The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปองค์ความรู้ นักคิด แนวคิด ทฤษฎีการบริหารจัดการ
Ed.D. Educ. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รุ่น 63
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pannaton.la, 2021-11-09 04:00:30

สรุปองค์ความรู้ นักคิด แนวคิด ทฤษฎีการบริหารจัดการ

สรุปองค์ความรู้ นักคิด แนวคิด ทฤษฎีการบริหารจัดการ
Ed.D. Educ. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รุ่น 63
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช

มีความคิดเห็นในเรื่องระบบราชการ ดังนี้

ระบบราชการ

เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพทางเทคนิค ที่มุ่งไป
สู่ความแน่นอน รวดเร็ว ควบคุมโดยผู้เชี่ยวชาญต่อ

Robert K. Merton เนื่อง การรักษาความลับและผลประโยชน์ตอบแทน

นักการศึกษา และนักสังคมวิทยา ชาวอเมริกัน สูงสุด แต่อีกนัยนึงก็เป็นโครงสร้างทำลายความ
สัมพันธ์ระหว่างบุคคล และเต็มไปด้วยความไร้

โครงสร้างของระบบราชการ เหตุผล

เป็นการบริหารที่หลบเลี่ยงการวิพากษ์วิจารณ์ โดยสาธารณชน ในด้านเทคนิคการทำงาน เป็นการรักษาความลับ
ในด้านต้นทุน มีความลับมากกว่าภาคเอกชน ทั้งนี้เพราะประชาชนมีความสัมพันธ์กับองค์กรของรัฐ

ในฐานะผู้มารับบริการ อำนาจในการต่อรองของประชาชนจะเป็นแบบ Passive ไม่มีพลัง บุคคลในระบบแม้จะได้
รับการฝึกหัดมาอย่างดี แต่ด้วยปฏิบัติภายใต้กฎ ระเบียบ ที่เข้มงวด ย่อมจะเปฯอุปสรรคต่อการทำงานอย่างมี
ประสิทธิภาพ ซึ่งผลกระทบนี้ จะนำไปสู่ความไม่พึงพอใจในที่สุด

จุดบอดของระบบราชการ

จุดบอดของระบบราชการ ความคือกดที่เข้มงวด ในระบบโครงสร้างการบริหารราชการ ไม่ได้รับการเอาใจ
ใส่ ทำให้มีความยุ่งยากมากขึ้น จุดบอดสำคัญ คือ พื้นฐานทักษะต่างๆ ขึ้นอยู่กัยการตัดสินใจในอดีต การเคร่ง
ระเบียบมากเกินไป นำไปสู่ความห่างไกลจุดหมายที่แท้จริงขององค์การ เพราะต้องปรับเปลี่ยนจุดประสงค์ให้
เหมาะกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เพื่อความสอดคล้องกับความเป็ฯไปได้ในการปฏฺบัติจริง

ความสัมพันธ์ในระบบราชการ

ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับข้าราชการ เป็ฯแบบไม่เป็นฝักเป็นฝ่าย
แบบแผนการประพฤติปฎิบัติของบุคคล มาจากบรรทัดฐานทางสังคมนั้นๆ

กล่าวคือ ความสัมพันธ์ของข้าราชการกับประชาชน กฏของสำนักงาน ทำให้พนักงานถูกควบคุมด้วย
อำนาจอย่างเด็ดขาด และด้วย้หตุนี้นำไปสู่การกระทำและการวางตัวเช่นนั้น
ข้าราชการ รู้สึกว่าอยู่เหนือประชาชน เพราะประชาชนมาขอรับบริการ
ประชาชน รู้สึกว่าอยู่เหนือข้าราชการ เพราะข้าราชการต้องให้บริการประชาชน

Robert R. Blake
& Jane S. Mouton

แนวความคิด

งานของนักบริหารระดับผู้จัดการต้องให้ความร่วม
มือช่วยเหลือสร้างเสริมพฤติกรรมและทัศนคติที่ดี
แก่คนงานและผลักดันให้มีการเพิ่มประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลในการผลิต

การพิจารณาจากตาข่ายของการจัดการ สามารถพิจารณาเลือกนำไปใช้ ให้ประสบผลสำเร็จตาม
วัตถุประสงค์ขององค์การได้ตามระดับแห่งความต้องการ โดยมีแนวคิดมุ่งหวังให้คนอื่นร่วมใจกัน
ทำงานให้เราอย่างมีคุณภาพและตัวเขาเองก็ทำด้วยความสบายใจ เบลคและมูตัน ทำให้รู้สึกที่จะ
คำนึงถึงปัญหาต่างๆ ได้อย่างหลากหลายและครอบคลุมทั้งตัวงานและด้านบุคลากร

รูปแบบของการเป็นผู้นำของนักบริหาร เลือกนำไปใช้ได้...

1. รูปแบบการใช้เป้าหมายงานนำหน้า 6. รูปแบบเสรีนิยม
2. รูปแบบมุ่งคน 7. รูปแบบปล่อยตามสบาย
3. รูปแบบการใช้คุณธรรมนำหน้า 8. รูปแบบผสมผสาน
4. รูปแบบประชาธิปไตย 9. รูปแบบทีมงาน
5. รูปแบบเผด็จการ

TAYLOR, FREDERICK WINSLOW

ได้รับการยกย่องว่า "บิดาของการบริหารที่มีหลักเกณฑ์"

เป็นนักวิชาการที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มการจัดการแบบวิทยาศาสตร์

เป็นการศึกษาที่ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาตร์เป็นการอาศัยความสม

เหตุสมผล (Validity) ความน่าเชื่อถือ (Realiability) เพื่อช่วยให้

ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานในองค์การ

มีกระบวนการพัฒนาคน ต้องสร้างหลักการทำงานที่เป็นวิทยาศาสตร์
โดยใช้หลัก Time and Motion Study แล้ว

มีการเลือกคนให้เหมาะสม กำหนดเป็น One best Way เพื่อให้เกิดวิธีการ
ทำงานที่มีประสิทธิภาพ

สร้าง Friendly Cooperationให้เกิดขึ้น

THOMAS J. PETERS ROBERT H. WATERMAN, JR.

คุณสมบัติขององค์การแห่งความเป็นเลิศ 8 ประการ

1.มุ่งเน้นลงมือปฏิบัติ Bias for Action
2.ใส่ใจใกล้ชิดลูกค้า Staying close to customer
3.อิสระ กระจายอำนาจ จิตวิญญาณผู้ประกอบการ Autonomy and Entrepreneurship

4.เพิ่มผลผลิตโดยอาศัยพนักงาน Productivity Through People

คุณสมบัติขององค์การแห่งความเป็นเลิศ 8 ประการ

5. สัมผัสกับงานอย่างใกล้ชิดและความเชื่อมั่นในคุณค่าเป็นแรงผลักดัน (hands-on
and value driven)
6. ทำแต่ธุรกิจที่มีความเชี่ยวชาญและเกี่ยวเนื่อง (Stick to the Knitting)
7. รูปแบบเรียบง่ายธรรมดา พนักงานอำนวยการหรือส่วนกลางมีจำกัด (Simple
form and Lean staff)
8. เข้มงวดและผ่อนปรนในเวลาเดียวกัน
Simultaneous loose-tight Properties

MCKINSEY 7-S
FRAMEWORK

VICTOR H.VROOM ทฤษฎีความคาดหวัง
แบ่งได้ 2 รูปแบบ
นักจิดวิทยา ชาวแคนนาดา ที่
สนใจศึกษาเรื่องของ รู ป แ บ บ ที่ มี ค ว า ม ซั บ ซ้ อ น ม า ก ขึ้ น อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ
กระบวนการจูงใจรูปแบบใหม่ สำคัญ
ผลงานที่สร้างชื่อเสียงให้แก่เขา รูปแบบอย่างง่าย แรงจูงใจ = ความพอใจ X
คือ..... ความคาดหวัง

Work and Motivation

ผลลัพธ์ ความคาดหมาย

ความพอใจ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลัง เกี่ยวข้องกับการรับรู้
พฤติกรรม บุคคลเชื่อว่าการทุ่มเท ของบุคคลหนึ่ง เกี่ยวกับ
ความพอใจจะเป็นตัวจูงใจ ความสามารถความตั้งใจให้แก่ การเชื่อมโยงระหว่าง
พฤติกรรมของบุคคลให้ การปฏฺบัติงานมากเท่าใด ก็จะนำ พฤติกรรมและผลที่เกิด
กระทำ โดยให้ความสำคัญ ไปสู่ผลลัพธ์ต่างๆ เช่นการได้ ขึ้นภายหลังพฤติกรรม
กับผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น รับคำชมจากเจ้านาย การได้รับ และความคาดหวัง
หมายความว่า บุคคลมีความ เงินเดือนเพิ่ม ทั้งนี้ผลลัพธ์นั้น เป็นการคาดคะเนของ
พอใจ (ต้องการ) อย่างไรก็ อาจเป็นผลในทางตรงกันข้ามก็ได้ บุคคลเกี่ยวกับโอกาส
ขึ้นอยู่กับ มาก-น้อย ของ เช่น เพื่าอนร่วมงานไม่พอใจ ของระดับของกำลัง
ความต้องการหรือไม่ ความเครียด ผลลัพธ์แต่ละอย่าง ความพยายามหรือแรง
ต้องการในผลลัพธ์นั้น จะประกอบด้วยความชอบหรือ จูงใจระดับหนึ่ง จะนำไป
ความปราถนา ของบุคคลด้วย สู่ผลที่ติดตามมาที่
ต้องการ

WILLIAM E.DEMING



ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่ “คุณภาพ"



สิ่งที่ทำให้เดมิ่งเป็นผู้มีชื่อเสียงในด้านการจัดการ คือ
ปรัชญาการบริหารเพื่อคุณภาพ ทำให้เขามีชื่อเสียงโด่งดังมากที่
ประเทศญี่ปุ่นจนถึงกับมีการร่วมตั้งรางวัล Deming Award
ให้เป็นเกียรติแก่เดมิ่ง รางวัลนี้เป็นรางวัลแห่งความสำเร็จแก่
บริษัทองค์การต่าง ๆ ที่บริหารประสบความสำเร็จและมีคุณภาพ
สูงของประเทศญี่ปุ่น

แนวคิดของเดมิ่ง ในการบริหารไม่เห็นด้วยกับแนวคิดบริหารแบบเก่า
ที่เน้นเป้าหมายขององค์การเป็นสิ่งสำคัญสูงสุด การพัฒนาแข่งขันกัน
เพื่ อเป้าหมายของหน่วยงานที่ได้สินค้าที่มีคุณภาพและผลกำไรนั้นเป็นสิ่งที่
ดีแต่จะทำให้เกิดการทำลายมากกว่าพัฒนา แข่งขันกันผู้แพ้ต้องเลิกกิจการ
หากต้องให้ชีวิตที่ดีขึ้น หน่วยงานก้าวหน้าขึ้น หน่วยงานต้องทำงานด้วย
หวังพัฒนาในทุก ๆ วัน ทุกหน่วยงานต้องช่วยกันพัฒนาซึ่งกันและกันทุก
คนจะ ชนะ-ชนะคือทุกคนต้องร่วมมือกันระหว่างคนกับคนหน่วยงานกับ
หน่วยงานเป็นเช่นนี้ทุกคนจะมีความสุขคนงานมีความสุขหน่วยงานมีความ
สุขและสังคมมีความสุข จึงจะมีคุณภาพสมบูรณ์ในการบริหารหน่วยงาน











ทฤษฎี 3 มิติ ผู้นำนั้นสามารถนำมาใช้ได้ตามแต่ละสถานการณ์ที่
องค์องเผชิญ โดยปรับไปตามอิทธิผลสิ่งแวดล้อมต่างๆ ผู้นำที่ดี
จะต้องสามารถเปลี่ยนประเภทหรือแบบวิธีการทำงานของตนให้
เหมาะสมกับสถานการณ์นั้น ๆ (Style Flexibility)





1. จัดให้ทุกคนที่เกี่ยวข้องในองค์การได้เข้าใจให้ดีเกี่ยวกับทฤษฎีที่จะนำมาใช้ในองค์การ
2. ตั้งปรัชญาประจำบริษัทโดยการประชุมหรือออกเป็นแบบสอบถามเพื่อให้ทุกคนได้ร่วมออกความ
เห็นในบริษัทของตน
3. กำหนดปรัชญาการบริหารสำหรับหัวหน้างานแต่ละระดับเพื่อถือปฏิบัติให้สอดคล้องกัน
4. ลงมือปฏิบัติตามปรัชญาที่วางไว้ด้วยการจัดโครงสร้างการบริหารงานและใช้ระบบการจูงใจที่
เหมาะสม
5. พัฒนาทักษะทางด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลทั้งระดับคนงานและหัวหน้างาน
6. สร้างความสัมพันธ์และประสานงานกับสหภาพแรงงานของบริษัทด้วยการประสานประโยชน์และให้
ฝ่ายสหภาพแรงงานร่วมรับผิดชอบกับฝ่ายบริหารเพื่อให้งานด้านแรงงานมีความราบรื่น

7. สร้างคุณภาพความมั่นคงให้แก่การจ้างงานด้วยระบบการประเมินผลงานในระยะยาวและหลีกเลี่ยง
การปลดคนงานออก
8. กำหนดระบบการประเมินและการเลื่อนชั้นคนงานที่ทำให้คนงานเห็นความสำคัญของผลงานใน
ระยะยาวมากกว่าผลงานเฉพาะหน้า
9. ขยายแนวอาชีพให้กว้างขวางออกไปโดยให้มีการหมุนเวียนไปทำงานในหน้าที่ต่างๆในองค์การเพื่อ
ให้พนักงานแต่ละคนมีความรู้และความสามารถทำงานได้หลายอย่าง
10. ค้นหาจุดที่จะทดลองใช้การบริหารแบบมีส่วนร่วมและลงมือปฏิบัติ
11. ส่งเสริมให้พนักงานทุกคนคำนึงถึงส่วนรวมโดยการสร้างความเข้าใจด้วยการร่วมอภิปรายร่วม
ประชุมเพื่อตอบคำถามและชี้แจงรายละเอียด

จุดแข็ง




องค์การแบบ 2 เหมาะสมกับกลุ่มสังคมที่ทุกๆ คน ในกลุ่มเป้าหมายคล้ายคลึงกัน และตรงกับเป้า
หมายของสังคม การทำงานในองค์การแบบนี้ไม่ต้องการแบ่งแยกรายละเอียดเกี่ยวกับงาน แต่จะรู้กัน
ในระหว่างคนที่ระดับอาวุโสเท่ากันว่าใครควรทำอะไร อย่างไร โดยทุกคนมีความไว้วางใจซึ่งกันและ
กัน ดังนี้

1. การจ้างงานระยะยาวฝ่ายบริหารสามารถที่จะพัฒนาความรู้ความชำนาญของพนักงานให้มี
ประสิทธิภาพในการทำงานได้ดียิ่งขึ้น

2.การประสานงานในองค์การ จะเกิดปัญหาน้อยลง
3. พนักงานมีความรู้ทั่วไปทำให้สามารถทคแทนแรงงานระหว่างพนักงานด้วยกันได้
4.การกระจายอำนาจขององค์การแบบ Z สามารถป้องกันการหาผลประ โยชน์ของบุคคลที่มีอำนาจได้
5.ลดค่าใช้จ่ายในการรับสมัครและการฝึกอบรมพนักงานใหม่ เพราะเป็นการจ้างงานระยะยาว

จุดอ่อน

องค์การแบบ Z ไม่ใช่ว่าจะมีแต่จุดแข็งเท่านั้น จุดอ่อนก็มีให้เห็น คือ
1. องค์การแบบ 2 ทำให้เกิดอาการอย่างหนึ่ง คือ การกลัวคนนอก
2. การที่องค์การแบบ 2 เน้นการมีเป้าหมายร่วมกันในระยะยาวเป็นผลให้เกิดประเพณีปฏิบัติบาง
อย่างขึ้นในองค์การ แต่ถ้าหากมีความจำเป็นจะต้องมีการพัฒนาองค์การเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพ
ภายนอกอาจเกิดการต่อด้านการเปลี่ยนแปลงขององค์การ
3. ปัญหาการสร้างผู้เชี่ยวชาญในด้านต่างๆเพราะการทำงานที่ ไม่เน้นความชำนาญเฉพาะด้าน
4. อาจมีการรวมตัวของชนกลุ่มน้อยต่างๆ และมีการแบ่งชั้นวรรณะ ตลอดจนมีการรวมกลุ่มแบบ
กลุ่มผลประโยชน์เกิดขึ้น

วูดโรว์ วิลสัน ประธานาธิบดีคนที่ 28 ของ
สหรัฐอเมริกา ได้รับรางวัล NOBLE PEACE PRIZE
ในปี 1920 โดยครอบครัวของวิลสัน เป็นครอบครัวที่
เคร่งศาสนา ทำให้วินสันได้รับอิทธิพลทางศาสนาเป็น
อย่างมาก

WILSON WOODRAW

"การแยกการตัดสินใจ ทางการเมือง ออกจากการ
ตัดสินใจทางบริหาร" แยกมติมหาชนและการมีส่วนร่วม
ในการกำหนดนโยบาย ออกจากการบริหารจัดการ

จัดทำโดย

ชื่อ - นามสกุล รหัสนักศึกษา ชื่อ - นามสกุล รหัสนักศึกษา

นางสาวมลทิรา รัตนบุรี 6377701001 นางสาวอรอุมา ชูสุวรรณ์ 6377701010

นางสาวอุษา ปานดำ 6377701002 นางสาวสุมาลี หลีจิ 6377701011

นางนิตยารัตน์ คงนาลึก 6377701003 นายอัสสยุช รักษ์พงศ์ 6377701014

นายอนิวัช แก้วจำนงค์ 6377701004 นายศักดิ์ชัย สุวรรณคช 6377701015

นายธีรยุทธ ศรีสงค์ 6377701005 นางสาวหยาดพิรุณ รักษ์พิกุลทอง 6377701016

นางศุภรัตน์ ทรายทอง 6377701006 นายกรัสนัย คงทอง 6377701017

นายจีรนันท์ ปรีชาชาญ 6377701007 นายปัณณธร ละม้าย 6377701018

นายพิเชษฐ์ สกุณา 6377701008 นางสาวรุ่งนภา วัจนะพันธ์ 6377701019

นายเศกสรรค์ กังสะวิบูลย์ 6377701009




Click to View FlipBook Version