The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานชาติพันธ์ชาวไทยกะเหรี่ยง จังหวัดราชบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ชาติพันธ์ชาวไทยกะเหรี่ยง จังหวัดราชบุรี

รายงานชาติพันธ์ชาวไทยกะเหรี่ยง จังหวัดราชบุรี

Keywords: Ratchaburi,Karen

บทคดั ยอ่

งานวจิ ัยเฉพาะเรือ่ ง “หม่านี่ หรือ กะเหรย่ี งตผี งึ้ ” วถิ ีชีวติ ข้นั ตอนกระบวนการ ทีม่ ีความสัมพันธ์ต่อวิถชี วี ิตของ
ชนกลุ่มกะเหร่ียง พื้นที่ตาบลบ้านบึง อาเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ที่มี
ความสัมพันธ์ต่อคนในชมุ ชนภายใต้บรบิ ทความเปน็ กลุม่ ชาวกะเหรย่ี ง งานวิจัยคร้ังน้ีผู้ทางานวิจยั ใชว้ ิธีการสังเกตแบบมี
ส่วนรว่ ม การสมั ภาษณ์เชงิ ลึกรายบุคคลการสมั ภาษณ์แบบไมเ่ ป็นทางการในประเดน็ ประเพณี พธิ กี รรม ความเชือ่ และวิถี
ชีวิตกระบวนการขัน้ ตอนของการตีผ้ึงของชุมชนท่ีได้ทาการศกึ ษา

จากผลการพบว่า ประเพณี พิธีกรรม ความเช่ือ การดารงชวี ิต มีความสัมพันธ์ต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชนเปน็
อย่างมาก ซงึ่ มีความสัมพนั ธ์ต่อวถิ ชี ีวิตใน ๓ ด้านหลกั ของคนในชมุ ชน คอื ด้านการทามาหากนิ ดา้ นความสัมพนั ธ์ทาง
สงั คม และดา้ นความเปน็ อยู่

ประเพณีกนิ ขา้ วหอ่ ชาวบ้านยงั ยดึ ถือปฏิบัติสืบตอ่ กันมาตง้ั แตบ่ รรพบรุ ุษ ซง่ึ จะมปี ระเพณปี ระจาปใี นชว่ งเดือน
๙ ประเพณปี ลกุ ขวัญกาลังใจแกค่ นในครอบครวั หมบู่ า้ น กลมุ่ ชน

พธิ ีกรรม บูชาสิ่งศักดส์ิ ทิ ธป์ิ ระจาหมูบ่ ้าน มที ่ีมที ั้งความเชือ่ ศรัทธา ต่อผีสางและธรรมชาติ ท่คี อยปกปกั ษ์รกั ษา
ชาวกะเหร่ียงให้อยรู่ อดปลอดภัย มวี ิถีชวี ติ ทเี่ รยี บง่ายไมเ่ ปลย่ี นแปลงไปตามยุคสังคม

อนุรักษ์ กระบวนการข้นั ตอนการตีผ้ึง ท่ีมคี วามละเอยี ดออ่ น จากเคยเปน็ เอกลักษณ์ ทกี่ าลงั จะเลอื นหายไป
คำสำคญั : ประเพณี พธิ กี รรม อนุรักษ์

สารบัญ ๑

บทที่ ๑ ๒
บทนำ ๒
ประวัตชิ นชำตกิ ะเหร่ียง ๕
กะเหรย่ี งในประเทศไทย ๕
กะเหรยี่ งในจังหวดั รำชบรุ ี ๖
ภำษำ ๖
อำชพี ๖
ควำมเชอื่ พธิ ีกรรม ๘
ประเพณี ๙
ประเพณผี กู แขนเรยี กขวญั (กินขำ้ วห่อ) ๙
ประเพณีบูชำสิ่งศักด์ิประจำหมู่บำ้ น ๙
๑๒
บทท๒่ี แนวคดิ กำรแสดง ๑๒
ท่มี ำของแนวคดิ กำรแสดง ๑๒
กำรสมั ภำษณ์และหำข้อมูล ๑๓
รูปแบบกำรปฏิบตั ิงำน ๑๓
คำแนะนำจำกกรรมชำวไทยกะเหรี่ยง
คำแนะนำจำกผู้ทรงคณุ วุฒิทำงดำ้ นกำรออกแบบกำรแสดง
คำแนะนำจำกผทู้ รงคณุ วฒุ ิทำงดำ้ นกำรออกแบบกำรดนตรี
สรปุ แนวทำงกำรแกไ้ ข

สำรบญั (ตอ่ )

บทที่ ๓ องคป์ ระกอบกำรแสดง ๑๔
ผแู้ สดง ๑๔
กำรออกแบบเคร่ืองแตง่ กำย ๑๕
เครอ่ื งแต่งกำย ๑๖
อุปกรณ์ทีใ่ ช้ในกำรแสดง ๑๗
ดนตรแี ละเพลงประกอบกำรแสดง ๑๘
๑๙
บทที่ ๔ กระบวนท่ำรำและกำรใช้พ้ืนทบี่ นเวที ๒๐
กระบวนทำ่ รำ ๒๐
กระบวนกำรใช้พืน้ ทบ่ี นเวที ๖๘
๗๐
บทท่ี ๕ สรปุ ๗๑
อำ้ งองิ ๗๔
ภำคผนวก ก ๗๗
ภำคผนวก ข ๘๐
ภำคผนวก ค
ภำคผนวก ง

บทท๑ี่
บทนำ
ประวัติชนชำตกิ ะเหรี่ยง

ตามประวัติว่าชนชาติกะเหร่ียงมีถ่ินฐานอยู่แถบแม่น้าไทกริสยูเฟรติส ในอาณาจักรบาบิโลน ในปีก่อน ค.ศ.
๒๒๓ ไดเ้ รมิ่ อพยพเรอ่ื ยมาจนเข้ามาตงั อาณาจกั รอย่ใู นประเทศจีน ชาวจีนเรียกกะเหรยี่ งกลมุ่ นีว่า โจว ในสมัยรชวงศ์จ๋นิ
กะเหรี่ยงถกู รุกรานจึงได้อพยพมาอยลู่ มุ่ แม่แยงซีเกียงหรือพวกยางเรียก ยาง ซง่ึ แปลว่าแม่น้า จนี ตามมารุกรานจนต้อง
พากนั อพยพเขา้ สเู่ อเซียตะวนั ออกเฉียงใต้ โดยเขา้ มาทางลุ่มแมน่ า้ โขงและแม่นา้ สาละวนิ ในประเทศพม่า ปัจจุบนั ชนชาติ
กะเหรยี่ งในประเทศพม่า สว่ นใหญอ่ าศยั อยู่ทางดินแดนฝงั่ ตะวันตกของแม่น้าสาละวินในบรเิ วณทรี่ าบลุ่มอริ ะวดี และสะ
โตง ตังแต่ชายฝั่งทะเลจนถึงเส้นขนานท่ี ๑๙ องศาเหนือ โดยเฉพาะอย่างย่ิงพวกเขาอยู่ในพืนท่ีส้าคญั ต่างๆ ในท่ีราบ
ลุ่มอิระวดี ในหมากเส่ง เมียวเมียะและเย็นซนอก จากนันยังมีอยูใ่ นตะนาวศรีตามแนวเทอื กเขาเขตแดนไทย เข้าไปสู่ท่ี
ราบสูงรัฐฉานเหนอื ขนึ ไปจนถงึ รฐั คยา รัฐกะเหร่ยี ง ทางพนื ทขี่ องรฐั ฉานตอนใต้ และเปก โยมะ ซาวพมา่ เรยี กกะเหร่ียง
ว่า คยิน (Kyn) ซ่ึงหมายถึง คนเถื่อน รวมทังคนกลุ่มอ่ืนท่ีไม่นับถือพุทธศาสนาเหมืนทางพม่า (ฉลาดชาย ระมิตานนท์
,พมา่ :อดีตปัจจบุ นั ,๒๕๒๖)

จากการศึกษาของนายชาร์ลสค์ ายส์ พบว่ากะเหรี่ยงไดอ้ าศยั อยบู่ รเิ วณพรมแดนระหวา่ งไทย-พม่า เมอ่ื ประมาณ
๖๐๐-๗๐๐ ปมี าแล้ว(ฉลาดชาย ระมติ านนท์,พมา่ :อดีตปจั จุบัน,๒๕๒๖) นอกจากนใี นหนงั สอื ไทยรบพมา่ ของสมเด็จพระ
ยาด้ารงชานุภาพกล่าวไว้ว่า ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช มีแม่ทัพชาวกะเหรี่ยงช่ือ สิน ภูมิโลกเพชร และทรง
กลา่ วถงึ เหตกุ ารณ์ท่สี มเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงยกทัพไปตเี มอื งเชียงใหม่ เมือ่ พ.ศ. ๒๒๐๔ ว่า กะเหรีย่ งและละวา้ ท่ี
อยใู่ ต้การปกครองของเมืองเชยี งใหม่ต้องขึนต่อไทยด้วย แสดงให้เห็นวา่ สมัยอยธุ ยาตอนกลางกม็ ีชาวกะเหรี่ยงอาศยั อยู่ใน
ประเทศไทยแลว้

ภาพที่ ๑ (คณะผูจ้ ดั ทา้ )


กะเหรย่ี งในประเทศไทย
กะเหรยี่ งเป็นชาวเขาเผา่ แรกท่อี พยพเข้ามาอาศัยอยใู่ นประเทศไทย และนับเป็นชาวเขาทม่ี จี า้ นวนประชากรมา

ท่ีสุดเม่ือเทียบกับชาวเขาเผ่าอ่ืนๆ กระจายอยู่ใน ๑๖ จังหวัด คือ เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ล้าปาง ล้าพูน แพร่
สุโขทัย ตาก ก้าแพงเพชร อุทัยธานี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี ประจอบคีรีขันธ์ ระนอง และราชบุรี แบ่งตาม
ลักษณะทางวัฒนธรรมเปน็ ๔ เผา่ ไดแ้ ก่

๑.กะเหรย่ี งสะกอ หรอื ปากะญอ จอกอ ชาวไทยภาคเหนือเรียก ยางขาว, ยางดอยส่วนใหญ่อาศัยอยใู่ นจังหวัด
แมฮ่ อ่ งสอนและกระจา่ ยไปทวั่ ตามจังหวัดทางภาคเหนอื ของไทย

๒.กะเหรย่ี งโปวห์ รือปโว กะเหรย่ี งเผา่ นเี รยี กตวั เองว่า โพล่ง หอื กะโพลง่ หรือปากะโญ ชาวไทยเรยี กยางเปียก
ยางน้า

๓.กะเหร่ียงบะเว หรือเบร ชาวไทยเรียกยางแดง ส่วนใหญ่อยใู่ นรฐั กะเร็นนี ในพม่า ในไทยมอี าศยั ประปราย
อยู่ในจังหวัดตาก แม่ฮ่องสอน และเชียงใหม่ กะเหรี่ยงกลุ่มนีมีบทบาทส้าคญั ในสงครามกลางเมืองกับพม่า เพ่ือแยกตัว
ออกมาเปน็ รัฐอสระ

๔.กะเหร่ยี งตองอู หรอื ทีไ่ ทยเรียกตองสู ส่วนใหญอ่ าศยั ในพม่า ทไ่ี ทยพบน้อยมากในจงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน

กะเหรี่ยงในจังหวัดรำชบุรี
จากคา้ บอกเลา่ ของปยู่ า่ ตาทวดทมี่ อี ายุกว่า ๑๐๐ ปี ได้กล่าวไว้วา่ ท่านไดเ้ กิดในพืนทีแ่ ห่งนี ในสมัยกอ่ นนันชาว

กะเหรย่ี งฝงั่ ไทยและฝั่งพมา่ เดินทางข้ามพรมแดนเทือกเขาตะนาวศรไี ปมากนั อยู่บนครัง จนเมือ่ ครังเกิดสงครามโลกครังที่
๒ การแบ่งพรมแดนมีความชันเจนมากขึนจึงท้าให้การข้ามพรมแดนไปมาหาสู่กันนันเป็นไปได้ยาก (ชูศิลป์ ชีช่วง
,สัมภาษณ,์ ๒๕๖๓)

ในจังหวัดราชบุรี มีชาวกะเหร่ียงอาศัยอยู่บริเวณแถบตะวันตกของจังหวัด มีพรมแดนติดกับพม่า ในพืนท่ี ๒
อา้ เภอ คือ อ้าเภอสวนผึง ทต่ี ้าบลบา้ นบงึ ตา้ บลสวนผึง ตา้ บลบา้ นคา และตา้ บลตะนาวศรี ในเขตพนื ที่ปากทอ่ ทีต่ า้ บล
ยางหกั

ส่วนใหญ่กะเหร่ียงเหล่านีเป็นกะเหรี่ยงเผา่ โปว์ ท่ีเดิมทีมีหลักแหลง่ อยู่แถบลุ่มน้าอิรวดี เมื่อประมาณ ๒๐๐ ปี
เศษได้ถูกพม่ารุกรานจึงพากันอพยพข้ามเทือกเขาตะนาวศรีข้ามเข้าเขตชายแดนทางอ้าเภอสังขละ จังหวัดกาญจนบรุ ี
ต่อมาได้แยกย้ายไปอยู่ท่ีจังหวัดราชบุรี สร้างบ้านเรือนครังแรกที่หนองกะเหร่ียง (ปัจจุบันคือ หมู่บ้านนกกะเรียน)
ภายหลังถูกคนไทยรุกรานประกอบกับปญั หาภัยแล้ง จึงพากันอพยพต่อพวกหนงึ่ แยกลงไปทางใต้อย่ตู ามเชงิ เขา ตน้ แม่น้า
เพชรบุรี สว่ นอีกพวกหนึ่งอพยพขึนไปทางตะวนั ตกจนถงึ ล้าน้าภาชี ตังบ้านเรือนอย่ใู นอ้าเภอสวนผงึ มาจนปัจจบุ ัน



ภาพที่ ๒ (คณะผู้จดั ทา้ )

จากการศึกษาข้อมูลพบว่า ชาวกะเหรี่ยงในพืนที่อ้าเภอสวนผึง อ้าเภอปากท่อ และกะเหรี่ยงในพืนที่ทีจ่ ังหวดั
เพชรบรุ ี เป็นกะเหร่ยี งกล่มุ เดยี วกันกบั กลุ่มทีอ่ พยพไปเขตจงั หวัดเพชรบรุ ี และยังมีการตดิ ตอ่ ไปมาหาสู่กนั อยู่เปน็ ประจ้า
โดยเฉพาะชว่ งประเพณีท้าบญุ วัดแจ้ง ในเดือน ๕ และประเพณีกินขา้ วห่อ ในเดือน ๙ ของทุกปี

ชาวกะเหร่ยี งในจงั หวัดราชบรุ ี จัดเป็นกะเหรย่ี งประเภท “ยางน้า”(วรี ะวชั ร์ สา้ ราญจติ ต์) นิยมตังถ่นิ ฐานที่อยู่
อาศัยตามท่ีราบในหุบเขาหรอื ระหว่างหุบเขา การตังถิ่นฐานเป็นหลกั แหล่งเปน็ ชุมชน ไม่ชอบอพยพโยกย้าย บ้านเรือน
ของชาวกะเหรย่ี งดังเดมิ มักเป็นใต้ถนุ สงู มุงหลงั คาดว้ ยหญ้าคา หรอื ใบกระพอ้ พืนปดู ้วยฟาก เสาไมป้ อกเปลอื ก ฝาไม้ไผ่
สับเป็นฟาก ปิดกันห้องไว้ห้อง ส้าหรับลูกสาว มีระเบียงไม้ไผ่ท้าเป็นลูกกรงส้าหรับเป็นท่ีรับแขก มุมหน่ึงเป็นห้องครัว
สา้ หรบั ห้องครัวจะทา้ ลดขนั ลงมาต้า่ กว่าระเบียงและห้องนอน อย่างไหรก่ ็ตามเมอ่ื ตงั หลักแหล่งอยา่ งถาวรชาวกะเหรี่ยงก็
จะสรา้ งบ้านให้มน่ั คงมากขึน ด้วยความรักในธรรมชาติและความสงบ ในบริเวณหมู่บา้ นของชาวกะเหรี่ยงจึงเต็มไปด้วย
ต้นขนาดใหญ่และมีสภาพคล้ายบ้านสวน ท่ีมักจะปลูกต้นมะม่วง มะพร้าว หมาก กล้วย อ้อยและส้มโอ ไว้ส้าหรับ
รับประทานในครัวเรอื น และหมู่บ้าน

ภาพท่ี ๓ (คณะผจู้ ดั ท้า) ภาพท่ี ๔ (คณะผู้จัดทา้ )



ภาพที่ ๕ (คนราชบุร)ี

กะเหรีย่ งราชบุรไี มต่ า่ งจากชาวไทยท่ัวๆ ไป ในความเป็นจรงิ ในประเทศไทยมกี ะเหร่ยี งอยู่หลายท้องถ่ิน แม้ได้
ชื่อว่าเป็นชาวกะเหรยี่ งเชน่ เดียวกันกต็ ามแต่การแต่งกายตามวัฒนธรรมไมเ่ ป็นรปู แบบเดียวกัน เช่น หญิงกะเหวี่ยงโปท่ี
อ้าเภอแมส่ ะเรยี ง จงั หวัดแม่ฮ่องสอน มกั โพกผา้ เขยี ว น่งุ ผ้าถงุ แดง สวมก้าไลทองเหลืองหลายๆ วงและแตง่ กายเช่นนีใน
ชีวิตประจ้าวนั แต่กะเหร่ียงราชบุรีนีมคี วามใกล้ชิดกบั ชาวไทยทอ้ งถิ่นอื่นๆ มาก ถา้ ไมม่ เี ทศกาลหรอื งานพิธีส้าคญั จะไม่
พบเหน็ การแตง่ กายตามแบบวฒั นธรรมเดิมบอ่ ยนัก

สว่ นรปู แบบการแต่งกายทถ่ี ือได้ว่าเป็นลักษณะเฉพาะของชาวกะเหร่ียงราชบรุ ี คือหญิงจะสวมเสอื สีนา้ เงนิ หรือ
สีคราม มีลายสีขาว ชมพู เหลือง ส้มหรือสีแดง ตามที่เห็นว่าสวยงามปักแทรกในแนวตังบรเิ วณบา่ และต้นแขน หน้าอก
เสอื ปักรปู วงกลม ตรงกลางวงกลมปักเดินเส้นสีตา่ งๆ คล้ายเป็นประกายออกจากศูนยก์ ลางวงกลม ตัวเสอื ยาวเกอื บถงึ เข่า
และนุ่งซ่นิ ลายแทรกแนวนอนตีนซ่ินสูงเหนอื ตาตมุ่ เลก็ น้อย ส่วนเด็กหญิงมีเสือผ้าบอกสถานภาพผู้สวมใส่ท่อี ายยุ ังไม่ถึง
๑๕ ปี คือนุ่งชุดซึ่งเป็นทังเสือและซ่ินในตัวเดียวกันยาวกรอมเข่า ชุดนีท้าด้วยผ้าฝ้ายสีขาว กุ๊นแขนและขอบคอสีแดง
ส่วนล่างปล่อยให้เป็นชายครยุ หรือปกั เดินเส้นด้วยด้ายสีแดง บางคนอาจน้าลูกปัดมาร้อยท่ีอกเสือเพ่ือเพิ่มการแต่งกาย
ของชายจะสวมเสอื ผ้าฝ้ายตัวใหญ่หลวมๆ คอกลม แขนยาวสามส่วน ผ่าอก มีกระดุมหรือใช้เนือเดียวกับเสือท้าสายผูก
แทนกระดมุ โพกหัวดว้ ยผ้าซิ่นโดยรวบขมวดให้เป็นปมเชดิ เหนือหน้าผากโจงกระเบนด้วยผ้าสีพืน เช่น ม่วง เทา นา้ ตาล
เป็นต้นการแต่งกายด้วยรูปแบบเช่นนี โดยเฉพาะการนุ่งผ้าม่วงหรือโจงกระเบน น่าจะเป็นรูปแบบหน่ึงของผู้มีศกั ด์ิชาว
กะเหรี่ยงที่เคยได้รับพระราชทานบรรดาศกั ด์ิ ถือว่าเป็นขุนนางของราชส้านักสยาม แต่ยังคงลักษณะเด่นเป็นวัฒนธรรม
กะเหรีย่ งราชบุรี คอื ผ้าโพกศรี ษะ ขมวดปมเหนือหนา้ ผาก เหมือนนอแรด หากเป็นผู้นา้ ชายชาวกะเหรีย่ งไวผ้ มยาวแล้ว
ขมวดปมไว้เหนือหนา้ ผากแทนการโพกผ้า

การน่งุ โจงกระเบนของชาวกะเหร่ยี ง สนั นษิ ฐานวา่ เป็นรูปแบบของผู้มีบรรดาศักดเิ์ ท่านัน ไม่ใชก่ ารแตง่ กายอัน
เปน็ เคร่ืองหมายบง่ บอกชาตพิ นั ธก์ ะเหร่ยี งแตอ่ ยา่ งใด(วรี ะพงศ์ มีสถาน,คนราชบุร,ี ๒๕๕๐)



วันเวลาเปลี่ยนไป วิถีชีวิตความเป็นอยู่และการรับวัฒนธรรมก็เปล่ียนตาม การแต่งการของชาวกะเหร่ียง
ราชบุรีก็ไม่ต่างจากการแต่งกายตามสมัยนิยมทั่วๆไปของคนไทย แต่จะยังมีแต่งตามแบบวัฒนธรรมกะเหร่ียงก็ต่อเม่ือมี
ประเพณีส้าคญั เทา่ นัน เช่น งานประเพณผี ูกแบนเรียกขวญั (กนิ ขา้ วหอ่ ) ,งานประเพณบี ูชาสงิ่ ศกั ด์สิ ทิ ธิ์ประจ้าหมูบ่ า้ น

ภำษำ
ภาษาของกะเหร่ยี งจัดอยู่ในตระกูลภาษาจนี -ธิเบต คือกลุ่มกาเรน็ นิค แต่บางท่านว่ามีความใกลเ้ คยี งกับแขนง

ของ ธเิ บต -พม่า ภาษาของกะเหร่ียงสะคอโปว์ และบเว มีความใกลเ้ คียงกันแตก่ ไ็ ม่สามารถข้ากนั ได้ และเป็นท่สี ังเกตว่า
ภาษากะเหรี่ยงสะกอ และกะเหรี่ยงโปว์ ส่วนตัวหนังสือกล่าวกันว่ากะเหร่ียงไม่มีตัวหนังสือใช้เป็นของตัวเอง แต่อาศัย
ตวั หนงั สือของถิ่นทเี่ ข้าไปอาศัยอยู่ใช้เป็นภาษาของตัวเองจงึ พบว่าตัวหนังสือของกะเหรยี งทีใ่ ช้อยปู่ ระเทศไทย คล้ายกับ
ตัวหนังสือของพม่า และมอญ แต่อย่างไรก็ดี ชาวกะเหร่ียงยังพวกตนมีตัวหนังสือเป็นของตนอง เพราะสืบเน่ืองมาจาก
ต้านานของชาวกะเหรีย่ งทเี่ ลา่ ตอ่ กนั มาว่า พระเจ้าได้พระราชทานหนังสือท่ีจารกึ บนแผน่ หนังมาใหก้ ะเหรีย่ งซ่งึ เป็นลูกคน
โตในพี่นอ้ ง๗ คน กะเหรีย่ งเป็นคนซื่อและขยันขันแข็ง รับหนังสือมาก็ไม่ไดส้ นใจวางไวบ้ นตนั ไม้ และท้างานตอ่ ไป ฝรง่ั ซึ่ง
เป็นคนสุดท้องมาพบเข้าจึงลอกใส่แผ่นเงินแผน่ ทองไป ส่วนหนังสือในแผน่ หนัง ถูกมด ปลวกกัดกินและไก่เข้าไปคุ้ยเข่ีย
กะเหรี่ยงท้างานจนเย็นจึงกลบั มาเอาหนังสือ พบรอยไก่เขี่ยเข้าใจว่าเปน็ ตัวหนังสือจึงน้าไปใช้ เรียกตัวหนังสือนีว่า “ไล
ชง่ั วิ” (กรมศิลปากร,๒๕๓๔)

อำชพี
ชาวกะเหร่ียงเม่ือกอ่ นนันด้าเนินชวี ิตด้วยอาชีพ ท้าไร่ แบบหมุนเวียน ซึ่งเป็นวิธีการท่ีชานฉลาด จากความคดิ

ของนักอนุรักษ์ธรรมชาตินีเพราะการท้าไรแ่ บบหมุนเวียนนอกจากจะไม่เป็นการท้าลายทรพั ยากรธรรมชาติมากเกินไป
แล้ว ยังเป็นการรักษาสภาพดินไม่ให้เส่ือมไปได้โดยเร็วอีกด้วย นอกจากนี ผู้ชายชาวกะเหร่ียงยังมีความสามารถความ
ชา้ นาญพเิ ศษในการล่าสัตวด์ ้วยหนา้ ไม้ ปืนแก๊ป หาของปา่ และตผี งึ ความสามารถเหลา่ นจี ึงเปน็ ชอ่ งทางในการหารายได้
เสรมิ ไดด้ ี โดนเฉพาะการขายน้าผงึ จากการตีผงึ ส่วนผหู้ ญงิ ก็ทา้ งานบ้าน ทอผา้ ใช้เอง

อาชีพหลักในปัจจุบันที่ชาวกะเหร่ียงแท้และกะเหร่ียงผสมยึดอาชีพรับจ้างเป็นอาชีพหลัก เน่ืองจากปัญญา
เกี่ยวกับที่ท้ากิน ส่วนกะเหร่ียงที่มีที่ดินเป็นของตัวเองก็จะท้าการเกษตรเชิงเดี่ยว เช่น ปลูกสัปปะรด(ชูศิลป์ ชีช่วง
,สมั ภาษณ์,๒๕๖๓)



ภาพที่ ๖ (http://phukhaopost.com) ภาพที่ ๗ (หนังสือคนราชบรุ ี)

ควำมเชอื่ ของชำวกะเหรยี่ ง

ชาวกะเหรย่ี งแตเ่ ดิมแล้วนับถอื พุทธไสย ลทั ธิบชู า ผีสาง เทวดา เช่น เชือ่ วา่ ผีสามารถมาเจา้ ไปทา้ อันตรายคนใน

หมบู่ า้ นหรอื ครอบครัวได้ จงึ ต้องใชไ้ กเ่ ปน็ เคร่ืองเซ่นบชู าปากทางเขา้ หมบู่ ้าน เพื่อให้ผมี ากินจะไดไ้ ม่เข้าไปทา้ อนั ตรายคน

ในหมู่บา้ น นอกจากนียังมีเชอ่ื เร่ืองของ ผไี ร่ ผีปา่ ผเี ขา และเร่ืองไสยศาสตร์ ปล่อยผี ปล่อยคุณ เสกหนัง เสกตะปู เข้า

ท้องผอู้ นื่ ถงึ ตายได้ ตอ่ มาความเชื่อนี่ไดค้ ลค่ี ลายลงและหนั มานบั ถือศาสนาพุทธและศาสนาคริสตม์ ากขนึ

ความเช่ือในศาสนาพุทธของชาวกะเหร่ียงในจังหวัดราชบรุ ี มีลักษณะเป็นความศรทั ธาเลื่อมใส แม้จะไม่เข้าใจ

ในหลกั ธรรมค้าสอนอย่างลึกซึงมากหนัก ชาวกะเหรี่ยงนิยมเพียงการท้าบตุ รตกั บาตร กราบพระ ไหวพ้ ระ หรอื บวชพระ

บวชเณร ส่วนใหญ่แล้วนัน การบวชของชาวกะเหรย่ี งเป็นพียงการบวชเพ่ือแก้บน ในหมู่บ้านกะเหร่ียง จึงมีเพียงส้านัก

สงฆ์แคไ่ ม่กีร่ ูปเท่านัน

ประเพณี

ประเพณีและวัฒนธรรมในสมัยก่อนมีความเคร่งครัด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการถือศีล การไหว้พระ การให้ความ
เคารพกันในครอบครัว แต่ในปัจจุบันก็ค่อยๆเลือนหายไป งานประเพณีท่ีส้าคัญของชาวกะเหรี่ยงที่บุคคลภายนอก
สามารถเข้าไปเย่ียมเยือนชุมชนชาวกะเหรี่ยง ได้แก่ งานประเพณีผูกแขนเรียกขวัญ (กินข้าวห่อ), งานประเพณีบูชาสิง่
ศกั ด์สิ ิทธป์ิ ระจา้ หมู่บ้าน เป็นตน้

ประเพณีผูกแขนเรยี กขวญั (กนิ ขา้ วหอ่ )
ประเพณีการกนิ ขา้ วหอ่ หรอื ประเพณีเดือน ๙ เป็นประเพณอี นั ดีงามท่ีชาวกะเหรยี่ งในจงั หวัดราชบรุ ี และชาว
ประจวบครี ขี ันธ์ ยังปฏิบัติสบื ตอ่ กันมาเปน็ ประจา้ ทกุ ปี นบั เปน็ มรดกทางวฒั นธรรมอันควรคา่ ส่งิ หนึง่ ทคี่ วรอนรุ ักษ์
ประเพณีกินข้าวของชาวกะเหรี่ยงจะเรม่ิ ในเดือน “หล่าค่อก” หรือเดือนเก้าของทุกปี ซึ่งเป็นระยะที่ชาวกะเหรี่ยงเสรจ็
จากการเพาะปลูก แต่ยังไม่เก็บเกีย่ ว กะเหรี่ยงเช่อื ว่าเดือนหลา่ คอ่ กนไี ม่ดี เปน็ เดือนที่ภูตผปี ศี าจจะออกหากิน โดยเฉพาะ
ขวญั ของชาวกะเหร่ียงที่ไม่อยู่กบั เจา้ ของและเม่อื ขวัญของใครถูกภูตผจี บั กิน เจ้าของขวัญกจ็ ะเกิดอาการเจ็บป่วยจนตาย
ได้



ภาพที่ ๘ (https://pratiphan1000.wordpress.com) ภาพที่ ๙ (https://apichonsite.wordpress.com)
ก่อนถึงวันกินข้าวห่อ กะเหรี่ยงทุกครอบครัวต้องจัดเตรียมสิ่งของเครื่องใช้ท่จี ้าเป็นในบ้าน เช่น ข้าวสาร น้า

ฟนื ที่ใช้ปรุงอาหารเตรยี มไว้ให้พรอ้ ม เพราะเม่อื ถึงในชว่ งวนั กนิ ข้าวหอ่ (๕-๗ วนั ) จะหยุดทา้ งานทกุ อย่าง เพอื่ เท่ียวละไป
เย่ียมเยือนกะเหรี่ยงบ้านอ่ืน ๆ ก่อนถึงวันกินข้าวห่อ ๑ วัน ตอนเช้าสมาชิกในครัวเรือนจะช่วยกันท้าข้าวห่อ คือข้าว
เหนียวที่ห่อเป็นรูปทรงกรวยด้วยใบตองหรือใบไผ่ และต้มจนสุก ท้าน้าจิมคือมะพร้าวเคี่ยวกับน้าตาล (หน้ากะฉีก) แต่
ก่อนใช้จมิ น้าผงึ ตกตอนเย็นทงั หมบู่ า้ นจะยิงปนื ขึนฟ้า เคาะปบี ตีกะลา เพอื่ เรียกขวญั ของตนใหก้ ลบั มา คือนสี มาชิกของ
ครอบครัวทุกคนจะตอ้ งพรอ้ มหนา้ กันทกุ คน และเปิดประตู หนา้ ต่างทุกบานไว้รอรับขวัญของตนท่ีจะกลับมา ทเ่ี หนือหัว
นอนจัดเตรียมส้าหรับขวัญของตน ส้าหรับก็คือกระด้งหรือถาดใส่ข้าวห่อ น้าจิม กล้วยอ้อย ดอกดาวเรือง สร้อยขวัญ
ก้าไลเงิน และด้ายแดงพอเช้าตรู่ กะเหรี่ยงก็ยิงปืนแบบตอนเย็นอีกครัง เพราะเกรงว่าขวัญท่ีอยู่ไกล ๆ จะไม่ได้ยินหรือ
กลบั มาไมถ่ ึง จงึ เรยี กอีกครงั จากนันจะใชด้ ้ายแดงผูกมอื ของกนั และกนั เรียก “ขวญั ” และกก็ ินข้าวห่อพรอ้ มกนั แตก่ ่อน
ชาวกะเหรีย่ งจะปลกู ปะล้าพิธที ่ีใช้กินข้าวห่อที่กลางหมบู่ ้านทุกคนจะมากินข้าวหอ่ พร้อมกนั ผู้ใหญจ่ ะผูกข้อมือลูกหลาน
ด้วยด้ายแดง ชายหนุ่มหญิงสาวก็จะป้อนข้าวให้กันและกัน มีการละเล่นดนตรี ร้องเพลงเกียวพาราสีเป็นท่ีสนุกสนาน
เสร็จแลว้ แตล่ ะครอบครัวกจ็ ะออกไปเย่ียมเยือนรว่ มรับประทานอาหารกับครอบครัวอ่นื ที่คอยเตรยี มต้อนรับนอกจากนียัง
มชี าวกะเหรีย่ งจากบ้านอ่ืนไกล ๆ ในเขตจังหวดั ราชบรุ ี เพชรบุรี และประจวบครี ขี ันธ์ มาร่วมกินขา้ วห่อด้วย การกนิ ข้าว
ห่อของแต่ละหมู่บ้านจะจัดไม่ให้ตรงกัน เพ่ือจะได้มีการแลกเปล่ียนกันไป กินข้าวของกันและกัน เป็นการผลัดกันเยี่ยม
เยอื น

ภาพท่ี ๑๐ (https://www.youtube.com/watch)



งำนประเพณบี ูชำสง่ิ ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ประจำหมูบ่ ำ้ น

ดว้ ยความเชือ่ ถึงคณุ ค่าของตน้ ไมท้ ี่มาตงั แต่สมยั บรรพบรุ ษุ ทว่ี ่า ตน้ ไมใ้ หญ่นนั ล้วนมรี กุ ขเทวดาอย่ปู ระจา้ ทังสิน
ดังนันในชุมชนกะเหรี่ยงจึงมักก้าหนดเอาต้นไม้ใหญ่โดยไม่เจาะจงเป็นต้นประธานในการประกอบพิธีบูชา แต่เลือกเอา
เฉพาะตน้ ไม้ทอ่ี ยู่ตะวันออกของหมู่บ้าน ก้าหนดใหม้ ขี นึ ในเดือน ๖ (จันทรคต)ิ ของทุกปี โดยมผี ู้นา้ ทา้ พิธี (เซ้ยคู)้ กล่าว
อัญเชิญเทพยดารุกขเทวดา ให้มารับสิ่งของที่บรรดาชาวบ้านน้ามาบวงสรวง และขอดลบันดาลให้ฝนฟ้าตกต้องตาม
ฤดูกาล เมื่อเสร็จพิธี ก็น้าอาหารที่ถวายแบ่งกันทานตามความเช่อื แล้วเพ่ือเป็นศริ ิมงคลแคต่ นและคนในครอบครัว และ
คนในชุมชนกะเหรย่ี ง

จากการศึกษากลุ่มชนชาติพันธ์ชาวกะเหร่ียงนักอนุรักษ์ธรรมชาติ ที่มีทังความเชื่อ ศรัทธา ต่อผีสางและ
ธรรมชาติ มวี ถิ ชี วี ติ ทเ่ี รียบงา่ ยไม่เปลย่ี นแปลงไปตามยคุ สังคมในปจั จบุ ันแต่กไ็ ม่ลา้ หลงั จนตามไม่ทนั เชน่ กัน ชาวกะเหร่ยี ง
มีหลากหลายเผา่ พนั ธ์ มีภาษาพูดทผี่ ิดเพยี นต่างกันออกไปแตป่ ระเพณแี ละวัฒนธรรมความเช่อื นันยงั คงใกล้เคียงกัน จาก
การค้นคว้าขอมูลเก่ียวกับกะเหรีย่ งสวนผึงนันมี พบว่าเอกลักษณ์บางอย่างก้าลังเลือนหายไปนันคือการตีผงึ ที่เป็นที่มา
ของค้าว่ากะเหรย่ี งตีผึงสืบเนืองจาก หมอผึงและหมอดิน ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนีได้ลดน้อยลง คณะผู้จดั ท้าจงึ ได้เลง็ เห็นถงึ
ความส้าคัญของกลุ่มชาติพันธ์กลุ่มนี จึงได้น้าเอาเอกลักษณ์ กระบวนการตีผึง ท่ีมีมาวิเคราะห์พัฒนาสร้างสรรค์ชุดการ
แสดงนาฏศิลปไ์ ทย ชุด “หมา่ นี่ หรอื กะเหรยี่ งตผี ึง” ตอ่ ไป



บทที่ ๒ แนวคดิ กำรแสดง

ที่มำของแนวควำมคิด

จากวิถีชีวิตชาวกะเหร่ยี งราชบุรี ที่มีวิถีชีวิตอยู่กับธรรมชาติ และหาของป่าโดยเฉพาะการตีผงึ หรอื หาผึงของ
ชาวกะเหร่ยี งราชบุรีซึง่ เหลือเพียงแหง่ เดียวทมี่ ีวิธีการหาผงึ แบบตอกทอยปนี ต้นไม้ ประโยชน์ของผงึ มมี ากมาย ตังแตช่ ่วย
ผสมเกสร น้าผึงน้ามาเป็นอาหารและยา ขีผึงน้ามาใช้เป็นเทียนให้แสงสว่างและใชท้ ้ายา นอกจากนีประเพณสี ้าคัญของ
ชาวกะเหรียงคอื การน้าน้าผงึ มาถวายพระ จากแนวคดิ ดังกล่าวจึงเป็นท่มี าของการคิดชุดการแสดง ชดุ หม่า นี่ (กะเหร่ียง
ตผี งึ )

หม่านี่ เป็นระร้าหมู่ประกอบด้วยชาย 4 คน หญิง 4 คน โดยขันตอนชายหนุ่มออกไปหาน้าผึงกลุ่มหญิงสาว
แต่งตัวเปน็ ผึงโดยใช้ทา่ ทางและสญั ลักษณ์ทา่ ทาง และมีทา่ ทางชายหนุ่มถกู ผึงตอ่ ยด้วยความสนุกสนาน เมอ่ื ไดน้ า้ ผึงรังผงึ
มาแล้ว มคี วามรื่นเริงดีใจนา้ มารว่ มกนั นา้ น้าผงึ มาท้าบุญและร่ายรา้ กบั หญงิ สาวด้วยท่าร้าตง แบบกะเหร่ยี ง

จำกกำรสมั ภำษณ์และกำรหำข้อมูล

คุณชูศิลป์ มีช่วง ผู้ใหญ่บ้านโป่งกระทิงได้เลา่ ให้ฟังว่า “ปัจจุบัน การตีผึงของชาวกะเหร่ียงนัน ได้ลดน้อยลง
แทบจะไมม่ กี ารตผี ึงแล้ว ในการตีผงึ แต่ละครังตอ้ งมที ังหมอผึงและหมอดนิ เป็นคนตี ผึงทตี่ เี ปน็ ผึงธรรมชาติ เรยี กวา่ “ผึง
หลวง”ตน้ ผึงแต่ละต้นจะมเี จา้ ของโดยท่ีชาวกะเหร่ียงจะรับร้กู นั วา่ ต้นนี่เป็นของบ้านไหน เรยี กวา่ เปน็ ต้นผงึ ประจ้าตระกูล
กันเลยก็วา่ ได้ อยา่ งท่ีกลา่ วไว้ว่าในการตผี ึงตอ้ งอาศยั หมอผงึ และหมอดินผู้ท่มี ีความช้านาญและหมอทงั สองในปัจจุบันนีก็
เหลือน้อยแล้ว ในการตีผึงมีขึนตอนหลายขึนตอน ตังแต่การไว้ขอขมาต้นผึง ซ่ึงเชื่อกันว่าต้นผึงจะมีนางไม้ท่ีเป็นผหู้ ญิง
คอยปกปักษร์ ักษา การตอกคอย ไวใ้ ช้เปน็ บันไดในการขึนต้นผงึ และการเก็บน้าผงึ ยังไงเพ่ือไม่เป็นการท้าลายรงั ผงึ ชาว
กะเหรี่ยงในสมัยกอ่ นไมน่ ิยมน้าเอารงั ตัวอ่อนลงมา นอกเสียจากว่าต้องการที่จะกินตัวอ่อนของผึงจรงิ ๆ เพื่อนเป็นการ
ถนอมรังไว้ใหต้ ัวผงึ งานได้กลับไปสร้างนา้ หวานต่อไป”(สมั ภาษณ,์ ๒๕๖๓)

กะเหรยี่ งตีผ้ึง
ท่ี อ.สวนผึง มีชุมชนกะเหรี่ยงอยู่คอ่ นข้างหนาแน่น เม่ือเปรียบเทียบกับ อ้าเภออื่นๆ ของ จ.ราชบุรี และมี
ต้นไมช้ นิดหนึง่ ทีค่ ล้ายกบั ชือ่ ของอ้าเภอสวนผงึ ชาวบ้านเรยี กท่วั ไปว่า "ตน้ ผึง" จงึ อาจเป็นไปได้ว่า เรยี กตามสภาพที่ผึงมา
สร้างรัง การจะได้น้าผึงมารับประทาน หรือน้าน้าผึงไปแลกเปล่ียนส่ิงของกับผู้คนถิ่นอ่ืนๆ ชาวกะเหร่ียงราชบุรีมีภูมิ
ปัญญาเก็บเอาน้าผงึ อยูบ่ นคาคบไม้ท่ีสงู ขนาดแหงนคอตงั บา่ ได้อย่างชาญฉลาด ประกอบกับความเด็ดเดี่ยวใจกลา้ บวกกบั
ความทีม่ จี ิตนอบน้อมในธรรมชาติ ดงั นนั เมอ่ื กลา่ วถึงการตีผึง จงึ ต้องนึกถึงชาวกะเหรีย่ งเปน็ ลา้ ดบั ตน้ ๆ
เมอื่ หมายตาวา่ จะเก็บนา้ ผึงท่ที า้ รงั บนกง่ิ ไม้จากตน้ ใด หมอผึงหรือผนู้ ้าในการตผี งึ จะน้าพรรคพวกไปตอกทอย
เตรียมไว้ในช่วงเย็น หากบริเวณโคนต้นไมม้ ีเถาวัลย์หรือพงหนาม จะต้องถางให้เปน็ เวงิ พอที่จะเข้าหรือออกไดส้ ะดวก



กอ่ นจะเรมิ่ ตอกทอย ผู้ตอกจะนง่ั ยอง ประนมมอื กลา่ วขอขมาแม่นางไม้ท่ีตนต้องตอกทอยลงไป และขอใหแ้ ม่นางไม้หนุน
น้าใหก้ ารตอกทอยสา้ เร็จด้วยดี

ภาพที่ ๑๑ (คณะผู้จัดท้า)
ผ้ตู อกทอยจะเตรยี มทอย (ถา่ เล)่ ใสย่ ามสะพายขนึ ไปพร้อมกับค้อนตอกทอย (จะค่งึ ) การตอกทอยดอกแรก
จะตอกตงั แต่ระดับท่ขี าก้าวจากพนื ดินไดพ้ อดี แล้วตอกสูงขนึ หากจากระยะเดิมสูงประมาณศอกเศษขึนไปเรื่อยๆ จนใกล้
กบั รงั ผึง
วิธกี ารตอกทอย ใชม้ ือขา้ งหน่งึ จบั ทอยระดับไหลเ่ อาไว้ สว่ นมืออีกขา้ งก้าทอยให้แน่นแลว้ กระแทกใหฝ้ ังลงไป
ในเปลือกไม้ พอทที่ อยจะตรงึ อยู่ได้ ตอ่ จากนันมือข้างเดิมจงึ หยิบคอ้ นแล้วตที อยเพ่อื ใหท้ อยฝงั ลึกลงตรึงแน่น พอเพียงที่
จะรบั นา้ หนักคนได้ ท้าเชน่ นเี รอื่ ยๆ ไป
มกี ารสอนยา้ อยา่ งหนกั แน่นว่า ห้ามมใิ หใ้ ชท้ อยเดมิ ที่เคยมีผูต้ อกไว้แล้ว เพราะความแขง็ แรงทนทานของทอย
จะคาดคะเนด้วยตาไม่ได้ จึงตอ้ งใช้ค้อนตอ่ ยใหห้ ัก แล้วให้ตอกทอยดอกใหมใ่ นบริเวณและระยะท่ีเหมาะสม ห้ามตอกซ้า
รอยเดมิ
ข้อปฏิบตั ิอกี หลายประการทม่ี ไิ ด้ตราไวเ้ ปน็ ลายลกั ษณ์อักษร แตไ่ ดบ้ อกสอนกนั มาวา่ ห้ามตผี ึงในวนั พระและ
ในรอบหน่งึ ปี มีฤดตู ผี ึงได้ ๒ เดือน คอื เดอื น ๕ เป็นชว่ งท่ีนา้ ผงึ มรี สหวานเป็นพเิ ศษ และจะตอี ีกครังในเดอื น ๙ ซ่งึ การมี
ข้อปฏบิ ัติและระยะเวลาตผี ึงเชน่ นี ทา้ ให้ผึงได้มีโอกาสไดข้ ยายพนั ธุ์
ขน้ั ตอนกำรเก็บน้ำผง้ึ
หลังตอกทอยไว้ตอนเย็น ต้องรอให้ฟ้ามืดสนิทประมาณ ๑ ทุ่ม ถ้าเป็นวันข้างขึนเดือนหงายจะต้องรอเวลาให้
เดือนตก แต่โดยธรรมเนียมปฏิบตั ิแล้ว ชาวกะเหรี่ยงไมน่ ิยมตีผึงในเวลาข้างขึน แต่เลือกเอาวันข้างแรม เมื่อดวงอาทิตย์
ตกไม่นาน ท้องฟ้าก็จะมืด เพราะต้องตีผงึ ในเวลาฟ้ามืดเท่านัน ก่อนปีนต้นไม้ หมอผึงไหว้สักการะแมน่ างไม้อกี ครังหนึ่ง
ว่าจะไปขอเก็บนา้ ผึงข้างบน ขอแมน่ างไม้ไดโ้ ปรดคา้ ชู อย่าให้พลดั ตกลงมา
หมอผึงใช้เชือก (เถาวัลยห์ รือหวายก็ได้) ผกู ปบ๊ี แล้วสะพายปบี๊ ไว้ท่ีบ่าขา้ งใดข้างหนงึ่ หรือถอื ปลายเชือกอีกข้าง
หน่งึ แล้วเหยยี บทอยไต่ขึนไป พร้อมกับฟอ่ นคบเพลิงทีเ่ ตรยี มไหว้ เม่อื ไปใกล้รังผงึ หมอผึงจะจดุ คบเพลิง(กาโม)่ ซงึ่ มัดเป็น
ฟ่อนเหมือนไม้กวาดทางมะพรา้ ว แต่มัดหลายเปลาะ ปล่อยให้ส่วนปลายบานชีกางออกคบเพลงิ นี ท้าจากกาบมะพร้าว
แห้ง หรือเถารางจดื หรือเถาหมูป่าก็ได้ เพราะมีคุณสมบัตไิ ม่ตดิ ไฟเป็นเปลวเพลิง แต่ตดิ ไฟคุแดงคล้ายไฟปลายธูป สว่ นท่ี

๑๐

ติดไฟแดงนีเปราะ เม่ือถูกกระแทกหรือกระเทือนก็จะหักโดยง่าย แต่เศษไฟที่เหลือก็จะลามปลายไม้เข้ามาใหม่เร่ือยๆ
ด้วยภมู ริ นู้ เี อง ชาวกะเหรี่ยงจึงน้าไม้ดงั กลา่ ว มาท้าคบเพลิงตีผึง

หมอผึงใช้ด้านข้างของฟ่อนคบเพลงิ กวาดท่ีรังผึง ซ่ึงมีผึงจับหุ้มโดยรอบ ท้าให้ปลายของซี่คบเพลิงท่ีติดไฟแดง
แตล่ ะซี่นนั หกั และรว่ งกราวลงเบืองลา่ ง บรรดาผึงเมอ่ื เห็นแสงไฟ ก็จะบนิ ตามสะเกด็ ไฟไปทันที หมอผงึ กวาดรังผึงครังใด
ปลายคบเพลิงก็จะหักและร่วงพลูลงทุกครัง ผึงที่เหลืออยู่ก็จะบินตามไฟลงไปทุกครงั เช่นกัน เม่ือผึงเกือบทังหมดบินไป
ตามแสงไฟ จึงเหลือเพยี งรังผึงและหัวน้าหวาน หมอผงึ รวบใส่ปี๊บทเ่ี ตรยี มไวอ้ ย่างรวดเรว็ ขนั ตอนนหี มอผงึ มโี อกาสถูกผึง
ต่อยไดง้ า่ ย หมอผงึ บางคนถกู ผึงตอ่ ยจนตวั ชาหรือตกต้นไม้จนเสยี ชีวติ กม็ ี

อนึ่ง ขณะที่ไต่ขึนไปเกบ็ น้าหวาน หมอผงึ จะรอ้ งเพลงกะเหรี่ยง เช่ือว่าเปน็ การกลอ่ มแมน่ างไม้ให้เคลิบเคลิม ไม่
ท้าอันตราย หรือผลกั ให้ตกตน้ ไม้
ความรอู้ ีกอยา่ งหนงึ่ คอื ถ้ามผี ึงหลายรงั ทตี่ น้ ไม้เดียวกัน จะเลอื กตัวผึงจากรงั บนก่อน เพราะขณะที่ตีรังบนสะเก็ดไฟจาก
คบเพลงิ จะรว่ งลงมา ผงึ ทอี่ ยรู่ งั ลา่ งจะบินตามไฟไปด้วยเช่นกนั ท้าให้ทุ่นเวลาในการกวาดเขยี่ ผงึ รงั ทีอ่ ยู่เบอื งล่าง

นอกจากนี ชาวกะเหรีย่ งสอนกันไว้ว่า ขณะที่ตีผึง ห้ามพรรคพวกที่อยู่ข้างล่างก่อไฟ ฉายไฟ แม้กระท่งั สูบบุหร่ี
เพราะแสงไฟในยามมืด จะเป็นช่องทางให้ผึงบินไปหาและต่อยคนใกลต้ ้นก้าเนิดไฟได้ ย่ิงถ้าเป็นกองไฟทีเ่ ป็นเปลวเพลงิ
ผงึ จะบินเข้ากองไฟและตายในทนั ที (กระเหรี่ยงตผี งึ ,คนราชบุรี,๒๕๕๐)

ภาพท่ี ๑๒ (กระเหรี่ยงตีผึง. คนราชบรุ ี) ภาพท่ี ๑๓ (https://www.bloggang.com/m/viewdiary.php?id)

๑๑

รปู แบบกำรปฏบิ ตั ิงำน

กนั ยายน

รายละเอยี ดการทา้ วิจัย สปั ดาห์ท่ี ๑ สปั ดาหท์ ่ี ๒ สปั ดาห์ท่ี ๓ สัปดาหท์ ่ี ๔
เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสาร
ลงพนื ท/ี่ เกบ็ ข้อมลู สมั ภาษณ์
ดา้ เนินงานการผลิต
Focus Group ครงั ที่ ๑
ดา้ เนนิ การแก้ไขปรับปรงุ
ลงพนื ทถ่ี า่ ยทอดท่ารา้

คำแนะนำจำกกรรมกำรชำวกะเหร่ียง

ขอ้ เสนอแนะจากคุณชศู ิลป์ มีชว่ ง ผู้ให้บ้านบ้านโปง่ กระทิงตวั แทนชาติพนั ธ์ุ ไดใ้ ห้ข้อเสนอแนะว่า : เรอื่ งของ
การแต่งกาย ทางเราเขา้ ใจว่าอยากจะส่ือถงึ ความเป็นไทยกะเหร่ียง การนา้ การเต้น มนั นา่ สนใจ แนวคิดต่างๆ ออกมาดี
การส่ือการตีผึง อยากให้มีอุปกรณ์ท่ีเรียกว่า "กาโม่" ท่ีจุดไล่ผึงด้วยสะเก็ดไฟ เพราะถ้าเราให้เด็กไปแสดงต่อหรือรบั ช่วง
ต่อไป เราอาจจะแต่งเติมเข้าไป ส่วนเรื่องเครื่องแต่งกายไม่เป็นไร เพราะถ้าไปแสดงสามารถใช้ชุดของเด็ กได้ท่ีถูกต้อง
ส่วนอุปกรณ์สวยงามดแี ล้ว

คำแนะนำจำกผู้ส่งคณุ วฒุ ิ ทำงดำ้ นกำรออกแบบงำนแสดง

นางรัตนา พวงประยงค์ ศิลปนิ แหง่ ชาติ สาขาการแสดงได้ใหค้ วามคดิ เห็นวา่ ช่ืนชอบในการแสดง แต่ตอน
ทีผ่ งึ ต่อยจรงิ ๆมันควรทา้ ทา่ ใหม้ ันเจบ็ ปวดจรงิ ๆ อยา่ งท่ชี าติพันธว์ ่าผึงมนั อยู่สูง เอาลีลาของโขนเขา้ มาใชด้ ว้ ยได้ เช่น การ
ต่อตวั การขนึ ลอย การเตน้ ลลี าน้อยไปนิด ชอบท่า ชอบดนตรี

นางสาวเรวดี สายาคม ผเู้ ชยี่ วชาญนาฏศิลปไ์ ทย วทิ ยาลัยนาฏศิลป์ ได้ใหข้ ้อเสนอแนะวา่ ผึงควรมีจริตให้
มากกว่านี เพราะแสดงเป็นสัตว์ กัดต่อย ดังนันเราก็ควรสวยงาม สะดีดสะดิง ชอบดนตรีท่ีเหมือนกีต้าร์ มันฟุ้ง มันนุ่ม
ผชู้ ายก็ส่อื ความหมายดว้ ยการเกยี วพาราสกี ็ออกมาดี เครื่องแต่งกายสวย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จุลชาติ อรัณยะนาค รองอธิการบดี กรมศิลป์ ได้เสนอแนะว่า ชอบน่ารัก ส่ือสารได้ดี
แต่กอ็ าจจะตอ้ งไปปรบั เหมือนทช่ี าติพนั ธ์แนะน้าเร่ืองเสอื ผา้ สสี นั

๑๒

คำแนะนำจำกผูส้ ่งคุณวฒุ ิ ทำงดำ้ นดนตรี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ดุษฎี มีป้อม ผู้เช่ียวชาญดรุ ิยางค์ไทย ได้เสนอแนะว่า เสียงของนาเด่ยเพิ่มเข้ามา

อีก มันจะเข้าถึงได้ง่าย แต่ดนตรีท่ีใช้แสดงฟังดูซับซ้อน มีการประสมเครื่องดนตรีเยอะเกินไป ถ้าใส่สียงของนาเด่ย
มากกว่านกี จ็ ะท้าให้ฟังสบายมากขึน

สรุปแนวทำงกำรแกไ้ ข

จากการดา้ เนินงานและน้าเสนอผลงานต่อคณะผู้เชี่ยวชาญทางด้านการออกแบบท่าร้า ดนตรี และทางกลุ่ม
ชาวกะเหร่ียง นนั ไดม้ ีข้อเสนอแนะเกีย่ วกับความถกู ต้องขนั ของกระบวนการตีผึง สิง่ ส้าคัญในการตี อปุ กรณ์ทว่ งท่าที่ใช้
จังหวะดนตรี รวมถึงเสียงของนา่ เดย่ และแคนทเ่ี ปน็ เอกลักษณ์ ของชาวไทยกะเหรี่ยงทอ่ี ยากจะใหม้ กี ารเพ่มิ เติมให้มีความ
เด่นชดั มากยงิ่ ขึน จงึ ได้มกี ารนา้ มาปรับปรุงเปลย่ี นแปลงให้เกิดความสวยงามและความถูกต้องในการสร้างสรรคผ์ ลงาน
ดว้ ยองคป์ ระกอบตา่ งๆ ดังจะกล่าวในบทที่ ๓ ตอ่ ไป

๑๓

บทท่ี ๓ องค์ประกอบกำรแสดง

องคป์ ระกอบการแสดงชุด หม่าน่ี หรือ กะเหรี่ยงตีผงึ ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบส้าคญั ดงั นี
- ผแู้ สดง
- เครอ่ื งแต่งกาย
- อุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการแสดง
- ดนตรแี ละเพลงประกอบการแสดง
ในการออกแบบแสดงชุดจะมีความสวยงามหรือสนุกสนานเพลิดเพลินเพียงใด ขึนอยู่กับองค์ประกอบต่างๆที่

ส้าคัญท่ีน้าไปผสมผสานให้เกิดเป็นการแสดง ในการแสดง ชุดหม่าน่ี หรือ กะเหรี่ยงตีผึง เป็นการหยิบยกเอา วิถีความ
เป็นนักอนุรักษ์ธรรมชาติ ความเป็นอยู่ท่ีเรียบง่าย ขันตอนการตีผึงท่ีก้าลังจะเลือนหายไปตามยุคสมัย ทังนีในส่วนของ
กระบวนท่ารา้ และรปู แบบการแปรแถวจะน้าไปกล่าวไว้ในบทที่ ๔
ผูแ้ สดง

การแสดงชดุ หม่าน่ี ก้าหนดผแู้ สดงทังหมด ๘ คน โดยแบง่ เปน็ ผแู้ สดงชาย ๔ คน ผแู้ สดงหญิง ๔ คน
ก้าหนดให้นักแสดงชาย เป็นชายชาวไทยกะเหรี่ยง ชักชวนกันออกไปหาของในปา่ และให้นักแสดงหญิงเป็นทังหญิงสาว
ชาวไทยกะเหรย่ี งและเป็นเหลา่ ผงึ หลวงตัวนอ้ ยเม่ือถงึ ขันตอนกะบวนการตีผึง

ภาพที่ ๑๔ (คณะผู้จัดท้า)

๑๔

กำรออกแบบเครือ่ งแต่งกำย
ได้แรงบนั ดาลใจมาจากเครือ่ งแต่งกายของชาวกะเหรีย่ ง โพลง่ สมัยมณฑลราชบรุ ี พ.ศ. ๒๔๖๘ มาเปน็

พืนฐานในการออกแบบเครื่องแตง่ กาย และไดน้ ้าเอาความเป็นวิถชี ีวิตของชาวกะเหร่ยี งมาสร้างสรรคผ์ า่ นเครอ่ื งแต่งกาย
เช่น ชาวกะเหร่ียงส่วนใหญ่จะออกไปล่าสัตว์ จึงน้าเข้าสัตว์ มาเป็นเครื่องประดับ อาทิเช่นเขาสัตว์มาเป็นสร้อยคอของ
ผชู้ าย และปิน่ ปกั ผมของผู้หญงิ ผู้หญิงจะประดบั ด้วยดอกไมแ้ ละใบไม้ และสวมสรอ้ ยดว้ ยเส้นฝา้ ยหลากสี เพื่อให้เกดิ สสี ัน
ของธรรมชาตสิ ขี องดอกไม้และใบไม้ เครือ่ งประดับและเครอื่ งแตง่ กายทกุ ชินสามารถบง่ บอกถึงความอุดมสมบรู ณ์ของป่า
ไม้ และสือ่ ให้เหน็ วา่ ชาวกะเหร่ยี งก็ใชช้ วี ติ อยกู่ ับธรรมชาตไิ ด้อย่างลงตัว

ภาพที่ ๑๕ (คนราชบุรี) ภาพที่ ๑๖ (นทิ รรศการชมุ ชนบ้านโป่งกระทงิ )

ภาพท่ี ๑๗ (คณะผจู้ ดั ทา้ )
๑๕

เคร่ืองแต่งกำย

ผู้ชาย : ใส่เสือแขนกระบอก คอตังผ่าหน้า ติดกระดุมเงิน นุ่งโจงกระเบน ผ้าคาดรัดเอว ผ้าปั้ยคุนอง สร้อยคอที่ท้าจาก
เขยี วสัตว์ สรอ้ ยคอเงนิ เขม็ ขดั เงนิ

ผู้หญงิ : นุ่งซนิ่ ยาวครงึ่ แข้ง เสอื กะเหรี่ยงคอวยี าวคลุมสะโพก สรอ้ ยเส้นฝ้ายหลากสี สร้อยเงนิ ประดับหนิ ก้าไลขอ้ มือเงิน
ต่างหพู ฝู่ ้ายหลากสี ผมปกั ป่ินเงนิ เขาสัตว์ ประดับดอกไมใ้ บไม้ลอ้ มมวยผม

ภาพท่ี ๑๘ (คณะผู้จดั ท้า) ภาพที่ ๑๙ (คณะผจู้ ดั ท้า)

ภาพที่ ๒๐ (คณะผจู้ ดั ทา้ )
๑๖

อปุ กรณ์ทใี่ ช้ในกำรแสดง

อุปกรณส์ ้าคญั ในการตีผึงนนั ประกอบไปด้วย ทอย คอ้ นตอกทอย กะโม่ ปีปใส่น้าผึง ซึ่งในการแสดง หมา่ นี่ ไดม้ ี
การปรับอุปกรณ์ใหม้ คี วามสวยงามและเหมาะสมตอ่ การแสดงมากขึน มีดงั นี

๑. ทอย ๔ ชนิ
๒. ค้อนตอกทอย ๔ ชนิ
๓. กะโม่ ๔ ชนิ
๔. ตะกรา้ ใส่รังผงึ ๔ ใบ

ภาพที่ ๒๑ (คณะผจู้ ดั ท้า)

ภาพท่ี ๒๒ (คณะผู้จัดท้า) ภาพท่ี ๒๓ (คณะผ้จู ดั ท้า)
ทอย , ลกู ทอย กาโม่

ภาพที่ ๒๔ (คณะผจู้ ัดทา้
๑๗

แนวคิดในกำรสร้ำงสรรค์เพลง
กะเหรย่ี ง เครอ่ื งดนตรที เ่ี ป็นเอกลกั ษณะ คอื นาเด่ย (พณิ ) ท่เี ปน็ เครื่องดนตรี Pentatonic คอื 5 เสียง โดย

เพลงนี จะมนี าเด่ย เล่น หยอกกบั กีตาร์ และ Back up ดว้ ย วงออเดรสตรา ไรส่วนของเครื่องสายในวง
ออเดรสตรา มกี าร เรยี นเสียง ตเี กราะเคาะไม้ โดยการเล่น col legno ซึง่ จะเกดิ เสยี ง กระทบระหวา่ งไม้ สาย
และ บอกดขี อง เครื่องสาย โดยท่วงทา้ นองของเพลงนี จะแตง่ ขนึ ให้ อยูใ่ นกลมุ่ ของ เสยี ง 5 เสียง เนน้
ความสวยงามและสนกุ สนาน บรรยายถงึ วิถชี วี ติ และการละเลน่ ตา่ งของชาวกระเหรย่ี ง

สรปุ ได้ว่า การสร้างสรรคง์ านนาฏศลิ ปส์ ร้างสรรค์ ชุดหมา่ นี่ หรือกะเหร่ียงตผี ึง มีรปู แบบการแสดงท่ปี ระกอบด้วย
องคป์ ระกอบสา้ คัญดงั นี
๑.ผแู้ สดงทังหมด ๘ คน โดยแบ่งเป็นผู้แสดงชาย ๔ คน ผแู้ สดงหญงิ ๔ คน
๒.เคร่อื งแตง่ กาย และเครือ่ งประดบั ไดแ้ รงบันดาลใจมาจากเคร่อื งแตง่ กายของชาวกะเหรย่ี ง โพลง่ สมยั มณฑลราชบุรี
พ.ศ. ๒๔๖๘
๓.อุปกรณ์ที่ในการแสดง ได้แก่ ทอย,ลกู ทอย,กาโม่ และตะกรา้ อุปกรณ์ที่ใช้ในการจับผงึ
๔.ดนตรีและเพลงประกอบการแสดง เปน็ ดนตรที ่ผี สมผสานระหว่างเสียงนาเด่ย เสียงพิณของชาวกะเหรยี่ งและแนว
ดนตรรี ว่ มสมัย ทใ่ี ห้ความรู้สึกนา่ รักเมือ่ ไดฟ้ งั

ในส่วนขององค์ประกอบทีส่ า้ คญั อกี อย่างหนง่ึ คอื กระบวนท่าร้า และรูปแบบการแปรแถวท่ีต้องสรา้ งสรรค์ให้สื่อ
ถงึ แนวคดิ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน โดยสรา้ งสรรคบ์ นพนื ฐานของนาฏศลิ ป์ไทย ดงั ทจ่ี ะกลา่ วในบทท่ี ๔ ต่อไป

๑๘

บทท่ี ๔
กระบวนท่ำรำและและกำรใชพ้ นื้ ที่บนเวที

กระบวนการสร้างสรรค์ทา่ ร้าไดศ้ กึ ษาจากแนวคดิ วิธกี ารตผี ึง การเคลื่อนไหวรา่ งกาย วถิ ีชีวติ การเตน้ ร้าใน
กลุ่มชนบวกกับแรงบันดาลใจในการเกิดความคิดท่ีจะเก็บขันตอนวิธีการ เพื่อเป็นการสืบทอดความเป็นเอกลักษณ์ของ
การตีผึงของกลุ่มชนไว้ภายใต้รูปแบบงานสร้างสรรค์ แต่ยังคงมีความเป็นกะเหรี่ยงตีผึงอยู่ จึงได้มีการสร้างสรรค์
ทา่ ทาง การร่ายร้าขึนใหม่อยา่ งเรียบง่าย บนทา่ ทางพนื ฐานทางด้านนาฏศลิ ป์
การแสดงชุดนมี กี ารแบ่งกระบวนทา่ ร้าเพอื่ สอื่ ความหมายออกเปน็ ๓ ช่วง ดังนี
ช่วงที่๑ เป็นช่วงของวิถีชวี ิตชาวไทยกะเหรย่ี งท่ตี อ้ งตืน่ เช้าไปทา้ สวนท้าไรห่ าของปา่
ช่วงที่๒ เป็นชว่ งของหนุม่ สาวที่แบ่งหน้าทกี่ นั ท้ามาหากนิ สมมุตผิ ชู้ ายเปน็ คนตผี ึง และผหู้ ญงิ เป็นตัวผึง
ชว่ งที่๓ เปน็ ชว่ งของขนั ตอนกระบวนการตผี งึ ทีป่ รบั และดดั แปลงใหเ้ ข้ากับการแสดงแต่ยงั คงอยู่บนพืนฐานการตผี งึ
หมายเหตุ ในรูปแบบการแปลแถว จัดสัญลักษณ์ แทนดังนี

สัญลกั ษณ์ แทน ผูห้ ญิง

สัญลักษณ์ แทน ผูช้ าย

๑๙

ทา่ ที่ ๑
ท้านองเพลง : ดนตรี
นกั แสดงชายคนที่ ๑ : หันดา้ นหน้า มอื ซ้ายปอ้ งหนา้ ระดับศรี ษะ มือขวาไขว้ไปดา้ นหลงั

รปู แบบกำรแปรแถว



๒๐

ทา่ ท่ี ๒
ทำนองเพลง : ดนตรีเพลง
นักแสดงชำยคนท่ี ๑,๒,๓,๔ : หันเฉียงตัวไปด้านซ้ายแหงนหน้ามองสูง มอื ทังสองขา้ งจบั อปุ กรณ์ เดินกา้ วเท้า
ขวาไปขา้ งหนา้ เปดิ สน้ เทา้ ซา้ ย
รูปแบบกำรแปรแถว

๔๓
๒๑

๒๑

ท่าท่ี ๓ ท่าที่ ๔
ทำนองเพลง : ดนตรี
นักแสดงคนที่ ๑,๒,๓,๔ : หันเฉยี งตัวไปดา้ นซา้ ย มือทังสองขา้ งจบั อปุ กรณ์ ก้าวเท้าขวาไปด้านข้างตามด้วย
เล่ือนส้นเทา้ ซา้ ยมาชิดเท้าขวา เอียงตัวลงด้านซ้ายเล็กน้อย
รปู แบบกำรแปรแถว

๔๓
๒๑

๒๒

ท่าท่ี ๕ ท่าท่ี ๖
ทำนองเพลง : ดนตรี
นักแสดงคนที่ ๑,๒,๓,๔ : เดนิ หันเฉยี งตัวไปดา้ นซา้ ย มอื ทังสองข้างจับอุปกรณ์ ก้าวเท้าซา้ ยไปดา้ นขา้ งตาม
ดว้ ยเล่อื นส้นเท้าขวามาชดิ เท้าซา้ ย เอียงตัวลงด้านขวาเล็กน้อย
รูปแบบกำรแปรแถว

๔๓
๒๑

๒๓

ท่าท่ี ๗ ทา่ ที่ ๘
ทำนองเพลง : ดนตรี
นักแสดงคนท่ี ๑,๒,๓,๔ : เดินวนหนั เฉียงตัวไปด้านขวา มือทังสองข้างจบั อปุ กรณ์ กา้ วเทา้ ซา้ ยไปดา้ นข้างตามดว้ ยเล่อื น
ส้นเท้าขวามาชิดเทา้ ซ้าย เอียงตวั ลงดา้ นขวาเล็กนอ้ ย

รปู แบบกำรแปรแถว

๒๔
๑๓

๒๔

ท่าที่ ๙

ทำนองเพลง : ดนตรี
นักแสดงคนท่ี ๑,๒,๓,๔ : หันดา้ นหนา้ มือทังสองข้างจบั อุปกรณ์ ก้าวเทา้ ขวาไปดา้ นหนา้ ยกขาซา้ ยขึนแล้ววางเท้าซ้ายไป
ดา้ นข้าง

รปู แบบกำรแปรแถว

๒ ๔
๑ ๓

๒๕

ท่าท่ี ๑๐

ทำนองเพลง : ดนตรี
นักแสดงคนท่ี ๑,๒,๓,๔ : หันดา้ นหน้า ก้มตัวลงแลว้ เงยหน้ามองทางด้านซา้ ย มอื ทงั สองข้างจบั อปุ กรณ์ เทา้
ซา้ ยก้าวไปดา้ นข้าง

รปู แบบกำรแปรแถว

๒ ๔
๑ ๓

๒๖

ท่าที่ ๑๑

ทำนองเพลง : ดนตรี
นักแสดงคนที่ ๑,๒,๓,๔ : หนั ดา้ นหน้า ก้มตวั ลงแลว้ เงยหน้ามองทางด้านขวา มอื ทังสองข้างจบั อปุ กรณ์ เทา้
ขวากา้ วไปดา้ นข้าง

รปู แบบกำรแปรแถว

๒ ๔
๑ ๓

๒๗

ท่าท่ี ๑๒
ทำนองเพลง : ดนตรี
นกั แสดงชำยคนที่ ๑,๓ : หนั ดา้ นหลัง มองไปทางดา้ นซา้ ย มือทงั สองข้างจบั อุปกรณ์ ก้าวเท้าขวาไปด้านหนา้
เปิดส้นเท้าซ้ายยืดตัวขึนและว่งิ ออก
นักแสดงชำยคนที่ ๒,๔ : หันด้านหลงั มองไปทางด้านขวา มอื ทังสองขา้ งจบั อุปกรณ์ กา้ วเท้าซ้ายไปดา้ นหนา้
เปดิ ส้นเท้าขวายืดตัวขนึ และว่งิ ออก

รูปแบบกำรแปรแถว

๒ ๔
๑ ๓

๒๘

ท่าที่ ๑๓
ทำนองเพลง : ดนตรี
นักแสดงหญิงคนท่ี ๑,๓ : หันเฉียงตวั ไปดา้ นซา้ ย มอื ทงั สองข้างแบมอื ประกบกันดา้ นหนา้ ระดบั ปาก (ปฏบิ ัติ
ท่าธรรมชาตโิ ดยทา้ ทา่ ผึง) วงิ่ ออกมากา้ วเท้าขวาไปด้านหนา้ เทา้ ซ้ายเปิดส้นเทา้
นกั แสดงหญิงคนที่ ๒,๓ : หนั เฉยี งตัวไปดา้ นขวา มอื ทงั สองขา้ งแบมือประกบกันดา้ นหน้าระดับปาก (ปฏบิ ัติ
ท่าธรรมชาติโดยทา้ ทา่ ผงึ ) ว่งิ ออกมากา้ วเท้าซ้ายไปด้านหน้าเท้าขวาเปิดส้นเทา้
รปู แบบกำรแปรแถว

๓๔
๑๒

๒๙

ท่าท่ี ๑๔

ทำนองเพลง : ดนตรี
นกั แสดงหญงิ คนท่ี ๑,๒ : หนั ด้านหลงั หันเฉียงตัวไปด้านขา้ ง มอื ทงั สองขา้ งแบมือประกบกนั ด้านหน้าระดบั
ปาก (ปฏบิ ตั ทิ ่าธรรมชาตโิ ดยทา้ ทา่ ผึง) ว่งิ สลับฝง่ั กา้ วเท้าซา้ ยและขวาไปดา้ นหนา้ เทา้ ขวาและซา้ ยเปดิ สน้ เท้า
นกั แสดงหญงิ คนท่ี ๓,๔ : หันเฉยี งตัวไปด้านข้าง มือทงั สองข้างแบมือประกบกนั ด้านหน้าระดบั ปาก
(ปฏบิ ัติท่าธรรมชาตโิ ดยทา้ ท่าผงึ ) ว่งิ สลับฝัง่ กา้ วเทา้ ขวาและซ้ายไปดา้ นหน้าเท้าซ้ายและขวาเปิดสน้ เท้า

รูปแบบกำรแปรแถว

๒ ๑
๔ ๓

๓๐

ท่าที่ ๑๕
ทำนองเพลง : ดนตรี
นักแสดงหญงิ คนท่ี ๑,๒ : หนั ด้านหลัง หันเฉยี งตัวไปดา้ นข้าง มือทงั สองขา้ งแบมอื กางแขนออก (ปฏบิ ัตทิ า่
ธรรมชาตโิ ดยท้าท่าผงึ กา้ ลังบนิ ) คนที่ ๑ กา้ วเทา้ ขวาเปดิ สน้ เทา้ ซ้าย คนท่ี ๒ กา้ วเท้าซ้ายเปิดส้นเท้าขวา
นกั แสดงหญงิ คนท่ี ๓,๔ : หนั ด้านข้างซา้ ยและขวา มือทังสองข้างแบมอื กางแขนออก (ปฏบิ ตั ิทา่ ธรรมชาติโดย
ท้าทา่ ผึงก้าลงั บิน) คนที่ ๓ กา้ วเท้าขวาเปิดสน้ เท้าซา้ ย คนที่ ๔ ก้าวเท้าซา้ ยเปดิ สน้ เทา้ ขวา
รูปแบบกำรแปรแถว

๒๑

๔๓

๓๑

ท่าที่ ๑๖
ทำนองเพลง : ดนตรี
นักแสดงหญงิ คนท่ี ๑,๒,๓,๔ : ปฏบิ ัตทิ ่าเดมิ ดังท่าที่ ๑๔ เขยงเทา้ ทังสองข้างถอยหลังเข้ามาหากนั
รปู แบบกำรแปรแถว

๒๑
๔๓

๓๒

ท่าที่ ๑๗
ทำนองเพลง : ดนตรี
นักแสดงหญงิ คนที่ ๑,๒ : หนั ด้านหนา้ กม้ หน้าลงเล็กน้อย มือทังสองขา้ งแบมอื ประกบกันระดบั ปาก คนท่ี๑
ก้าวเท้าซ้ายเปิดส้นเทา้ ขวา คนท่ี ๒ ก้าวเทา้ ขวาเปิดส้นเท้าซ้าย
นักแสดงหญงิ คนท่ี ๓,๔ : หันด้านหลัง ก้มหน้าลงเลก็ นอ้ ย มือทังสองขา้ งแบมอื ประกบกนั ระดับปาก คนท่ี ๓
ก้าวเท้าซ้ายย่อตัวลงตงั เขาซา้ ยเปิดสน้ เทา้ ขวา คนท่ี ๒ ก้าวเทา้ ขวายอ่ ตวั ลงตงั เขา่ ขวาเปิดส้นเท้าซา้ ย
รปู แบบกำรแปรแถว

๒๑
๔๓

๓๓

ท่าท่ี ๑๘
ทำนองเพลง : ดนตรี
นักแสดงหญงิ คนที่ ๑,๒,๓,๔ : หนั หนา้ เขา้ หากัน มือทงั สองขา้ งแบมือประกบกนั ด้านหนา้ แล้ววาดไปด้านหลงั
แขนตงึ ลกุ ขนึ ยืนก้าวเท้าขวาไปดา้ นขา้ งเท้าซา้ ยใช้ปลายนวิ แตะทพี่ ืนยอ่ ตัวลงเลก็ น้อยท้าสลับขา้ งซ้ายและขวาวนเป็น
วงกลม
รูปแบบกำรแปรแถว

๒๑
๔๓

๓๔

ท่าท่ี ๑๙ ท่าที่ ๒๐

ทำนองเพลง : ดนตรี
นักแสดงหญิงคนท่ี ๑,๒,๓,๔ : ปฏบิ ัตทิ ่าดงั ภาพที่ ๑๒ เดนิ ไปทางซ้ายวนเป็นเลขแปด

รปู แบบกำรแปรแถว


๔๑



๓๕

ทา่ ที่ ๒๑ ท่าที่ ๒๒

ทำนองเพลง : ดนตรี
นักแสดงหญิงที่ ๑,๒,๓,๔ : ปฏบิ ัตทิ ่าดงั ท่าท่ี ๑๗ หนั ด้านหน้าแลว้ หมุนไปทางดา้ นขวา

รปู แบบกำรแปรแถว

๔๒
๓๑

๓๖

ทา่ ท่ี ๒๓
ทำนองเพลง : ดนตรี
นกั แสดงหญิงคนท่ี ๑,๒,๓,๔ : หันด้านหน้า มอื ทงั สองข้างแบมอื ประกบกันขา้ งซา้ ย กา้ วเท้าซ้ายไปด้านข้างเท้าขวาใช้
ปลายเทา้ แตะพืน
รูปแบบกำรแปรแถว

๔๒
๓๑

๓๗

ท่าท่ี ๒๔
ทำนองเพลง : ดนตรี
นักแสดงหญงิ คนที่ ๑,๒,๓,๔ : หนั ด้านหน้า มอื ทังสองข้างแบมอื ประกบกนั ขา้ งขวา กา้ วเทา้ ขวาไปด้านขา้ งเท้าซ้ายใช้
ปลายเท้าแตะพืน
รปู แบบกำรแปรแถว

๔๒
๓๑

๓๘

ท่าท่ี ๒๕
ทำนองเพลง : ดนตรี
นักแสดงหญิงคนที่ ๑,๒,๓,๔ : หนั ดา้ นหน้า ศรี ษะเอยี งซา้ ย มือทงั สองขา้ งแบมอื กางออกดา้ นข้าง ก้าวเท้าซา้ ย
ไปดา้ นข้างแล้วหมนุ ตัวกลบั ดา้ นหน้าใช้ปลายเท้าขวาแตะพนื
รปู แบบกำรแปรแถว

๔๒
๓๑

๓๙

ทา่ ที่ ๒๖
ทำนองเพลง : ดนตรี
นกั แสดงหญิงคนท่ี ๑,๒,๓,๔ : หันด้านหน้า ศีรษะเอยี งขวา มือทังสองขา้ งแบมอื กางออกดา้ นขา้ ง กา้ วเท้าขวา
ไปด้านข้างแลว้ หมนุ ตัวกลบั ดา้ นหน้าใช้ปลายเทา้ ซ้ายแตะพนื
รูปแบบกำรแปรแถว

๔๒
๓๑

๔๐

ท่าที่ ๒๗
ทำนองเพลง : ดนตรี
นกั แสดงคนที่ ๑,๒ : หันด้านหน้า ศรี ษะเอียงขวา มอื ทงั สองขา้ งแบมือกางออกด้านข้าง กา้ วเทา้ ซ้ายไปดา้ นหน้าแลว้ เดิน
ออก
นักแสดงคนที่ ๓,๔ : หันดา้ นหนา้ ศีรษะเอียงขวา มอื ทังสองขา้ งแบมือกางออกด้านขา้ ง กา้ วเท้าขวาไปด้านหน้าแล้วเดนิ
ออก
รูปแบบกำรแปรแถว

๔๒
๓๑

๔๑

ท่าที่ ๒๘
ทำนองเพลง : ดนตรี
นักแสดงชำยคนท่ี ๑,๓ : หันดา้ นซา้ ย มอื ทงั สองข้างจบั อุปกรณ์ วิง่ ออกมากม้ หนา้ ยอ่ ตัวลงเล็กนอ้ ย
นกั แสดงชำยคนที่ ๒,๔ : หันดา้ นซา้ ย มือทงั สองขา้ งจบั อปุ กรณ์ ว่งิ ออกมากม้ หน้ายอ่ ตัวลงเล็กน้อย
รปู แบบกำรแปรแถว

๒ ๑๓๔

๔๒

ท่าที่ ๒๙
ทำนองเพลง : ดนตรี
นักแสดงชำยคนท่ี ๑,๒,๓,๔ : หันด้านข้าง มอื ทงั สองข้างจบั อปุ กรณ์มือซ้ายงอแขนเขา้ หาตัวระดบั อกใหข้ นาน
กบั พนื มือขวาไขว้ไปด้านหลงั กา้ วเทา้ ขวาเดินขนึ มาเปิดสน้ เท้าซา้ ย
รูปแบบกำรแปรแถว

๓๒
๑๔

๔๓

ทา่ ที่ ๓๐
ทำนองเพลง : ดนตรี
นักแสดงชำยคนที่ ๑,๒,๓,๔ : หันด้านข้าง มอื ทังสองขา้ งจับอปุ กรณ์มือขวางอแขนเขา้ หาตวั ระดบั อกให้ขนาน
กบั พนื มอื ซ้ายไขวไ้ ปด้านหลงั ก้าวเทา้ ซา้ ยไปดา้ นหน้าเปดิ ส้นเทา้ ขวา
รปู แบบกำรแปรแถว

๓๒
๑๔

๔๔

ท่าที่ ๓๑
ทำนองเพลง : ดนตรี
นกั แสดงชำยคนที่ ๑,๒,๓,๔ : หันด้านหลัง มือทงั สองขา้ งจบั อปุ กรณ์ด้านหน้า (ท้าทา่ ตอกลูกทอย) กา้ วเทา้ ซา้ ยไป
ด้านข้าง เงยหน้ามองอุปกรณ์

รปู แบบกำรแปรแถว

๓๒
๑๔

๔๕


Click to View FlipBook Version