The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปองค์ความรู้ นักคิด แนวคิด ทฤษฎีการบริหารจัดการ
Ed.D. Educ. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รุ่น 63
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pannaton.la, 2021-11-09 04:00:30

สรุปองค์ความรู้ นักคิด แนวคิด ทฤษฎีการบริหารจัดการ

สรุปองค์ความรู้ นักคิด แนวคิด ทฤษฎีการบริหารจัดการ
Ed.D. Educ. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รุ่น 63
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช

ส รุ ป เ นื้ อ ห า ดร.คีสิน กุสสลานุภาพ : ผู้แต่ง

นั ก คิ ด แ น ว คิ ด ท ฤ ษ ฎี ก า ร บ ริ ห า ร ก า ร จั ด ก า ร

ก า ร พั ฒ น า ภ า ว ะ ผู้ นำ ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า
ดร.สมปอง รักษาธรรม : อาจารย์ผู้สอน
Ed.D. Educ. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รุ่น 63
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช

















































Frederick Herzberg

นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน
ผลงานงานเด่น

: ทฤษฎีแรงจูงใจ
: ทฤษฎีสองปัจจัย

แนวคิดการบริหารของ Herzberg

ให้ความสำคัญกับปัจจัยที่ทำให้เกิดความพึงพอใจ
ในงานซึ่งเป็นแรงจูงใจหรือสิ่งกระตุ้นในการทำงาน




ทฤษฎีแรงจูงใจสองปัจจัยของ Herzberg



ประกอบด้วย 2 กลุ่ม ปัจจัยที่เป็นแรงจูงใจทำให้คน
อยากทำงาน

ทฤษฎีแรงจูงใจสองปัจจัยของ Herzberg

ปัจจัยจูงใจหรือปัจจัยกระตุ้น  ปัจจัยค้ำจุนหรือปัจจัยสุขอนามัย
(Motivator factors) (Hygiene factors)

๑) ความสำเร็จของงาน ๑) นโยบายและการบริหารงาน
๒) การยกย่องนับถือหรือการยอมรับ ๒) เงินเดือน
๓) ลักษณะของงาน ๓) ความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา
๔) ความรับผิดชอบ ๔) ความสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา
๕) ความก้าวหน้าในตำแหน่งการงาน ๕) ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน
๖) สถานภาพในการทำงาน
๗) วิธีการปกครองบังคับบัญชา
๘) ความมั่นคงในการทำงาน
๙) สถานะของอาชีพ

Harold Sydney
Genine

H.S. Genine

เป็นชาวอเมริกัน
เป็นผู้บริหารของบริษัทที่ประสบความ

สำเร็จในการบริหาร

ข้อคิดของ H.S. Genine ที่ได้รับการกล่าวถึง
และเป็นที่ยอมรับนำไปปฏิบัติ ได้แก่

ข้อคิดด้านการเงิน
“ถ้าท่านเหนื่อยกับตัวเลขเพียงนิด

ท่านก็จะเป็นอิสระในภายหน้า”

ข้อคิดของ H.S. Genine ที่ได้รับการกล่าวถึงและ
เป็นที่ยอมรับนำไปปฏิบัติ ได้แก่

ข้อคิดด้านการจัดการสำนักงาน

“ถ้าสำนักงานของท่านไม่ยุ่งเหยิงแล้ว ท่านก็อาจไม่ได้ทำ
หน้าที่ของท่านได้”

ข้อคิดของ H.S. Genine ที่ได้รับการกล่าวถึงและ
เป็นที่ยอมรับนำไปปฏิบัติ ได้แก่

ข้อคิดด้านการบริหาร

“ผู้บริหารต้องบริหาร”

H.S. Genine

กล่าวว่าทฤษฎีการบริหารเพื่อ
ความสำเร็จมีมากกมาย เช่น

ทฤษฎี X ทฤษฎี Y ทฤษฎี Z

Herbert A. Simon

เป็นผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่ง
ทฤษฎีการตัดสินใจ ได้กล่าวว่า

“การบริหารก็คือ การตัดสินใจ”

ลักษณะการตัดสินใจเพื่อให้ได้ทางเลือกที่ดี
มีขั้นตอนที่สำคัญ ๔ ขั้นตอน

1. การพิจารณาถึงปัญหาและสาเหตุ
2. การพิจารณาค้นหาทางเลือก 
3. การประเมินผลทางเลือก 
4. การตัดสินใจเลือกทางเลือกและการนำทางเลือกไปปฏิบัติ

Henri Fayol

ผู้ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็น

บิดาแห่งทฤษฎีการจัดการสมัยใหม่

Henri Fayol

ได้เสนอ

องค์ประกอบของการบริหาร 5 ประการ
รู้จักกันในชื่อ POCCC

Henri Fayol

ได้เสนอ

หลักการบริหารที่ใช้ในการบริหารองค์การ
14 ประการ



Planning

Controlling Organising

Coordinating Commanding

หลักการบริหาร 14 ข้อ ของ Henri Fayol



1.การมีเอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command)
2.การมีเอกภาพในการสั่งการ (Unity of Direction)
3.การแบ่งงานกันทำ (Division of Work)
4.การรวมอำนาจไว้ทส่วนกลาง (Centralization)
5.อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ (Authority and Responsibility)
6.ความเสมอภาค (Equity)
7.สายการบังคับบัญชา (Scalar Chain)

8. การให้ผลประโยชน์ตอบแทน (Remuneration)
9. การมีระเบียบข้อบังคับ (Order)
10. ความมีระเบียบวินัย (Discipline)
11. ความคิดริเริ่ม (Initiative)
12. ผลประโยชน์ของบุคคลควรจะเป็นรองจากผลประโยชน์ส่วนรวม

(Sulxordination of Individual Interest to the General

Personnel)

13.ความมั่นคงในหน้าที่การงาน (Stability of Lenore of Personnel)
14. ความสามัคคีเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน (Esprit de Crope)

Henry แนวคิดด้านการบริหารเชิงกลยุทธ์ 5P
(Henry Mintzberg’s 5Ps of Strategy)
Mintzberg

ประวัติ

Henry Mintzberg เกิดเมื่อวันที่ 2
กันยายน 1939 (พ.ศ.2482) เกิดในประเทศ
Canada แต่ท่านไปเรียนหนังสือที่ประเทศ
สหรัฐอเมริกา แล้วกลับไปทำงานในประเทศ
Canada ในด้านการศึกษาท่านจบ ปริญญาโท
MBA ในปี ค.ศ. 1965 และปริญญาเอกใน
ปี1968 จาก MIT Sloan School of
Management

แนวคิดบทบาทด้านการจัดการของผู้บริหาร แนวคิดโครงสร้างองค์กร
(Henry Mintzberg’s managerial roles) (Henry Mintzbergs’s Organizational

Configurations)

Hugo แนวคิดเชิงพฤติกรรม
(The Behavior Viewpoint)
Munsterberg

ประวัติ

Hugo Munsterberg (ปี 1863 – 1916) เกิดวันที่ 1
มิถุนายน 1863 ที่เมืองDanzig ประเทศ Germany การ
ศึกษา 1882 ที่ University of Geneva University of

ผลงานleipzig

Psychology and Industrial
Efficiency

Joan องค์กรแบบจักรกล
Woodward

การออกแบบโครงสร้างองค์การ จะมีความแตกต่าง องค์กรแบบชีวจักร
กันออกไปตามสภาวะแวดล้อมที่เข้ามา กระทบ เช่น จาก
เทคโนโลยีที่แต่ละองค์การหรือองค์การผู้ผลิตแต่ละประเภท
ผลิตภัณฑ์ใช้ เช่น ในสภาวะแวดล้อมที่เทคโนโลยีที่เป็นการ
ผลิตตามกระบวนการที่มีวิธีการทำงานยุ่งยากซับซ้อนนั้นจะ
มีสายการบังคับบัญชาหลายระดับ

Likert Rensis

Rensis Likert เกิด 5 สิงหาคม 1903, Cheyenne , Wyoming , US -
เสียชีวิต 3 กันยายน 1981, Ann Arbor , Michigan นักสังคมศาสตร์ชาว
อเมริกันผู้พัฒนาเครื่องชั่ งสำหรับการวัดทัศนคติและนำแนวคิดเรื่องการ
จัดการแบบมีส่วนร่วม

สร้างทฤษฎีการบริหาร พัฒนากระบวนการวิจัย
จัดการแบบมีส่วนร่วม แบบ Survey

การวัดทัศนะคติ

ก่อตั้งสถาบันวิจัยทางสังคม การบัญชี ทรัพยากรมนุษย์
ที่มหาวิทยาลัยมิชิ แกน

LUTHER GULICK &

LYNDAL URWICK

หลักการจัดโครงสร้าง หลักการประสานงานหน่วย หลักการกระบวนการ
อำนาจภายใน งานย่อย POSDCORB

max weber (1864-1920)

- ระบบราชการ ( Bureaucracy) - ในอุดมคติ มีความเป็นตรรกะ ( logical)
- ความเป็นเหตุเป็นผล(rational ) - มีประสิทธิผล ( efficient)

ระบบราชการตามอุดมคติ (Ideal Bureaucracy)

ผู้นำองค์การจะต้องมีอำนาจอันชอบธรรม และใช้อำนาจอันชอบธรรมในการบริหารองค์การให้บรรลุผลสำเร็จ

.

คุณลักษณะ 5 ประการ อำนาจ 3 รูปแบบ ผู้นำ 3 รูปแบบอำนาจ

การแบ่งงานกันทำ อำนาจตามกฎหมาย (Legal authority) ผู้นำตามกฎหมาย ( Legal )
สร้างกฎระเบียบ อำนาจตามประเพณี (Treditional authority )
สายการบังคับบัญชา ผู้นำตามประเพณี ( Treditional )
บริหารงาน ปราศจากอคติ อำนาจตามบุญบารมี (Charismatic authority) ผู้นำตามบุญบารมีส่วนตน( Charismatic)

สร้างความจงรักภักดี

มนุษยสัมพันธ์ Elton Mayo ค.ศ. 1880 -1949

ปทัสถานสังคม ความสำคัญของคน
พฤติกรรม การจูงใจ
อำนาจการต่อรอง ความเป็นผู้นำ
รางวัล/การลงโทษ
การนับถือ/จงรักภัคดี

องค์กรไม่เป็นทางการ การพัฒนาจิตใจ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

องค์การเงา วัตถุดิบ ระดับความรู้
ยืดหยุ่นได้
เทคนิค ระดับทัศนคติ สมมติฐานฝูงชน
การทำงานเป็นทีม จิตใจ พฤติกรรมของแต่ละ
บุคคล หน้าที่
ความสำเร็จ ความต้องการ พฤติกรรมกลุ่ม ผล
ความภูมิใจ ประโยชน์
การยกย่อง ตอบสนองต่อพลังงาน
ตอบสนองต่อฝ่ายบริหาร

การยอมรับ


Click to View FlipBook Version