The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jakkit peekam, 2021-10-28 03:48:30

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565

47

กจิ กรรม สง่ เสรมิ การอ่านและการเรียนรู้ทหี่ ลากหลายให้บรกิ ารกบั ประชาชนในพืน้ ท่ตี ่าง ๆ อยา่ งท่วั ถึง สม่ำเสมอ
รวมทั้ง เสริมสร้างความพรอ้ มในด้านบุคลากร สื่ออุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการอ่าน และการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม
การอา่ น อย่างหลากหลายรูปแบบ

2) จัดสร้างและพฒั นาศนู ย์วิทยาศาสตร์เพอื่ การศึกษา ใหเ้ ป็นแหลง่ เรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรต์ ลอดชีวิต
ของประชาชน เป็นแหล่งสร้างนวัตกรรมฐานวิทยาศาสตร์และเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปะวิทยาการประจํา
ท้องถิ่น โดยจัดทําและพัฒนานิทรรศการสื่อและกิจกรรมการศึกษาที่เน้นการเสริมสร้างความรู้และสร้างแรง
บันดาลใจ ด้านวิทยาศาสตร์สอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงสร้างสรรค์ และปลูกฝังเจตคติทาง
วิทยาศาสตร์ ผ่านการกระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี
วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ รวมทั้งสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน และ
ประเทศ รวมทั้งระดับภูมิภาค และระดับโลกเพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถนําความรู้และทักษะไป
ประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวิต การพัฒนา อาชีพ การรักษาสิ่งแวดล้อม การบรรเทาและป้องกันภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติ รวมทั้งมีความสามารถในการปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นไปอย่าง
รวดเรว็ และรนุ แรง (Disruptive Changes) ไดอ้ ย่าง มีประสิทธิภาพ

3) ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่าง ๆ ที่มีแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เพื่อ
ส่งเสริม การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยใหม้ ีรูปแบบท่ีหลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เชน่
พิพิธภัณฑ์ ศนู ยเ์ รียนรู้ แหล่งโบราณคดี วดั ศาสนาสถาน หอ้ งสมุด รวมถึงภูมิปญั ญาท้องถิน่ เป็นต้น

2. ด้านหลักสูตร ส่ือรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลงานบริการ ทางวิชาการ และ
การประกันคณุ ภาพการศึกษา

2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมเพื่อส่งเสริม การศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และ
หลักสูตรทอ้ งถน่ิ ท่ีสอดคลอ้ งกบั สภาพบริบทของพ้นื ทแี่ ละความต้องการของกลมุ่ เป้าหมายและชุมชน

2.2 ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออื่น ๆ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
กล่มุ เป้าหมายทั่วไปและกล่มุ เปา้ หมายพเิ ศษ เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นสามารถเรียนร้ไู ดท้ กุ ที่ ทกุ เวลา

2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลใหม้ ีความทนั สมัย หลากหลายชอ่ งทางการเรียนรู้ ด้วยระบบ
ห้องเรยี นและการควบคุมการสอบรูปแบบออนไลน์

2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์
เพื่อให้มคี ณุ ภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตอ้ งการของกล่มุ เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธภิ าพ รวมทง้ั
มีการประชาสัมพันธ์ใหส้ าธารณชนได้รับรู้และสามารถเขา้ ถึงระบบการประเมินได้

2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ในระดับ
การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานใหไ้ ดม้ าตรฐานโดยการนําแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอเิ ล็กทรอนกิ ส์
(e-Exam) มาใช้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัด
และประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั รวมทัง้ ให้มกี ารนาํ ไปสกู่ ารปฏิบัตอิ ยา่ งกวา้ งขวางและมกี ารพฒั นาใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทอย่างต่อเน่ือง

2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการประกัน
คุณภาพภายในที่สอดคล้องกับบริบทและภารกิจของ กศน. มากขึ้น เพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
โดยพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสําคัญของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถ

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ 2565 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอวังเหนือ

48

ดําเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเนื่องโดยใช้การประเมินภายในด้วยตนเอง
และจัดใหม้ ี ระบบสถานศึกษาพ่ีเล้ียงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สําหรบั สถานศึกษาที่ยังไม่ได้เข้ารับการประเมิน
คณุ ภาพ ภายนอก ใหพ้ ัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษาใหไ้ ด้คุณภาพตามมาตรฐานทก่ี าํ หนด

3. ดา้ นเทคโนโลยเี พือ่ การศึกษา
3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพื่อให้เชื่อมโยงและตอบสนอง ต่อ

การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษา
สําหรบั กลมุ่ เปา้ หมายต่าง ๆ ให้มีทางเลอื กในการเรียนรู้ทีห่ ลากหลายและมคี ุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองให้รู้เท่า
ทัน สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทํา รายการติวเข้มเติม
เต็มความรู้ รายการ รายการทํากินก็ได้ ทําขายก็ดี ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทัศน์เพ่ือ
การศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ETV) และทางอินเทอร์เน็ต

3.2 พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยผ่านระบบ เทคโนโลยี
ดิจทิ ลั และชอ่ งทางออนไลนต์ ่าง ๆ เช่น Youtube Facebook หรอื Application อ่ืน ๆ เพือ่ สง่ เสรมิ ให้ครู กศน.
นาํ เทคโนโลยดี ิจิทัลมาใช้ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY)

3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการ
ออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ที่มีคุณภาพได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยขยาย
เครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังได้ทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศและเพิ่มช่องทาง ให้สามารถ
รบั ชมรายการโทรทศั น์ได้ท้ังระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอนิ เทอร์เน็ต พรอ้ มทจ่ี ะ รองรับการ
พฒั นาเป็นสถานวี ทิ ยโุ ทรทัศน์เพ่ือการศึกษาสาธารณะ (Free ETV)

3.4 พัฒนาระบบการให้บริการสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเพื่อให้ได้หลายช่องทางทั้งทาง อินเทอร์เน็ต
และรูปแบบอื่น ๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ Tablet รวมทั้งสื่อ Offline ในรูปแบบ ต่าง ๆ
เพอ่ื ใหก้ ลุ่มเปา้ หมายสามารถเลอื กใช้บรกิ ารเพื่อเขา้ ถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรยี นรู้ได้ตามความต้องการ

3.5 สํารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านการใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษาอย่างต่อเน่ืองเพื่อนําผล มาใช้
ในการพฒั นางานใหม้ ีความถกู ต้อง ทันสมัยและสามารถสง่ เสรมิ การศึกษาและการเรียนร้ตู ลอดชวี ิต ของประชาชน
ไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ

4. ดา้ นโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดําริ หรือโครงการอันเกย่ี วเน่อื งจากราชวงศ์
4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ รหิ รือโครงการ อนั เกี่ยวเนื่อง

จากราชวงศ์
4.2 จัดทําฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน.ที่สนองงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ

หรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์เพื่อนําไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผลและการ พัฒนางานได้
อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

4.3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดําเนินงานเพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เพื่อให้
เกดิ ความเขม้ แขง็ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

4.4 พฒั นาศนู ยก์ ารเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง”เพ่ือใหม้ ีความพรอ้ มในการจดั การศึกษา นอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ตามบทบาทหน้าทท่ี ่กี าํ หนดไวอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

4.5 จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพื้นที่สูง ถิ่นทุรกันดาร
และพ้นื ทชี่ ายขอบ

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ 2565 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอวงั เหนือ

49

5. ด้านการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พนื้ ทเ่ี ขตเศรษฐกิจพเิ ศษและพืน้ ทบ่ี รเิ วณ ชายแดน
5.1 พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
1) จดั และพัฒนาหลักสตู ร และกจิ กรรมสง่ เสรมิ การศกึ ษาและการเรยี นรู้ท่ีตอบสนองปัญหา และ

ความต้องการของกลุ่มเปา้ หมายรวมทั้งอัตลกั ษณแ์ ละความเป็นพหุวฒั นธรรมของพน้ื ที่
2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเข้มข้นและต่อเนื่อง

เพอ่ื ให้ ผ้เู รียนสามารถนําความรทู้ ี่ไดร้ บั ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้จรงิ
3) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากรและ

นักศกึ ษา กศน.ตลอดจนผมู้ าใชบ้ รกิ ารอย่างท่วั ถึง
5.2 พฒั นาการจัดการศกึ ษาแบบบรู ณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษ
1) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดทําแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์

และบริบทของแต่ละจังหวดั ในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ
2) จัดทําหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นที่ โดยเน้นสาขาที่เป็นความต้องการของตลาด

ให้เกิดการพัฒนาอาชีพได้ตรงตามความต้องการของพืน้ ที่
5.3 จัดการศกึ ษาเพื่อความม่ันคงของศนู ย์ฝึกและพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน(ศฝช.)
1) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อให้เป็นศูนย์ฝึกและสาธิต การ

ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดําริปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพยี ง สําหรบั ประชาชนตามแนวชายแดนด้วยวิธกี ารเรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย

2) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลายใช้รูปแบบเชิงรุกเพื่อการเข้าถึง
กลุ่มเป้าหมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับเครอื ข่าย การจัดอบรมแกนนําด้านอาชพี
ท่เี น้นเรอื่ งเกษตรธรรมชาติที่สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของชุมชนชายแดน ใหแ้ กป่ ระชาชนตามแนวชายแดน

6. ด้านบุคลากรระบบการบรหิ ารจดั การ และการมสี ว่ นร่วมของทกุ ภาคส่วน
6.1 การพัฒนาบคุ ลากร
1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งก่อนและระหว่าง

การดํารงตําแหน่งเพื่อให้มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงานให้มีความรู้และทั กษะตามมาตรฐานตําแหน่ง
ให้ตรงกับสายงาน ความชํานาญ และความต้องการของบุคลากรสามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการ
ดําเนินงานของหน่วยงานและ สถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมทั้งส่งเสริมให้ข้าราชการในสังกัดพัฒนา
ตนเองเพอ่ื เลอ่ื นตําแหนง่ หรอื เลอ่ื นวิทยฐานะโดยเนน้ การประเมนิ วทิ ยฐานะเชิงประจกั ษ์

2) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะที่จําเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ
ปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม
อธั ยาศยั ในสถานศึกษา

3) พัฒนาหัวหน้า กศน.ตําบล/แขวงให้มีสมรรถนะสูงขึ้น เพื่อการบริหารจัดการ กศน.ตําบล/
แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้อํานวย
ความสะดวกในการเรยี นร้เู พอื่ ใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนร้ทู ี่มีประสิทธิภาพอยา่ งแทจ้ รงิ

4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้
ได้อย่างมีคุณภาพโดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทําแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ การ
วัด และประเมนิ ผล และการวิจัยเบ้ืองต้น

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอวงั เหนอื

50

5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้
ความสามารถและมีความเปน็ มอื อาชพี ในการจดั บริการสง่ เสรมิ การเรียนรตู้ ลอดชีวติ ของประชาชน

6) ส่งเสริมให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการ
บรหิ ารการดําเนนิ งานตามบทบาทภารกิจของ กศน.อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทําหน้าที่สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศยั ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรรวมทั้งภาคีเครือข่ายทั้งใน
และต่างประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน
ร่วมกันในรูปแบบที่หลากหลายอย่างต่อเนื่องอาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพ
ในการทาํ งาน

6.2 การพัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐานและอตั รากําลัง
1) จัดทําแผนการพัฒนาโครงสรา้ งพืน้ ฐานและดําเนินการปรับปรุงสถานที่และวัสดุอุปกรณ์ ให้มี

ความพรอ้ มในการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้
2) สรรหา บรรจุ แต่งตั้ง และบริหารอัตรากําลังที่มีอยู่ทั้งในส่วนที่เป็นข้าราชการ พนักงาน

ราชการ และลูกจ้าง ให้เป็นไปตามโครงสร้างการบริหารและกรอบอัตรากําลัง รวมทั้งรองรับกับบทบาทภารกิ จ
ตามทก่ี ําหนดไว้ ใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพสงู สดุ ในการปฏบิ ัตงิ าน

3) แสวงหาความรว่ มมอื จากภาคีเครือข่ายทกุ ภาคสว่ นในการระดมทรัพยากรเพ่ือนาํ มาใช้ ในการ
ปรบั ปรุงโครงสรา้ งพน้ื ฐานให้มีความพรอ้ มสาํ หรบั ดาํ เนนิ กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย
และการสง่ เสริมการเรยี นร้สู าํ หรบั ประชาชน

6.3 การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การ
1) พฒั นาระบบฐานข้อมลู ใหม้ ีความครบถ้วน ถูกต้อง ทนั สมยั และเชื่อมโยงกนั ท่วั ประเทศ อย่าง

เป็นระบบเพื่อให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนําไปใช้เป็นเครื่องมือสําคัญในการบริหาร การ
วางแผน การปฏบิ ตั ิงาน การติดตามประเมินผล รวมทง้ั จัดบรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกํากับ ควบคุม และ
เร่งรดั การเบกิ จ่ายงบประมาณให้เป็นตามเป้าหมายที่กําหนดไว้

3) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศึกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และ
เชื่อมโยงกันทั่วประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้กับ
ผู้เรยี นและการบรหิ ารจัดการอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

4) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมทั้งการศึกษาวิจัย
เพื่อสามารถนํามาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดําเนินงานที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และ
ชมุ ชนพรอ้ มทงั้ พฒั นาขีดความสามารถเชงิ การแขง่ ขันของหน่วยงานและสถานศึกษา

5) สร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมทั้งใน
ประเทศ และต่างประเทศ รวมทั้งส่งเสรมิ และสนับสนนุ การมสี ว่ นร่วมของชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิด
ความร่วมมอื ในการส่งเสรมิ สนบั สนนุ และจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ใหก้ บั ประชาชนอย่างมีคณุ ภาพ

6) ส่งเสริมการใช้ระบบสํานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-office) ในการบริหารจัดการ เช่น
ระบบการลา ระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการขอใช้หอ้ งประชมุ เป็นตน้

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอวงั เหนือ

51
7) พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต
และประพฤติมชิ อบ บริหารจัดการบนข้อมูลและหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ม่งุ ผลสมั ฤทธิม์ ีความโปรง่ ใส
6.4 การกํากับ นิเทศตดิ ตามประเมิน และรายงานผล
1) สร้างกลไกการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงานการศึกษานอก
ระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั ใหเ้ ช่อื มโยงกบั หน่วยงาน สถานศึกษา และภาคเี ครอื ข่ายทัง้ ระบบ
2) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกํากับ ติดตามและ
รายงานผลการนํานโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สามารถตอบสนองการดําเนินงานตามนโยบายในแต่ละเรื่องได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ
3) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และสื่ออื่น ๆ ที่เหมาะสม เพื่อการกํากบั
นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ
ประจําปี ของหน่วยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําปี
ของสํานกั งาน กศน.ให้ดําเนินไปอย่างมีประสิทธภิ าพ เปน็ ไปตามเกณฑ์ วธิ ีการ และระยะเวลาที่กาํ หนด
5) ให้มีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดบั ทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ตั้งแต่
ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อําเภอ/เขต และตําบล/แขวง เพื่อความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล
และการพัฒนางานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอวังเหนือ

52

สว่ นท่ี 2 ทศิ ทางการดําเนินงาน
ของศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอวังเหนอื

ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565

ปรชั ญา
“คดิ เป็น เนน้ คุณธรรม นำวิชา พฒั นาสังคม”

วิสัยทศั น์
“กศน.อำเภอวังเหนอื จดั การเรียนรู้ทสี่ ง่ เสรมิ การคิดเปน็
มีความรู้ คูค่ ุณธรรม และ พฒั นาสังคมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”

อัตลักษณ์
“มจี ิตอาสา”

เอกลกั ษณ์
“สบื สานวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ ”
วสิ ยั ทศั น์
คนวังเหนอื ได้รบั โอกาสการศึกษาและการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ อย่างมีคุณภาพ สามารถดำรงชีวติ ทีเ่ หมาะสม
กบั ช่วงวัย สอดคลอ้ งกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และมีทักษะทจ่ี ำเป็นในโลกศตวรรษที่ 21
พนั ธกจิ
1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ท่ีมีคุณภาพ เพือ่ ยกระดบั การศึกษา
พฒั นาทกั ษะการเรยี นรขู้ องประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายใหเ้ หมาะสมทุกช่วงวัย และพรอ้ มรบั การเปลย่ี นแปลง
บรบิ ททางสังคม และสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ
2. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และประสานภาคเี ครอื ขา่ ย ในการมสี ว่ นรว่ มจดั การศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศัย และการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ รวมทั้งการดำเนนิ กิจกรรมของศูนย์การเรียนและแหล่ง
การเรียนรู้อ่ืน ในรูปแบบต่างๆ
3. ส่งเสรมิ และพฒั นาการนำเทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทลั มาใช้ใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพ
ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหก้ บั ประชาชนอยา่ งท่ัวถงึ
4. พัฒนาหลักสตู ร รปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื และนวตั กรรม การวัดและประเมินผล
ในทุกรปู แบบให้สอดคล้องกบั บริบทในปจั จบุ ัน
5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบรหิ ารจดั การให้มีประสิทธภิ าพ เพื่อมงุ่ จดั การศึกษาและการเรียนรู้
ทมี่ คี ุณภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล

เปา้ ประสงค์
1. ประชาชนผู้ดอ้ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทัง้ ประชาชนทั่วไปไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาใน

รูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ
อยา่ งเทา่ เทยี มและทั่วถงึ เป็นไปตามสภาพ ปญั หา และความตอ้ งการของแต่ละ
กลุ่มเปา้ หมาย

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ 2565 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอวงั เหนอื

53

2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมือง
อันนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพื่อพัฒนาไปสู่ความมั่นคงและยั่งยืน
ทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ประวัติศาสตร์ และสง่ิ แวดลอ้ ม

3. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถคิด
วเิ คราะห์ และประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน รวมทงั้ แก้ปัญหาและพฒั นาคณุ ภาพชีวิตไดอ้ ย่างสร้างสรรค์

4. ประชาชนไดร้ บั การสรา้ งและส่งเสรมิ ให้มีนสิ ัยรักการอ่านเพ่ือการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง
5. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ร่วมจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานการศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย รวมทัง้ การขับเคล่ือนกิจกรรมการเรยี นรู้ของชุมชน
6. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศกึ ษา เทคโนโลยดี ิจทิ ัล มาใช้ในการยกระดับคุณภาพ
ในการจัดการเรียนรู้และเพมิ่ โอกาสการเรยี นรูใ้ หก้ บั ประชาชน
7. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อและการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิต
ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์และสิ่งแวดล้อม
รวมท้ังตามความต้องการของประชาชน และชุมชนในรูปแบบที่หลากหลาย
8. บุคลากรของหนว่ ยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบตั ิงานการศึกษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
9. หน่วยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบการบรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภบิ าล

ตวั ช้ีวดั
ตวั ชีว้ ดั เชงิ ปริมาณ
1. จำนวนผเู้ รยี นการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานทไ่ี ดร้ ับการสนบั สนุนค่าใชจ้ า่ ย

ตามสิทธิทก่ี ำหนดไว้
2. จำนวนของกลุ่มเป้าหมายตา่ งๆ ท่เี ขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้/ไดร้ บั บรกิ ารกิจกรรมการศึกษาตอ่ เนื่อง และ

การศึกษาตามอัธยาศยั ท่สี อดคลอ้ งกับสภาพ ปญั หา และความต้องการ
3. จำนวนผู้รบั บริการในพนื้ ท่เี ป้าหมายได้รับการสง่ เสรมิ ด้านการรูห้ นงั สอื และการพัฒนาทกั ษะชวี ิต
4. รอ้ ยละการอา่ นของคนวงั เหนือเพิ่มขึน้
5 จำนวนนักเรียน นักศกึ ษาที่ได้รับบรกิ ารติวเข้มเตม็ ความรู้
6. จำนวนนกั เรียน นักศกึ ษา และประชาชนทั่วไปทเ่ี ข้าถงึ บริการการเรียนรทู้ างด้านวทิ ยาศาสตร์ใน

รปู แบบตา่ ง ๆ
7. จำนวนแหล่งเรยี นรใู้ นระดับตำบลทีม่ ีความพร้อมในการใหบ้ ริการการศกึ ษานอกระบบและ

การศึกษาตามอธั ยาศยั
8. จำนวนประชาชนไดร้ ับการอบรมตามหลกั สูตรภาษาอังกฤษเพ่ือการส่อื สารด้านอาชพี (ระยะสนั้ )

สำหรับประชาชนในศนู ย์อาเซียนศึกษา กศน.
9. จำนวนนกั เรยี น นกั ศึกษา และประชาชนทั่วไปทเี่ ข้าถึงบรกิ ารความรูน้ อกระบบและการศกึ ษา

ตามอัธยาศยั ผ่านช่องทางส่ือเทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยกี ารส่ือสาร
10. จำนวนผูผ้ า่ นการอบรมตามหลักสูตรที่กำหนดของโครงการสร้างเครือขา่ ยดิจทิ ลั ชุมชนระดับตำบล
11. จำนวนประชาชนได้รับการอบรมตามหลักสูตรการศึกษาเพ่อื พัฒนาอาชพี
12 จำนวนประชาชนได้รบั การอบรมตามหลักสูตรพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทุกวยั
13. จำนวนผู้สงู อายุได้เข้าร่วมกิจกรรมเตรยี มความพร้อมเขา้ ส่สู ังคมผู้สูงอายุ
14. จำนวนประชากรวยั เรยี นทอ่ี ยู่นอกระบบที่กลบั เข้ามาสู่การศึกษา

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ 2565 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอวงั เหนอื

54

15. จำนวนประชาชนเขา้ รว่ มกิจกรรมเสริมสรา้ งคณุ ภาพชวี ติ กับส่ิงแวดลอ้ ม
16. จำนวนหม่บู า้ นชมุ ชนต้นแบบตามโครงการ “ไทยนยิ ม ย่งั ยนื ”
17. จำนวนบุคลากรของหนว่ ยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพ่ือเพิม่ สมรรถนะในการปฏบิ ตั งิ าน
การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
18. สถานศึกษาท่ีมีระบบประกนั คุณภาพภายในและมีการจัดทำรายงานการประเมนิ ตนเอง
19. จำนวนองคก์ รภาคสว่ นต่าง ๆ ทร่ี ว่ มเปน็ ภาคเี ครือข่ายในการดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั

ตวั ช้วี ดั เชิงคุณภาพ
1. ร้อยละทีเ่ พ่มิ ขน้ึ ของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบโรงเรยี น

(N-NET)
2. ร้อยละของกำลังแรงงานที่สำเรจ็ การศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ หรอื เทยี บเท่า ได้รับการศึกษา

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายหรอื เทียบเท่า
3. รอ้ ยละของนักเรยี น/นักศึกษาทมี่ ีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นในวชิ าทไี่ ด้รับบรกิ ารตวิ เขม้ เต็มความรู้เพ่ิม

สูงขน้ึ
4. รอ้ ยละผู้จบหลกั สูตร/กิจกรรมการศึกษาดา้ นวิทยาศาสตรท์ ่สี ามารถนำความรคู้ วามเข้าใจไปใชไ้ ด้

ตามจุดมุง่ หมายของหลักสูตร/กจิ กรรมท่ีกำหนด
5. ร้อยละของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมท่สี ามารถอ่านออกเขยี นได้และคดิ เลขเปน็ ตามจุดม่งุ หมายของกิจกรรม
6. รอ้ ยละของประชาชนกลุ่มเปา้ หมายทลี่ งทะเบยี นเรยี นท่ีมรี ายไดเ้ พิม่ ขนึ้ จากการพฒั นาอาชพี ตาม

โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน
7. รอ้ ยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ผี ่านการอบรมตามหลกั สูตรภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร

ด้านอาชพี (ระยะสนั้ ) มีความร้ใู นการสอ่ื สารภาษาอังกฤษ และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในการดำเนินชวี ติ ได้
8. จำนวนครู กศน. ตน้ แบบการสอนภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่ือสารท่สี ามารถเปน็ วทิ ยากรแกนนำได้
9. รอ้ ยละของครู กศน. ท่สี ามารถจดั กระบวนการเรียนรภู้ าษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารได้

อยา่ งสอดคลอ้ งกับบรบิ ทของผูเ้ รียน
10. รอ้ ยละของผเู้ ข้ารบั การอบรมหลักสูตรเตรียมความพร้อมเข้าสสู่ งั คมผ้สู งู อายุ ผา่ นเกณฑก์ าร

อบรมตามหลักสตู รท่กี ำหนด
11. รอ้ ยละของประชากรวยั เรยี นท่อี ย่นู อกระบบทก่ี ลับเข้ามาสกู่ ารศึกษา
12. รอ้ ยละของประชาชนเข้ารว่ มกจิ กรรมเสรมิ สร้างคณุ ภาพชวี ติ กับสิ่งแวดลอ้ ม
13. ร้อยละของหมบู่ ้านชมุ ชนต้นแบบตามโครงการไทยนิยมย่งั ยนื
14. รอ้ ยละของประชาชนเข้ารว่ มกิจกรรมเสริมสรา้ งคุณภาพชวี ติ กบั สิ่งแวดล้อม
15. ร้อยละของแหลง่ เรียนรู้ไดร้ ับการพัฒนาใหม้ คี วามพร้อมในการให้บริการการเรียนรู้
16. รอ้ ยละของหนว่ ยงาน ทส่ี ามารถดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามบทบาทภารกิจที่รับผิดชอบได้สำเร็จ

ตามเปา้ หมายท่กี ำหนดไว้อยา่ งโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ โดยใชท้ รพั ยากรอยา่ งค้มุ คา่ /ตามแผนที่กำหนดไว้
17. รอ้ ยละของสถานศึกษาท่ีมรี ะบบประกันคณุ ภาพภายในและมกี ารจดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเอง
18. ร้อยละองค์กรภาคส่วนต่าง ๆ ท่ีรว่ มเป็นภาคีเครือข่ายในการดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและ

การศกึ ษาตามอัธยาศยั
19. รอ้ ยละของจำนวนนกั เรยี น นักศึกษา และประชาชนทว่ั ไปที่เข้าถึงบริการความรนู้ อกระบบและการศึกษา

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ 2565 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอวังเหนอื

55

ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การพฒั นาศักยภาพการเรียนรู้ของประชาชน
ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การเพมิ่ ศกั ยภาพการจัดการความรู้ของชมุ ชน
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3การเพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการขององค์กรและเครือขา่ ย

กลยุทธ์
กลยุทธท์ ่ี 1 เข้าถึงกลมุ่ เป้าหมายอยา่ งเสมอภาค หลากหลาย และท่ัวถงึ
กลยุทธ์ท่ี 2 ปรับวธิ เี รยี นรู้ให้สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย
กลยุทธท์ ี่ 3 พฒั นาแหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยแี ละภูมิปญั ญา
กลยทุ ธ์ท่ี 4 ผนกึ กำลงั ภาคเี ครือข่ายให้มีส่วนรว่ มจดั และส่งเสรมิ การศึกษา
กลยุทธ์ที่ 5 เพ่ิมประสิทธภิ าพการบรกิ าร

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอวังเหนือ

56

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอวังเหนือ

57

สภาพทั่วไปของสถานศึกษา
ช่ือสถานศกึ ษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอวังเหนือ ( Wang Nuea

District Non-Formal and Information Education Centre )
ทีอ่ ยู่ : เลขที่ 467 หมทู่ ่ี 4 ถนนวังเหนือ-แมข่ ะจาน หมทู่ ี่ 4 ตำบลวังเหนือ อำเภอวงั เหนือ จังหวัดลำปาง

รหัสไปรษณยี ์ 52140
เบอร์โทร : โทรศัพท์ 0 5427 9249,0 5427 9275 โทรสาร 0-5427-9249
อเี มล : [email protected] เวบ็ ไซต์ : www.wangnueanfe.com
แฟนเพจ : https://www.facebook.com/nfewangnuea/
พิกัดท่ีตั้ง : ละตจิ ูด 19.1448476981167 ลองติจดู 99.6099321472168
GPS19.14485, 99.60993 TG H64B-BLFKU
สังกัด : สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดลำปาง

สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ประวตั ิความเป็นมาของสถานศึกษา
4.1 ประวตั สิ ถานศกึ ษา
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังเหนือ ประกาศจัดตั้งเมื่อวันที่ 27

สงิ หาคม 2536 ท้งั น้ีตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ โดยได้ทำการปรับปรุงและพัฒนาส่วนหนงึ่ ของอาคารห้องสมุด
ประชาชนอำเภอวังเหนืออยู่ภายในพื้นที่ที่ว่าการอำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง เป็นสำนักงานมาจนถึงปีงบประมาณ
2552 ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง (อบจ.ลำปาง) ก่อสร้างอาคารคอนกรีตให้
จำนวน 1 หลัง (อาคารที่ทำงานปัจจุบัน) ขนาดความกว้าง 8.00×28.00 เมตร งบประมาณ 1,975,000 บาท และได้
มอบอาคารสำนักงานดังกล่าวให้ เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ.2552 และเมื่อวันที่ 3 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2551
ได้มีการประกาศใช้ พ.ร.บ. ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จึงได้เปลี่ยนชื่อสถานศึกษาเป็น
“ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวงั เหนอื ” หรือใชช้ ื่อย่อเป็น “กศน. อำเภอวังเหนือ”

4.2 อาณาเขต
อำเภอวังเหนือ เป็นอำเภอที่อยู่เหนือสุดของจังหวัดลำปาง มีพื้นที่โดยประมาณ 1,035 ตาราง

กิโลเมตร มีขนาดใหญ่เป็นลำดับที่ 5 ของจังหวัดลำปาง โดยมีคำขวัญว่า“พญาวังเรืองนาม พระธาตุงามเรืองชื่อ
นำ้ ตกสวยเล่อื งลอื นามนี้คอื วังเหนือ” หา่ งจากตวั จังหวัดลำปางตามทางหลวงหมายเลข 1035 ประมาณ 108 ตาราง
กิโลเมตร มอี าณาเขตตดิ ตอ่ ดังนี้

- ทิศเหนอื ติดกบั อำเภอพานจังหวดั เชียงราย
- ทศิ ใต้ ตดิ กบั อำเภอแจห้ ่ม จังหวดั ลำปาง
- ทศิ ตะวันออก ตดิ กบั อำเภองาว จังหวัดลำปาง อำเภอเมืองพะเยา และ อำเภอแมใ่ จ จังหวดั
พะเยา
- ทิศตะวนั ตก ติดกับ อำเภอเวยี งปา่ เป้า จังหวดั เชียงราย อำเภอวังเหนือ แบ่งการปกครองออกเป็น
8 ตำบล (80 หมบู่ า้ น) ประกอบดว้ ย เทศบาลตำบล จำนวน 2 แหง่ องค์การบริหารส่วนตำบล 8 แหง่ ดงั น้ี
1. ตำบลวังเหนอื มี 9 หมบู่ ้าน และมีองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน จำนวน 2 แห่ง ได้แก่

- เทศบาลตำบลวงั เหนอื

แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอวังเหนือ

58

- เทศบาลตำบลบา้ นใหม่

2. ตำบลวงั ซ้าย มี 10 หมบู่ า้ น/มอี งค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ จำนวน 1 แหง่ ไดแ้ ก่ องค์การบริหาร

ส่วนตำบลวังซ้าย

3. ตำบลวังแก้ว มี 7 หมบู่ า้ น/มีองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ จำนวน 1 แหง่ ได้แก่ องค์การบริหาร

สว่ นตำบลวังแกว้

4. ตำบลทงุ่ ฮัว้ มี 12 หมู่บ้าน/มีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จำนวน 1 แห่ง ไดแ้ ก่ องค์การบรหิ าร

ส่วนตำบลทุง่ ฮ้วั

5. ตำบลวังทอง มี 9 หมบู่ า้ น/มีองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ จำนวน 1 แหง่ ไดแ้ ก่ องค์การบริหาร

ส่วนตำบลวังทอง

6. ตำบลวงั ใต้ มี 7 หม่บู า้ น/มีองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ จำนวน 1 แหง่ ไดแ้ ก่ องค์การบรหิ ารส่วน

ตำบลวงั ใต้

7. ตำบลวงั ทรายคำ มี 9 หมู่บา้ น/มอี งค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ องค์การ

บริหารสว่ นตำบลวงั ทรายคำ

8. ตำบลร่องเคาะ มี 17 หมบู่ ้าน/มอี งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ จำนวน 1 แหง่ ไดแ้ ก่ องค์การ

บรหิ ารส่วนตำบลร่องเคาะ

4.3 สภาพชุมชน

4.3.1 จำนวนประชากรอำเภอวังเหนือ

อำเภอวงั เหนือ มีประชากรทั้งส้ิน 43,611 คน แยกเปน็ ชาย 21,882 คน และ หญิง 21,729 คน

จำนวน 16,015 ครวั เรอื น

พน้ื ท่ี พ้ืนที่ ตร.กม. จำนวนหมบู่ า้ น จำนวนประชากร จำนวนครวั เรอื น
ชาย หญิง รวม

1. ตำบลวังเหนือ 78.98 9 3,276 3,289 6,573 2,864

2. ตำบลวังแกว้ 191.62 7 1,659 1,652 3,311 1,259

3. ตำบลทุ่งฮัว้ 131.46 12 2,734 2,613 5,347 2,034

4. ตำบลวงั ซ้าย 46.61 10 2,514 2,464 4,978 1,943

5. ตำบลวงั ทอง 220.94 7 2,567 2,494 5,061 1,941

6. ตำบลวังใต้ 89.82 7 1,589 1,608 3,197 1,117

7. ตำบลวังทรายคำ 32.97 9 1,982 2,054 4,036 1,449

8. ตำบลร่องเคาะ 246.17 17 5,394 5,460 10,854 3,590

รวม 8 ตำบล 1038.57 80 21,715 21,634 43,357 16,197

จำนวนประชากร ตำบลวงั เหนอื

พ้นื ท่ี พ้นื ที่ ตร.กม. จำนวนหมู่บ้าน จำนวนประชากร จำนวนครวั เรือน
ชาย หญิง รวม

1. ทต.วังเหนอื 75.23 7 2,010 2,006 4,022 1,977

2. ทต.บา้ นใหม่ 3.75 3 1,266 1,283 2,551 887

รวม 78.98 9 3,276 3,289 6,573 2,864

ทม่ี า : สำนกั งานทะเบยี นอำเภอวงั เหนอื เดอื นตลุ าคม พ.ศ.2564

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ 2565 ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอวังเหนือ

59

การเดินทาง
สามารถเดินทางมาอำเภอวงั เหนอื ได้ 4 เสน้ ทาง ดังน้ี
1. ทางหลวงแผน่ ดิน หมายเลข 1035 ถนนสายลำปาง-วงั เหนือ (ผ่านสุสานไตรลกั ษณ์ และ อำเภอแจห้ ม่ )

รวมระยะทาง 108 กโิ ลเมตร
2. ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 120 ถนนสายพะเยา-วงั เหนอื ระยะทางจากอำเภอเมืองพะเยา ถึงอำเภอ

วังเหนอื รวมระยะทาง 55 กโิ ลเมตร
3. ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 118 ถนนสายเชยี งใหม่-เชยี งราย (ตน้ ทางจงั หวดั เชียงใหม่) พอมาถงึ ทางแยก

แม่ขะจาน เขตอำเภอเวียงปา่ เป้า จงั หวัดเชยี งราย จะพบทางแยกให้เลยี้ วขวามาอำเภอวงั เหนอื รวมระยะทางจาก
จงั หวดั เชยี งใหมถ่ งึ อำเภอวังเหนอื 99 กิโลเมตร

4. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 118 ถนนสายเชยี งใหม่-เชยี งราย (ตน้ ทางจงั หวดั เชียงราย) พอมาถงึ ทางแยก
แมข่ ะจาน เขตอำเภอเวียงปา่ เปา้ จงั หวดั เชยี งราย จะพบทางแยกให้เล้ยี วซ้ายมาอำเภอวงั เหนือ รวมระยะทางจาก
จังหวดั เชียงราย ถงึ อำเภอวงั เหนอื 116 กโิ ลเมตร

ลกั ษณะภูมิอากาศ

ฤดูฝนเริ่มประมาณเดือนพฤษภาคม – ตุลาคม ฝนตกชุกมากในเดือนสิงหาคม ฤดหู นาวเริ่มตงั้ แต่เดือน

พฤศจิกายน – เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ ฤดูรอ้ นเรม่ิ ตง้ั แต่เดือนมนี าคม – พฤษภาคม

การประกอบอาชีพ

ประชาชนส่วนใหญม่ อี าชพี หลักได้แก่ ทำนา ทำไร่ ทำสวน เล้ยี งสัตว์

ศาสนา

ประชาชนส่วนใหญข่ องอำเภอวังเหนือนับถือศาสนาพุทธประมาณ 99.90 % และนบั ถือศาสนาอื่นๆ

ประมาณ 0.10 % มดี ังน้ี

1.วัด สำนกั สงฆ์ จำนวน 56 แหง่

2. โบสถค์ ริสต์ จำนวน 2 แห่ง

3. มสั ยิด จำนวน - แหง่

4. ศาลเจ้า จำนวน 3 แหง่

การศึกษา จำนวน 29 แห่ง
อำเภอวงั เหนือมี โรงเรยี น / สถานศึกษา ในพ้ืนท่ี รวม 33 แหง่ ดังนี้ จำนวน 1 แห่ง
1. โรงเรยี นระดบั ประถมศึกษา / โรงเรยี นขยายโอกาส ( ม.3 ) จำนวน 1 แห่ง
2. โรงเรียนมธั ยมศกึ ษา สังกัด สพม. (ประจำอำเภอ) จำนวน 1 แห่ง
3. โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญ
4. โรงเรียนเอกชน ระดับอนบุ าล-มัธยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 1 แห่ง
5. สถานศกึ ษาของรฐั นอกระบบโรงเรยี นและหนว่ ยงานในสงั กัด จำนวน 8 แห่ง
- ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอวงั เหนือ จำนวน 1 แห่ง
- กศน.ตำบล (ศนู ย์การเรยี นชุมชน)
- ห้องสมุดประชาชน.อำเภอวังเหนือ

แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ 2565 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอวงั เหนือ

60

ด้านสาธารณสขุ จำนวน 1 แหง่
สถานบริการด้านสาธารณสุข มีดังน้ี จำนวน 9 แห่ง
1. โรงพยาบาลขนาด 30 เตียง จำนวน 5 แหง่
2. สถานอี นามัย จำนวน 3 แหง่
3. สถานพยาบาลเอกชน
4. รา้ นขายยาแผนปัจจบุ ัน

ธนาคาร จำนวน 3 แหง่ ประกอบด้วย
1. ธนาคารกรงุ ไทย
2. ธนาคารออมสิน
3. ธนาคารเพ่อื การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.)

ขอ้ มูลดา้ นศิลปวัฒนธรรม ประเพณี
อำเภอวังเหนอื มศี ิลปวฒั นธรรมประเพณี เช่น พธิ ีสรงนำ้ พระธาตุวัดพระเกดิ ประเพณบี วงสรวงเจ้าพอ่ พญาวัง

พิธีสรงน้ำพระธาตุจำตอง ประเพณีสรงน้ำรอยพระพุทธบาทวัดสบลืน งานประเพณีปี๋ใหม่เมืองอำเภอวังเหนือ
ประเพณีตานก๋วยสลากภัตร ประเพณียี่เป็งเนื่องในวันลอยกระทง ประเพณีวันเข้าพรรษา ประเพณีวันออกพรรษา
ประเพณีทำบุญตกั บาตรเนื่องวนั วิสาขบูชา

ขอ้ มูลด้านสถานท่ที ่องเท่ยี ว
อำเภอวังเหนือมีสถานที่ท่องเที่ยว เช่น น้ำตกวังแก้ว ,ศาลเจ้าพ่อพญาวัง,พระธาตุวัดพระเกิด,

น้ำตกวงั ทอง, นำ้ ตกธารทอง, ดอยหนอก, ถ้ำผางาม ฯลฯ

ข้อมูลด้านภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น

ลำดบั ชอ่ื ภูมิปัญญาท้องถ่นิ ความสามารถและประสบการณ์ ท่ีอยู่
1 นายสนั่น วิไลย จกั สานไม้กวาด,เตาเศรษฐกจิ ม.1 ต.ทุง่ ฮัว้
2 นายพล พานแก้ว การจ้อย,ซอ ม.2 ต.ทงุ่ ฮัว้
3 นายคำ อวดดี พิธีทางศาสนา ม.5 ต.ทุ่งฮัว้
4 นายลภ ทูลเดช ศิลปะประดิษฐ์จากเศษไม้ ม.10 ต.ทุ่งฮัว้
5 นางสุพรรณ แม่ก๋วม การประดิษฐด์ อกไม้ ม.11 ต.ทุง่ ฮว้ั
6 นายนครนิ ทร์ สตดิ ี พิธที างศาสนา(มัคทายกวัด) ม.11 ต.ทงุ่ ฮ้ัว
7 นายยทุ ธ กันธิยะ เลน่ ดนตรพี ้นื เมือง (ดดี ซึง) ม.1 ต.วังซ้าย
8 นายตัน คนเที่ยง สานข้อง สานกว๋ ย ม.2 ต.วังซา้ ย
9 นายคำอา้ ย มือแข็ง สู่ขวัญ เรยี กขวญั เปา่ เสก ม.3 ต.วังซ้าย
10 นายหลาน จติ ตม์ ุง ดา้ นดนตรพี ้ืนเมือง เล่นซอ ทำซอ ม.3 ต.วังซา้ ย
11 นายคำ ขัติปัญญา สานส่มุ ไก่ สานไซ สานตะกร้า ม.4 ต.วังซ้าย
12 นายยืน คดิ อ่าน สานข้อง ไมก้ วาด ม.5 ต.วังซ้าย

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ 2565 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอวงั เหนอื

61

ลำดบั ชือ่ ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน ความสามารถและประสบการณ์ ที่อยู่
13 นายแกว้ มี หลักดี เล่นสะล้อ ซอ ซึง ขลุย่ ม.5 ต.วังซา้ ย
14 พระอธกิ ารชยั มงคล นามสกลุ ด้านประเพณีตานขนั ขา้ ว ม.5 ต.วังซา้ ย

คิดอา่ น ฉายา ฐานทติ .ตมเมธี เปา่ ตา เป่าตุ่ม เป่าเสก ม.6 ต.วงั ซ้าย
ดา้ นความเชอื้ พิธกี รรม ม.6 ต.วงั ซ้าย
15 นายทอง สารภักดิ์ ดนตรีพืน้ เมือง ตกี ลอง เล่นระนาด ม.7 ต.วงั ซ้าย
16 นางวจิ ิตรา พนั เรือนดี ดีดซึง เปา่ ขลุ่ย ม.7 ต.วงั ซา้ ย
17 นายสงิ หแ์ กว้ มาลา เรยี กขวญั เป่าเสก ม.8 ต.วงั ซา้ ย
18 นายมนู อะนนท์ เปา่ เสก เปา่ ตุ่ม ม.9 ต.วังซา้ ย
19 นายแก้ว สโี วย เปา่ เสก เปา่ ตุ่ม ม.10 ต.วังซ้าย
20 นายเล็ก สีมา ศลิ ปวัฒนธรรมพน้ื บ้าน ม.1 ต.วังทอง
21 นายอ้าย ยาสมทุ ร ชา่ งปนู /ช่างไม้ ม.1 ต.วังทอง
22 นายขนั แก้ว จานเหลก็ การจกั สาน ม.1 ต.วงั ทอง
23 นายองั สกุล เมืองมอง การจกั สาน ม.1 ต.วังทอง
24 นายจนั ทร์ตบิ๊ จอกเงิน ชา่ งปนู /ช่างไม้ ม.1 ต.วงั ทอง
25 นายแกว้ เมอื งมอง การถนอมอาหาร ม.1 ต.วังทอง
26 นายองั สกลุ เมืองมอง การถนอมอาหาร ม.1 ต.วงั ทอง
27 นางจนั ทรส์ วย กุลเดชานันท์ ดนตรีพ้ืนบา้ น ม.1 ต.วงั ทอง
28 นางฟองคำ เสยี งหาญ ดนตรีพื้นบา้ น ม.1 ต.วงั ทอง
29 นางแปง ต้องจิตต์ ขยายพันธ์พุ ืช ม.1 ต.วังทอง
30 นายสมมิตร หลกั มั่น พธิ กี รรมพน้ื บา้ น ม.1 ต.วังทอง
31 นายอนนั ต์ มลู ชนะ พิธกี รรมพนื้ บ้าน ม.1 ต.วังทอง
32 นายทองคำ ขนั คำ สมนุ ไพรพ้ืนบ้าน ม.2 ต.วงั ทอง
33 นายมา เลียงหลกั สมนุ ไพรพื้นบ้าน ม.2 ต.วงั ทอง
34 นายทองอนิ ทร์ จานเก่า สมุนไพรพืน้ บา้ น ม.2 ต.วงั ทอง
35 นางแสงหลา้ คำเขียว ชา่ งไม้ ม.2 ต.วงั ทอง
36 นางตอ่ มแกว้ วางใจ แกะสลัก-ปั้นปูน ม.2 ต.วังทอง
37 นายกมล รัศมีจันทร์ การใชป้ ุย๋ ม.2 ต.วังทอง
38 นายจีรศกั ด์ิ เจริญสขุ การขยายพนั ธ์ุพชื ม.2 ต.วังทอง
39 นายฤาชยั เสยี งหาญ ความเช่ือพนื้ บา้ น ม.2 ต.วังทอง
40 นายโผน มูลชนะ พธิ กี รรมพนื้ บ้าน/สมนุ ไพรพ้นื บา้ น ม.4 ต.วงั ทอง
41 นายอา้ ย มงุ เมิน ดนตรพี นื้ บ้าน ม.4 ต.วงั ทอง
42 นายบุญโยง แรงอด การทำบายศรี ม.4 ต.วงั ทอง
43 นางเอ้ย สายปญั ญา การทำบายศรี ม.4 ต.วงั ทอง
44 นางยวง เยน็ ใจ การเล่นดนตรีพนื้ เมือง ม.7 ต.วังทอง
45 นางผดั ธรรมมาศ การเลน่ ดนตรพี ืน้ เมอื ง ม.7 ต.วงั ทอง
46 นายเหมย ทำมา การจักสาน ม.9 ต.วังทอง
47 นายจำนง จนั ตะมะ
48 นายถา จานเก่า

แผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอวังเหนือ

62

ลำดบั ช่อื ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ ความสามารถและประสบการณ์ ทีอ่ ยู่
49 นายรัตน์ สีอุต สมนุ ไพรโบราณ ม.9 ต.วงั ทอง
50 นายจนั ทร์ ฟคู ำ ด้านพิธีกรรมทางศาสนา ม.4 ต.วังเหนอื
51 นายบุญเรอื ง แกว้ กันทา ดา้ นศลิ ปกรรม ม.4 ต.วังเหนือ
52 นายศิรชิ ัย แสงศาสตรา ด้านเศรษฐกิจพอเพียง ม.4 ต.วังเหนือ
53 นายธรี พงษ์ ฝัน้ ปัญญา ด้านพธิ ีกรรมทางศาสนา ม.4 ต.วังเหนอื
54 นายมี คุณมี ดา้ นจักสาน ม.5 ต.วังเหนือ
55 น.ส.ภัทราภรณ์ อนิ ตานวล การทอผ้า ,การย้อมผ้าด้วยโคลน ม.1 ต.ร่องเคาะ
56 นางวิลาสนิ ี ประทังเจรญิ การนวดจับเส้น /สมุนไพร ม.1 ต.ร่องเคาะ
57 นางสมฤทัย อวดหา้ ว ดนตรีรอ้ งเพลง จ้อย ซอ ม.2 ต.รอ่ งเคาะ
58 นายยศ ทำมา การจกั สาน ม.4 ต.ร่องเคาะ
59 พระครูวิสทุ ธพิ์ ฒั นโกวทิ สามารถถา่ ยทอดความรดู้ ้านพระพุทธศาสนา ม.4 ต.รอ่ งเคาะ
และการทำยาสมุนไพร ยาสฟี ัน ยาหมอง
ฐานิสสโร ยาเหลือง สมนุ ไพรกำจัดยุง ม.5 ต.ร่องเคาะ
ดนตรรี อ้ งเพลง จอ้ ย ซอ ม.6 ต.รอ่ งเคาะ
60 นายแก้ว ท่าคร่อง การฟ้อนรำดาบ ม.6 ต.ร่องเคาะ
61 นายประสิทธิ์ ณ นคร ศิลปะมวยไทย ม.6 ต.ร่องเคาะ
62 นายนาคินทร์ ปองดอง พิธกี รรมความเชื่อ ม.8 ต.รอ่ งเคาะ
63 นายหวนั ยาสาร มคี วามรู้ดา้ นการเพาะเหด็ การทำปยุ๋ หมัก
64 นายพล ทารกั ษ์ เกษตรธรรมชาติ ม.8 ต.รอ่ งเคาะ
ศิลปหตั ถกรรมการจกั สาน ม.11 ต.ร่องเคาะ
65 นายอา้ ย กระทุ่ม ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ม.12 ต.รอ่ งเคาะ
66 นายฝาย ปนิ ใจกุล การปกั ผ้าชาวเขา ม.17 ต.รอ่ งเคาะ
67 นางวราพร แซ่จ๋าว ดา้ นการรกั ษาโรค คาถาอาคม สมนุ ไพร ฯลฯ ม.1 ต.วังทรายคำ
68 นายแกว้ กระทุ่ม การประดิษฐ์/การเลน่ เคร่ืองดนตรีพื้นบ้าน ม.1 ต.วังทรายคำ
69 นายจนั ทร์ มาลา การประดิษฐเ์ คร่ืองดนตรพี ้ืนบา้ น
70 นายทลู ทมิ นั กล่มุ สะลอ้ ซอซึงบา้ นทงุ่ ฮี ม.1 ต.วงั ทรายคำ
คณุ ธรรม จริยธรรม/อักษรธรรมภาษาลา้ นนา ม.1 ต.วังทรายคำ
71 พระครอู ดุ มกิตติวฒั น์ การทำบายศรี ม.3 ต.วังทรายคำ
72 นางหนำ่ วงั เสมอ การแปรรปู สมนุ ไพรยาหม่องพรกิ ม.4 ต.วังทรายคำ
73 นางคำ กล่นิ มาลา ผลิตสรุ ากล่นั ตรากวาง (ประนอม) ม.4 ต.วงั ทรายคำ
74 นางประนอม สมงอน หมอฟัน ม.4 ต.วังทรายคำ
75 นายสพุ ที ใจยงั การทำผลติ ภัณฑจ์ ากกระดาษสา ม.7 ต.วังทรายคำ
76 นางรอด ปะดน การตเี หลก็ /ทำเครื่องมือทางการเกษตร ม.7 ต.วงั ทรายคำ
77 นายสงวน คิดอา่ น การทอผ้า ม.8 ต.วงั ทรายคำ
78 นางชอน ใจดี การสร้างผลิตภณั ฑจ์ ากกระดาษสา
79 นางศศวิ ิมล จติ ตถ์ ือ ดอกไม้จนั ทน์ พวงหรีด ดอกไมป้ ระดบั แจกนั ม.8 ต.วงั ทรายคำ
คุณธรรม จริยธรรม/พธิ กี รรมผญา๋ ลา้ นนา
80 พระครสู ถติ บญุ ญานุวัฒน์

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ 2565 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอวงั เหนือ

ลำดบั ช่อื ภูมิปัญญาท้องถ่นิ ความสามารถและประสบการณ์ 63
(วัดทงุ่ หา้ )
ประดิษฐเ์ คร่ืองสืบชาตา ท่อี ยู่
81 นายแก้วมา วังแง่ ด้านการจักสาน
82 นายคล้าย เหรียญทอง ด้านการจกั สาน ม.9 ต.วังทรายคำ
83 นายสิทธิพร ยามดเี ลศิ ดา้ นการจักสาน ม.1 ต.วังแก้ว
84 นางจันทรส์ ม ยามดีเลศิ ด้านการจกั สาน ม.2 ต.วงั แก้ว
85 นายถวลิ ยามดเี ลิศ ดา้ นสมนุ ไพรพน้ื บ้าน ม.2 ต.วงั แกว้
86 นายสรอ้ ย ยามดเี ลศิ ด้านสมุนไพรพน้ื บ้าน ม.2 ต.วังแกว้
87 นายเสน่ห์ วงคล์ อดแก้ว ด้านสมุนไพรพน้ื บา้ น ม.2 ต.วังแก้ว
88 นางเต้า วงคล์ อดแกว้ การทำบายศรี ม.2 ต.วงั แก้ว
89 นางคำ เกื้อเกิน การทำบายศรี ม.2 ต.วังแกว้
90 นางจันทรเ์ พ็ญ ยามดีเลศิ พธิ กี รรมพน้ื บา้ น ม.2 ต.วังแกว้
91 นายแสนเมือง ถุงทอง ดา้ นการจักสาน ม.2 ต.วังแกว้
92 นายเถาว์ เงือกน้ำ การแกะสลกั ไม้ ม.2 ต.วังแกว้
93 นายสมาน อวดผวิ พิธีกรรมพ้นื บ้าน ม.3 ต.วังแกว้
94 นายเหลี่ยม เกื้อเกนิ ดา้ นสมุนไพรพนื้ บา้ น ม.3 ต.วงั แกว้
95 นายอา้ ย หมู้แก้ว การจักสานรว้ั บา้ น ม.4 ต.วงั แกว้
96 นายอนันต์ ใจดี การตมี ดี ม.4 ต.วงั แก้ว
97 นายสมาน ดหี ล้า การทอผ้า ม.5 ต.วังแก้ว
98 นางจนั ทร์เพญ็ สุภา ด้านสมนุ ไพรพน้ื บ้าน ม.5 ต.วงั แกว้
99 นายเพ่ิมพนู กลู พรม ดา้ นการจักสาน ม.5 ต.วงั แกว้
100 นายชมุ่ เกดิ กลู ด้านการจักสาน ม.5 ต.วังแกว้
101 นายอินคำ วงศ์จีนา ดนตรีพน้ื บา้ น,สะเดาะเคราะห์ ม.7 ต.วังแกว้
102 นายอดุ ม กล่นิ มาลา การจกั สาน ม.7 ต.วังแก้ว
103 นายชมุ โนกลุ การจกั สาน,สะเดาเคราะห,์ เล่าค่าว 42 ม.1 ต.วังใต้
104 นายตา เมล์ทาง เลา่ ค่าย,จ๊อย,มรรคทายก 64 ม.1 ต.วังใต้
105 นายปดุ๊ ศิรบิ าล กาถกั หมวก,เลา่ คา่ ว จอ๊ ย ซอ 113 ม.2 ต.วังใต้
106 นางปี๋ มีเมล์ การจักสาน 84 ม.2 ต.วังใต้
107 นายตุ้ย กาสนั การสะเดาะเคราะห์,สขู่ วญั 47 ม.2 ต.วังใต้
108 นายสกุ วางเชงิ ประเพณีพ้ืนบ้าน 24 ม.4 ต.วังใต้
109 นายบุญยัง ประกนั ทำเครอื่ งมืออุปกรณ์ไถ่นาโบราณ 80 ม.4 ต.วงั ใต้
110 นายผัด แหลมแท้ การเลา่ ค่าว,ซอ,จ๊อย 26 ม.4 ต.วงั ใต้
111 นางมลู ก๋าสัน ความเชือ่ พน้ื บา้ น 122 ม.5 ต.วังใต้
112 นายหล้า ฟองหวัด การทำของชำร่วย 77 ม.5 ต.วังใต้
113 นายเลิศ ยศบุตร 96ม.5ต.วงั ใต้
40 ม.6 ต.วังใต้

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอวงั เหนือ

64

ข้อมูลด้านแหล่งเรียนรู้

ลำดบั ชอื่ แหล่งเรยี นรู้ ประเภทแหล่งเรยี นรู้ ท่ตี ้ัง
1 ศาลเจ้าพ่อข้อมือเหลก็ แหลง่ ศึกษาเรยี นรู้เชงิ ประวตั ิศาสตร์ ม.4 ต.ทุง่ ฮ้ัว
2 วดั พระเกิด แหล่งศกึ ษาเรยี นรเู้ ชงิ ประวัติศาสตร์ ม.8 ต.ทุง่ ฮั้ว
3 วัดบ้านปา่ แขม ดา้ นศาสนา ม.5 ต.วงั ซา้ ย
4 สวนลงุ กุ แหลง่ เรยี นรูเ้ ศรษฐกจิ พอเพียง ม.5 ต.วงั ซา้ ย
5 ศาลม่อนพญาแก้ว ดา้ นศาสนา ม.9 ต.วังซา้ ย
6 นำ้ ตกธารทอง แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติ ม.2 ต.วงั ทอง
7 ดอยหนอก แหล่งเรยี นรทู้ างธรรมชาติและ ม.3 ต.วงั ทอง
พระพุทธศาสนา
8 ศูนยอ์ นรุ ักษพ์ ืชสมุนไพร แหลง่ เรยี นร้เู ศรษฐกิจพอเพยี ง ม.4 ต.วงั ทอง
วดั บา้ นแม่เยน็
แหลง่ เรยี นรู้ทางพระพุทธศาสนา ม.6 ต.วงั ทอง
9 วัดป่าสารภี แหลง่ ศกึ ษาพระพุทธศาสนา ม.8 ต.วังทอง
10 พระธาตเุ มืองทอง แหล่งเรยี นรทู้ างธรรมชาติ ม.8 ต.วังทอง
11 อ่างเก็บน้ำหว้ ยลอย แหลง่ เรียนรเู้ ชงิ ประวัตศิ าสตร์ /การกำเนดิ / ม.6 ต.วงั เหนอื
12 วดั บ้านใหม่ การปกครองในอดตี ของไทย
แหลง่ เรยี นเรียนร้เู ชงิ ประวตั ศิ าสตร์/ ม.6 ต.วังเหนอื
13 พิพธิ ภัณฑ์พระครนู เิ วศนธ์ รร ศิลปวัฒนธรรม
มารกั ษ์ แหล่งเรยี นเรยี นรู้เชิงประวตั ิศาสตร์/ ม.6 ต.วงั เหนือ
ศิลปวฒั นธรรม
14 ศาลเจ้าพ่อพญาวงั ด้านเศรษฐกิจพอเพยี ง ม.7 ต.วังเหนือ
ศลิ ปวฒั นธรรมภาพวาดฝาผนัง เรอ่ื งราวพุทธ ม.4 ต.ร่องเคาะ
15 สวนนายวชิ ัย โชตญิ าณนนท์
16 วัดทงุ่ ฝูง

ประวัติ เวสสันดร ชาดก หงสห์ ิน

17 วดั สบลนื ศิลปวัฒนธรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ ม.7 ต.รอ่ งเคาะ

18 กล่มุ เพาะเหด็ บา้ นดอนแกว้ การเพาะเห็ด การแปรรปู การปลกู ผกั ปลอด ม.8 ต.ร่องเคาะ
สารพษิ การทำปุย๋ หมกั

19 กล่มุ สะลอ้ ซอซึงบ้านทุ่งฮี นายทลู ทมิ นั การประดิษฐเ์ คร่อื งดนตรี ม.1 ต.วังทรายคำ

พนื้ บ้าน

20 ผลิตสุรากลั่นพ้ืนบา้ น การผลิตสุรากล่นั เพ่ือบริโภคในชุมชนและ ม.4 ต.วังทรายคำ

จำหน่าย

21 อา่ งเก็บน้ำห้วยแม่แสด แหล่งน้ำการเกษตรตำบลวังทรายคำ ม.5 ต.วังทรายคำ

22 วดั บ้านกอ่ จติ รกรรมฝาผนังล้านนาไทย ม.6 ต.วงั ทรายคำ

23 วสิ าหกจิ ชมุ ชนการประดษิ ฐ์ นางศศิวิมล จติ ตถ์ ือ ผลติ ภณั ฑ์กระดาษสา ม.8 ต.วงั ทรายคำ

กระดาษสา ดอกไมจ้ นั ทน์ พวงหรีด ดอกไม้ประดบั

24 สวนอนิ ตา สวนเศรษฐกจิ พอเพียงผกั ปลอกสารพษิ ม.8 ต.วงั ทรายคำ

25 ศาลเจา้ พ่อข้อมือเหล็ก แหล่งศกึ ษาเรยี นรู้เชงิ ประวตั ิศาสตร์ ม.7 ต.วงั แก้ว

26 พระธาตทุ องทพิ ย์ แหลง่ ศึกษาเรยี นรเู้ ชิงประวัติศาสตร์ ม.3 ต.วังแก้ว

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ 2565 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอวงั เหนอื

65

ลำดบั ชอ่ื แหล่งเรียนรู้ ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ทีต่ ั้ง
ม.5 ต.วังแกว้
27 นำ้ ตกวังแกว้ แหล่งศึกษาเรยี นรู้เชิงธรรมชาติ ม.3 ต.วงั แก้ว
ม.3 ต.วังแก้ว
28 นำ้ ตกวังทอง แหล่งศกึ ษาเรียนรเู้ ชิงธรรมชาติ ม.6 ต.วังแกว้
ม.6 วงั ใต้
29 ไรภ่ ูผา ชุมแวงวาปี แหลง่ เรียนรู้ดา้ น Smart Farmer ม.5 ต.วังใต้
ม.1 ต.วงั ใต้
30 สวนริมวัง เกษตรอินทรยี ์ แหลง่ เรยี นรู้ด้าน เกษตรอินทรยี ์ ม.1 ต.วงั ใต้
ม.2 ต.วงั ใต้
31 ถำ้ ผางาม แหล่งเรยี นร้ตู ามธรรมชาติ
ม.6 ต.วงั ใต้
32 พระธาตุพทุ ธศริ ิวิมตุ ติธรรม แหล่งศกึ ษาพระพุทธศาสนา

33 วดั บ้านกวาง แหล่งศึกษาพระพุทธศาสนา

34 ศนู ย์ไกลเ่ กลยี่ ข้อพิพากวังใต้ แหล่งเรียนรู้กฎหมาย

35 ศูนยเ์ รียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพยี ง แหล่งเรียนร้เู ศรษฐกจิ พอเพียง

บา้ นวังโป่ง

36 วดั บา้ นหมุ้น แหล่งศึกษาพระพุทธศาสนา

ข้อมูลภาคีเครอื ข่าย ทีต่ ั้ง/ที่อยู่
ลำดบั ภาคีเครอื ข่าย ม.4 ต.ทงุ่ ฮัว้
ม.4 ต.ทุ่งฮวั้
1 องค์การบริหารส่วนตำบลทุง่ ฮั้ว ม.4 ต.ทุ่งฮว้ั
2 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งฮัว้ ม.4 ต.ทงุ่ ฮ้วั
3 โรงเรยี นผสู้ งู อายุตำบลทงุ่ ฮวั้ ม.3 ต.วงั ซ้าย
4 ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลทงุ่ ฮวั้ ม.3 ต.วงั ซา้ ย
5 สถานีตำรวจภูธรวังเหนือ ม.4 ต.วังซ้าย
6 โรงเรียนบา้ นหัวทงุ่ ม.5 ต.วังซ้าย
7 โรงเรียนบ้านแมส่ ุขใน ม.5 ต.วงั ซ้าย
8 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าแขม ม.7 ต.วงั ซา้ ย
9 โรงเรียนบา้ นปา่ แขม ม.7 ต.วังทอง
10 โรงเรียนบา้ นสุขแม่เหนอื ม. 10 ต.วงั ซ้าย
11 องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลวงั ทอง ม.1 ต.วงั ทอง
12 องค์การบริหารส่วนตำบลวงั ซ้าย ม.1 ต.วงั ทอง
13 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลบ้านเมืองตึงใต้ ม.3 ต.วังทอง
14 โรงเรียนผสู้ งู อายุ ธารทองตองตงึ ม.4 ต.วังเหนอื
15 โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลบ้านปงถ้ำ ม.4 ต.วงั เหนือ
16 ผู้ใหญบ่ ้าน บ้านทงุ่ เปา้ (นายสมเดช อทุ ธยา) ม.4 ต.วังเหนอื
17 โฮงเฮยี นป้ออุย้ แม่อ้ยุ เทศบาลตำบลวังเหนอื ม.4 ต.วังเหนอื
18 เทศบาลตำบลวังเหนอื ม.5 ต.วังเหนอื
19 สำนกั งานเกษตรอำเภอวังเหนือ ม.6 ต.วงั เหนือ
20 ผใู้ หญบ่ า้ น บา้ นแพะใต้ (นางจินตนา กลิน่ มาลา) ม.7 ต.วงั เหนือ
21 ผู้ใหญบ่ า้ นใหม่ (นายนรภทั ร อดเก่ง)
22 ผู้ใหญ่บ้าน บ้านแม่เฮยี ว (นายจรญั อวดร่าง)

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ 2565 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอวังเหนือ

ลำดบั ภาคีเครอื ข่าย 66
23 ผใู้ หญบ่ ้าน บ้านป่าเหยี ง (นายผ่าน พะย๋า)
24 ผู้ใหญบ่ ้านขนั หอม (นายรุ่งเสนห่ ์ คิดอา่ น) ที่ตั้ง/ท่ีอยู่
25 องค์การบริหารสว่ นตำบลร่องเคาะ ม.8 ต.วงั เหนอื
26 รพ.สต.บ้านวงั ใหม่ ม.9 ต.วังเหนือ
27 รพ.สต.บา้ นรอ่ งเคาะ ม.9 ต.ร่องเคาะ
28 รพ.สต.บ้านดอนแก้ว ม.12 ต.ร่องเคาะ
29 องค์การบริหารส่วนตำบลวังทรายคำ ม.9 ต.รอ่ งเคาะ
30 รพ.สต.บ้านปงวัง ม.8 ต.ร่องเคาะ
31 วัดบ้านก่อ ม.6 ต.วังทรายคำ
32 สวนอินตา ม.3 ต.วังทรายคำ
33 นายจำลอง แสนจติ ร (ผู้ใหญ่บา้ นทุ่งฮี ) ม.6 ต.วงั ทรายคำ
34 นายสกล ใจบุญ (ผใู้ หญบ่ ้านดง) ม.8 ต.วงั ทรายคำ
35 นายสมพร สูงขาว (ผ้ใู หญบ่ ้านปงวงั ) ม.1 ต.วงั ทรายคำ
36 นายยนต์ ใจยัง (กำนนั ตำบลวงั ทรายคำ) ม.2 ต.วังทรายคำ
37 นายนิวัติ จันหอม (ผใู้ หญ่บา้ นป่าฝาง) ม.3 ต.วังทรายคำ
38 นายพฒั นา จันหอม (ผู้ใหญบ่ ้านก่อ) ม.4 ต.วังทรายคำ
39 นายอัศวิน อวดราษฎร์ (ผใู้ หญ่บา้ นป่าสัก) ม.5 ต.วงั ทรายคำ
40 นายสิทธิภาพ สะอาด (ผู้ใหญบ่ ้านทงุ่ หา้ ) ม.6 ต.วงั ทรายคำ
41 นายจีรศักดิ์ ภาวนา (ผู้ใหญบ่ ้านทุ่งพัฒนา) ม.7 ต.วังทรายคำ
42 องค์การบริหารสว่ นตำบลวังแก้ว ม.8 ต.วังทรายคำ
43 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลบา้ นฮ่าง ม.9 ต.วงั ทรายคำ
44 โรงเรียนผสู้ งู อายุตำบลวังแก้ว ม.3 ต.วังแก้ว
45 ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ องค์การบริหารสว่ นตำบลวงั แกว้ ม.5 ต.วังแก้ว
46 วดั บา้ นฮา่ ง ม.5 ต.วงั แกว้
47 อทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง ม.3 ต.วังแก้ว
48 โรงเรียนวงั แกว้ วทิ ยา ม.5 ต.วังแกว้
49 ถำ้ ผางาม ม.5 ต.วังแก้ว
50 พระธาตุพุทธศริ วิ มิ ตุ ตธิ รรม ม.5 ต.วังแก้ว
51 วัดบา้ นกวาง ม.6 ต.วงั ใต้
52 ศูนย์ไกลเ่ กลย่ี ข้อพิพากวงั ใต้ ม.5 ต.วังใต้
53 ศนู ย์เรยี นรเู้ ศรษฐกิจพอเพยี งบา้ นวงั โปง่ ม.1 ต.วังใต้
54 วดั บา้ นหมุ้น ม.1 ต.วงั ใต้
55 องค์การบรหิ ารส่วนตำบลวังใต้ ม.2 ต.วงั ใต้
ม.6 ต.วังใต้
ม.1 ต.วงั ใต้

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ 2565 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอวังเหนอื

67

ทำเนยี บผู้บริหาร ตำแหนง่ ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่ง
ลำดบั ที่ ช่ือ-สกุล หวั หนา้ ศนู ย์ พ.ศ.2536–2538
1 นายณรงค์ สุขสะอาด หวั หน้าศูนย์ พ.ศ.2538–2541
2 นายคเชนทร์ มะโนใจ ผูอ้ ำนวยการ พ.ศ.2541–2547
3 นายพรี ะพงษ์ มหาวงศนนั ท์ รักษาการ ผ้อู ำนวยการ พ.ศ.2547–2549
4 นางบษุ รา ตอ้ งใจ รกั ษาการ ผ้อู ำนวยการ พ.ศ.2549–2550
5 นายสอาด สุทธิพรมณีวัฒน์ ผู้อำนวยการ พ.ศ.2550–2551
6 นายกฤษณพันธ์ เพ็งศรี ผอู้ ำนวยการ
7 นายมานพ มสุ กิ ะปาน รักษาการ ผู้อำนวยการ มีนาคม 2551-มิถนุ ายน 2551
8 นายสอาด สุทธพิ รมณวี ฒั น์ ผู้อำนวยการ มิถุนายน 2551–14 ตลุ าคม 2552
9 นายสอาด สทุ ธพิ รมณวี ฒั น์ ผอู้ ำนวยการ 14 ตลุ าคม 2552–กนั ยายน 2560
10 นายภานวุ ัฒน์ สบื เครอื
27 ตุลาคม 2560-ปัจจุบนั

ข้อมูลดา้ นบคุ ลากร จำนวน (คน)
ประเภท 1
2
ข้าราชการครู (ผู้บริหาร) 2
ขา้ ราชการครู 7
พนักงานราชการ (ครูอาสาสมัคร กศน.) 2
พนกั งานราชการ (ครู กศน.ตำบล) 1
จ้างเหมาบรกิ าร (ครผู สู้ อนคนพิการ) 15
จ้างเหมาบริการ (บรรณารักษ์)

รวม

แผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ 2565 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอวงั เหนือ

68

โครงสรา้ งบคุ ลากร

(นายภานุวัฒน์ สืบเครือ)
ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอวังเหนือ

นายจกั รกฤษณ์ ปีก่ำ นางสาวอไุ รพร คำจนั ทร์
ครู ครูผู้ชว่ ย

นายชนญั ญ์ ฐิติวิชญานันทร์ นายนัทธพงศ์ ตามวงค์ นางบศุ ยมาส อนิ่ แกว้ นายชนาธิป มอื แข็ง นายสมบตั ิ ดกุ ลา้
ครอู าสาสมคั ร กศน. ครูอาสาสมคั ร กศน. ครู กศน.ตำบลวังเหนอื ครู กศน.ตำบลวังใต้ ครู กศน.ตำบลวงั ทรายคำ

นายมานิต การเพียร นางสาวมารสิ า คอส้นั นางสาวนนั ทะณี ยามเลย นางสมุ ารนิ ทร์ วงค์อารีย์ นายกตัญญู ปงลงั กา
ครู กศน.ตำบลวงั แก้ว ครู กศน.ตำบลวงั ซา้ ย ครู กศน.ตำบลวังทอง ครู กศน.ตำบลร่องเคาะ ครผู สู้ อนคนพกิ ารตำบลวงั ทอง

นางสาวสธุ าสนิ ี เสยี งดี นางสาวเพ็ญนภิ า ตานาคา
ครผู ู้สอนคนพิการตำบลร่องเคาะ บรรณารักษ์

แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังเหนอื

69

นโยบายและจุดเน้นการดาํ เนินงาน สาํ นักงาน กศน.

ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วสิ ัยทัศน์
คนไทยทุกช่วงวัยได้รับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีทักษะที่จําเป็น

และสมรรถนะที่สอดรับกับทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถดํารงชีวิตได้อย่างเหมาะสมบนรากฐานของหลัก
ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง

พนั ธกิจ
1. จดั และส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทม่ี ีคุณภาพ สอดคลอ้ ง กบั หลักปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพยี ง และความเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกิจและสงั คม เพื่อยกระดับการศกึ ษา และพัฒนา
สมรรถนะ ทักษะการเรยี นรู้ของประชาชนกลุ่มเปา้ หมายให้เหมาะสมในแต่ละชว่ งวยั ให้พรอ้ มรบั การเปล่ียนแปลง
และการปรับตวั ในการดาํ รงชีวิตได้อยา่ งเหมาะสม กา้ วสูก่ ารเปน็ สังคมแห่งการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ อย่างยง่ั ยืน

2. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา การวัด
และประเมินผลในทุกรูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้และบริบท
ในปัจจบุ ัน

3. ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนําเทคโนโลยีมาพัฒนาเพื่อเพิ่มช่องทางและโอกาส
การเรียนรู้ รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดและให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ใหก้ ับประชาชนกลุ่มเปา้ หมายอย่างทว่ั ถึง

4. ส่งเสริมสนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคีเครือข่าย ให้เข้ามามีส่วนร่วม
ในการสนบั สนนุ และจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และการเรยี นรตู้ ลอดชีวิตในรปู แบบต่าง ๆ
ให้กับประชาชน

5. ฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กรให้มีเอกภาพ เพื่อการบริหารราชการที่ดี บนหลัก
ของธรรมาภิบาล มปี ระสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคล่องตัวมากยิง่ ขน้ึ

6.ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรม และ
จริยธรรมท่ดี ี เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธิภาพของการใหบ้ ริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ทีม่ ีคุณภาพมากย่งิ ขึ้น

เป้าประสงค์
1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาส

ทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษา
ตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เป็นไปตามบริบท สภาพปัญหาและความต้องการของแต่ละ
กลุ่มเปา้ หมาย

2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม หน้าที่ความเป็น
พลเมืองที่ดีภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ที่สอดคล้องกับหลัก
ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง อันนําไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน
เพือ่ พฒั นา ไปสคู่ วามมนั่ คงและยงั่ ยืนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร์ และส่งิ แวดลอ้ ม

3. ประชาชนไดร้ ับการพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเองผ่านแหลง่ เรยี นรู้
ชอ่ งทางการเรยี นรู้ และกจิ กรรมการเรยี นรู้รูปแบบต่าง ๆ รวมทง้ั มีเจตคติทางสงั คม การเมอื ง วิทยาศาสตร์ และ

แผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ 2565 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอวังเหนือ

70
เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม สามารถคิดวเิ คราะห์ แยกแยะอยา่ งมีเหตุผล และนาํ ไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจําวัน รวมถงึ
การแก้ปัญหาและพฒั นาคุณภาพชวี ิตไดอ้ ย่างสร้างสรรค์

4. หนว่ ยงานและสถานศึกษา กศน. มหี ลกั สูตร สอ่ื นวัตกรรม ช่องทางการเรียนรู้ และกระบวนการ
เรยี นรใู้ นรูปแบบทหี่ ลากหลาย ทันสมยั และรองรบั กบั สภาวะการเรยี นรใู้ นสถานการณต์ ่าง ๆ เพ่อื แก้ปัญหา และ
พฒั นาคุณภาพชวี ิตตามความตอ้ งการของประชาชนและชุมชน รวมทง้ั ตอบสนองกับการเปล่ยี นแปลงบรบิ ท
ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ และสง่ิ แวดล้อม

5. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนาํ เทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจทิ ลั มาพฒั นา
เพอื่ เพ่ิมช่องทางการเรยี นรู้ และนาํ มาใช้ในการยกระดับคุณภาพในการจดั การเรียนรู้และโอกาสการเรียนรู้ ใหก้ ับ
ประชาชน

6. ชุมชนและภาคีเครือขา่ ยทุกภาคส่วน มสี ่วนร่วมในการจัด ส่งเสริม และสนบั สนนุ การศกึ ษา นอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการขับเคลอื่ นกิจกรรมการเรยี นรขู้ องชุมชน

7. หนว่ ยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการองค์กรท่ีทันสมยั มีประสิทธิภาพ และเป็นไป
ตามหลกั ธรรมาภบิ าล

8. บคุ ลากร กศน. ทุกประเภททุกระดบั ได้รับการพฒั นาเพื่อเพิ่มทักษะและสมรรถนะในการปฏบิ ตั ิงาน
และการให้บริการทางการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั รวมถึงการปฏิบตั ิงานตามสายงานอย่างมี
ประสิทธภิ าพ

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ 2565 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอวังเหนือ

71

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอวังเหนือ

72

จุดเน้นการดาํ เนินงานประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

1. น้อมนําพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาสูก่ ารปฏิบตั ิ
1.1 สืบสานศาสตร์พระราชา โดยการสร้างและพัฒนาศูนย์สาธิตและเรียนรู้ “โคกหนองนา โมเดล”

เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการบริหารทรัพยากรรูปแบบต่าง ๆ ทั้งดิน น้ำ ลม แดด รวมถึงพืชพันธุ์ต่าง ๆ และ
ส่งเสรมิ การใช้พลังงานทดแทนอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

1.2 จดั ให้มี “หนงึ่ ชุมชน หนง่ึ นวัตกรรมการพัฒนาชมุ ชน” เพอ่ื ความกนิ ดี อยู่ดี มงี านทาํ
1.3 การสร้างกลุ่มจิตอาสาพัฒนาชุมชน รวมทั้งปลูกฝังผู้เรียนให้มีหลักคิดที่ถูกต้องด้านคุณธรรม
จริยธรรม มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง และเป็นผู้มีความพอเพียง ระเบียบวินัย สุจริต จิตอาสา ผ่านกิจกรรมการ
พฒั นา ผู้เรียนโดยการใชก้ ระบวนการลูกเสือและยวุ กาชาด

2. ส่งสริมการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตสําหรบั ประชาชนที่เหมาะสมกับทกุ ชว่ งวัย
2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสร้าง

นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความต้องการของประชาชน
ผ้รู ับบริการ และสามารถออกใบรับรองความรคู้ วามสามารถเพือ่ นําไปใช้ในการพัฒนาอาชีพได้

2.2 ส่งเสริมและยกระดบั ทักษะภาษาองั กฤษให้กับประชาชน (English for ALL)
2.3 สง่ เสริมการเรียนการสอนท่เี หมาะสมสาํ หรับผทู้ เ่ี ขา้ สู่สงั คมสูงวัย อาทิ การฝึกอบรมอาชีพ ท่เี หมาะสม
รองรับสังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมสมรรถนะผู้สูงวัย และหลักสูตร การดูแลผู้สูงวัย
โดยเนน้ การมสี ่วนรว่ มกบั ภาคีเครอื ข่ายทุกภาคสว่ นในการเตรียมความพร้อมเข้าสสู่ งั คมสงู วัย

3. พัฒนาหลกั สตู ร สอ่ื เทคโนโลยีและนวตั กรรมทางการศึกษา แหลง่ เรียนรู้ และรูปแบบ การจดั การศกึ ษา
และการเรียนรู้ ในทุกระดบั ทกุ ประเภท เพื่อประโยชน์ต่อการจดั การศกึ ษาที่เหมาะสม กบั ทกุ กลุ่มเป้าหมาย
มคี วามทันสมัย สอดคล้องและพรอ้ มรองรบั กบั บริบทสภาวะสังคมปัจจบุ ัน ความต้องการ ของผู้เรยี น และ
สภาวะการเรียนรใู้ นสถานการณ์ต่าง ๆ ทจ่ี ะเกิดข้ึนในอนาคต

3.1 พฒั นาระบบการเรยี นรู้ ONIE Digital Leaming Platform ท่ีรองรับ DEEP ของกระทรวงศึกษาธิการ
และช่องทางเรียนรรู้ ปู แบบอนื่ ๆ ทั้ง Online On-site และ On-air

3.2 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/
Digital Library ศูนย์การเรียนรู้ทุกช่วงวัย และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อให้
สามารถ “เรยี นรู้ไดอ้ ย่างทว่ั ถึง ทุกที่ ทุกเวลา”

3.3 พัฒนาระบบรับสมัครนักศึกษาและสมัครฝึกอบรมแบบออนไลน์ มีระบบการเทียบโอนความรู้ ระบบ
สะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank System) และพัฒนา/ขยายการให้บริการระบบทดสอบอิเล็กทรอนิกส์
(E-exam)

4. บูรณาการความรว่ มมือในการส่งเสรมิ สนบั สนนุ และจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ให้กับ ประชาชนอย่างมี
คุณภาพ

4.1 ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมท้ัง
สง่ เสริมและสนับสนนุ การมสี ่วนร่วมของชุมชน อาทิ การส่งเสรมิ การฝกึ อาชีพท่เี ป็นอตั ลักษณแ์ ละบริบทของชุมชน
ส่งเสริมการตลาดและขยายชอ่ งทางการจําหนา่ ยเพื่อยกระดับผลติ ภณั ฑ/์ สนิ ค้า กศน.

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ 2565 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอวังเหนอื

73

4.2 บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งในส่วนกลาง และ
ภูมภิ าค

5. พฒั นาศกั ยภาพและประสิทธิภาพในการทํางานของบุคลากร กศน.
5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills)

ให้กบั บคุ ลากรทกุ ประเภททุกระดบั รองรับความเป็นรัฐบาลดจิ ทิ ลั อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมทง้ั พัฒนาครใู ห้มีทักษะ
ความรู้ และความชาํ นาญในการใชภ้ าษาอังกฤษ การผลิตสือ่ การเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนเพ่ือฝึกทักษะ
การคดิ วิเคราะห์อย่างเป็นระบบและมเี หตผุ ล เปน็ ขนั้ ตอน

5.2 จัดกจิ กรรมเสริมสร้างความสัมพนั ธ์ ของบคุ ลากร กศน.และกิจกรรมเพ่ิมประสิทธิภาพ ในการทํางาน
ร่วมกนั ในรปู แบบต่าง ๆ อาทิ การแข่งขนั กีฬา การอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารพฒั นาประสทิ ธิภาพ ในการทํางาน

6. ปรบั ปรุงและพัฒนาโครงสรา้ งและระบบบริหารจัดการองค์กร ปัจจัยพืน้ ฐานในการจัดการศึกษา และการ
ประชาสมั พนั ธ์สรา้ งการรบั รูต้ อ่ สาธารณะชน

6.1 เร่งผลักดันร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. ... ให้สําเร็จ และปรับโครงสร้าง การบริหาร
และอัตรากําลังใหส้ อดคลอ้ งกบั บริบทการเปลยี่ นแปลง เร่งการสรรหา บรรจุ แต่งตั้งทม่ี ีประสทิ ธิภาพ

6.2 นํานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการ พัฒนาระบบการทํางานและข้อมูล
สารสนเทศด้านการศึกษาที่ทันสมัย รวดเร็ว และสามารถใช้งานทันที โดยจัดตั้งศูนย์ข้อมูลกลาง กศน. เพื่อจัดทํา
ขอ้ มลู กศน. ทงั้ ระบบ (ONE ONIE)

6.3 พัฒนา ปรับปรุง ซ่อมแซม ฟื้นฟูอาคารสถานที่ และสภาพแวดล้อมโดยรอบของหน่วยงาน
สถานศกึ ษา และแหลง่ เรียนรูท้ ุกแหง่ ให้สะอาด ปลอดภยั พรอ้ มให้บรกิ าร

6.4 ประชาสัมพันธ์/สร้างการรับรู้ให้กับประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับการบริการทางวิชาการ/กิจกรรม
ด้านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสร้างช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการ ของ
หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ข่าวประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อรูปแบบต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ/มหกรรม
วิชาการ กศน.

การจัดการศึกษาและการเรียนรใู้ นสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID - 19) ของสาํ นกั งาน กศน.

จากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) เมื่อเดือนธนั วาคม 2562 สง่ ผล
กระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับชั้น ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ได้ออก
ประกาศและมีมาตรการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสดังกล่าว อาทิ กําหนดให้มี การเว้น
ระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ห้ามการใช้อาคารสถานที่ของโรงเรียนและสถาบันการศึกษา
ทุกประเภท เพื่อจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการทํากิจกรรมใด ๆ ที่มีผู้เข้าร่วมเป็นจํานวนมาก
การปิดสถานศกึ ษาดว้ ยเหตุพเิ ศษ การกาํ หนดใหใ้ ชว้ ิธีการจัดการเรยี นการสอนรูปแบบใหม่ อาทิ การจดั การเรียนรู้
แบบออนไลน์ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบการออกอากาศทางโทรทัศน์ วิทยุ และโซเซียลมีเดีย ต่าง ๆ รวมถึง
การสอ่ื สารแบบทางไกลหรือด้วยวิธีอิเล็กทรอนกิ ส์

ในส่วนของสํานักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดําเนินงานในภารกิจ
ต่อเนื่องต่าง ๆ ในสถานการณ์การใช้ชีวิตประจําวัน และการจัดการเรียนรู้เพื่อรองรับการชีวิตแบบปกติวิถีใหม่
(New Normal) ซึ่งกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ให้ความสําคัญกับการดําเนินงานตามมาตรการการป้องกัน

แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ 2565 ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอวงั เหนอื

74

การแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ุกประเภทหากมีความ
จําเป็นต้องมาพบกลุ่ม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาต้องมีมาตรการป้องกันที่เข้มงวด มีเจลแอลกอฮอล
ล้างมือ ผู้รับบริการต้องใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ต้องมีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล เน้นการใช้ส่ือ
ดิจิทลั และเทคโนโลยีออนไลนใ์ นการจดั การเรยี นการสอน

ภารกจิ ตอ่ เนอื่ ง
1. ดา้ นการจดั การศึกษาและการเรียนรู้
1.1 การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานโดย

ดาํ เนินการ ให้ผ้เู รียนไดร้ ับการสนับสนุนค่าจัดซ้ือหนังสือเรียน ค่าจัดกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน และค่าจัดการ
เรียน การสอนอย่างทั่วถึงและเพียงพอเพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพโดยไม่เสีย
คา่ ใช้จ่าย

2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย
พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา ผ่านการเรียนแบบเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง การพบกลุม่ การเรยี นแบบชน้ั เรียน และ
การจดั การศกึ ษาทางไกล

3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษา ขั้นพื้นฐาน ทั้งด้านหลักสูตรรูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและ
ประเมนิ ผล การเรยี น และระบบการให้บรกิ ารนกั ศึกษาในรูปแบบอนื่ ๆ

4) จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และ
ประสบการณ์ ที่มีความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กําหนด และสามารถตอบสนองความ
ตอ้ งการ ของกลมุ่ เปา้ หมายได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

5) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีคุณภาพที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วม
ปฏบิ ตั ิ กจิ กรรม เพ่ือเป็นส่วนหนง่ึ ของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามคั คี กิจกรรมเกยี่ วกับการ
ป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดการแข่งขันกีฬา การบําเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการ
ปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด
กจิ กรรม จติ อาสา และการจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พร้อมทัง้ เปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รียนนํากิจกรรมการบําเพญ็ ประโยชนอ์ ่นื ๆ
นอกหลักสูตรมาใชเ้ พม่ิ ชว่ั โมงกจิ กรรมใหผ้ ้เู รยี นจบตามหลกั สตู รได้

1.2 การส่งเสรมิ การรูห้ นังสือ
1) พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลผู้ไม่รู้หนงั สือ ให้มคี วามครบถว้ น ถกู ต้อง ทนั สมัยและเป็นระบบ

เดยี วกนั ทง้ั ส่วนกลางและส่วนภมู ิภาค
2) พฒั นาและปรบั ปรุงหลักสูตร สื่อ แบบเรียนเครอื่ งมือวัดผลและเครื่องมือการดําเนินงาน

การ สง่ เสริมการรหู้ นังสอื ท่ีสอดคลอ้ งกับสภาพและบริบทของแตล่ ะกลุ่มเป้าหมาย
3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถ และ

ทักษะการ จัดกระบวนการเรียนรูใ้ ห้กับผู้ไมร่ ู้หนงั สืออย่างมีประสทิ ธภิ าพ และอาจจัดใหม้ ีอาสาสมัครส่งเสริมการรู้
หนงั สอื ใน พน้ื ท่ีท่ีมคี วามต้องการจาํ เป็นเปน็ พิเศษ

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ 2565 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอวังเหนือ

75

4) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้
หนังสือ การพัฒนาทักษะการรู้หนังสือให้กับประชาชนเพื่อเป็นเครื่องมือในการศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ตลอดชวี ิต ของประชาชน

1.3 การศึกษาต่อเนือ่ ง
1) จัดการศกึ ษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาํ อยา่ งยั่งยืน โดยใหค้ วามสาํ คญั กับการจดั การศึกษาอาชีพ

เพื่อการมีงานทําในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการ
บริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพของแต่
ละพื้นที่ มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ
ตลอดจน สร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีการส่งเสริมการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน การ
พฒั นา หนึ่งตาํ บลหนึ่งอาชพี เด่น การประกวดสนิ คา้ ดีพรีเมี่ยม การสรา้ งแบรนดข์ อง กศน. รวมถึงการส่งเสริมและ
จดั หาช่องทางการจําหน่ายสนิ ค้าและผลิตภณั ฑ์ และให้มีการกาํ กับ ตดิ ตาม และรายงานผลการจดั การศึกษาอาชีพ
เพ่อื การมีงานทาํ อยา่ งเป็นระบบและต่อเน่ือง

2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ
ที่สอดคล้องกับความต้องการจําเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดํารงชีวิต
ตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชวี ติ ของตนเองให้อยู่
ในสังคม ได้อย่างมคี วามสุขสามารถเผชญิ สถานการณ์ต่าง ๆ ท่เี กิดขึ้นในชวี ติ ประจาํ วนั ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ และ
เตรยี มพร้อมสาํ หรับการปรบั ตวั ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของข่าวสารข้อมลู และเทคโนโลยีสมยั ใหม่ในอนาคต โดย
จัดกจิ กรรมทีม่ ีเนอื้ หาสาํ คัญตา่ ง ๆ เชน่ การอบรมจติ อาสา การใหค้ วามรูเ้ พื่อการป้องการการแพร่ระบาด ของเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) การอบรมพฒั นาสุขภาพกายและสุขภาพจติ การอบรมคณุ ธรรม และจริยธรรม
การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา การปลูกฝังและการสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ความปลอดภัย ในชีวิตแล ะ
ทรัพย์สิน ผ่านการอบรมเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดตั้งชมรม/ชุมนุม การอบรม
ส่งเสรมิ ความสามารถพิเศษต่าง ๆ เป็นต้น

3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้
แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรมการประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดกิจกรรม จิต
อาสา การสรา้ งชมุ ชนนกั ปฏบิ ัติ และรปู แบบอื่น ๆ ทเ่ี หมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชมุ ชน แต่ละพ้ืนท่ี
เคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคม
พหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บคุ คลรวมกลุ่มเพือ่ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ร่วมกันสร้างกระบวนการจิตสาธารณะ
การสร้างจิตสํานึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรับผิดชอบต่อหน้าที่ความเป็น
พลเมือง ที่ดีภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การส่งเสริมคุณธรรม
จริยธรรม การเป็นจิตอาสา การบําเพ็ญประโยชน์ในชุมชนการ บริหารจัดการน้ำ การรับมือกับสาธารณภัย
การอนุรักษพ์ ลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม การชว่ ยเหลอื ซ่งึ กันและกันในการพฒั นาสังคมและชุมชน
อย่างยั่งยืน

4) การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอด
ชีวิต ในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง และมีการ
บริหารจัดการ ความเสยี่ งอยา่ งเหมาะสม ตามทศิ ทางการพัฒนาประเทศสคู่ วามสมดุลและยั่งยืน

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ 2565 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอวงั เหนือ

76

1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย
1) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านและพัฒนา

ศักยภาพ การเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและทั่วถึง เช่น การพัฒนา กศน. ตําบล
ห้องสมุด ประชาชนทุกแห่งให้มีการบรกิ ารทีท่ ันสมัย ส่งเสริมและสนบั สนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้าง
เครือข่าย ส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ ห้องสมุดชาวตลาด พร้อมหนังสือและอุปกรณ์เพ่ือ
จัดกิจกรรม ส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลายให้บริการกับประชาชนในพื้นที่ต่าง ๆ อย่างทั่วถึง
สม่ำเสมอ รวมทั้ง เสริมสร้างความพร้อมในด้านบุคลากร สื่ออุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการอ่าน และการจัดกิจกรรม
เพอื่ สง่ เสรมิ การอา่ น อยา่ งหลากหลายรปู แบบ

2) จดั สร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษา ใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรต์ ลอดชีวิต
ของประชาชน เป็นแหล่งสร้างนวัตกรรมฐานวิทยาศาสตร์และเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปะวิทยาการประจํา
ท้องถิ่น โดยจัดทําและพัฒนานิทรรศการสื่อและกิจกรรมการศึกษาที่เน้นการเสริมสร้างความรู้และสร้างแรง
บันดาลใจ ด้านวิทยาศาสตร์สอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงสร้างสรรค์ และปลูกฝังเจตคติทาง
วิทยาศาสตร์ ผ่านการกระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี
วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ รวมทั้งสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน และ
ประเทศ รวมทั้งระดับภูมิภาค และระดับโลกเพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถนําความรู้และทักษะไป
ประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวิต การพัฒนา อาชีพ การรักษาสิ่งแวดล้อม การบรรเทาและป้องกันภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติ รวมทั้งมีความสามารถในการปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นไปอย่าง
รวดเรว็ และรุนแรง (Disruptive Changes) ได้อยา่ ง มีประสทิ ธภิ าพ

3) ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่าง ๆ ที่มีแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
เพื่อส่งเสริม การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบที่หลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน
เชน่ พิพิธภณั ฑ์ ศนู ยเ์ รยี นรู้ แหลง่ โบราณคดี วดั ศาสนาสถาน หอ้ งสมุด รวมถึงภูมปิ ัญญาท้องถิ่น เปน็ ต้น

2. ด้านหลักสูตร สือรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลงานบริการ ทางวิชาการ และ
การประกนั คุณภาพการศึกษา

2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมเพื่อส่งเสริม การศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และ
หลกั สตู รท้องถิน่ ที่สอดคลอ้ งกับสภาพบรบิ ทของพืน้ ที่และความต้องการของกล่มุ เป้าหมายและชมุ ชน

2.2 ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออื่น ๆ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
กลุ่มเป้าหมายทัว่ ไปและกลมุ่ เปา้ หมายพเิ ศษ เพ่ือใหผ้ ้เู รียนสามารถเรยี นรู้ได้ทกุ ท่ี ทุกเวลา

2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศกึ ษาทางไกลให้มีความทันสมยั หลากหลายช่องทางการเรียนรู้ ด้วยระบบ
หอ้ งเรยี นและการควบคุมการสอบรปู แบบออนไลน์

2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์
เพอ่ื ให้มีคณุ ภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเปา้ หมายได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ รวมทัง้
มกี ารประชาสมั พันธ์ใหส้ าธารณชนได้รบั รู้และสามารถเข้าถึงระบบการประเมนิ ได้

2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ในระดับ
การศกึ ษาขั้นพื้นฐานให้ไดม้ าตรฐานโดยการนําแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอเิ ล็กทรอนิกส์
(e-Exam) มาใช้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวงั เหนือ

77

2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัด
และประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั รวมทัง้ ใหม้ ีการนาํ ไปส่กู ารปฏบิ ัตอิ ย่างกวา้ งขวางและมีการพฒั นาให้เหมาะสมกับบริบทอย่างตอ่ เน่ือง

2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการประกัน
คุณภาพภายในที่สอดคล้องกับบริบทและภารกิจของ กศน. มากขึ้น เพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
โดยพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสําคัญของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถ
ดําเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเนื่องโดยใช้การประเมินภายในด้วยตนเอง
และจดั ใหม้ ี ระบบสถานศึกษาพี่เลี้ยงเข้าไปสนบั สนนุ อย่างใกลช้ ดิ สําหรบั สถานศกึ ษาท่ียังไม่ได้เข้ารับการประเมิน
คุณภาพ ภายนอก ให้พัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาใหไ้ ด้คุณภาพตามมาตรฐานทก่ี าํ หนด

3. ดา้ นเทคโนโลยีเพอื่ การศึกษา
3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพื่อให้เชื่อมโยงและตอบสนอง ต่อ

การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพื่อกระจายโอกาสทางการศกึ ษา
สาํ หรับกลมุ่ เป้าหมายต่าง ๆ ใหม้ ที างเลือกในการเรียนรู้ทหี่ ลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพฒั นาตนเองให้รู้เท่า
ทัน สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทํา รายการติวเข้มเติม
เต็มความรู้ รายการ รายการทํากินก็ได้ ทําขายก็ดี ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทัศน์เพ่ือ
การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และทางอินเทอรเ์ นต็

3.2 พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั โดยผ่านระบบ เทคโนโลยี
ดิจทิ ัล และชอ่ งทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Youtube Facebook หรอื Application อ่ืน ๆ เพื่อส่งเสรมิ ให้ครู กศน.
นําเทคโนโลยีดิจทิ ัลมาใชใ้ นการสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY)

3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการ
ออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ที่มีคุณภาพได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยขยาย
เครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังได้ทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศและเพิ่มช่องทาง ให้สามารถ
รับชมรายการโทรทัศน์ไดท้ ั้งระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอนิ เทอรเ์ น็ต พร้อมท่ีจะ รองรบั การ
พัฒนาเป็นสถานวี ทิ ยโุ ทรทัศน์เพ่อื การศึกษาสาธารณะ (Free ETV)

3.4 พัฒนาระบบการให้บริการสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเพื่อให้ได้หลายช่องทางทั้งทาง อินเทอร์เน็ต
และรูปแบบอื่น ๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ Tablet รวมทั้งสื่อ Offline ในรูปแบบ ต่าง ๆ
เพอ่ื ให้กลุ่มเป้าหมายสามารถเลือกใชบ้ รกิ ารเพื่อเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรไู้ ดต้ ามความต้องการ

3.5 สํารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านการใชส้ ่ือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอย่างต่อเนื่องเพื่อนําผล มาใช้
ในการพัฒนางานใหม้ คี วามถูกต้อง ทนั สมัยและสามารถส่งเสริมการศกึ ษาและการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ ของประชาชน
ไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ

4. ด้านโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดาํ ริ หรือโครงการอันเก่ียวเนอ่ื งจากราชวงศ์
4.1 ส่งเสริมและสนบั สนุนการดาํ เนนิ งานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริหรือโครงการ อนั เกี่ยวเน่ือง

จากราชวงศ์
4.2 จัดทําฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน.ที่สนองงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ

หรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์เพื่อนําไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผลและการ พัฒนางานได้
อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอวงั เหนอื

78

4.3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดําเนินงานเพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เพื่อให้
เกิดความเขม้ แข็งในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

4.4 พัฒนาศนู ย์การเรียนชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ า้ หลวง”เพื่อให้มีความพร้อมในการจัดการศึกษา นอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามบทบาทหน้าท่ีท่ีกาํ หนดไวอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ

4.5 จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพื้นที่สูง ถิ่นทุรกันดาร
และพนื้ ท่ีชายขอบ

5. ดา้ นการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พนื้ ที่เขตเศรษฐกิจพเิ ศษและพน้ื ท่บี รเิ วณ ชายแดน
5.1 พฒั นาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยในจงั หวัดชายแดนภาคใต้
1) จดั และพัฒนาหลกั สตู ร และกิจกรรมส่งเสริมการศกึ ษาและการเรยี นรู้ท่ตี อบสนองปญั หา และ

ความต้องการของกลมุ่ เป้าหมายรวมทงั้ อัตลกั ษณแ์ ละความเป็นพหวุ ัฒนธรรมของพ้นื ที่
2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเข้มข้นและต่อเนื่อง

เพอ่ื ให้ ผู้เรยี นสามารถนาํ ความรทู้ ี่ได้รบั ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ ริง
3) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากรและ

นกั ศึกษา กศน.ตลอดจนผูม้ าใชบ้ รกิ ารอย่างท่ัวถึง
5.2 พัฒนาการจัดการศึกษาแบบบรู ณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษ
1) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดทําแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์

และบริบทของแต่ละจงั หวดั ในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ
2) จัดทําหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นที่ โดยเน้นสาขาที่เป็นความต้องการของตลาด

ให้เกดิ การพัฒนาอาชีพได้ตรงตามความต้องการของพืน้ ท่ี
5.3 จัดการศกึ ษาเพือ่ ความมน่ั คงของศนู ยฝ์ กึ และพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน(ศฝช.)
1) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อให้เป็นศูนย์ฝึกและสาธิต การ

ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดําริปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพยี ง สาํ หรบั ประชาชนตามแนวชายแดนด้วยวธิ ีการเรยี นร้ทู ่หี ลากหลาย

2) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลายใช้รูปแบบเชิงรุกเพื่อการเข้าถึง
กลุ่มเป้าหมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับเครือข่าย การจัดอบรมแกนนําด้านอาชีพ
ทเ่ี นน้ เรอ่ื งเกษตรธรรมชาตทิ ีส่ อดคล้องกบั บริบทของชุมชนชายแดน ใหแ้ กป่ ระชาชนตามแนวชายแดน

6. ด้านบคุ ลากรระบบการบริหารจดั การ และการมีส่วนรว่ มของทุกภาคส่วน
6.1 การพฒั นาบคุ ลากร
1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งก่อนและระหว่าง

การดํารงตําแหน่งเพื่อให้มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงานให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตําแหน่ง
ให้ตรงกับสายงาน ความชํานาญ และความต้องการของบุคลากรสามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการ
ดําเนินงานของหน่วยงานและ สถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมทั้งส่งเสริมให้ข้าราชการในสังกัดพัฒนา
ตนเองเพือ่ เล่ือนตาํ แหน่ง หรือเลอื่ นวิทยฐานะโดยเน้นการประเมนิ วิทยฐานะเชงิ ประจักษ์

2) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะที่จําเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ
ปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม
อธั ยาศยั ในสถานศกึ ษา

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอวังเหนอื

79

3) พัฒนาหัวหน้า กศน.ตําบล/แขวงให้มีสมรรถนะสูงขึ้น เพื่อการบริหารจัดการ กศน.ตําบล/
แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสทิ ธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้อํานวย
ความสะดวกในการเรยี นรู้เพ่อื ให้ผ้เู รียนเกิดการเรยี นรทู้ มี่ ปี ระสทิ ธิภาพอย่างแทจ้ รงิ

4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้
ได้อย่างมีคุณภาพโดยส่งเสริมให้มีความรูค้ วามสามารถในการจัดทาํ แผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ การ
วดั และประเมนิ ผล และการวจิ ยั เบอื้ งตน้

5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้
ความสามารถและมคี วามเปน็ มืออาชพี ในการจัดบรกิ ารส่งเสรมิ การเรียนรู้ตลอดชวี ิตของประชาชน

6) ส่งเสริมให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการ
บรหิ ารการดาํ เนนิ งานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน.อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทําหน้าที่สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศยั ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรรวมทั้งภาคีเครือข่ายทั้งใน
และต่างประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน
ร่วมกันในรูปแบบที่หลากหลายอย่างต่อเนื่องอาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพ
ในการทาํ งาน

6.2 การพัฒนาโครงสรา้ งพื้นฐานและอัตรากาํ ลัง
1) จัดทําแผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและดาํ เนินการปรับปรุงสถานที่และวัสดุอุปกรณ์ ให้มี

ความพร้อมในการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้
2) สรรหา บรรจุ แต่งตั้ง และบริหารอัตรากําลังที่มีอยู่ทั้งในส่วนที่เป็นข้าราชการ พนักงาน

ราชการ และลูกจ้าง ให้เป็นไปตามโครงสร้างการบริหารและกรอบอัตรากําลัง รวมทั้งรองรับกับบทบาทภารกิจ
ตามทกี่ ําหนดไว้ ใหเ้ กิดประสิทธิภาพสงู สดุ ในการปฏบิ ัติงาน

3) แสวงหาความร่วมมอื จากภาคีเครือข่ายทุกภาคสว่ นในการระดมทรัพยากรเพ่ือนํามาใช้ ในการ
ปรบั ปรงุ โครงสรา้ งพืน้ ฐานให้มคี วามพร้อมสําหรับดําเนินกจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย
และการสง่ เสรมิ การเรียนรู้สาํ หรับประชาชน

6.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ
1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลใหม้ ีความครบถว้ น ถกู ตอ้ ง ทนั สมัย และเช่อื มโยงกนั ทวั่ ประเทศ อย่าง

เป็นระบบเพื่อให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนําไปใช้เป็นเครื่องมือสําคัญในการบริหาร การ
วางแผน การปฏิบตั ิงาน การตดิ ตามประเมินผล รวมทง้ั จดั บรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกํากับ ควบคุม และ
เรง่ รัด การเบิกจา่ ยงบประมาณให้เปน็ ตามเปา้ หมายท่กี ําหนดไว้

3) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศึกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และ
เชื่อมโยงกันทั่วประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้กับ
ผู้เรยี นและการบรหิ ารจดั การอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

4) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมทั้งการศึกษาวิจัย
เพื่อสามารถนํามาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดําเนินงานที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และ
ชมุ ชนพร้อมทงั้ พฒั นาขดี ความสามารถเชิงการแข่งขนั ของหน่วยงานและสถานศึกษา

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอวงั เหนือ

80

5) สร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมทั้งใน
ประเทศ และต่างประเทศ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีสว่ นรว่ มของชุมชนเพือ่ สร้างความเข้าใจ และให้เกิด
ความร่วมมอื ในการสง่ เสรมิ สนับสนนุ และจดั การศกึ ษาและการเรียนรใู้ ห้กับประชาชนอยา่ งมีคุณภาพ

6) ส่งเสริมการใช้ระบบสํานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-office) ในการบริหารจัดการ เช่น
ระบบการลา ระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ระบบการขอใชร้ ถราชการ ระบบการขอใช้หอ้ งประชุม เป็นต้น

7) พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต
และประพฤตมิ ิชอบ บริหารจดั การบนขอ้ มูลและหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ม่งุ ผลสมั ฤทธ์ิมีความโปร่งใส

6.4 การกํากบั นิเทศติดตามประเมนิ และรายงานผล
1) สร้างกลไกการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงานการศึกษานอก

ระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั ให้เชอื่ มโยงกับหน่วยงาน สถานศกึ ษา และภาคีเครอื ขา่ ยทั้งระบบ
2) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกํากับ ติดตามและ

รายงานผลการนํานโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สามารถตอบสนองการดําเนินงานตามนโยบายในแต่ละเรื่องได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ

3) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสื่ออื่น ๆ ที่เหมาะสม เพื่อการกํากับ
นิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ
ประจําปี ของหน่วยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําปี
ของสํานกั งาน กศน.ใหด้ ําเนนิ ไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ เป็นไปตามเกณฑ์ วธิ ีการ และระยะเวลาที่กาํ หนด

5) ให้มีการเชื่อมโยงระบบการนเิ ทศในทุกระดับ ทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ตั้งแต่
ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อําเภอ/เขต และตําบล/แขวง เพื่อความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล
และการพฒั นางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอวงั เหนือ

81

รายละเอียดงบประมาณรายจา่ ย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

ที่ โครงการ งบประมาณ เป้าหมาย
จัดสรร(บาท) (คน)
1,012
1 ค่าหนังสือเรยี น 2/63 และ 1/64 (จดั กศ.-งบอุดหนนุ ) 213,125 1,012

2 คา่ กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น 2/63 และ 1/64 253,560 1,012
200
(จัด กศ.-งบอดุ หนนุ ) 240
76
3 คา่ จดั กศ. 2/63 และ 1/64 (จัด กศ.-งบอดุ หนนุ ) 926,799.74 24
60
4 พฒั นาอาชีพระยะส้ันกลุม่ สนใจ (ศนู ยฝ์ กึ อาชีพ-งบรายจ่ายอ่ืน) 140,000 24

5 ชั้นเรยี นวิชาชพี (ศูนยฝ์ กึ อาชีพ-งบรายจ่าย) 216,000 200

6 1 อำเภอ 1 อาชพี (ศนู ยฝ์ กึ อาชีพ-งบรายจา่ ยอ่ืน) 68,400 0
0
7 อบรมภาษาอังกฤษ (Engเพื่ออาชีพ-งบรายจ่ายอ่นื ) 28,800
312
8 อบรมหลักสูตรดูแลผ้สู ูงอายุ (ตลอดช่วงชีวิต) 77,100 224
376
9 การจัดและส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพ่ือคงพัฒนาการทาง 2,800 56
0
กาย จิต และสมองของผสู้ ูงอายุ 0
0
10 อบรมปชช. : หลักสูตร Digital literacy เน้น การใช้งานโปรแกรม 52,800 0
0
สำนกั งานเพ่ือเพ่มิ โอกาสในการมีงานทำ และ หลกั สตู รการค้า 2 แห่ง

ออนไลน์--ไตรมาส3 (งบรายจ่ายอน่ื )

11 บรหิ ารงานนอกระบบ(ผล4--งบดำเนินงาน) 34,000

12 ค่าสาธารณูปโภค--ใบแจง้ หน้ีตัง้ แตเ่ ดือนตลุ าคม 2563 เท่าน้นั 26,591.49

(งบดำเนินงาน)

13 กศ.ต่อเน่ือง : ทักษะชีวิต(ผลผลิต4--งบดำเนนิ งาน) 35,880

14 กศ.ตอ่ เนื่อง : เศรษฐกจิ พอเพียง(ผลผลติ 4--ดำเนินงาน) 89,600

15 กศ.ตอ่ เนื่อง : สังคมและชมุ ชน(ผลผลติ 4--ดำเนนิ งาน) 150,400

16 กศ.เพื่อสง่ เสรมิ การรหู้ นังสอื (ผล4--ดำเนนิ งาน) 30,800

17 บริหารงานอัธยาศยั (ผล5-งบดำเนนิ งาน) 20,000

18 ค่าสาธารณูปโภค หสม. (ผลผลิต 5 งบดำเนินงาน) 5,156.70

19 ค่าวารสาร/นสพ.หสม.(ผลผลติ 5--งบดำเนินงาน) 12,140

20 คา่ สอ่ื หนงั สือ ห้องสมดุ (ผลผลิต5--งบดำเนินงาน) 19,125

21 คา่ หนงั สอื พิมพ์ กศน.ตำบล(ผล5--งบดำเนนิ งาน) 18,960

22 คา่ กิจกรรมกศ.ตามอธั ยาศยั --กศน.ตำบล 41 แหง่ (งบดำเนนิ งาน) 20,000

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ 2565 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังเหนอื

82

ส่วนที่ 3 รายละเอียดโครงการ

นโยบายตอ่ เนื่องดา้ นการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

1) โครงการเพม่ิ อัตราการรหู้ นังสอื และยกระดับการร้หู นังสือของประชาชน

1. ชื่อโครงการ : โครงการเพิ่มอตั ราการรู้หนงั สอื และยกระดับการรหู้ นงั สือของประชาชน

2. สอดคล้องกับนโยบาย ยทุ ธศาสตร์ แผนและภาระกจิ
 สอดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนนิ งานฯ
ภารกจิ เรง่ ด่วน
ข้อท่ี 2. ส่งสรมิ การจดั การศึกษาและการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ สำหรับประชาชนที่เหมาะสม

กับทุกชว่ งวัย
ขอ้ ที่ 4. บูรณาการความร่วมมอื ในการสง่ เสรมิ สนบั สนุน และจัดการศึกษาและการเรยี นรู้

ให้กบั ประชาชนอย่างมีคณุ ภาพ
ภาระกจิ ตอ่ เนอื่ ง
ดา้ นการจดั การศึกษาและการเรียนรู้ ขอ้ ท่ี 1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั

พนื้ ฐาน
3. หลกั การและเหตุผล
พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 กำหนด

หลักการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบไว้ประการหนึ่ง คือส่งเสริมการจัดการศึกษาอย่างเสมอภาค
เป็นธรรมในการเข้าถึงการศึกษาและอย่างกว้างขวางและมีความเหมาะสมกับสภาพชีวิตของประชาชน
ซ่ึงอัตราการรู้หนังสือของผู้ใหญ่แสดงให้เห็นถึงผลสัมฤทธ์ิท่ีเพ่ิมข้ึนของการศึกษาในระดับประถมศึกษาและ
ผลสัมฤทธิ์ของการศึกษาผู้ใหญ่ในการเพ่ิมทักษะการรู้หนังสือขั้นพ้ืนฐานให้กับประชากร ดังนั้นจึงจำเป็นต้องช่วย
ให้ประชาชนได้นำทักษะเหล่าน้ีไปใช้ในชีวิตประจำวัน เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองและสามารถใช้ภาษา
เขียนในการส่ือสารได้ การรู้หนังสือคือสามารถเขียน และเข้าใจประโยคง่าย ๆ สั้น ๆ ท่ีใช้ในชีวิตประจำวันได้
การรู้หนังสือแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของการเพิ่มสติปัญญาให้กับบุคคลและการรู้หนังสือยังมีส่วนสนับสนุน
ในการพัฒนาสังคม เศรษฐกจิ และวฒั นธรรมอกี ด้วย

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังเหนือ ซึ่งเป็นสถานศึกษาในสังกัด
สำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ที่เป็นหน่วยงานหลักในการแก้ปัญหาการรู้หนังสือ
จึงมีบทบาทหน้าที่ในการจัดการศึกษาสำหรับประชาชนท่ีอยู่พ้ืนที่อำเภอวังเหนือ เพื่อให้สามารถอ่านออกเขียนได้
และมพี ้นื ฐานทางคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยตี ลอดจนความรู้ทจี่ ะนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
โดยมวี ิธีการจดั การศกึ ษาทสี่ อดคลอ้ งกับสภาพและความตอ้ งการของผู้เรยี น

4. วัตถุประสงค์
1. เพ่ือให้กล่มุ เป้าหมายสามารถอา่ นออกเขยี นได้ และ คิดเลขเป็น
2. เพ่อื ยกระดบั การรูห้ นังสือของประชาชน

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั เหนอื

83

5.เป้าหมาย
เชงิ ปริมาณ
- จำนวนผ้รู บั บริการ จำนวนทง้ั สน้ิ 56 คน
เชงิ คณุ ภาพ
- ผู้เรยี นสามารถอา่ นออกเขียนไดแ้ ละคดิ เลขเปน็ ตามจุดมุ่งหมายของหลกั สูตร
- ผูเ้ รยี นผ่านการประเมินผลการเรยี นตามหลักเกณฑ์ร้อยละ 80

6. วิธดี ำเนินการ

กจิ กรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปา้ หมายและเป้าหมาย พืน้ ที่ ระยะเวลา งบประมาณ
ดำเนนิ การ 30,800.-
กลมุ่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย 1 ต.ค.64
อ.วังเหนอื -
1.ตรวจสอบ 1.เพื่อตรวจสอบรายชอ่ื ประชาชนผู้ไม่รู้ 56 คน
ขอ้ มูลผไู้ ม่รู้ จำนวนผ้ไู มร่ ู้หนังสอื ไทย หนังสอื อายุ 30 ก.ย.65
หนงั สอื ไทย 15 - 59 ปี
2.ประเมนิ การรู้ 2.เพอื่ ประเมินระดบั
หนังสอื ไทย การรหู้ นังสือไทย
3.พัฒนา 3.เพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพ
สมรรถนะครูท่ี ครูผสู้ อนหนังสือไทย
ปฏิบตั หิ น้าท่ี
ครผู สู้ อนหนงั สอื 4. เพอื่ ใหม้ ีกิจกรรมเสรมิ
ไทย หลักสตู รทีส่ อดคลอ้ งและ
4.จัดกิจกรรม ส่งเสริมการจัดกจิ กรรม
พัฒนาทักษะใน ส่งเสรมิ การรหู้ นังสือ
รูปแบบต่าง ๆ

7. วงเงนิ งบประมาณท้ังโครงการ
ใชเ้ งนิ งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ 2565 แผนงาน พนื้ ฐานด้านการพัฒนาและ

เสริมสรา้ งทรัพยากรมนษุ ย์ ผลผลติ ที่ 4 ผูร้ ับบริการการศึกษานอกระบบ งบดำเนินงาน งบประมาณ จำนวน
30,800 บาท (สามหมืน่ แปดร้อยบาทถว้ น)

- คา่ วัสดแุ ละคา่ จ้างจดั พิมพ์เอกสาร จำนวน 30,800 บาท (สามหม่ืนแปดร้อยบาทถว้ น)

8. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ

กิจกรรมหลกั ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท่ี 4
(ม.ค.-ม.ี ค.65) (เม.ย.-ม.ิ ย.65) (ก.ค.-ก.ย.65)
(ต.ค.-ธ.ค.64)
- - -
1.ตรวจสอบข้อมลู ผไู้ มร่ ู้หนงั สือไทย ✓ - - -
✓ - -
2.ประเมินการร้หู นงั สือไทย ✓
- 15,400.- -
3.พัฒนาสมรรถนะครทู ปี่ ฏบิ ตั ิ ✓
✓ - ✓
หน้าท่ีครูผสู้ อนหนงั สอื ไทย

4.จัดกิจกรรมพฒั นาทักษะใน 15,400.-

รูปแบบต่าง ๆ

5.ประเมินผ้เู รยี นตามสภาพ -

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั เหนอื

84
9. ผู้รับผดิ ชอบโครงการ

- งานส่งเสรมิ การร้หู นังสือ กศน.อำเภอวงั เหนือ
10. เครอื ขา่ ย

- ผู้นำชุมชน
11. โครงการท่เี กย่ี วข้อง

- โครงการยกระดับการจัดการศกึ ษาตั้งแต่อนุบาลจนจบการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
12. ผลลัพธ์

- กลมุ่ เปา้ หมายสามารถอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น และยกระดับการรหู้ นงั สอื ของประชาชน
13. ดชั นวี ดั ผลสำเร็จของโครงการ

13.1 ตัวช้ีวัดผลผลติ
- ร้อยละ 10 ของผไู้ ม่ร้หู นงั สือผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ
- รอ้ ยละ 60 ของผ้เู รยี นมคี วามพึงพอใจในระดับดีข้นึ ไป

13.2 ตัวช้ีวดั ผลลัพธ์
- กล่มุ เปา้ หมายสามารถอ่านออกเขยี นได้ และ คิดเลขเป็นและนำความรู้ไปพฒั นา

คณุ ภาพชีวติ ได้
14. การตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ
- แบบประเมินระดบั การรหู้ นังสือ
- แบบทดสอบการรูห้ นงั สอื

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั เหนอื

85

2) โครงการยกระดับการจดั การศกึ ษานอกระบบตั้งแต่อนุบาลจนจบการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน

1. ชอื่ โครงการ : โครงการยกระดับการจัดการศกึ ษาตงั้ แต่อนุบาลจนจบการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

2. สอดคล้องกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนและภาระกจิ
 สอดคล้องกับนโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งานฯ
ภารกิจเร่งด่วน
ข้อท่ี 1. นอ้ มนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
ข้อท่ี 2. ส่งสรมิ การจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนทีเ่ หมาะสมกับ

ทุกช่วงวัย
ขอ้ ที่ 4. บูรณาการความร่วมมือในการสง่ เสริม สนบั สนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้

ให้กบั ประชาชนอย่างมีคุณภาพ
ขอ้ ท่ี 6. ปรับปรุง และพัฒนาโครงสรา้ งและระบบบริหารจดั การองคก์ ร ปัจจัยพน้ื ฐานใน

การจดั การศึกษาและการประชาสัมพนั ธส์ รา้ งการรบั รู้ต่อสาธารณะชน
ภาระกจิ ต่อเนอื่ ง
ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ขอ้ ท่ี 1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน

พนื้ ฐาน

3. หลักการและเหตุผล
พระราชบัญญตั ิส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 ได้กำหนดให้

บุคคลได้รับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ โดยให้บุคคลมีสิทธิได้รับ
การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัยตามความสนใจหรือความต้องการ ตลอดจน
การให้การสนับสนุนการศึกษาในระบบ ในการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนการศึกษาเป็นรากฐานที่สำคัญ
ของการพัฒนาประเทศ โดยเหตทุ ่ีการศึกษาเป็นกลไกสำคญั ท่ีสุดในการพัฒนาคน ซง่ึ เป็นทรัพยากรท่ีสำคัญในการ
พฒั นาประเทศ การศึกษานอกระบบก็เป็นกระบวนการการศึกษาตลอดชีวิต มีภารกิจสำคัญท่ีจะต้องให้ประชาชน
ได้รับการศึกษาอย่างสม่ำเสมอภาคกันโดยเฉพาะการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีจำเป็นต่อการดำรงชวี ิตตามมาตรฐานของ
สงั คมซง่ึ เป็นสทิ ธิทีท่ กุ คนพึงได้รบั การศึกษา และนอกจากน้ันยังต้องได้รับการศึกษาอยา่ งต่อเนอ่ื ง เพ่ือนำความรไู้ ป
พัฒนาอาชีพและคณุ ภาพชีวิตการศึกษานอกระบบจงึ เป็นการศกึ ษาอกี รูปแบบหนึ่งท่มี ีบทบาทในการพัฒนาคนเพ่ือ
เป็นกำลงั สำคญั ในการพฒั นาประเทศ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังเหนือ เป็นสถานศึกษาที่มีหน้าที่
ดูแลรับผิดชอบในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานนอกระบบให้กับกลุ่มเป้าหมายท่ีพลาดโอกาสในระบบซ่ึงเป็นกลุ่ม
ประชาชนท่ัวไปมคี ุณลักษณะความต้องการในการศึกษาแตกตา่ งจากกลุ่มเป้าหมายเด็กในระบบโรงเรียน ทง้ั น้ียงั มี
ผู้ขาดโอกาสทางการศึกษาที่มีอายุพ้นเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับอีกจำนวนมากที่ยังไม่จบการศึกษาภาคบังคับ
โดยเฉพาะในกล่มุ ผูท้ ี่อยู่ในวัยแรงงาน ท่ีเป็นกำลังสำคญั ในการพัฒนาประเทศชาติ ดงั น้ันจึงมคี วามจำเป็นท่ตี ้องจัด
การศกึ ษา เพอ่ื ยกระดับการศึกษาใหก้ บั กลุม่ เป้าหมายดังกล่าว

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 2565 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั เหนือ

86

4. วตั ถุประสงค์
เพือ่ ยกระดับการศึกษาในรูปแบบการจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานท่ีมี

คุณภาพให้กับประชากรวัยแรงงานทีไ่ มจ่ บการศกึ ษาภาคบังคับ และไมอ่ ยู่ในระบบโรงเรียน โดยเฉพาะผูด้ ้อย และ
ผู้พลาดโอกาสกลุม่ ตา่ ง ๆ

5.เปา้ หมาย
เชงิ ปรมิ าณ
- จำนวนผ้รู ับบรกิ าร จำนวนทั้งสิน้ 1,006 คน
เชงิ คณุ ภาพ
- ผเู้ รยี นสามารถเรียนจบตามโครงสรา้ งของหลักสูตร

6. วธิ ดี ำเนนิ การ

กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย เป้าหมาย พื้นที่ ระยะเวลา งบประมาณ
ดำเนินการ
1. การจดั การ 1. จัดการศกึ ษาตง้ั แตร่ ะดับ - ประชากรวัย ท้ังปี 1 ต.ค.64 ค่ารายหวั
ศกึ ษาหลักสตู ร ประถมศกึ ษา จน ถึง ระดับ แรงงานอายุ จำนวน อ.วงั เหนือ - นกั ศึกษาภาค
การศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 15 - 59 ปี 1,006 คน
หลกั สตู ร - กลุม่ เป้าหมาย 30 ก.ย.65 เรียนท่ี
การศึกษานอก เฉพาะ 2/2564และ
ระบบระดับ
การศกึ ษาขั้น 1/2565
พื้นฐาน
2.กจิ กรรมพัฒนา 2. จดั กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น
คุณภาพผูเ้ รยี น ตามกรอบการจัดกิจกรรม
พัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น ตาม
3.การจัดซ้ือ นโยบายการจัดการศึกษา
หนงั สอื เรียน นอกระบบระดับการศกึ ษา
ขัน้ พ้ืนฐาน สำนกั งาน กศน.
3.จดั ซอื้ หนังเรยี นเรยี นให้กับ
ผูเ้ รยี น กศน. เพ่ือให้ยืมเรยี น
และจดั ซือ้ ตามจำนวน
งบประมาณทไ่ี ดร้ ับจดั สรร

7. วงงบประมาณทั้งโครงการ
- ใช้เงนิ งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ 2565 แผนงาน ยุทธศาสตร์ดา้ นความเสมอ

ภาคทางการศึกษา โครงการสนบั สนุนคา่ ใช้จ่ายในการจัดการศกึ ษาต้ังแต่ระดบั อนุบาลจนจบการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
กจิ กรรมจัดการศึกษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน งบเงนิ อุดหนุน เงนิ อุดหนนุ ท่ัวไป งบประมาณ ค่าราย
หัวนกั ศึกษาภาคเรยี นท่ี 64/2 และ 65/1

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั เหนือ

87

8. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ

กจิ กรรมหลกั ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสที่ 4
(ม.ค.-มี.ค.65) (เม.ย.-มิ.ย.65) (ก.ค.-ก.ย.65)
(ต.ค.-ธ.ค.64)
✓ ✓ ✓
1. จัดการศกึ ษาหลกั สตู รการศกึ ษา ✓
✓ ✓ ✓
หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั - ✓ -

การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน

2. กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น ✓

3. การจัดซื้อหนงั สอื เรยี น ✓

9. ผู้รับผิดชอบโครงการ
งานการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน งานกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น กศน.

อำเภอวงั เหนือ งานพสั ดุ

10. เครือข่าย
- คณะกรรมการสถานศึกษา ส่วนราชการ ผนู้ ำทอ้ งถน่ิ ภมู ิปัญญา ในพน้ื ท่ี

11. โครงการท่ีเก่ยี วข้อง
- โครงการเพ่มิ อัตราการรู้หนงั สือและยกระดับการร้หู นังสอื ของประชาชน

12. ผลลัพธ์
ประชากรวัยแรงงานและไมอ่ ยู่ในระบบโรงเรียน ที่ไม่จบการศึกษาภาคบงั คับ รวมถึง ผดู้ อ้ ย และ

ผพู้ ลาดโอกาส กลุ่มต่าง ๆ ได้รบั การยกระดบั การศึกษาในรูปแบบการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น
พนื้ ฐานที่มีคุณภาพ

13. ดัชนีช้ีวัดผลสำเรจ็ ของโครงการ
13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต
- ร้อยละการเขา้ สอบ-ขาดสอบ
- ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของผูเ้ รียน
13.2 ตัวช้ีวัดผลลัพธ์
- รอ้ ยละของของผเู้ รียนทเ่ี รยี นจบตามเกณฑข์ องหลกั สตู ร

14. การตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ
- แบบตดิ ตามผูเ้ รยี น
- แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของนักศึกษาท่เี ขา้ รว่ มกจิ กรรม

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั เหนอื

88

นโยบายตอ่ เน่อื งดา้ นการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง

1. โครงการจดั การศึกษาตอ่ เนอ่ื ง
1. ช่ือโครงการ : โครงการจดั การศึกษาต่อเนอ่ื ง : ทักษะชีวิต/สงั คมชุมชน/เศรษฐกิจพอเพียง

2. สอดคล้องกับนโยบาย ยทุ ธศาสตร์ แผนและภาระกจิ
 สอดคล้องกบั นโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงานฯ
ภารกจิ เรง่ ดว่ น
ข้อท่ี 1. น้อมนำพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาสกู่ ารปฏิบัติ
ขอ้ ที่ 2. สง่ สริมการจดั การศึกษาและการเรียนรตู้ ลอดชีวติ สำหรับประชาชนทเ่ี หมาะสมกับ

ทุกช่วงวยั
ขอ้ ที่ 4. บรู ณาการความรว่ มมือในการสง่ เสรมิ สนบั สนุน และจัดการศึกษาและการเรยี นรู้

ใหก้ ับประชาชนอย่างมีคณุ ภาพ
ภาระกจิ ต่อเนื่อง
ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ขอ้ ท่ี 1.3 การศึกษาต่อเนอ่ื ง 2) จัดการศึกษาเพื่อ

พัฒนาทกั ษะชีวิต 3) จัดการศึกษาเพอ่ื พฒั นาสังคมและชมุ ชน 4) การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญา
เศรษฐกิจพอเพียง

3. หลักการและเหตุผล
ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ(พ.ศ.2561 - 2580)แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579

นโยบายแนวทางหลักในการดำเนินงาน และโครงการสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายและจุดเน้นฉบับน้ี
ได้กำหนดการดำเนินงานภายใต้วิสัยทัศน์คือ "คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมี
คุณภาพ สามารถดำรงชีวิตท่ีเหมาะสมกับช่วงวัยสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะท่ี
จำเปน็ ในโลกศตวรรษที่ 21" สำนกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดก้ ำหนดนโยบาย
และจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ในการจัดการศึกษาต่อเน่ือง ซึ่งประกอบด้วย 1) จัดการศึกษาเพื่อ
พัฒนาทกั ษะชีวิตให้กบั ทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สงู อายุท่ีสอดคล้องกับความต้องการจำเปน็ ของแต่
ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดำรงชีวิตตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้มี
ความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขสามารถผ เชิญ
สถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพและเตรียมพร้อมสำหรับการปรับตัวให้ทัน
ต่อการเปล่ียนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคตโดยจัดกิจกรรมที่มีเน้ือหาสำคัญต่าง ๆ
เช่น การอบรมจิตอาสา การให้ความรู้เพ่ือการป้องการการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVD - 19)
การอบรมพัฒนาสขุ ภาพกายและสุขภาพจิต การอบรมคณุ ธรรมและจริยธรรม การป้องกนั ภัยยาเสพติด เพศศึกษา
การปลูกฝั่งและการสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการอบรมเรียนรู้
ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดตั้งชมรม/ชุมนุมการอบรมส่งเสริมความสามารถพิเศษต่าง ๆ
เป็นต้น 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชมุ ชน โดยใชห้ ลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบรู ณาการ
ในรูปแบบของการฝึกอบรมการประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้การจัดกิจกรรมจิตอาสา การสร้าง
ชมุ ชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืน ๆ ท่เี หมาะสมกับกลมุ่ เป้าหมาย และบริบทของชมุ ชนแต่ละพ้ืนที่ เคารพความคิด
ของผู้อ่ืน ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคมพหุวัฒนธรรม
โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะการสร้าง

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั เหนอื

89

จิตสำนึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารในสิทธิและเสรีภาพ และรับผิดชอบต่อหน้าท่ีความเป็นพลเมืองท่ีดี
ภายใต้การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริย์เป็นประมุข การสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรมการเป็น
จิตอาสา การบำเพ็ญประโยชน์ในชุมชนการบริหารจัดการน้ำการรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษ์พลังงาน
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม การช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการพัฒนาสังคมและชุมชนอย่างย่ังยืน
3) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ต ลอดชีวิต
ในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพ่ือเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามรถยืนหยัดอยู่ได้อย่างม่ันคง และมีการบริหาร
จัดการความเส่ยี งอย่างเหมาะสม ตามทศิ ทางการพฒั นาประเทศสู่ความสมดุลและย่ังยนื

จากที่มาและความสำคัญดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวงั เหนือ
จึงได้จัดทำโครงการการจัดการศึกษาต่อเน่ือง เพ่ือสนับสนุนนโยบายดังกล่าวผ่าน 3 กิจกรรม ประกอบด้วย
การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน และ การจัดกิจกรรมการ
เรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

4. วัตถปุ ระสงค์
เพ่ือจดั การศึกษาตอ่ เนือ่ งเพ่ือพัฒนาทักษะชีวติ พัฒนาสังคมและชุมชน และ การจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
มีหลักสูตรท่ีหลากหลาย โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการสามารถนำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์การเรียนรู้
ไปใช้ประโยชน์ มีคุณภาพชวี ิตที่ดี สามารถอย่ใู นสงั คมได้อยา่ งมีความสุข

5. เปา้ หมาย

เชิงปรมิ าณ

ประชาชนทวั่ ไป จำนวน 912 คน ประกอบดว้ ย

- การศึกษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชีวิต จำนวน 312 คน

- การศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชน จำนวน 376 คน

- การจัดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง จำนวน 224 คน

เชิงคณุ ภาพ

ผู้รบั บริการมคี วามรู้ความเขา้ ใจการพัฒนาทักษะชีวติ พัฒนาสังคมและชุมชน และการจดั

กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง สามารถนำความรู้ไปปรับใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ และมคี วาม

พงึ พอใจในการจดั กจิ กรรรม ในระดับร้อยละ 80 ขนึ้ ไป

6. วิธกี ารดำเนินการ

กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ ระยะเวลา งบประมาณ
ประชาชนท่วั ไป 321 คน ดำเนนิ การ 35,880.-
1. การจดั ศึกษา เพ่ือจัดการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง 1 ต.ค.64
เพอ่ื พฒั นาทกั ษะ เพ่อื พัฒนาทักษะชีวติ 376 คน อ.วังเหนอื - 150,400.-
ชวี ิต พัฒนาสงั คมและชมุ ชน และ
2. การจัดศึกษา การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 30 ก.ย.65
เพื่อพฒั นาสงั คม ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ
และชุมชน พอเพยี ง ทส่ี อดคลอ้ งกับ
สภาพปญั หาและความ

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั เหนือ

90

กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เปา้ หมาย พ้ืนที่ ระยะเวลา งบประมาณ
ดำเนนิ การ
3. การจัดศึกษา ตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมาย
ตามหลกั ปรชั ญา มีหลักสตู รท่ีหลากหลาย 224 คน 89,600.-
ของเศรษฐกจิ โดยมงุ่ เนน้ ใหผ้ ู้เรยี น/
พอเพยี ง ผู้รับบรกิ ารสามารถนำ
ความรู้ ทกั ษะ และ
ประสบการณก์ ารเรยี นรูไ้ ป
ใชป้ ระโยชน์ มีคณุ ภาพชีวิต
ท่ดี ี สามารถอยใู่ นสังคมได้
อย่างมคี วามสขุ

7. วงงบประมาณทั้งโครงการ

- ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2565 แผนงาน พื้นฐานการพัฒนาและ

เสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ

งบดำเนินงาน งบประมาณ จำนวน 275,880 บาท (สองแสนเจด็ หม่ืนห้าพันแปดร้อยแปดสิบบาทถ้วน)

ประกอบด้วย

- การศึกษาเพือ่ พฒั นาทักษะชวี ิต จำนวน 35,880 บาท

- การศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชมุ ชน จำนวน 150,400 บาท

- การจัดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 89,600 บาท

-
8. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ

กจิ กรรมหลกั ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท่ี 4
(ต.ค.-ธ.ค.64) (ม.ค.-ม.ี ค.65) (เม.ย.-มิ.ย.65) (ก.ค.-ก.ย.65)

1. การจดั ศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชีวิต ✓ ✓ ✓✓

2. การจดั ศกึ ษาเพือ่ พฒั นาสังคมและ ✓ ✓ ✓✓

ชมุ ชน

3. การจดั ศกึ ษาตามหลักปรชั ญาของ ✓ ✓ ✓✓

เศรษฐกจิ พอเพียง

9. ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ
-งานการศึกษาตอ่ เน่ือง กศน.อำเภอวงั เหนือ

10. เครอื ขา่ ย
- สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอวังเหนอื
- สำนักงานเกษตรอำเภอวงั เหนือ
- สำนักงานสาธารณสขุ อำเภอวังเหนือ
- โรงพยาบาลวงั เหนือ
- โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบล
- องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ฯลฯ

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 2565 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั เหนือ

91
11. โครงการทีเ่ ก่ียวขอ้ ง

- โครงการจดั การศึกษาต่อเน่ือง
12. ผลลัพธ์

ผเู้ รยี น/ผู้รบั บรกิ าร ได้เรยี นรู้หลกั สูตรทห่ี ลากหลาย สามารถนำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
การเรียนร้ไู ปใช้ประโยชน์ มคี ณุ ภาพชีวิตท่ีดี สามารถอยใู่ นสงั คมได้อยา่ งมคี วามสขุ

13. ดัชนีชี้วัดผลสำเรจ็ ของโครงการ
13.1 ตัวช้ีวดั ผลผลติ
- รอ้ ยละ 80 ของผู้เรยี น/ผ้รู บั บรกิ ารมีความพงึ พอใจในระดับดขี ้ันไป
- รอ้ ยละ 60 ของผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมผ่านเกณฑ์การประเมินตามหลกั สตู ร
13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์
- ร้อยละ 80 ของผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมนำความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ตามวัตถุประสงคข์ อง

หลักสตู รได้
14. การตดิ ตามและประเมินผลโครงการ
- แบบติดตามผเู้ รยี น
- แบบประเมินความพึงพอใจของของผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม
-รายงานผลใน DMIS

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 2565 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั เหนือ

92

2. โครงการจัดกจิ กรรมอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
1. ช่ือโครงการ : โครงการจดั กจิ กรรมอบรมหลกั สูตรการดูแลผสู้ ูงอายุกระทรวงศึกษาธิการ

2. สอดคล้องกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนและภาระกจิ
 สอดคล้องกับนโยบายและจดุ เนน้ การดำเนินงานฯ
ภารกจิ เร่งดว่ น
ข้อที่ 2. สง่ สริมการจัดการศกึ ษาและการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ สำหรบั ประชาชนทีเ่ หมาะสมกับ

ทกุ ชว่ งวัย
ข้อท่ี 4. บูรณาการความรว่ มมือในการสง่ เสริม สนบั สนุน และจัดการศึกษาและการเรยี นรู้

ใหก้ ับประชาชนอย่างมีคณุ ภาพ
ภาระกจิ ตอ่ เนอื่ ง
ด้านการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ ขอ้ ท่ี 1.3 การศึกษาต่อเน่อื ง 2) จัดการศึกษาเพื่อ

พัฒนาทักษะชวี ิต
3. หลักการและเหตุผล
ตามท่ีรัฐบาลกำหนดนโยบายในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้ผู้สูงอายุมีอาชีพเสริม มีรายได้และมี

สุขภาพร่างกายแข็งแรง โดยให้ทุกภาคส่วน จะต้องร่วมมือกัน ในการจัดกิจกรรมให้กับผู้สูงอายุน้ัน
ทั้งน้ี กระทรวงศึกษาธิการได้มุ่งเน้นให้ร่วมรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพกายและจิตสำหรับผู้สูงอายุ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งใน
การขับเคลื่อนนโยบายสร้างความเข้มแข็งของสังคม ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บและอบายมุข อีกท้ัง สังคมผู้สูงอายุ
ของประเทศไทย สัดส่วนผู้สูงอายุจะอยู่ที่ประมาณ ร้อยละ 18 ของประชากรทั้งประเทศ ซ่ึงประมาณการว่าจะมี
ผู้สูงอายุ ประมาณ 11 ล้านคน ในจำนวนผู้สูงอายุดังกล่าวเม่ือแบ่งตามสุขภาวะของผู้สูงอายุ 3 กลุ่ม ได้แก่
กลุ่มติดสงั คม มีประมาณ 8.5 ลา้ นคน (79.50%) กลุ่มติดบ้าน มปี ระมาณ 2 ล้านคน (19.00%) และกลุ่มติดเตียง
มีประมาณ 5 แสนคน (1.50%) ผู้สูงอายุติดสังคม ในช่วงอายุ 60-70 ปี เป็นกลุ่มท่ียังมีพลังในการขับเคลือ่ นสงั คม
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างความอบอ่นุ เป็นหลัก เป็นที่พึ่งให้แก่สมาชกิ ในครอบครวั หากแต่ละครอบครัวมีความ
เข้มแข็งย่อมส่งผลให้ชุมชน สังคมและประเทศเข้มแข็งไปด้วย จากสถานการณ์ผู้สูงอายุที่เพิ่มข้ึนโดยเฉพาะกลุ่ม
“ผู้สูงอายุในภาวะพึ่งพิง” ที่ต้องมีผู้ดูแลในการทำกิจวัตรประจำวัน กระทรวงศึกษาธิการตระหนัก ถึงการเตรียม
ความพร้อมในการดูแล “ผู้สูงอายุในภาวะพึ่งพิง”จึงได้มอบหมายให้ สำนักงาน กศน.จัดทำโครงการจัดหลักสูตร
การดูแลผู้สูงอายุกระทรวงศึกษาธิการ ข้ึนในลักษณะบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องทั้งในระดับ
นโยบายและระดับปฏิบัติ จำนวน 10 หน่วยงาน ได้แก่ สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข/
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข/สำนักส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข/
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย/กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย/กรมพัฒนาฝีมือ
แรงงาน/กระทรวงแรงงาน/กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์/สำนักงาน
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสข.)/สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิ
สถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย ซึ่งสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และองค์กร
ปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ (อปท.)

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังเหนือ ซึ่งมีภารกิจการจั ด
การศึกษาให้กับประชาชนและเพื่อตอบสนองภารกิจสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการจัดหลักสูตรการดูแล
ผู้สูงอายุกระทรวงศึกษาธิการ (Care Giver) เพ่ือขับเคล่ือนตามนโยบายของสำนักงาน กศน.กระทรวงศึกษาธิการ
เพ่ือผลิตผู้ดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียง ติดบ้านในระดับชุมชนท่ีมีศักยภาพในการดูแลผู้สูงอายุในภาวะพ่ึงพิงภายใน

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 2565 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั เหนอื

93

ครอบครัวหรือไปประกอบอาชีพดูแลผู้สูงอายุในภาวะพึ่งพิงได้ โดยจะผลิตผู้ดูแลผู้สูงอายุ หลักสูตร 70 ชั่วโมง
ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขในลักษณะบูรณาการความรว่ มมือกบั หน่วยงานท่ีเก่ยี วข้องในระดับพืน้ ที่

4.วัตถุประสงค์
4.1 เพือ่ ผลติ ผดู้ แู ลผูส้ ูงอายใุ นระดบั ชุมชนทมี่ ีศกั ยภาพในการดูแลผู้สูงอายใุ นภาวะพง่ึ พิง

(ตดิ บา้ น ติดเตียง ) ภายในครอบครวั
4.2 เพือ่ ใหผ้ ูเ้ ขา้ อบรมนำไปประกอบอาชีพดแู ลผู้สูงอายุในภาวะพึ่งพิงได้
4.3 เพ่ือเตรยี มความพรอ้ มในการดูแล “ผู้สงู อายุในภาวะพึ่งพิง

5.เปา้ หมาย
5.1. เชงิ ปริมาณ
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) จำนวน 20 คน
5.2 เชงิ คุณภาพ
อาสาสมคั รสาธารณสขุ (อสม.)ท่ผี ่านการอบรมตามหลักสูตรได้รับทักษะความรู้การดูแล

ผู้สูงอายใุ นระดับชมุ ชน เพื่อเตรยี มความพรอ้ มในการดูแลผสู้ ูงอายใุ นภาวะพ่งึ พิง ได้อยา่ งมีคุณภาพและเกดิ
ประสทิ ธผิ ลตามวตั ถุประสงค์โครงการ

6. วิธีการดำเนนิ การ

กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เปา้ หมาย พ้ืนท่ี ระยะเวลา งบประมาณ
20 คน ดำเนินการ 25,700.-
1.กจิ กรรมอบรม 1. เพ่ือผลิตผดู้ แู ลผสู้ งู อายุ กล่มุ อาสาสมคั ร 1 ต.ค.64
สาธารณสขุ อ.วงั เหนอื -
(อสม.)
หลกั สตู รการดูแล ในระดับชมุ ชนทมี่ ีศักยภาพ 30 ก.ย.65

ผสู้ งู อายุกระทรวง ในการดแู ลผู้สูงอายใุ นภาวะ

ศกึ ษาธกิ าร พึ่งพงิ (ตดิ บา้ น ตดิ เตียง )

จำนวน 70 ชั่วโมง ภายในครอบครวั

(Smart Aging 2. เพอื่ ใหผ้ ูเ้ ข้าอบรมนำไป

Society) ประกอบอาชพี ดแู ลผ้สู ูงอายุ

ในภาวะพึง่ พงิ ได้

3. เพือ่ เตรยี มความพร้อม

ในการดูแล “ผสู้ ูงอายใุ น

ภาวะพ่ึงพงิ ”

7. วงงบประมาณท้ังโครงการ
- ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ 2565 แผนงาน : ยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนาคนตลอดช่วง

ชีวติ โครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตผู้สูงอายุ กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของผูส้ งู อายุ งบรายจ่ายอ่นื คา่ ใชจ้ า่ ย
โครงการความร่วมมอื การผลติ ผูด้ แู ลผู้สูงอายุ ระหวา่ งกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข จำนวน
25,700 บาท (สองหมื่นห้าพันเจ็ดรอ้ ยบาทถว้ น)

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 2565 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั เหนอื

94

8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ

กจิ กรรมหลกั ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4
(ม.ค.-มี.ค.65) (เม.ย.-ม.ิ ย.65) (ก.ค.-ก.ย.65)
(ต.ค.-ธ.ค.64)
✓ ✓ ✓
1.จัดกิจกรรมอบรมหลักสตู รการ ✓

ดแู ลผสู้ ูงอายกุ ระทรวงศกึ ษาธิการ

จำนวน 70 ชัว่ โมง

(Smart Aging Society)

9. ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ
- งานการศกึ ษาสำหรบั ผูส้ ูงอายุ กศน.อำเภอวงั เหนือ

10. เครือขา่ ย
- สำนกั งานสาธารณสุขอำเภอวังเหนอื
- โรงพยาบาลวงั เหนือ
- โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบล

11. โครงการท่เี ก่ยี วข้อง
- โครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง

12. ผลลัพธ์
ผู้ผ่านการอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุกระทรวงศึกษาธิการ (Care Giver) หลักสูตร 70

ชั่วโมง เป็นผู้ที่มีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุในภาวะพึ่งพิง (ติดบ้าน ติดเตียง) ภายในครอบครัวหรือนำไปประกอบ
อาชพี ดูแลผสู้ ูงอายุในภาวะพ่ึงพิงได้ รวมถึงชุมชนมีการเตรียมความพร้อมของผ้ดู แู ลผู้สูงอายุและรองรับสงั คมสงู วัย
ท่ีกำลงั เติบโตในระดบั ชมุ ชน

13.ตวั ชวี้ ดั ความสำเร็จของโครงการ
13.1 ตัวชี้วดั ผลผลิต (Output)
1) ร้อยละ 80 ผเู้ ขา้ รับการอบรมผา่ นตามหลกั สตู ร
2) ร้อยละ 80 ผ้เู ขา้ รับการอบรมมีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั ดี
3) ร้อยละ 80 ผ้เู ข้ารบั การอบรมมีความรู้ความเขา้ ใจ เร่ืองการดูแลสุขภาพอนามัย

ผู้สงู อายุและปฏิบัตติ ่อผ้สู ูงอายไุ ดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ
13.2 ตัวช้ีวัดผลลัพธ์ (OutCome)
ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่ผ่านการอบรมอย่างมีศักยภาพเป็นผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจมีจิตสาธารณะ

มคี วามมงุ่ ม่ันต้ังใจมีมนุษย์สัมพันธท์ ี่ดีรกั ในงานดูแลผู้สงู อายุในสภาวะพ่ึงพิง (ติดเตยี งตดิ บ้าน) สามารถปฏิบัติดูแล
สขุ ภาพผูส้ ูงอายุในภาวะพ่ึงพงิ ได้ ผู้สงู อายุในชุมชนไดร้ ับการดูแลการปฏบิ ัตทิ ่ีถูกตอ้ งทำใหผ้ สู้ ูงอายมุ ีคุณภาพชีวิตท่ี
ดขี ึน้

14. การตดิ ตามและประเมินผลโครงการ

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั เหนอื

95

- แบบประเมนิ ความพึงพอใจของนักศึกษาที่เขา้ รว่ มกจิ กรรม
- รายงานขอ้ มลู ใน Dmis
- แบบประเมนิ การจบหลกั สูตร

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 2565 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั เหนอื

96

3. โครงการจัดและสง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาตลอดชีวิต เพอื่ คงพัฒนาการทางกาย จิตและสมองของผู้สูงอายุ
1. ช่ือโครงการ : โครงการจดั และส่งเสริมการจดั การศึกษาตลอดชวี ิต เพอ่ื คงพัฒนาการทางกาย จิตและ

สมองของผู้สูงอายุ

2. สอดคล้องกับนโยบาย ยทุ ธศาสตร์ แผนและภาระกิจ
 สอดคลอ้ งกบั นโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งานฯ
ภารกิจเร่งดว่ น
ข้อท่ี 2. ส่งสรมิ การจัดการศึกษาและการเรียนรูต้ ลอดชวี ิตสำหรบั ประชาชนท่เี หมาะสมกับ

ทกุ ชว่ งวยั
ข้อที่ 4. บรู ณาการความรว่ มมอื ในการสง่ เสรมิ สนบั สนุน และจัดการศึกษาและการเรยี นรู้

ใหก้ บั ประชาชนอย่างมีคุณภาพ
ภาระกิจต่อเน่อื ง
ด้านการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ ข้อท่ี 1.3 การศึกษาต่อเนอื่ ง 2) จดั การศึกษาเพ่ือ

พฒั นาทักษะชวี ิต

3. หลกั การและเหตุผล
ตามท่ีรัฐบาลกำหนดนโยบายในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้ผู้สูงอายุมีอาชีพเสริม มีรายได้และมี

สุขภาพร่างกายแข็งแรง โดยให้ทุกภาคส่วน จะต้องร่วมมือกัน ในการจัดกิจกรรมให้กับผู้สูงอายุนั้น ท้ังน้ี
กระทรวงศึกษาธิการได้มุ่งเน้นให้ร่วมรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพกายและจิตสำหรับผู้สูงอายุ เพ่ือเป็นส่วนหนึ่งในการ
ขับเคลื่อนนโยบายสร้างความเข้มแข็งของสังคมปราศจากโรคภัยไข้เจ็บและอบายมุข อีกท้ัง สังคมผู้สูงอายุของ
ประเทศไทย สัดส่วนผู้สูงอายุจะอยู่ที่ประมาณ ร้อยละ 18 ของประชากรท้ังประเทศ ซึ่งประมาณการว่าจะมี
ผู้สูงอายุ ประมาณ 11 ล้านคน ในจำนวนผู้สูงอายุดังกล่าว เมื่อแบ่งตามสุขภาวะของผู้สูงอายุ 3 กลุ่ม ได้แก่
กลุ่มติดสังคม มีประมาณ 8.5 ล้านคน (79.50%) กลุ่มติดบ้าน มีประมาณ 2 ล้านคน (19.00%) และกลุ่มติดเตียง
มปี ระมาณ 5 แสนคน (1.50%) ผู้สูงอายุตดิ สงั คม ในชว่ งอายุ 60-70 ปี เป็นกลุ่มทย่ี ังมีพลงั ในการขบั เคล่อื นสงั คม
โดยเฉพาะอย่างย่ิงการสร้างความอบอุ่น เป็นหลัก เป็นที่พึง่ ให้แก่สมาชกิ ในครอบครวั หากแต่ละครอบครัวมีความ
เข้มแขง็ ย่อมสง่ ผลให้ชุมชน สังคมและประเทศเข้มแข็งไปด้วย

การท่ีจะให้ผู้สูงอายุ“กลุ่มติดสังคม”ยังสามารถเป็นพลงั ในการขับเคลื่อนสังคม การจดั การศึกษา
ตลอดชีวติ เป็นวิธีการหน่งึ ท่ีจะช่วยคงภาวะตดิ สังคมให้แก่ผสู้ ูงอายุกลุ่มนี้ รูปแบบของการศึกษาตลอดชีวิตดังกล่าว
ได้แก่ การออกแบบกิจกรรมที่ให้ความรู้ในเร่ืองที่เก่ียวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ท่ีเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุ
กลุ่มติดสังคมได้ออกมาทำกิจกรรมร่วมกันอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งลักษณะของกิจกรรมกลุ่มน้ี ก็เพื่อป้องกันไม่ให้
ผ้สู ูงอายุกล่มุ ตดิ สังคมมีพัฒนาการไปเป็นผู้สงู อายภุ าวะพง่ึ พิง (ติดบ้านและติดเตยี ง) ตราบเทา่ ท่ผี ู้สูงอายุยังสามารถ
คงสมรรถนะทางกาย จติ และสมอง ไว้ได้ยนื ยาวขึ้น หรือตลอดชีวิต ยอ่ มสร้างประโยชน์ให้แก่ครอบครัวชุมชนและ
สังคมได้ อีกทั้งยังช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาของภาครัฐได้จำนวนมาก ปัจจัยสำคัญของการที่จะคง
ภาวะ ติดสังคมในผู้สูงอายุไว้ให้นานท่ีสุด ข้ึนอยู่กับการที่ผู้สูงอายุไว้ให้นานท่ีสุด ขึ้นอยู่กับการท่ีผู้สูงอายุมีโอกาส
เข้ารว่ มกิจกรรมท่เี หมาะสมและอยา่ งส่ำเสมอ

จากที่มาและความสำคัญดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ
วังเหนือในฐานะสถานศึกษาสังกัดสำนกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวัดลำปาง
กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้จัดทำโครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อคงพัฒนาการทางกาย

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 2565 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั เหนอื


Click to View FlipBook Version