสรมิ ครูดา้ นการทำวิจัยในช้ันเรยี นเพอ่ื พฒั นางานวิชาการ
3. ครูส่วนใหญม่ ีคุณวุฒิไมต่ รงวิชาทสี่ อน
4. อุปกรณ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน่ คอมพิวเตอร์ มีน้อยไม่เพียงพอกับจำนวนผู้เรียนและความ
ต้องการใชง้ านของโรงเรยี น
5. โรงเรียนบ้านป่าพ้อมีเนื้อท่ีน้อยเพียงแค่ 3 งาน 74 ตารางวา จึงเป็นข้อจำกัดบ้างในการดำเนินการ
ปรบั สภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน
5. แผนการยกระดับคุณภาพให้สงู ขึ้น
1. จัดระบบการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนให้เข้มแข็ง มีความต่อเน่ือง และสามารถตรวจสอบได้
ตลอดเวลา
2. สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง
มสี ว่ นรว่ มรับผดิ ชอบต่อผลการจดั การศกึ ษา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจดั การศึกษา
3. วางแผนการจดั สรรครูให้ตรงกบั ความต้องกับหนว่ ยงานตน้ สังกัด
4. ส่งเสรมิ และพัฒนารปู แบบการใช้กระบวนการวจิ ยั เปน็ ฐานในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
5. ส่งเสริมให้ครูจัดทำนวัตกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและกระบวนการเรียนรู้
ไปสกู่ ารปฏิบตั งิ านอย่างมปี ระสิทธภิ าพ และเกิดประโยชนส์ งู สดุ แก่ผเู้ รยี น
5. พัฒนาแหล่งเรียนรู้ แหล่งข้อมูลข่าวสาร ห้องสมุด ให้มีบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ส่งเสริมให้
ผเู้ รียนใฝเ่ รยี น ใฝร่ ู้ แสวงหาความรูแ้ ละเรียนรูด้ ้วยตนเองตามอธั ยาศัย อย่างกว้างขวางและตอ่ เนอื่ ง
25
6. จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เพียงพอในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและความต้องการใช้งาน
ของโรงเรียน
โดยมีโครงการ/กจิ กรรม ดังนี้
1. โครงการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาและหลกั สูตรท้องถนิ่
2. โครงการนิเทศภายใน
3. โครงการส่งเสรมิ ระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
4. โครงการพฒั นาบุคลากรดา้ นการทำวจิ ัยในชั้นเรยี น
5. โครงการจดั หาและซอ่ มบำรงุ อปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ
ระดบั คณุ ภาพ : ดี
1. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนบ้านป่าพ้อไดด้ ำเนินการพัฒนาครแู ละบุคลากรอย่างต่อเน่อื ง มีกระบวนการพัฒนาการจดั การ
เรยี นการสอนดว้ ยวิธีการที่หลากหลายและเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ มีการนิเทศการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง จึง
ทำให้ครมู ีความกระตอื รือร้นในการ พัฒนากระบวนการจัดการเรยี นร้อู ย่างสม่ำเสมอ มกี ารติดตาม ประเมินผล
เพ่ือให้ครูนำผลมาปรับปรุงและพัฒนา จึงทำให้ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จัดการเรียน
การสอนทมี่ ่งุ เนน้ การฝกึ ทักษะ ฝึกการปฏิบตั ิเพื่อให้ผู้เรียนได้เรยี นร้จู ากประสบการณจ์ รงิ สามารถนำความร้มู า
ประยกุ ตใ์ ชช้ ีวติ ประจำวันได้
โรงเรียนบ้านป่าพ้อจัดการเรียนการสอนผ่านระบบทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV และยังส่งเสริมให้ครู
ได้พัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ DLIT ส่ือการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต ทำให้ครูได้เรียนรู้
และสามารถพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาอย่างครบวงจร และครบถ้วนตามหลักสตู รแกนกลางของสถานศกึ ษา โดย
นำมาบูรณาการในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนที่เอื้อต่อการเรยี นรใู้ หผ้ ูเ้ รยี นไดฝ้ ึกปฏิบัติจรงิ
โรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอนโดยมีการ บริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก ทำให้ผู้เรียนมีความสุข
ให้ความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้ เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ และการลงมือปฏิบัติ สามารถนำปัญหา
ตา่ งๆ ในการจัดการเรียนร้มู าพฒั นาตนเอง ทำใหผ้ เู้ รยี นสามารถ เรียนรู้ได้อย่างมีความสุข
ครมู ีการตรวจสอบและประเมนิ ผลผ้เู รียนอยา่ งเปน็ ระบบ โดยการวดั ผลประเมินผลตามสภาพจรงิ ด้วยเคร่ืองมือ
ทีม่ ีประสิทธภิ าพ ใช้วิธีการวัดผลประเมินผลท่ีหลากหลาย ดว้ ยการสังเกต สอบถาม การประเมินผลงาน ชิน้ งาน
และนำผลการประเมินมาพฒั นากระบวนการจัดการเรยี นการสอน เพอื่ พัฒนาผ้เู รยี นใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐาน
ท่ีกำหนด
โรงเรียนส่งเสริมให้ครูพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่เสมอ โดยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การนิเทศช้ันเรียน ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน มีการให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อปรับปรุงแก้ไขและ
พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดกิจกรรมการสอน ส่งผลให้เกิด
การพฒั นาความร้คู วามสามารถ ทักษะการจัดกิจกรรมและพัฒนานวัตกรรมเพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ของครู
26
2. ผลการดำเนินงาน
จากการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาให้ครูมีการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้น
ผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งผลดังแสดงในตาราง
ตารางแสดงเป้าหมายและผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผูเ้ รยี น
เป็นสำคัญ ปีการศกึ ษา 2563
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้น ผู้เรียนเป็นสำคญั ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไป 73 74.00
ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ได้ 73 73.00
3.2 ใช้สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรทู้ ่เี อื้อต่อการเรยี นรู้ 73 73.61
3.3 มีการบริหารจดั การช้นั เรยี นเชิงบวก 73 73.61
3.4 ตรวจสอบและประเมินผ้เู รียนอยา่ งเปน็ ระบบและนำผลการประเมิน
73 73.08
มาพัฒนาผู้เรยี น
3.5 มกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรแู้ ละให้ข้อมลู สะท้อนกลับ เพอ่ื พัฒนาและ ดี ดี
(73) (73.46)
ปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้
สรปุ ผลการประเมนิ
จากผลการดำเนินงานด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญนั้นส่งผลให้มีผล
การดำเนนิ งานอยู่ในระดับ ดี ดงั นี้ ครูร้อยละ 74 จัดการเรียนรูผ้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถ
นำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ได้ ร้อยละ 73 ของครูใชส้ ื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรทู้ ี่เอื้อต่อการเรียนรู้
ครูร้อยละ 73.61 มีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก ครูร้อยละ 73.61 มีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียน
อย่างเป็นระบบและนำผลการประเมินมาพัฒนาผู้เรียน และครูร้อยละ 73.08 มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้
ข้อมลู สะทอ้ นกลบั เพื่อพฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้
จากตาราง แสดงค่าร้อยละของเป้าหมายและผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียน
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในปีการศึกษา 2563 พบว่า ผลการดำเนินงานตามกระบวนการจัดการเรียน
การสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ เป็นไปตามเป้าหมายในทุกๆ ประเด็น และมีผลการประเมินอยู่ในระดับ ดี ทุก
ประเด็น สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญอยู่ใน
ระดับคณุ ภาพ ดี
3. จุดเด่น
1. ครูมีความมุ่งมั่นต้ังใจในการพัฒนาการเรียนการสอน มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อ
ส่งเสริมกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ ริง จัดกระบวนการเรยี นรู้ท่เี นน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั
2. ครูจัดการเรียนการสอนโดยการใชส้ อ่ื การสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม DLTV
3. มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้กับชุมชนและท้องถ่ิน โดยการนำชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอน และกิจกรรมตา่ งๆ ของโรงเรยี น
27
4. จดุ ท่คี วรพัฒนา
1. ครูควรจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นทักษะการคิดแบบโครงงานอย่างหลากหลายเพ่ือเพ่ิมทักษะการ
คิดวเิ คราะห์ให้กบั นกั เรยี น และให้ขอ้ มูลยอ้ นกลับแก่นักเรียนทนั ทีเพอ่ื นักเรยี นนำไปใชพ้ ฒั นาตนเอง
2. ครูควรพัฒนาวิชาชีพหรือ PLC เพ่ือส่งเสริมให้ครูได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างเครือข่ายในการ
พฒั นาการจดั การเรยี นการสอนทเี่ น้นผูเ้ รียนเปน็ สำคญั รว่ มกัน
3. นำกระบวนการวิจัยมาใช้ในการแกป้ ัญหาและพัฒนาผู้เรียนอยา่ งจรงิ จงั
5. แผนการยกระดับคุณภาพใหส้ ูงข้นึ
1. ส่งเสริมใหค้ รูจดั การเรยี นการสอนแบบโครงงาน เพื่อเนน้ ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ทหี่ ลากหลาย
2. ส่งเสริมให้พัฒนาวิชาชีพหรือ PLC พัฒนานวัตกรรมมาใช้ในการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำคัญ
3. ส่งเสริมครูในด้านการทำวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้โดยการนำผลการประเมินหรือผลการวิจัยไปใช้
ในการพัฒนาการจัดกระบวนการเรยี นการสอน
4. พฒั นาสภาพแวดล้อม ห้องปฏบิ ัติการ แหล่งเรียนรภู้ ายในสถานศึกษา สร้างบรรยากาศท่ีเออ้ื ต่อการ
เรยี นรู้ สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นรกั การเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง และพฒั นาสถานศึกษาให้เปน็ สังคมแห่ง
การเรียนรูข้ องชมุ ชนตอ่ ไป
6. จัดหาเคร่ืองคอมพิวเตอร์ให้เพียงพอในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและความต้องการใช้งาน
ของโรงเรียน
โดยมโี ครงการ/กิจกรรม ดังน้ี
1. โครงการพัฒนาบคุ ลากร
2. โครงการวจิ ัยในชน้ั เรยี น
3. โครงการจัดหาและซ่อมบำรุงอุปกรณค์ อมพิวเตอร์
28
สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2563
ผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
มาตรฐานที่ 1 ระดบั คุณภาพ ดเี ลิศ
มาตรฐานท่ี 2 ระดบั คุณภาพ ดเี ลศิ
มาตรฐานที่ 3 ระดับคณุ ภาพ ดี
มาตรฐาน / ประเด็นพิจารณา ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมนิ
มาตรฐานที่ 1 ด้านคณุ ภาพผ้เู รยี น ดี ดเี ลิศ
(74) (86.31)
1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรยี น
1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สาร และการคดิ คำนวณ 70 65.97
2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย 70 71.16
แลกเปล่ียนความคดิ เหน็ และแกป้ ัญหา
3) มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม 70 87.44
4) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร 70 78.44
5) มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา 70 69.13
6) มคี วามรู้ ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ี่ดีต่องานอาชพี 70 90.45
1.2 คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผ้เู รยี น 80 95.39
1) มีคณุ ลักษณะและค่านยิ มทีด่ ตี ามทีส่ ถานศกึ ษากำหนด 80 95.77
2) มีความภมู ใิ จในท้องถ่ินและความเป็นไทย 80 92.44
3) การยอมรบั ทีจ่ ะอยู่รว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย 80 95.52
4) สขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคม
29
มาตรฐาน / ประเดน็ พิจารณา ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมนิ
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดีเลิศ ดีเลศิ
2.1 มีเปา้ หมายวิสยั ทศั นแ์ ละพันธกจิ ท่สี ถานศึกษากำหนดชัดเจน ดีเลศิ ดีเลศิ
2.2 มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ดีเลศิ ดเี ลิศ
2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร ดเี ลศิ ดเี ลิศ
สถานศกึ ษา ดีเลิศ ดีเลิศ
ดเี ลศิ ดเี ลิศ
2.4 พัฒนาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวิชาชพี
2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ ดเี ลศิ ดีเลศิ
อย่าง มีคุณภาพ
ดี ดี
2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการบริหารจดั การและการ (73) (73.46)
จดั การเรียนรู้ 73 74.00
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรยี นเป็นสำคญั 73 73.00
73 73.61
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไป 73 73.61
ประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ได้
73 73.08
3.2 ใช้สือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรูท้ เ่ี ออื้ ต่อการเรยี นรู้
3.3 มกี ารบริหารจัดการชั้นเรยี นเชิงบวก
3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลการประเมิน
มาพฒั นาผูเ้ รยี น
3.5 มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อพัฒนาและ
ปรับปรุงการจดั การเรยี นรู้
30
สว่ นท่ี 3
วธิ ีการปฏบิ ตั ิท่ีดี/นวัตกรรม ในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
1. ชื่อวธิ ีการปฏิบัติท่ดี /ี นวตั กรรม
การจดั การความรสู้ ่กู ารพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี นดว้ ยการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV)
2. สภาพความจำเป็นในการแกป้ ัญหา
ระบบการศึกษาทม่ี ีคุณภาพต้องสามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถเต็มตามศักยภาพ โดย
เป้าหมายสูงสุดของการจัดการศึกษา คือ การสรา้ งคนดี มีคุณธรรม มีความรู้ความสามารถเพียงพอที่จะพัฒนา
ตนเอง ครอบครวั ชุมชนและประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้าไปในวิถีทางทเี่ หมาะสม นานาประเทศที่เจริญแลว้ จึง
มุ่งใช้การศึกษ าเป็ นเครื่องมือในการห ล่อห ลอมทรัพยากรมนุษ ย์ ให้ เป็นไปในทิศท างที่มุ่ งหวัง
โรงเรียนเป็นองค์กรทางการศึกษาที่สำคัญท่ีสุดในการพัฒนาคุณภาพนักเรียน การพัฒนาคุณภาพ
โรงเรียนจึงเป็นภารกิจท่ีสำคัญที่สุดของกระทรวงศึกษาธิการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาโรงเรียนในท้องถิ่น
ชนบท ซ่ึงนักเรียนส่วนใหญ่มักด้อยโอกาสในการได้เข้าเรียนในโรงเรียนที่มีคุณภาพ การพัฒนาการเรียนการ
สอนโดยใช้เทคโนโลยีทางการศกึ ษาและการสื่อสารในยคุ ปัจจุบันจงึ เป็นสิ่งจำเป็นและเป็นประเด็นสำคัญท่ีต้อง
ตระหนักและสรา้ งความพรอ้ มใหเ้ กดิ ข้ึน
โรงเรียนบ้านป่าพ้อ เป็นหน่วยงานทางการศึกษาท่ีมีภารกิจท่ีสำคัญ คือการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ ตามเป้าหมายของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 และตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรยี นบ้านป่าพ้อเปน็ โรงเรียนขนาดเล็ก จัดการเรยี นการสอนต้ังแตช่ ั้นอนุบาล 1 ถึงช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียนรวมทั้งสิ้น 81 คน ข้าราชการครู 5 คน พนักงานราชการ 2 คน ครูอัตราจ้าง 1
คน เขตพ้ืนที่บริการคือหมู่บ้านป่าพ้อ หมู่ที่ 3 โรงเรียนบ้านป่าพ้อ บริหารจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ครูผู้สอนต้องวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สมรรถนะสำคัญ
ของผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระ การเรียนรู้และคุณลักษณะอันพึงประสงค์โดยมีหลักการจัดการ
เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ ท่ีคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล การจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมอง และการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นคุณธรรม จริยธรรม ซ่ึง
โรงเรียนบ้านป่าพ้อเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก และไม่สามารถบริหาร จัดการศึกษาได้ตามเป้าหมายและมาตรฐาน
การเรยี นรทู้ กี่ ำหนดไวใ้ นหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน โดยมีปญั หาทีส่ ำคญั ดังนี้ คอื
1. การบริหารวิชาการ ครูสอนไม่ตรงตามวิชาเอก ครูไม่ครบช้ัน ปัญหาหารขาดแคลนครู และจำนวน
ผู้เรียนในแต่ละชั้นมีจำนวนน้อย สังคมผู้เรียนคับแคบ การเรียนรู้ระหว่างผู้เรียนไม่กว้างพอ ส่งผลให้ผลการ
เรียนตกต่ำ ดังนั้นคณะครูผู้ปกครองและคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานจึงร่วมกันจัดทำแผนพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษาเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ ขึ้นเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการเตรียมการและพัฒนาคุณภาพ
ผเู้ รยี นให้มีความพร้อมในการศึกษา และสามารถยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให้สูงข้ึน โรงเรียนบ้านป่าพ้อ
ได้นำการดำเนินงานการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนใน
โรงเรียน เพื่อแก้ปัญหาเรื่องการขาดแคลนครู มีครูไม่ครบชั้น ครูสอนไม่ตรงตามวิชาเอก และครูบางส่วนสอน
โดยไม่ใช้ส่ือ ขาดแคลนวัสดุ อุปกรณ์ เป็นเหตุให้เด็กนักเรียนขาดโอกาสและความเท่าเทียมกับเด็กนักเรียนใน
โรงเรียนขนาดใหญ่หรือโรงเรียนท่ีอยู่ในเมือง ด้วยการนำสื่อการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมมาใช้ในการ
31
แก้ปัญหาและเสริมสร้างมาตรฐานการจัดการเรียนการสอนของครู การบริหารจัดการศึกษาของผู้บริหาร และ
คุณภาพการเรยี นรขู้ องผูเ้ รยี น
2. การบริหารงบประมาณ การจัดสรรงบประมาณให้แก่โรงเรียนขนาดเล็ก กระทรวงศึกษาธิการ
จัดสรรงบประมาณ ให้ตามรายหัวของจำนวนผู้เรียน โรงเรียนบ้านป่าพ้อมีจำนวนผู้เรียนน้อยทำให้ได้รับ
งบประมาณน้อยตามไปด้วยจึงไมเ่ พียงพอ ขาดแคลนท้ังอาคารเรียน อาคารประกอบ ห้องสมุด ตลอดจนสนาม
สำหรับการเลน่ กฬี าของนักเรียน และยงั ตอ้ งใชจ้ า่ ยเงินเพ่ือการสาธารณปู โภค
3. การบริหารงานบุคคล ขวัญและกำลังใจของครูตกต่ำ เพราะความขาดแคลนบุคลากรในการจัด
กิจกรรม การเรียนการสอนท้ังในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยมีครูไม่ครบกลุ่มสาระการเรียนรู้ 1 ช้ัน
รับผิดชอบโดยครู 1 คน และต้องสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ แม้ไม่ตรงตามวิชาเอก และความถนัด และจาก
สถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้ มีผลกระทบโดยตรงต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการ
ทำงาน
4. การบริหารทั่วไป โรงเรียนบา้ นป่าพ้อตั้งอยู่ในชุมชนทห่ี ่างไกลและมีปญั หาทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม
มีข้อจำกดั มากมาย เชน่ ครูไม่ครบตามกลุ่มสาระ ขาดสื่อและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ฯลฯ ซ่ึงมีผลกระทบต่อความ
มั่นใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานมาเข้าเรียน และการได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากท้องถ่ินชุมชนมี
ค่อนข้างน้อย ผู้ปกครองขาดความเชื่อม่ันในการจัดการศึกษา โรงเรียนบ้านป่าพ้อได้ตระหนักและเห็นคุณค่า
ของการพัฒนาทาง การศึกษา จึงมีความใส่ใจต่อการแก้ปัญหา โดยได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรใน
โรงเรียนหาแนวทาง รูปแบบ เทคนิค วิธีการ หรือกระบวนการต่างๆ เพื่อนำมาแก้ปัญหา เพ่ือพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาโดยได้ร่วมมือกันสะท้อนปัญหาอุปสรรคที่มีผลกระทบต่อโรงเรียน วิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย โอกาส
และข้อจำกัด โดยยึดข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียน ร่วมกันสังเคราะห์และสรุป เพื่อหาแนวทางดำเนินการ
ยกระดับคุณภาพทางการศึกษาของโรงเรียน กำหนดแนวทางท่ีมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพบริบทของ
โรงเรยี นและตรงตามความสนใจความต้องการ
วตั ถปุ ระสงค์
1) เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาของนักเรียนจากการจัดการเรียนรู้ด้วยการศึกษาทางไกล
ผ่านดาวเทยี ม (DLTV)
2) เพื่อยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นในทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้
3) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนระดับชาติขั้นพนื้ ฐาน เพิ่มข้ึนจากปีการศึกษาที่ผ่านมา
รอ้ ยละ 3
4) เพ่ือพัฒนานักเรียนให้มีทักษะการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผ่านเกณฑ์การประเมิน
ร้อยละ 80
5) เพ่อื พัฒนานักเรียนใหม้ คี ุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
6) เพ่ือให้ครูใหส้ ามารถจัดการเรียนรู้ด้วยสอื่ ทางไกลผ่านดาวเทยี มอยา่ งมีประสิทธิภาพ รอ้ ย
ละ 80
7) เพอื่ สรา้ งโอกาสใหค้ รแู ละนกั เรียนได้เขา้ ถงึ ส่ือเทคโนโลยีการจัดการเรยี นรทู้ ที่ ันสมัย
32
3. วธิ กี ารดำเนินงาน
โรงเรียนบ้านป่าพ้อ ได้นำหลักการวงจรการบริหารงานคุณภาพ PDCA มาใช้ในการบริหารงาน
วิชาการในการดำเนนิ การจดั การเรียนรู้ดว้ ยสื่อทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV ซ่ึงมีข้ันตอนในการดำเนนิ งานดงั น้ี
1) ขั้นวางแผน (Plan)
โรงเรียนบ้านป่าพ้อ รับนโยบายการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมอย่างเต็มรูปแบบ ในช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 1 – ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 นำมากำหนดเป็นนโยบาย/เป้าหมายการพัฒนาโรงเรียนให้มี
คุณภาพเชงิ ระบบ ดว้ ยการจดั การความร้สู ่กู ารจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV)
1.1. ขับเคล่ือนสร้างความเข้มแข็ง โดยจัดประชุมชี้แจงข้าราชการครูและบุคลากร
โรงเรียน นักเรียน ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษาและชุมชน ให้มีความตระหนัก
และร่วมมือกันพัฒนาไปส่เู ปา้ หมายอย่างจริงจงั
1.2. สร้างและแสวงหาความรู้เกี่ยวกับการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ด้วยการ
อบรมพัฒนา ศึกษาคู่มือพระราชทานการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
เอกสารแนวทางการกำกับ ติดตามโครงการขยายผลการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน
ดาวเทียม และความรู้อ่ืนๆ ท่ีมีอยู่ตามแหล่งต่างๆ เช่นเว็บไซต์ มูลนิธิทางไกลผ่าน
ดาวเทยี ม ฯลฯ
1.3. ทบทวนหลักสูตร มีการดำเนินการทบทวนหลักสูตรและปรับปรุงหลักสูตร
สถานศึกษาให้มีความสอดคล้องกับแนวทางการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
จากโรงเรยี นตน้ ทางโรงเรยี นวงั ไกลกงั วล
1.4. ปรบั โครงสร้างหลกั สูตรและเวลาเรยี น
1.4.1 จำนวนช่ัวโมง : ปี ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพิจารณาจาก
ตารางสอนที่ปรากฏอยู่ในคู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) เพ่ือทบทวน
ปรับปรุงโครงสร้างหลักสูตร เวลาเรียนในหลักสูตร เพ่ือสะดวกตอ่ การบริหารจัดการ
หลกั สตู รสถานศกึ ษา
1.4.2 หน่วยการเรียนรู้ของกลุ่มสาระ โดยโรงเรียนพิจารณาจากหน่วยการเรียนรู้ที่
ปรากฏในค่มู ือสอนทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV)
1.4.3 มาตรฐานการเรียนรู้ของหน่วยการเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV)
ประกอบด้วย มาตรฐานการเรียนรู้ข้อใดบ้างเพื่อเตรียมสู่การวัดผลและประเมินผล
การเรียนรู้
1.5. จัดทำแผนการเรียนรู้รายชั่วโมงให้มีความสอดคล้องกับแนวทางการจัดการศึกษา
ทางไกลผ่านดาวเทียม โดยปรับให้มีความยืดหยุ่นและสะดวกต่อการส่งเสริมการ
เรียนรู้ของผู้เรียน จัดเตรียมสื่อวัสดุอุปกรณ์ ใบงาน ใบความรู้ และการวัดผล
ประเมินผลการเรียนรู้ และจัดการเรียนรู้โดยใช้ส่ือการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม
(DLTV) จากโรงเรียนวงั ไกลกงั วล
1.5.1 ขนั้ เตรียมการจัดการเรยี นรู้
1) เตรยี มนกั เรียน
2) แจ้งจดุ ประสงค์การเรยี นรู้/ผลกาเรียนรู้ท่ีคาดหวัง
33
3) แนะนำวิธกี ารเรียนรู้
1.5.2 ขั้นการจดั การเรียนรู้โดยใชก้ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม
1) การนำเข้าสบู่ ทเรียน
2) เตรียมความพรอ้ มก่อนชมรายการ
3) การเรยี นรู้จากการชมรายการโทรทัศนท์ างไกลผ่านดาวเทียม (DLTV)
1.5.3 ขนั้ กจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นรู้
1) ซักถามสาระสำคัญหรอื ความรู้ที่ได้จากการเรียน
2) นำสง่ิ ท่ไี มเ่ ขา้ ใจหรือประเด็นท่ีสงสัยท่ไี ด้จากการเรยี นมาอภปิ ราย
3) มอบหมายงานให้นักเรียนปฏิบตั ิเป็นรายกลุม่ /รายบุคคล
1.5.4 ขน้ั สรุปและประเมนิ ผลการเรียนรู้
1) สรุปสาระสำคัญหรือความรู้ที่ได้รับจากการเรียนในแต่ละครั้ง โดยครู
และนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ/วัดผลการเรียนรู้ของนักเรียนตาม
ตัวชี้วัด เพ่ือจัดสอนซ่อมเสริมให้นักเรียนท่ีไม่บรรลุวัตถุประสงค์ตาม
ตวั ชว้ี ัด
2) จดั ใหน้ ักเรียนศึกษาค้นควา้ เพ่ิมเตมิ
3) ดูแลระบบและอำนวยความสะดวกการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน
ดาวเทียม (DLTV) ให้กบั ครผู ้สู อน
2) ขน้ั ดำเนนิ งาน (Do)
2.1 ครูดำเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามตารางการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม
(DLTV) ตามแผนการจัดการเรียนรู้รายช่ัวโมงที่โรงเรียนต้นทางได้จัดทำเป็นแนวทางไว้
ทั้งน้ีครูผู้สอนผสมผสานเทคนิคการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการปฏิรูปการเรียนรู้อย่าง
เป็นระบบ เช่น วธิ ีการเรียนรโู้ ดยเทคนคิ การเรยี นแบบบรู ณาการ นอกจากนี้โรงเรียนบ้าน
ป่าพ้อ ยังสอดแทรกเครื่องมือการจัดการความรู้ (KM) เพื่อให้การเรยี นรู้ประสบผลสำเร็จ
บรรลตุ ามตัวชวี้ ัด
2.2 ดำเนินการสอนเสริมเติมเต็มหลังบทเรียน เพ่ือสรุปบทเรียนที่ได้เรียนมาท้ัง
ช่ัวโมงและเพือ่ ให้นักเรียนทยี งั ไมเ่ ขา้ ใจในบทเรียนไดม้ ีความรู้ความเขา้ ใจมากย่ิงข้นึ
2.3 สอบถาม ซักถาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูกับนักเรยี น นักเรียนกับนักเรียน
และหาข้อสรุปองคค์ วามรตู้ ามตวั ชีว้ ัดในแต่ละวชิ า
2.4 ปฏิบัติงานตาม ใบความรู้ ใบงาน ใบกิจกรรม ท่ีครูต้นทางได้จัดทำเป็นแนวทาง
ไว้
2.5 ครูผู้สอนตรวจใบงาน ใบกิจกรรม และประเมินการทำกิจกรรมและใบงาน ตาม
แบบประเมินท่ีได้เตรียมไว้ ทั้งนี้เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจ ความถูกต้องของใบงานและ
เพอ่ื เก็บคะแนนจากใบงานตามแบบประเมิน
34
3) ข้ันตรวจสอบ ประเมินผล (Check)
โรงเรียนบ้านป่าพ้อ มีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลโดยคณะกรรมการนิเทศภายใน
โรงเรียน ซ่ึงได้แต่งต้ังคณะกรรมตามคำสั่งโรงเรียน ซึ่งคณะกรรมการนิเทศภายใน ได้ดำเนินการ
ตดิ ตาม ตรวจสอบการปฏิบัตงิ านของครู การบันทึกผลหลังสอนของครูท่ีสะท้อนผลการเรียนรูท้ ีเ่ กิดขึ้น
นำไปสู่การปรับปรุงและพัฒนาให้เกิดประสิทธิผลตามมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีหลักสูตรกำหนดไว้ โดย
ผู้บริหารสถานศึกษาบันทึกผลการนิเทศเพื่อสรุปผลการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV)
ของโรงเรียน เพ่ือการพัฒนา ปรับปรุง แก้ไข และเพื่อนำข้อมูลมาส่งเสริมและพัฒนาการจัดการเรียน
การสอนของครตู ่อไป
นอกจากน้ียังมีคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลจากสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษายะลา เขต 1 ซ่ึงรับผิดชอบนิเทศโรงเรียน ได้มาดูแล นิเทศ กำกับ ติดตาม ช่วยเหลือ
ส่งผลให้ โรงเรียนบ้านป่าพ้อ จัดการเรียนการสอนโดยใช้ส่ือทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ บรรลวุ ตั ถุประสงคต์ ามเป้าหมายท่ตี ง้ั ไว้
4) ขั้นปรบั ปรงุ แก้ไขและพัฒนา (Action)
โรงเรียนบ้านป่าพ้อ ได้ดำเนินการจัดประชุมทบทวนหลังการปฏิบัติงาน AAR (Action After
Review) เพื่อวิเคราะห์ผลการดำเนินงานการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) เป็นการ
สะท้อนสู่การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาให้มีประสิทธิภาพสงู ขน้ึ ต่อไป
4. ผลท่เี กดิ ขึน้
4.1 ผลการดำเนนิ งาน
1) นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธ์ิเพ่มิ สงู ขึ้นเม่อื เทยี บกับปีการศึกษาที่ผา่ นมา
2) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 มีค่าเฉลี่ยผลการประเมินความสามารถด้านการ
อ่าน (Reading Test : RT) สูงกว่าระดับเขตพ้ืนที่และระดับประเทศ และมีผล
การประเมินสงู กว่าปีการศกึ ษา 2562
3) นกั เรยี นมีทักษะการอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขยี นและมีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ตามทส่ี ถานศึกษากำหนด
4) ครูและบุคลากรสามารถพัฒนาตนเองในการจัดการเรียนการสอนผ่านการศึกษา
ทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
5) ผู้ปกครองและชุมชนให้ความไว้วางใจต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนและให้
ความรว่ มมอื กับโรงเรยี นในการพฒั นาการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี น
4.2 ปจั จัยความสำเร็จ
โรงเรียนบ้านป่าพ้อ ได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV)
และได้ดำเนินงานตามยทุ ธ์ศาสตร์ข้ันพื้นฐานตามที่ สพฐ.ได้กำหนด จนเป็นปจั จัยนำไปสู่ความสำเร็จ
ของการจัดการศึกษาของโรงเรียน ทางโรงเรียนได้ดำเนินการตามรูปแบบการจัดการศึกษาด้วย
เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสู่ความสำเร็จ โดยใช้
“ยทุ ธศาสตร์ 4 5 6” ดงั นี้
35
4 ขอ้ พน้ื ฐาน
1) สภาพแวดล้อมของโรงเรยี นและภายในห้องเรียนมีความสะอาดและเปน็ ระเบียบ
2) โทรทัศน์มีขนาดเหมาะสมกับห้องเรียนและจำนวนนักเรียน การติดตั้งโทรทัศน์มี
ความสงู เหมาะสมกับระดับสายตานกั เรียน
3) ครูเอาใจใส่ กำกับดูแล ชว่ ยเหลือนักเรียนก่อนเรียน ระหวา่ งเรียนและหลังเรียน
4) นักเรยี นมีสว่ นรว่ มกจิ กรรมและตัง้ ใจเรยี นรู้พร้อมกบั นกั เรยี นโรงเรียนไกลวังกังวล
ผบู้ ริหาร 5 ข้อจดั ทำ
1) ผู้บริหารสถานศึกษามีการวางแผนการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ ส่งเสริม
สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) อย่างจริงจังและอำนวย
ความสะดวกให้การจัดการเรยี นการสอนเป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและต่อเน่อื ง
2) ผู้บริหารสถานศึกษาจัดหาเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมและโทรทัศน์ขนาด
เหมาะสมกับห้องเรียนและจำนวนนักเรียน ติดตั้งโทรทัศน์ให้มีความสูงเหมาะสมกับระดับ
สายตานักเรยี น
3) ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาจัดหาคมู่ ือครูพระราชทาน สอนทางไกลผา่ นดาวเทียมสำหรับ
โรงเรียนปลายทาง
4) ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้นำด้วยความมุ่งมั่นและนำพาครูทุกคน ทุกฝ่าย
ตระหนักเหน็ ความสำคญั และใหค้ วามรว่ มมือดำเนินการอยา่ งจรงิ จังต่อเนื่อง
5) ผู้บริหารสถานศึกษามีการนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนการสอนทุกห้องเรียน
อยา่ งสม่ำเสมอ
ครูนำ 6 ขอ้ ปฏบิ ตั ิ
1) จัดสภาพห้องเรียนให้เหมาะสม เอื้อต่อการปฏิบัติกิจกรรมตามแผนการจัดการ
เรยี นรู้
2) เตรียมการสอนล่วงหน้า ท้ังส่ือ วัสดุอุปกรณ์ ใบงาน ใบความรู้และกิจกรรมเสริม
ตามที่คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) กำหนด รวมท้ังมอบหมายงานให้นักเรียน
เตรียมพรอ้ มในการเรียนครงั้ ต่อไป
3) ร่วมจัดการเรียนร้ไู ปพร้อมกับครโู รงเรียนตน้ ทางและเอาใจใส่ กำกับ ดูแล แนะนำ
นักเรยี นให้ปฏบิ ตั ิกิจกรรมการเรียนทกุ คร้ัง
4) สรุปสาระสำคัญร่วมกับนักเรียนหลังจากกิจกรรมการเรียนรู้สิ้นสุดลงและบันทึก
ผลการจัดการเรยี นรู้หลงั สอนทุกครง้ั
5) วัดและประเมินผลเมื่อกิจกรรมการเรียนรู้ส้ินสุดในแต่ละคร้ัง แต่ละหน่วยการ
เรียนรู้ เพื่อจะได้ทราบว่าผลการเรียนรู้ของนักเรียนบรรลุจุดประสงค์ การเรียนรู้หรือไม่ เพ่ือ
ปรบั ปรงุ แก้ไขตอ่ ไป
6) จัดกิจกรรมสอนซ่อมเสริมนอกตารางออกอากาศเพื่อช่วยเหลือนกั เรียนท่ีไม่บรรลุ
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ หรือให้ความรูเ้ พิ่มเตมิ แก่นกั เรยี น
36
4.3 บทเรียนท่ไี ดร้ ับ
1) โลกการเรียนรู้ไม่จำเป็นจะต้องเรียนรู้จากหนังสือเรียน การเรียนแบบท่องจำจาก
หนังสือหรือการบรรยายหน้ากระดานของครูอีกแล้ว การใช้รูปแบบการพัฒนาคุณภาพ
สำหรบั นักเรียน ซึ่งได้นำเอาระบบ DLTV บทเรียนออนไลน์ และโปรแกรมทดสอบผ่านระบบ
ออนไลน์ บรู ณาการใช้รว่ มกนั นับว่าเป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ใหม่ที่ทันสมัย ใช้เครอ่ื งมือ
ทที่ ันสมัย ผ่านระบบเครือข่ายอินเตอรเ์ น็ต ใช้ได้ทั้งกับคอมพิวเตอร์ แทปเล็ตและสมาร์ทโฟน
ซ่ึงทุกคนมีอยู่แล้ว ทำให้สามารถเรียนได้ทุกท่ี ทุกเวลา นอกจากนี้ผู้เรียนยังมีความสนใจ
บทเรียนมากกว่าการเรียนกับหนังสือ เพราะในระบบ DLTV มีส่ือท่ีหลากหลาย สามารถ
เรยี นได้ซำ้ ๆ
2) เม่อื นำระบบ DLTV มาใช้ในการจดั การเรยี นรู้ เป็นการใหโ้ อกาสทางการศกึ ษาแก่
นกั เรียน โดยเฉพาะนักเรยี นกลมุ่ ท่ีไม่สนใจการเรยี นได้รับความสนใจเพม่ิ มากข้ึนจากการเรียน
การสอน DLTV เพราะมสี อ่ื ที่หลากหลาย
3) การมีส่วนร่วมของผู้ท่ีเกี่ยวข้อง สามารถช่วยให้การดำเนินการพัฒนาง่ายและ
รวดเร็วข้ึน โดยเฉพาะการระดมทุนในการจัดหาด้านโครงสร้างพ้ืนฐานเทคโนโลยี ท้ังวัสดุ
อปุ กรณ์รบั -สง่ สัญญานอนิ เตอรเ์ น็ต เป็นต้น
5. การเผยแพร่
โรงเรียนบ้านป่าพ้อได้ทำการเผยแพร่ผลงานความสำเร็จที่ได้รับ โดยได้แจ้งผ่านการประชุม
ผปู้ กครอง และรายงานตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐานของโรงเรียน
37
สว่ นที่ 4
ภาคผนวก
38
บันทกึ ผล
การให้ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา
ในการนำเสนอผลการพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐาน
ของโรงเรียนบ้านปา่ พ้อ อำเภอเมือง จงั หวัดยะลา
ตามท่ีโรงเรียนบ้านป่าพ้อ ได้ดำเนินการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment
Report : SAR) ตามระบบประกันคุณภาพภายใน พ.ศ. 2561 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปีการศึกษา
2563 เพือ่ รายงานผลการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา ซง่ึ เป็นไปตามความมุง่ หมายของการจดั การศึกษา ตาม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และตามประกาศ
กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ที่ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกัน
คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐาน
การศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาและจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุ่ง
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดำเนินงานตามแผนที่กำหนด โดยจัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษา และรายงานผลการประเมินตนเองต่อหน่วยงานต้นสังกัด โดยผ่านความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
ท้ังน้ี รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ตามระบบประกันคุณภาพ
ภายใน พ.ศ. 2561 ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ของโรงเรียนบ้านป่าพ้อ ประจำปีการศึกษา 2563 ได้รับการ
พิจารณาให้ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน เม่ือวนั ท่ี 10 พฤษภาคม 2564 จึงเห็นควร
เสนอตอ่ หนว่ ยงานที่เก่ียวขอ้ งตอ่ ไป และไดล้ งนามไว้เป็นหลักฐาน
...................................................... ......................................................
(นายสุไลมาน สุแนแดวอ ) (นางสมถวิล สมิงแก้ว)
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบ้านป่าพ้อ
กรรมการสถานศึกษาท่ลี งนามเห็นชอบ 39
ที่ ช่อื -สกุล ลายมือช่อื ตำแหนง่
1 นายสุไลมาน สแุ นแดวอ ประธานกรรมการ
2 นายรุสลนั เส็งหลี กรรมการ
กรรมการ
3 นางสาปูเรา๊ ะ ดือรานงิ กรรมการ
กรรมการ
4 นายมะนาวาวี วชิ า กรรมการ
5 นายเกษม สุแนแดวอ กรรมการ
6 นายอานวู า มะหะจิ กรรมการ
7 นายมซั ลัน มะแซ กรรมการและเลขานุการ
8 นายซัฟฟาร์ หลงั เตมนี
9 นางสมถวิล สมงิ แกว้
40
คำส่ังโรงเรยี นบ้านป่าพอ้
ท่ี 16 / 2564
เร่ือง แตง่ ตง้ั คณะกรรมการจัดทำรายงานคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา (SAR)
ประจำปีการศกึ ษา 2563
เพ่ือให้การจัดทำรายงานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา (SAR) ประจำปีการศึกษา 2563 ของ
โรงเรียนบ้านป่าพ้อ ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามกฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และ
วธิ ีการประเมินคุณภาพการศึกษา โดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 39 แหง พระราชบญั ญตั ิระเบียบบรหิ ารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา พ.ศ.2547 จึงแต่งต้ังคณะกรรมการจัดทำรายงานคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษา (SAR)
ประจำปีการศึกษา 2563 เพ่ือให้ไดผลการประเมิน และนำมาวางแผน พัฒนา ปรับปรุงและแกไข โดยให้
รายงานผล ให้แล้วเสร็จภายในเวลาท่ีกำหนด และจัดทำเป็นรายงานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา (SAR)
และรายงานสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 1 ต่อไป ดงั นี้
1. คณะกรรมการประสานงานการจดั ทำรายงานคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา (SAR)
1.1 นางสมถวิล สมงิ แกว้ ผู้อำนวยการโรงเรยี น ประธาน
1.2 นางพาตีเมาะ ยะผา ครู กรรมการ
1.3 นางสาวไซมาโตน อบั ดุลลอฮ์ ครู กรรมการและเลขานุการ
2. คณะกรรมการจดั ทำรายงานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา (SAR) ระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผูเ้ รียน ประกอบดว้ ย
1. นางสาวไซมาโตน อับดุลลอฮ์ ครู ประธาน
2. นางพาตีเมาะ ยะผา ครู กรรมการและเลขานกุ าร
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ประกอบดว้ ย
1. นางสมถวลิ สมิงแก้ว ผ้อู ำนวยการโรงเรียน ประธาน
2. นางจงใจ เจิมผ่องพงศ์ ครู กรรมการและเลขานุการ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประกอบด้วย
1. นางอาสารอ เกษธิมา พนกั งานราชการ ประธาน
2. นางสาวรซู ยั ดาร์ ยโู ซะ ครูผู้สอนอิสลามศึกษา กรรมการ
3. นายซฟั ฟาร์ หลงั เตมนี พนักงานราชการ กรรมการและเลขานกุ าร
3. คณะกรรมการจดั ทำรายงานคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา (SAR) ระดับปฐมวยั
3.1 นางสมถวิล สมงิ แกว้ ผู้อำนวยการโรงเรยี น ประธาน
3.2 นางสาวไลลา สะอะ พนกั งานธรุ การ กรรมการ
3.3 นางวนิ ภิ า สะอาดพันธ์ ครู กรรมการและเลขานกุ าร
41
4. คณะกรรมการตรวจสอบและจัดทำรูปเล่มรายงานคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา (SAR)
4.1 นางสมถวิล สมงิ แกว้ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน ประธาน
4.2 นางสาวไลลา สะอะ พนักงานธุรการ กรรมการ
4.3 นางสาวไซมาโตน อับดุลลอฮ์ ครู กรรมการและเลขานุการ
ขอให้ผูไ้ ด้รับคำสัง่ แต่งต้ัง ดำเนนิ งานจัดการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศกึ ษา ประเมินผล
การดำเนินงานตามปฏิทินการประกันคุณภาพภายในปีการศึกษา 2563 จัดทำการประเมินผล ตามมาตรฐาน
และตัวบ่งชีท้ ่ีรับผดิ ชอบ และรายงานผลการประเมนิ ตามระยะเวลาท่กี ำหนด
ทงั้ นี้ตงั้ แต่บดั นี้เป็นตน้ ไป
ส่งั ณ วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2564
(นางสมถวิล สมงิ แก้ว)
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบ้านป่าพ้อ
44
ประกาศโรงเรยี นบา้ นปา่ พ้อ
เรือ่ ง มาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ปกี ารศกึ ษา 2563
.............................................
ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ลงวันท่ี 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 สำหรับ
ใช้เป็นหลกั เทยี บเคียงสำหรับสถานศึกษา หน่วยงานตน้ สังกัด และสำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา เพ่ือการพัฒนา
สนับสนุน สง่ เสริม กำกบั ดูแล และติดตามตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา นั้น
โรงเรียน บ้าน ป่าพ้ อ จึงกำหน ดให้มีมาตรฐาน การศึกษา ระดับ การศึกษ าข้ันพื้ น ฐาน
ปีการศึกษา 2563 เพ่ือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาจำนวน 3 มาตรฐาน และ 21 ตวั บ่งชี้ ดงั นี้
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผเู้ รียน
1) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคดิ คำนวณ
2) มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยน
ความคิดเหน็ และแกป้ ัญหา
3) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม
4) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
5) มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
6) มคี วามรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคติท่ีดตี ่องานอาชีพ
1.2 คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ของผู้เรยี น
1) การมีคุณลกั ษณะและคา่ นยิ มทดี่ ตี ามทส่ี ถานศึกษากำหนด
2) ความภูมใิ จในทอ้ งถิน่ และความเป็นไทย
3) การยอมรับทจ่ี ะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
4) สุขภาวะทางร่างกาย และจติ สังคม