The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนรายวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้า 1-63 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tanappoan511, 2022-05-25 23:25:50

แผนการสอน

แผนรายวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้า 1-63 1

Keywords: แผนการสอนวิชาไฟฟ้าประถม

เฉลยใบงาน ครง้ั ที่ 9
วิชาการใชพ้ ลังงานไฟฟ้าในชวี ิตประจาวัน1 พว12010 ระดบั ประถมศึกษา

ช่ือ-นามสกลุ .......................................................................
กศน.ตาบล..............................................

คาช้ีแจง ให้ผเู้ รียนตอบคาถามต่อไปน้ี ( 15 คะแนน )
1. จงอธิบายความหมายของ เบรกเกอร์ ( 5 คะแนน )
ตอบ เบรกเกอร์ (breaker) เป็นสวิตซ์เปดิ -ปดิ ที่ใช้ในงานไฟฟูาท่ัว ๆ ไปแต่มคี ุณภาพทีส่ ูงกว่าเพราะวา่ เบรกเกอร์
นอกจากจะทาหน้าทเ่ี ปน็ สวิตซเ์ ปิด-ปิดวงจรไฟฟูาแลว้ ยังสามารถควบคุมและปูองกันกระแสไฟฟูาเกินในวงจรและ
การลัดวงจร ทางานโดยอาศยั ความร้อนและสนามแมเ่ หล็กไฟฟาู เมือ่ เบรกเกอร์ตัดวงจรแล้ว มันยงั สามารถใชง้ านได้
อีก

2. จงอธิบายความหมายของ ฟิวส์ ( 5 คะแนน )
ตอบ ฟวิ ส์ (fuse) เป็นอุปกรณน์ ริ ภยั ชนิดหนงึ่ โดยจะปูองกันการลัดวงจร และการใชก้ ระแสเกนิ ในวงจรไฟฟูา โดยจะ
หลอมละลาย และตัดกระแสไฟออกจากวงจรเพ่ือปูองการอุปกรณ์เสียหาย มีหลายชนิดให้เลือกใช้ตามความ
เหมาะสมของการใช้งาน

3. จงอธิบายคุณสมบัติของ ฟิวส์ ( 5 คะแนน )
ตอบ 1. ฟิวส์เป็นโลหะผสมประกอบด้วย บิสมัท (Bi) ร้อยละ 50 ตะก่ัว (Pb) ร้อยละ25 และดีบุก (Sn) ร้อยละ 25
โดยมวล

2. ฟิวส์มีจดุ หลอมเหลวต่า ขณะทกี่ ระแสไฟฟาู ผา่ นฟิวส์ พลังงานไฟฟูาจะเปลย่ี นเปน็ พลงั งานความร้อนให้กับ
ฟิวส์เล็กน้อยแต่เม่ือมีการใช้กระแสไฟฟูาเกินกาหนด หรือเกิดไฟฟูลัดวงจร กระแสไฟฟูาปริมาณมากจะผ่านฟิวส์
พลังงานไฟฟูาจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อนให้กับฟิวส์มากขึ้น จนฟิวส์หลอมละลาย ทาให้วงจรไฟฟูา ในบ้าน ถูก
ตดั กระแสไฟฟูาไหลผา่ นอกี ไม่ได้

3. การหลอมละลายของฟวิ ส์ไมท่ าใหเ้ กิดประกายไฟ หรอื เปลวไฟ หรือเปลวไฟหรอื เกดิ การหลอมละลายใดๆ
ท่ีทาให้อุปกรณ์เสียหาย

แผนการจดั การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง (กรต.) รายวิชา การใชพ้ ลังงานไฟฟา้ ในชีวติ ประจาวัน 1 พว12010
จานวน 2 หน่วยกิต

ครัง้ ท่ี 17 จานวน 23 ชั่วโมง

แบบ การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง จานวน 23 ชว่ั โมง
เรอ่ื ง 1.อุปกรณไ์ ฟฟูาและวงจรไฟฟูา

2.การประหยดั พลงั งานไฟฟาู

3.แนวปฏบิ ัติการประหยดั พลงั งานไฟฟูาในครัวเรอื น

ตวั ชี้วดั 1. กลยทุ ธก์ ารประหยดั พลงั งานไฟฟาู
2. จาแนกฉลากเบอร์ 5 ของแทก้ ับของลอกเลยี นแบบ
3. เลือกใชเ้ ครอื่ งใชไ้ ฟฟูาไดเ้ หมาะสมกับสถานการณท์ ่ีกาหนดให้
4. ปฏิบตั ติ นเป็นผ้ปู ระหยดั พลงั งานไฟฟาู ในครัวเรือน

เนอ้ื หา
1. อปุ กรณ์ไฟฟาู
1. 1 สวิตซ์
1.2 เคร่ืองตัดไฟฟาู รั่ว
1.3 เตา้ รับ เต้าเสยี บ
2. กลยุทธ์การประหยัดไฟฟาู 3อ.
2.1 กลยทุ ธ์ อ.1 อุปกรณป์ ระหยดั ไฟฟูา
2.2 กลยุทธ์ อ.1 อาคารประหยดั ไฟฟูา
2.3 กลยทุ ธ์ อ.1 อปุ นิสยั ประหยดั ไฟฟูา
3. การประหยัดพลังงานไฟฟาู ในครวั เรอื น
3.1 จาแนกฉลากเบอร์ 5 ของแท้กบั ของลอกเลยี นแบบ
3.2 เลอื กใช้เคร่ืองใช้ไฟฟูาได้เหมาะสมกบั สถานการณ์ทก่ี าหนดให้
3.3 ปฏิบัติตนเป็นผู้ประหยดั พลงั งานไฟฟูาในครวั เรือน

ขั้นตอนการจัดกระบวนการเรยี นรู้
ข้นั ท่ี 1 การกาหนดสภาพปัญหา ความต้องการเรียนรู้

ผเู้ รยี นศึกษาคน้ คว้าจากใบความรู้ สอ่ื อนิ เตอร์เนต็ แหล่งเรยี นรใู้ นชมุ ชน และจากคลปิ วิดีโอสื่อการสอน
วชิ าการใชพ้ ลงั งานไฟฟาู ในชีวิตประจาวัน 1 เร่อื ง อุปกรณ์ไฟฟาู และวงจรไฟฟาู

ขั้นท่ี 2 การแสวงหาข้อมูลและจดั การเรยี นรู้
1 ผูเ้ รยี นศึกษาค้นคว้าเร่ืองอุปกรณ์ไฟฟูา จากในหนังสอื เรียนใบความรู้ แหลง่ เรยี นรู้ในชุมชนหรือสอ่ื จาก

อินเตอรเ์ น็ต เก่ยี วกับอปุ กรณ์ไฟฟูา ท้งั 3 ชนดิ คือ 1.สวติ ซ์ 2.เครือ่ งตดั ไฟฟาู รั่ว 3.เต้ารับเตา้ เสยี บ จากคลิปวิดีโอ
สอื่ การสอนวิชาการใช้พลงั งานไฟฟูาในชวี ิตประจาวนั 1 เร่อื ง อุปกรณ์ไฟฟาู และวงจรไฟฟูา

2. ผูเ้ รยี นศึกษาคน้ คว้าเรื่องกลยุทธ์การประหยัดพลังงานไฟฟูา 3 อ. จากในหนงั สอื เรยี นใบความรู้ แหลง่
เรียนรูใ้ นชุมชนหรือส่อื จากอนิ เตอร์เนต็ ในหัวขอ้ การประหยัดพลังงานไฟฟูา 3 อ.

1. กลยทุ ธ์ อ.1 อปุ กรณ์ประหยดั ไฟฟูา
2. กลยทุ ธ์ อ.2 อาคารประหยดั ไฟฟูา
3. กลยทุ ธ์ อ.3 อุปนิสัยประหยัดไฟฟูา

3. ผเู้ รียนศึกษาคน้ ควา้ จากหนงั สือเรยี นและสื่อจากอินเตอร์เนต็ เรอ่ื ง แนวปฏบิ ัตกิ ารประหยดั พลงั งานไฟฟูา
ในครัวเรอื น

- การจาแนกฉลากเบอร์ 5 ของแท้กับของลอกเลียนแบบ
- การเลอื กใชเ้ ครอ่ื งใชไ้ ฟฟูาได้เหมาะสมกับสถานการณ์ทก่ี าหนดให้
- การปฏิบตั ิตนเป็นผู้ประหยัดพลงั งานไฟฟาู ในครัวเรือน
4. ผเู้ รียนนาความรูจ้ ากการค้นควา้ ทาใบงานและส่งใบงานในการมาพบกล่มุ ครง้ั ที่ 18

ขน้ั ที่ 3 การปฏบิ ัตแิ ละนาไปใช้ประยุกต์ใช้
ผ้เู รยี นสรุปองค์ความรู้ และนาไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้

ขั้นท่ี 4 การประเมนิ ผล
ใบงาน

ส่อื
1. หนงั สือเรยี น แบบเรียน
2. อินเตอรเ์ น็ต
3. ใบความรู้
4. แหลง่ เรียนรู้
5. คลิปวดิ ีโอส่อื การสอนวิชาการใชพ้ ลังงานไฟฟูาในชีวิตประจาวนั 1 เร่อื ง อุปกรณ์ไฟฟูาและวงจรไฟฟูา

การวดั ผลประเมนิ ผล
ใบงาน

ใบความรู้ คร้ังที่ 17
อุปกรณไ์ ฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า
เร่ือง อุปกรณ์ไฟฟา้
อปุ กรณ์ไฟฟูาทใี่ ช้ในวงจรไฟฟูามหี ลายชนิด แตล่ ะชนดิ มหี นา้ ทีแ่ ละความสาคัญ ที่แตกต่างกนั ออกไป ไดแ้ ก่
1.สวิตช์
สวิตช์ เป็นอุปกรณป์ ดิ หรือเปิดวงจรไฟฟาู เพือ่ ควบคุมการจ่ายกระแสไฟฟาู ให้กับเครื่องใชไ้ ฟฟูา

ภาพสวติ ชไ์ ฟฟา้
สวติ ช์มี 2 ประเภท คอื
1) สวิตชท์ างเดยี ว สามารถปิดหรอื เปิดวงจรไฟฟูาไดเ้ พยี งทางเดียว เช่น วงจร ของหลอดไฟฟูาหลอดใดหลอดหนึ่ง
เปน็ ต้น
2) สวิตช์สองทาง เป็นการติดตง้ั สวติ ช์ 2 จุด เพ่ือปิดหรือเปิดวงจรไฟฟาู ไดส้ องจุด เช่น สวิตชไ์ ฟทบี่ นั ไดทส่ี ามารถ เปดิ
- ปดิ ไดท้ ง้ั อยู่ช้นั บนและชน้ั ล่าง ทาใหส้ ะดวกในการใช้งาน

ภาพสวติ ช์แบบทางเดียว (ซา้ ย) และแบบสองทาง (ขวา)

ขอ้ ควรรขู้ องสวิตช์
1) ไม่ควรใช้สวิตชอ์ ันเดยี วควบคุมเครื่องใช้ไฟฟาู หลายชนิ้ ให้ทางานพร้อมกัน เพราะกระแสไฟฟูาท่ีไหลผา่ นสวิตช์มาก
เกินไปจะทาให้จุดสัมผัสเกิดความร้อนสงู อาจทาให้สวิตชไ์ หม้ และเป็นอนั ตรายได้
2) ไม่ควรใช้สวติ ช์ธรรมดาควบคุมเครื่องใช้ไฟฟูาท่ีมีกระแสไฟฟาู ไหลผา่ นสูง เชน่ เครอ่ื งปรับอากาศ เป็นต้น ควรใช้
เบรกเกอร์ เพราะสามารถทนกระแสไฟฟูาไดส้ งู กวา่

2. เครื่องตดั ไฟร่วั
เคร่ืองตัดไฟรั่ว เป็นอุปกรณ์เสรมิ ความปลอดภัยอกี ชั้นหน่งึ ที่สามารถตัดวงจรไฟฟาู กรณเี กิดไฟฟาู รั่ว โดยกาหนด
ความไวของการตัดวงจรไฟฟูาตามปริมาณกระแสไฟฟูาที่ร่ัวลงดนิ เพื่อให้มีการตัดไฟร่วั ก่อนท่ีจะเปน็ อันตรายกบั
ระบบไฟฟูา

ภาพเคร่ืองตัดไฟรว่ั

ข้อควรรขู้ องเครือ่ งตดั ไฟรั่ว
1. เคร่อื งตัดไฟร่วั ตดั กระแสไฟฟูาทกุ ครัง้ เมื่อเกิดไฟรั่ว ฉะนั้นหากไฟฟาู ในบ้านของคณุ ร่ัวอยแู่ ลว้ ก่อนตดิ ตั้ง
เครื่องตดั ไฟรัว่ เครื่องจะตดั ไฟทันทีทต่ี ิดตั้งเสรจ็ ดังน้ันจึงจาเป็นอยา่ งยง่ิ ท่จี ะต้องแก้ไขปัญหา ไฟรว่ั จนสาเร็จ
ก่อนเปิดเครอื่ งใชง้ าน
2.กรณีที่เกิดกระแสไฟฟูาไหลผ่านส่วนใดส่วนหนึง่ ของร่างกายจากสายไฟเส้นหนงึ่ แลว้ ไหลกลบั เขา้ ส่สู ายไฟอีก
เสน้ หนึง่ ซ่งึ อาจทาใหร้ ่างกายไดร้ บั บาดเจ็บหรือเสียชวี ิตได้ โดยเครอ่ื งตัดไฟร่ัวจะไม่ตดั วงจรเพราะกระแสไฟฟูาไหล
ครบวงจรตามปกติ

3. เตา้ รับและเตา้ เสยี บ
เต้ารบั และเต้าเสียบ เป็นอปุ กรณ์ท่ใี ช้เช่ือมต่อวงจรไฟฟาู ทาใหก้ ระแสไฟฟูาไหลเขา้ สู่อปุ กรณ์และ
เครอื่ งใช้ไฟฟูา

เต้ารับหรอื ปลัก๊ ตัวเมยี เต้าเสียบหรอื ปลก๊ั ตัวผู้

1) เตา้ รับหรอื ปล๊ักตวั เมยี คือ อปุ กรณ์ท่เี ชอ่ื มต่อกับวงจรไฟฟาู ในครัวเรือน เชน่ เตา้ รับท่ีตดิ ต้งั บนผนังบ้านหรืออาคาร
เป็นต้น เพอ่ื รองรับการตอ่ กับเต้าเสียบของเคร่ืองใช้ไฟฟูา
2) เต้าเสียบหรือปลั๊กตัวผู้ คอื อปุ กรณ์สว่ นทต่ี ิดอยู่กับปลายสายไฟของเครอ่ื งใชไ้ ฟฟูา เตา้ เสยี บท่ีใช้กันอยมู่ ี 2 แบบ
คอื
(1) เตา้ เสียบ 2 ขา ใชก้ ับเตา้ รับที่มี 2 ชอ่ ง
(2) เต้าเสยี บ 3 ขา ใชก้ บั เตา้ รับทม่ี ี 3 ชอ่ ง โดยขากลางจะต่อกบั สายดิน

ขอ้ ควรรู้เกีย่ วกบั เต้ารบั และเตา้ เสียบ
1) การใชง้ านควรเสยี บเตา้ เสยี บใหแ้ นน่ สนิทกับเต้ารับและไม่ใชเ้ ต้าเสียบหลายอันกบั เต้ารบั อนั เดยี ว เพราะเต้ารับอาจ
รอ้ นจนลุกไหม้ได้
2) เมื่อถอดปล๊ักออกควรจบั ท่ีเต้าเสียบ ไมค่ วรดึงท่สี ายไฟ เพราะจะทาใหส้ ายหลุดและเกิดไฟฟูาลัดวงจรได้

ใบความรู้
การประหยัดพลงั งานไฟฟา้
เร่ืองท่ี 1 กลยุทธก์ ารประหยัดพลังงานไฟฟา้
การประหยัดพลังงาน คือ การใชพ้ ลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และรู้คุณค่า การประหยัดพลงั งาน
นอกจากชว่ ยลดปริมาณการใช้พลังงาน ซง่ึ เป็นการประหยัดคา่ ใช้จ่ายของครวั เรือนและประเทศชาติแล้ว ยังชว่ ยลด
ปัญหาผลกระทบจากส่งิ แวดล้อมไดด้ ว้ ย
กลยุทธท์ ีใ่ ชใ้ นการประหยดั พลังงานไฟฟูา คือ กลยทุ ธ์ 3 อ. ไดแ้ ก่ อุปกรณ์ประหยัดไฟฟูา อาคารประหยดั ไฟฟูา และ
อปุ นสิ ัยประหยัดไฟฟูา
1. กลยทุ ธ์ อ. 1 อปุ กรณป์ ระหยัดไฟฟูา เปน็ การสง่ เสรมิ ให้ทกุ ครัวเรือนเปลย่ี นมาใช้เคร่ืองใชไ้ ฟฟูาท่ีมี
ประสทิ ธภิ าพสงู ประหยดั ไฟ ซ่ึงมีวธิ ีการดฉู ลากเบอร์ 5 ดงั ภาพ

ภาพฉลากเบอร์ 5 ของแท้

ปัจจบุ นั ฉลากเบอร์ 5 มีผู้ลอกเลียนแบบมาก ทง้ั นี้ การไฟฟูาฝาุ ยผลติ แห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้จดทะเบียน
เคร่อื งหมายรบั รองตามพระราชบัญญัติเครือ่ งหมายการค้า หากบคุ คลใดลอกเลยี นแบบถือวา่ มคี วามผิด สามารถ
สงั เกตลกั ษณะของฉลากเบอร์ 5 ของปลอมได้ ดังภาพ

ภาพฉลากเบอร์ 5 ของปลอม
2. กลยทุ ธ์ อ. 2 อาคารประหยดั ไฟฟาู ได้แก่ การบริหารการใช้ไฟฟูา การปรับปรงุ ระบบปูองกันความ
รอ้ นเข้าสู่อาคาร การใชร้ ะบบปรบั อากาศประสิทธิภาพสูง การปรบั ปรงุ ระบบแสงสวา่ ง และการจดั การอบรมให้
ความรดู้ า้ นการใชพ้ ลงั งานอย่างถูกต้อง
3. กลยุทธ์ อ. 3 อุปนสิ ยั ประหยัดไฟฟาู เป็นการปลูกจิตสานกึ และอุปนิสัยให้คนไทย โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ
เยาวชนไทย ใช้พลงั งานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เช่น ปิดสวิตช์ไฟและเคร่ืองใช้ไฟฟูาเม่ือเลิกใชง้ าน ตั้งอุณหภูมิ
เครือ่ งปรบั อากาศท่ี 26 องศาเซลเซียส และถอดปลก๊ั ทุกครั้งหลังการใชเ้ คร่ืองใชไ้ ฟฟูา เป็นต้น

ใบความรู้ คร้งั ที 17
แนวปฏบิ ตั กิ ารประหยัดพลังงานไฟฟ้าในครวั เรือน

เรอ่ื ง แนวปฏบิ ัติการประหยัดพลังงานไฟฟา้ ในครัวเรอื น
โดยท่ัวไปเครอื่ งใช้ไฟฟาู ภายในครัวเรือน มักมีการใช้พลังงานไฟฟาู สงู เกือบทุกชนดิ เพ่ือเป็นการ

ประหยดั และคมุ้ ค่า ผู้ใชจ้ งึ ควรมคี วามรู้เกี่ยวกับการใชเ้ ครื่องใช้ไฟฟาู อยา่ งถูกวธิ ี ดังน้ี

เครื่องใช้ไฟฟ้า การใชง้ าน

หลอดไฟฟูา • เลอื กใช้ประเภทและขนาดวตั ตใ์ หเ้ หมาะสมกับการใชง้ านและพ้นื ที่
โทรทศั น์ ตดิ ตง้ั
ตู้เยน็ • เลือกใชห้ ลอดประหยดั ไฟ
• หลอดไฟฟูาและอุปกรณ์ต้องไดร้ บั การรับรองมาตรฐานสนิ ค้า
เครื่องซักผ้า • ปิดสวิตชไ์ ฟทุกคร้ังเมื่อเลกิ ใชง้ าน
ไมโครเวฟ
• เลอื กประเภทและขนาดใหเ้ หมาะสมกับความต้องการใชง้ าน
โทรทศั นท์ ีม่ ีขนาดใหญ่ ย่ิงกินไฟมากข้ึน

• ปดิ และถอดปลั๊กทนั ทเี มื่อไม่มีคนดู

• วางโทรทัศน์ในจุดที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก

• เลอื กใช้ต้เู ย็นท่ีมีฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 และมขี นาดเหมาะสมกบั
ครวั เรอื น

• ไมแ่ ชข่ องทีย่ ังร้อนเพราะจะทาให้ตเู้ ยน็ กินไฟ/ทางานหนัก

• วางตู้เยน็ ในจดุ ท่อี ากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก และหา่ งจากผนงั อย่างน้อย
15 ซม. ไมต่ ง้ั ตู้เยน็ ใกล้แหล่งความรอ้ น หรือรบั แสงแดดโดยตรง

• ตรวจสอบยางขอบประตู ไม่ให้มรี อยรว่ั หรอื เส่ือมสภาพ

• ละลายน้าแขง็ อย่างสมา่ เสมอ และปรบั อุณหภมู ใิ หเ้ หมาะสมกับชนิด
และปริมาณของในตู้เย็น

• ซกั ผา้ ในปริมาณเหมาะสม สัมพันธ์กบั ขนาดของเครื่องซักผา้

• ไมว่ างใกล้อปุ กรณไ์ ฟฟาู อนื่ ๆ

• ศกึ ษาคู่มอื วธิ ีการใชเ้ พื่อการใชง้ านทถ่ี กู ตอ้ ง

หม้อหุงข้าวไฟฟาู • ถอดปล๊ักเม่ือเลกิ ใชง้ าน
กระติกนา้ ร้อนไฟฟูา
• เลอื กขนาดให้เหมาะสมกบั สมาชกิ ในครอบครวั เช่น 1 - 5 คน ขนาด
เครื่องปรบั อากาศ 1.5 ลติ ร หรอื 6-10 คน ขนาด 2 ลติ ร
• ถอดปล๊ักเม่ือเลกิ ใช้งาน

• ถอดปลัก๊ ออกเมื่อน้าเดือดหรอื เลิกใช้

• หมั่นทาความสะอาดลา้ งตะกรันออกบ่อย ๆ
• เติมนา้ ให้อยู่ในระดบั ที่เหมาะสม หรอื ตามทเ่ี ครื่องระบไุ ว้

• ระวังอยา่ ให้นา้ แห้ง หรือปล่อยให้ระดับน้าตา่ กว่าขดี ท่ีกาหนด เพราะ
จะทาใหเ้ กดิ ไฟฟูาลัดวงจรในกระติกนา้ รอ้ น เป็นอันตรายอย่างยิง่

• หมน่ั ทาความสะอาดแผ่นกรองอากาศ และลา้ งเครือ่ งปรบั อากาศปี
ละ 2 ครง้ั

• ตงั้ อุณหภมู ทิ ี่ 26 องศาเซลเซียส
• ปิดประตแู ละหน้าต่างให้สนิท

• เลือกขนาดเครอ่ื งปรบั อากาศใหเ้ หมาะสมกบั พ้ืนที่ของห้อง

เคร่ืองทานา้ อนุ่ ไฟฟาู • เลือกเครื่องทาน้าอุ่นไฟฟาู ใหเ้ หมาะสมกับการใช้ สาหรับบ้านทัว่ ไป
เตารดี เคร่ืองทานา้ ไฟฟูาอ่นุ ควรใช้ขนาดไม่เกนิ 4,500 วตั ต์
พดั ลม
• ติดตัง้ สายดินพรอ้ มเครื่องตัดไฟฟูาร่วั

• ปรบั ระดับความร้อนให้เหมาะสม

• ปิดเคร่ืองทุกครง้ั เมื่อเลิกใชง้ าน

• ควรรวบรวมผา้ ท่ีจะรดี แต่ละครงั้ ให้มากพอ การรดี ผา้ ครงั้ ละชดุ ทาให้
สิ้นเปลอื งไฟฟาู มาก

• ไม่ควรพรมนา้ มากจนเกินไป เพราะจะทาให้สูญเสยี ความร้อนจาก
การรีดมาก

• เลอื กขนาดและประเภทให้เหมาะสมกับการใช้งาน

• เลอื กใช้ความแรงของลมใหเ้ หมาะกับความต้องการ ความแรงของลม

เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ ย่งิ มากย่งิ เปลืองไฟ
• ปิดพัดลมทนั ทีเมื่อไม่ใช้งาน
• หมนั่ ถอดหน้ากากพัดลมลา้ งอยเู่ สมอ
• ปดิ หน้าจอ ถา้ ไม่ใชง้ านนานเกนิ 15 นาที
• ตดิ ตงั้ ระบบ Screen Saver เพ่ือรักษาคุณภาพหนา้ จอ
• วางคอมพิวเตอร์ในที่อากาศถา่ ยเทสะดวก
• ปดิ และถอดปลั๊กทุกครัง้ เมอื่ เลกิ ใชง้ าน

ใบงาน คร้ังที่ 17
วิชา การใชพลังงานไฟฟาในชวี ติ ประจาวัน 1 พว12010 ระดบั ประถมศกึ ษา

คาชแ้ี จง ใหผ้ ้เู รยี นบอกขอควรรูของอปุ กรณไฟฟา ไดแก สะพานไฟ สวติ ช เตารบั และเตาเสียบ ( 5 คะแนน)

อุปกรณไฟฟา ขอควรรู

สวติ ช์

เครื่องตดั ไฟรั่ว

เต้ารับและเต้าเสียบ

ใบงานคร้ังท่ี 17
การประหยัดพลงั งานไฟฟ้า

1. ให้ผเู้ รยี นบอกกลยทุ ธที่ใชในการประหยดั พลังงานไฟฟาู ( 5 คะแนน )
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………............................................................................................................................. ................

2. ให้ผเู้ รยี นเขียนวิธกี ารดฉู ลากเบอร 5 ที่ถกู ตอง มาอยางนอย 3 ขอ ( 5 คะแนน )
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………............................................................................................................................. ................

ใบงานครั้งที่ 17
แนวปฏบิ ตั กิ ารประหยดั พลังงานไฟฟ้าในครวั เรอื น

1. ใหผ้ ู้เรียนนาความรูจากการศึกษา เรื่องการประหยัดพลงั งานไฟฟาไปปรับใชในชีวติ ประจาวัน และเปรียบเทยี บ
คาไฟฟาของตนเองกอนและหลังการปฎบิ ัติการประหยดั ไฟฟา พรอมใหเหตผุ ล ( 5 คะแนน )

เดือน คาไฟฟาในครวั เรือน (บาท) วธิ ีการประหยัดไฟฟา

เฉลยใบงานใบงาน ครั้งท่ี 17
วชิ าการใชพลังงานไฟฟาในชวี ิตประจาวัน 1 พว12010 ระดบั ประถมศกึ ษา

คาชีแ้ จง ใหผ้ ู้เรียนบอกขอควรรูของอุปกรณไฟฟา ไดแก สะพานไฟ สวิตช เตารบั และเตาเสียบ ( 5 คะแนน )

อุปกรณไฟฟา ขอควรรู

สวิตช์ 1) ไม่ควรใช้สวติ ชอ์ ันเดยี วควบคุมเคร่ืองใช้ไฟฟูาหลายชิ้นใหท้ า
เครื่องตดั ไฟรัว่ งานพร้อมกัน เพราะกระแสไฟฟาู ท่ีไหลผ่านสวติ ชม์ ากเกินไปจะทา
ให้จุดสมั ผัสเกดิ ความร้อนสูง อาจทาให้สวิตช์ไหม้ และเป็น
เต้ารบั และเต้าเสียบ อนั ตรายได้

2) ไม่ควรใชส้ วิตช์ธรรมดาควบคมุ เคร่ืองใชไ้ ฟฟูาท่ีมีกระแสไฟฟูา
ไหลผ่านสูง เชน่ เครือ่ งปรับอากาศ เปน็ ตน้ ควรใช้เบรกเกอร์
เพราะสามารถทนกระแสไฟฟูาได้สูงกวา่

1. เครื่องตัดไฟร่วั ตดั กระแสไฟฟูาทุกคร้งั เมื่อเกิดไฟรวั่
ฉะนั้นหากไฟฟูาในบ้านของคุณรว่ั อยูแ่ ล้วกอ่ นตดิ ต้งั

เครอื่ งตดั ไฟร่ัว เครอ่ื งจะตดั ไฟทันทีท่ีติดตั้งเสร็จ ดงั นัน้ จงึ จาเปน็
อยา่ งยิ่งท่จี ะต้องแก้ไขปัญหา ไฟร่วั จนสาเร็จ

กอ่ นเปิดเคร่อื งใช้งาน

2.กรณีท่เี กิดกระแสไฟฟูาไหลผา่ นส่วนใดสว่ นหนงึ่ ของ
ร่างกายจากสายไฟเสน้ หนง่ึ แลว้ ไหลกลับเขา้ สู่สายไฟอีกเส้นหน่งึ
ซึง่ อาจทาใหร้ ่างกายได้รับบาดเจบ็ หรอื เสียชีวติ ได้ โดยเคร่ืองตดั ไฟ
ร่ัวจะไม่ตดั วงจรเพราะกระแสไฟฟูาไหล

ครบวงจรตามปกติ

1) การใชง้ านควรเสียบเต้าเสียบให้แน่นสนทิ กบั เต้ารับและไมใ่ ช้
เตา้ เสยี บหลายอันกบั เต้ารับอันเดียว เพราะเต้ารับอาจร้อนจนลุก
ไหมไ้ ด้

2) เม่ือถอดปลั๊กออกควรจบั ท่ีเต้าเสยี บ ไม่ควรดงึ ที่สายไฟ เพราะ
จะทาใหส้ ายหลุดและเกิดไฟฟูาลัดวงจรได้

เฉลยใบงานคร้ังที่ 17
การประหยัดพลงั งานไฟฟา้

1. ใหผ้ ู้เรยี นบอกกลยุทธที่ใชในการประหยดั พลงั งานไฟฟา ( 5 คะแนน )
กลยทุ ธท์ ่ีใชใ้ นการประหยดั พลังงานไฟฟาู คือ กลยทุ ธ์ 3 อ. ไดแ้ ก่ อุปกรณ์ประหยัดไฟฟูา อาคารประหยัดไฟฟูา

และอปุ นิสยั ประหยดั ไฟฟาู
อ. 1 อุปกรณ์ประหยัดไฟฟาู เปน็ การส่งเสรมิ ให้ทุกครัวเรอื นเปลีย่ นมาใช้เครอื่ งใชไ้ ฟฟาู ที่มี

ประสิทธภิ าพสูง ประหยดั ไฟ
อ. 2 อาคารประหยดั ไฟฟูา ไดแ้ ก่ การบริหารการใช้ไฟฟาู การปรับปรงุ ระบบปอู งกันความร้อนเข้าสู่

อาคาร การใช้ระบบปรับอากาศประสทิ ธิภาพสงู การปรบั ปรุงระบบแสงสวา่ ง และการจัดการอบรมใหค้ วามรู้ด้านการ
ใช้พลังงานอย่างถูกตอ้ ง

อ. 3 อุปนสิ ยั ประหยดั ไฟฟูา เปน็ การปลกู จิตสานึกและอปุ นิสัยใหค้ นไทย โดยเฉพาะอยา่ งยิง่
เยาวชนไทย ใชพ้ ลังงานอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ เช่น ปดิ สวิตช์ไฟและเครื่องใช้ไฟฟาู เม่ือเลกิ ใช้งาน ตง้ั อณุ หภูมิ
เครือ่ งปรบั อากาศที่ 26 องศาเซลเซียส และถอดปล๊กั ทุกคร้ังหลังการใชเ้ ครื่องใช้ไฟฟูา

2. ให้ผูเ้ รยี นเขียนวธิ ีการดฉู ลากเบอร 5 ทถ่ี ูกตอง มาอยางนอย 3 ขอ ( 5 คะแนน )

เฉลยใบงานคร้งั ท่ี 17
แนวปฏิบัตกิ ารประหยัดพลังงานไฟฟา้ ในครัวเรือน

1. ให้ผู้เรยี นนาความรูจากการศึกษา เรื่องการประหยัดพลังงานไฟฟาไปปรบั ใชในชีวติ ประจาวนั และเปรยี บเทยี บ
คาไฟฟาของตนเองกอนและหลงั การปฎิบัติการประหยดั ไฟฟา พรอมใหเหตผุ ล ( 5 คะแนน )

เดอื น คาไฟฟาในครวั เรือน (บาท) วธิ กี ารประหยัดไฟฟา
วันที่/เดอื น/ปี
ตามแบบคาไฟฟาในครวั เรอื นของ วธิ ีการประหยดั ไฟฟาของนกั ศึกษา
นกั ศึกษา

วนั ท่ี/เดอื น/ปี ตามแบบคาไฟฟาในครวั เรือนของ วิธกี ารประหยดั ไฟฟาของนกั ศกึ ษา
นกั ศกึ ษา

บรรณานุกรม

หนังสอื ชุดวิชา การใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าในชีวติ ประจาวัน ๑
คลปิ วีดโี อสื่อการสอนออนไลน์. :
วชิ าการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าในชีวิตประจาวัน ๑ (เรื่อง อุปกรณ์ไฟฟ้า)
ความสาคัญของพลังงานไฟฟ้า. (ออนไลน์). เขา้ ถึงไดจ้ าก :

https://wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_basiscourse/wiki/da6a1.
(วนั ทส่ี ืบคน้ : ๑ มถิ ุนายน 25๖๓)
ประโยชน์ของพลังงานไฟฟา้ . (ออนไลน์). เข้าถึงไดจ้ าก :
https://sites.google.com/site/m101saveelectricity/bth-thi-2-xeksar-thi-
keiywkhxng/prayochn-laea-thos-khxng-fifa (วันทส่ี บื ค้น : ๑ มิถุนายน 2๕๖๓)
ประวัติความเป็นมาของไฟฟ้า. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
http://www.mwit.ac.th/~physicslab/content_01/electricitis/electric4.htm.
(วนั ทีส่ บื คน้ : ๑ มถิ ุนายน 2557)
ประเภทของไฟฟา้ . (ออนไลน์). เขา้ ถงึ ได้จาก :
https://sites.google.com/site/mechatronicett09/project-definition/3(วนั ท่สี บื ค้น
: 1 มถิ ุนายน 2๕๖๓)
สถานการณ์พลงั งานไฟฟ้าของประเทศไทย. (ออนไลน์). เขา้ ถึงได้จาก :
https://www.dede.go.th/ewt_news.php?nid=47349 (วันที่สบื ค้น : 1 มิถุนายน 2๕๖๓)
หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้องด้านพลงั งานไฟฟา้ . (ออนไลน์). เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://nfebanruean-
aducation.blogspot.com/p/3.html (วันทีส่ ืบคน้ : 1 มถิ ุนายน 2๕๖๓)
อุปกรณ์ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า. (ออนไลน์). เขา้ ถึงไดจ้ าก :
https://sites.google.com/site/biwauthen11/hnathi-khxng-xupkrn (วนั ท่ีสืบคน้ : 1 มถิ นุ ายน
25๖๓)
การประหยดั พลังงานไฟฟา้ . (ออนไลน์). เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://hilight.kapook.com/view/82406 (วันท่ี
สบื ค้น : 1 มิถนุ ายน 25๖๓)

คณะท่ปี รึกษา ผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวดั สุพรรณบรุ ี
รองผู้อานวยการสานกั งาน กศน.จงั หวัดสุพรรณบรุ ี
นายธิตพิ นธ์ ระลอกแก้ว ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอสองพน่ี อ้ ง รกั ษาการ
นางสาวจันทร์ทพิ ย์ สนิ ธุวงษานนท์ ในตาแหนง่ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอด่านชา้ ง
นายเฉลย โพธเ์ิ ผ่อื นนอ้ ย
ครู ค.ศ.๑ กศน. อาเภอดา่ นช้าง
คณะทางาน ครู กศน.ตาบลองค์พระ
ครู กศน.ตาบลวังคนั
นางสาวนดั ธดิ า หล้าอามาตย์ ครู กศน.ตาบลนิคมกระเสียว
ครู กศน.ตาบลหนองมะค่าโมง
นางสาววรรณวภิ า มูลปราโมกข์ ครู กศน.ตาบลห้วยขมิ้น
ครู กศน.ตาบลดา่ นช้าง
นางรจนา หมวดผา ครู กศน.ตาบลวงั ยาว

นางสาวมัสลนิ ปราชญว์ ชิ า

นางสาวศริ ิวรรณ วิมลู ชาติ

นางสาวผกาวลีย์ บุญธรรม

นางสาวฉลอง เฉลมิ วงศต์ ระกลู

นายชาตรี คานวน


Click to View FlipBook Version