มดี ีนะจะ๊
เขียนเรียบเรียงข้อมูล ควน ป่า นา เล
วิถีโหมเฺ รา
วรรณิศา จนั ทรห์ อม
บรรณาธกิ าร
สดใส ขนั ติวรพงศ์
กองบรรณาธกิ าร
นพ.สภุ ัทร ฮาสวุ รรณกิจ, กิตตภิ พ สุทธิสว่าง
ท่ีปรึกษา
ดร.สินาด ตรีวรรณไชย, อาจารย์ฮุสณี บนิ หะยคี อเนาะ, อาจารย์อับดลุ สุโก ดนิ อะ
ทีมเกบ็ ข้อมลู
รุ่งเรือง ระหมนั ยะ, นรู ี โตะ๊ กาหวี, นรู ัยนันท์ อนันทบรพิ งษ์, วรรณา ระหมนั ยะ,
ไซหนับ ยะหมัดยะ, อัสมา ยาเลาะ, ดนรอหมาน โตะ๊ กาหวี, จนิ ตหรา มุสิการัตน์,
ร่อเหม หมะสะมะ, หะแอเสาะ หดั ยมุ สา, รอเฝด หดั ยมุ สา, เจะปิ อนันทบริพงษ์,
อาซิสะ๊ แหล๊ะหมนั
ภาพประกอบ
วรรณิศา จันทรห์ อม, ทรงพล ธรรมด,ี เพจส้มจุก บา้ นแคเหนอื , สไุ ลหมาน เจะอุมา,
เพจจะณะแบ่งสุข, ปุณรดา คชรตั น์
ตลุ าคม 2565
ศักยภาพจะนะ | 1
|| สารบัญ ||
บทท่ี 1 วิถปี ระมง 4
บทท่ี 2 วิถีการเกษตร 40
บทที่ 3 วถิ ีคนเล้ียงนกเขาเล็กและอาชพี ต่อเนื่องจากการเลี้ยงนกเขา 60
บทท่ี 4 จะนะเมอื งการศกึ ษา 78
บทท่ี 5 บทสรุปและขอ้ เสนอแนวทางการพฒั นาโดยชมุ ชน 86
2 | ศักยภาพจะนะ
|| บอกกล่าว ||
หนงั สือจะนะมดี นี ะจ๊ะ : ควน ป่า นา เล วิถโี หมฺเรา เปน็ การเก็บรวบรวม
ขอ้ มลู รว่ มกนั ของพน่ี อ้ งชมุ ชนเครอื ขา่ ยจะนะรกั ษถ์ น่ิ กบั ผเู้ ขยี น เพอื่ ถา่ ยทอดเรอื่ งราว
ของตนเองและผู้คนในพ้ืนท่ีอ�ำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ผ่านวิถีการประกอบอาชีพ
บนฐานทรพั ยากรควน ปา่ นา เล และคลอง ที่หล่อเล้ยี ง สร้างอาชพี สรา้ งรายได้มา
อยา่ งยาวนาน ประกอบกบั การเก็บข้อมูลด้านสถานศึกษาในพื้นทีอ่ ำ� เภอจะนะทีช่ ใี้ ห้
เห็นว่า จะนะมีต้นทุนอย่างมั่งคั่งท่ีสามารถน�ำไปสู่การพัฒนาท่ีย่ังยืนได้ ซึ่งมีเนื้อหา
5 บท ดังน้ี
บทท่ี 1 วถิ ีประมง รวบรวมขอ้ มูลเส้นทางการพฒั นาพนื้ ทช่ี ายฝงั่ ทะเลและ
การต่อสู้ของชุมชน ชนิดพันธุ์สัตว์น้�ำ เส้นทางเดินอาหารและการไหลเวียนของ
เศรษฐกิจชุมชนชายฝั่งทะเลจะนะ รวมท้ังการถ่ายทอดเรื่องราววิถีของชาวประมง
ทงั้ ของคนชายฝ่ังทะเล และคนรมิ คลอง (คลองนาทับและคลองสะกอม)
บทที่ 2 วถิ กี ารเกษตร เปน็ การฉายภาพรวมวถิ ีการเกษตรในพืน้ ทีจ่ ะนะ ซึง่
มที ัง้ สวนยางพารา พ้ืนทีน่ า สวนผลไม้ และการปลูกพชื ผกั วถิ เี กษตรกรรมในพื้นทีม่ ี
ความหลากหลาย เป็นวิถเี รยี บง่ายทใ่ี หค้ วามสุข
บทท่ี 3 วถิ คี นเลย้ี งนกเขาเลก็ และอาชพี ตอ่ เนอ่ื งจากการเลย้ี งนกเขา รวบรวม
ประวัติความเป็นมาของการเลี้ยงและเพาะพันธุ์นกเขาเล็กของคนจะนะ ฉายให้เห็น
พน้ื ทท่ี ีม่ กี ารเลยี้ งนกเขาเล็กและอาชพี ท่ตี อ่ เน่อื งจากการเล้ยี งนกเขา รวมท้งั บอกเลา่
ความรสู้ ึกทม่ี ีต่ออาชีพการเพาะพนั ธ์แุ ละอาชพี ทตี่ ่อเนือ่ งจากการเล้ยี งนกเขา
บทที่ 4 การศึกษา เป็นการรวบรวมข้อมูลภาพรวมของพื้นท่ีสถานศึกษา
ในพื้นท่ีอ�ำเภอจะนะ โดยเน้นการเก็บข้อมูลโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา ซ่ึงเป็น
สถานศกึ ษาทมี่ คี วามสอดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ วฒั นธรรมและศาสนาของคนในพนื้ ทจี่ ะนะ
ชีใ้ หเ้ ห็นตัวอยา่ งของระบบเศรษฐกจิ ท่เี กิดขึ้นจากการมีสถานศกึ ษาในพ้ืนที่
บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะการพัฒนาโดยชุมชน เป็นการรวบรวม
ขอ้ มลู ข้อเสนอจากชมุ ชนในแต่ละอาชีพบนฐานทรพั ยากร ควน ป่า นา เล ท่ีช้ีให้เหน็
ถงึ ทางเลอื กการพฒั นาทส่ี อดคลอ้ งกบั วถิ ปี ระเพณวี ฒั นธรรม ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
สงิ่ แวดลอ้ มของชุมชน
ศักยภาพจะนะ | 3
วบทถิ ท่ีปี 1 ระมง
4 | ศักยภาพจะนะ
ศักยภาพจะนะ | 5
ชายฝ่งั ทะเลจะนะ
อำ� เภอจะนะ จงั หวดั สงขลา อำ� เภอเลก็ ๆท่มี พี น้ื ท่ตี ดิ ชายฝ่ังทะเลอ่าวไทย ในพน้ื ท่ีตำ� บลนาทบั ตำ� บล
สะกอม และต�ำบลตลิ่งชัน มีการประกอบอาชีพประมงมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน แต่ในช่วงปี พ.ศ.2534
ชาวประมงชายฝัง่ ทะเลจะนะตอ้ งประสบปัญหาทรัพยากรเสือ่ มโทรม ทำ� ใหจ้ ำ� นวนสัตว์น้ำ� ลดลงอยา่ งรวดเรว็
อนั เนอ่ื งมาจากเรอื ประมงพาณชิ ย์ เรอื อวนลากอวนรนุ และเรอื ปน่ั ไฟปลากระตกั เขา้ มาทำ� การประมงในพน้ื ท่ี
ทำ� กนิ ของชาวประมงพนื้ บา้ น จนทำ� ใหไ้ มส่ ามารถทำ� การประมงไดแ้ ละตอ้ งมกี ารอพยพไปทำ� การประมงในพน้ื ที่
อ่นื เช่น อำ� เภอเมอื ง อำ� เภอสงิ หนคร อ�ำเภอสทิงพระ จงั หวดั สงขลา ตลอดจนพนื้ ท่ีจังหวัดใกล้เคียง ซงึ่ ตอ้ ง
ประสบกับความยากล�ำบากในการประกอบอาชีพและวิถีชีวิตความเปน็ อยู่ของคนในครอบครัว
หลงั จากทีต่ อ้ งเผชญิ กบั ปญั หาทเี่ กิดข้นึ มาระยะหนึง่ ชาวบา้ นจึงไดม้ กี ารรวมกลุ่มพดู คยุ กันถึงปญั หา
ท่ีเกิดขึ้น โดยมีการพูดคุยแลกเปล่ียนกับเจ้าหน้าที่องค์กรพัฒนาเอกชนที่เข้ามาท�ำงานในชุมชน และได้มี
การจัดต้งั กลมุ่ อนุรักษแ์ ละฟน้ื ฟทู รพั ยากรชายฝ่งั ทะเลบ้านสวนกงข้นึ ในปี พ.ศ.2536 หลงั จากได้มกี ารพูดคยุ
ได้ข้อสรปุ สาเหตุของปัญหา จึงไดม้ กี ารรเิ ริ่มทำ� ปะการังเทียมหรือที่เรียกกันวา่ “อหู ยำ� ” ทำ� ด้วยทางมะพร้าว
ผูกกับไม้ไผ่และกระสอบทราย ต่อมาได้มีการประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาช่วยในการอนุรักษ์ฟื้นฟู
ทรัพยากรชายฝั่งทะเลมาอย่างต่อเน่ือง จนทรัพยากรชายฝั่งทะเลจะนะ กลับมาอุดมสมบูรณ์จนกระทั่งถึง
ปัจจบุ ัน
6 | ศักยภาพจะนะ
ศักยภาพจะนะ | 7
8 | ศักยภาพจะนะ
ด้วยลักษณะทางกายภาพของอ�ำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ที่มีลักษณะภูมิประเทศและระบบนิเวศที่เช่ือมโยงกันทั้ง
“ควน(ภเู ขา) ป่า นา ทะเล และคลอง” โดยมีปากแมน่ ำ�้ และสามเหลีย่ มปากแม่น�ำ้ คลองนาทบั และคลองสะกอม เป็นพ้นื ท่ี
ท่ีมีการไหลเวียนของน�้ำ ทั้งน�้ำจืด น�้ำเค็ม และน�้ำกร่อย มาบรรจบกัน เป็นแหล่งเพาะขยายพันธุ์ แหล่งอนุบาลสัตว์น�้ำและ
แหลง่ อาหาร มปี ะการงั ฟองนำ�้ ตามแนวปะการงั เทยี ม เปน็ แหลง่ อาหารและแหลง่ อนบุ าลสตั วน์ ำ�้ อกี ทง้ั ชว่ ยกำ� จดั ตะกอนขนาดเลก็
และลดปรมิ าณตะกอนสารอนิ ทรยี ใ์ นทะเล เปรยี บเสมอื นเครอ่ื งกรองนำ้� ทางชวี ภาพทส่ี ำ� คญั และมพี น้ื ทชี่ ายหาดเปน็ เขตกนั้ ระหวา่ ง
ทะเลและแนวชายฝั่งทะเล เป็นที่อยู่อาศัยของพืช และสัตว์ชายฝั่งทะเล เป็นแหล่งอาหารของนก ปลา และสัตว์ที่กรองอาหาร
ออกจากทราย เชน่ ปู กงุ้ และหอย ท�ำให้พื้นทแี่ ห่งนมี้ คี วามอดุ มสมบรู ณม์ ีทง้ั สัตวน์ ำ�้ ท่ีมีมลู คา่ ทางเศรษฐกิจและสตั วน์ �้ำ
ที่มผี ลต่อระบบนเิ วศ
จากการสำ� รวจชนดิ พันธุ์สตั วน์ �้ำชายฝั่งทะเลจะนะ
พบวา่ มีสัตว์น�้ำทม่ี ีมูลคา่ ทางเศรษฐกิจท้งั ในทะเล
และรมิ ชายหาด รวม 172 ชนิด ไดแ้ ก่
ปลา 120 ชนิด ปู 9 ชนิด กุ้งและกัง้
12 ชนิด หมกึ 7 ชนดิ
และหอย 24 ชนดิ
1.ปลาทหู างเหลอื ง 2.ปลาทเู ตยี้
3.ปลาทหู วั เสย้ี ม 4.ปลาทกู ระดาน 5.ปลาทราย
6.ปลาทรายลาย 7.ปลาทรายแถบด�ำ 8.ปลาจวด
คางเหลือง 9.ปลาจวดสองซ่ี 10.ปลาจวดค่อม(ลามาคลอง)
11.ปลาจวดแดง 12.ปลาจวดหางไก่ 13.ปลาจวดข้ี ไคล 14.ปลามา้
15.ปลาเกา๋ แดง 16.ปลาเก๋าดำ� 17.ปลาเก๋าลาย 18.ปลาอนิ ทรีไอบัง้
19.ปลาอินทรีไอดอก 20.ปลาอีคุด 21.ปลาข้ีตังลายเสือ 22.ปลาขี้ตัง
ราชาแดง 23.ปลาขี้ตังราชาเขียว 24.ปลาโคบ 25.ปลาหลุมพุก(เล็ก)
26.ปลาหลังเขียว 27.ปลากระบอกซา 28.ปลากระบอกสี 29.ปลากระบอกหมก
30.ปลากระบอกหางสวย 31.ปลากระบอกสั้น 32.ปลากระบอกด�ำ 33.ปลากระบอก
หวั เสีย้ ม 34.ปลาจงิ จัง 35.ปลาสากขาว 36.ปลาสากเหลือง 37.ปลาสากดำ� 38.ปลาอัง้ จ้อ
39.ปลาโฉมงามหัวแหลม 40.ปลาชอ่ นเล 41.ปลามหี ลัง 42.ปลากระเบนทราย 43.ปลากระเบนน�ำ้
44.ปลากระเบนธง 45.ปลาจ้องม้อง 46.ปลาจ้องมอ้ งหัวแหลม 47.ปลายอดมว่ ง 48.ปลาลนิ้ หมา 49.ปลาพรก 50.ปลาตาเดยี ว
51.ปลาจังโบง้ 52.ปลาจะละเมด็ ดำ� 53.ปลาจะละเม็ดขาว 54.ปลาจะละเม็ดต๋าวเต้ย 55.ปลาข้ีมิน้ 56.ปลาแดง 57.ปลากรด
58.ปลามาว 59.ปลาแมว 60.ปลามีดโกน 61.ปลากะพงขาว 62.ปลากะพงแดง 63.ปลาเงนิ สร้อยขาว 64.ปลาเงนิ สรอ้ ยเหลอื ง
65.ปลาดาบลาว 66.ปลานกแก้วหัวขวาน 67.ปลานกแก้ว 68.ปลาดอกไม้ 69.ปลาสีกุน 70.ปลาหางแข็ง 71.ปลาโอ
72.ปลาแปน้ 73.ปลาแปน้ ลาปัง 74.ปลาแป้นลาบู้ 75.ปลาแปน้ แดง 76.ปลาส�ำลี 77.ปลากเุ หร่า 78.ปลาหัวอ่อน
79.ปลาโทงปากเหล็ก 80.ปลาดอกสน 81.ปลารากกล้วยแดง 82.ปลาท่องเท่ียว 83.ปลาหลันหน้านวล
84.ปลาหางควาย 85.ปลาข้ีโหร่ง 86.ปลาวัวขาว 87.ปลาวัวด�ำ 88.ปลาหูช้าง 89.ปลาเหรียบ 90.ปลาหลัน
สหลาใบ 91.ปลาสหลนั บอ้ ง 92.ปลาขา้ งเหลอื ง 93.ปลากอบแกบ 94.ปลาข้างไฝ 95.ปลาทบั หนนุ 96.ปลาเม็ดหนนุ
97.ปลานกกระจอก 98.ปลาทิ 99.ปลาจ้ิงเหลน 100.ปลาตาด�ำ 101.ปลาเกศริน 102.ปลาหนวยเขือ
102.ปลาตาเหลือก 103.ปลาตาโต 104.ปลาหม้อแตก 105.ปลาข้าวม่าวหรือปลาลามะ 106.ปลาใบปอ
107.ปลายอดจาก 108.ปลามังกร 109.ปลาน�้ำใส 110.ปลาม๊อง 111.ปลาเหล็กโคน 112.ปลาไอฆ้อง
113.ปลาทูน่า 114.ปลานวลจันทร์ 115.ปลาม่อหยองหรื อปลาริวกิว
116.ปลากดปากแดง 117.ปลากดข้ีลิง 118.ปลาบาวง
ศักยภาพจะนะ | 9
10 | ศักยภาพจะนะ
ศักยภาพจะนะ | 11
1.กงุ้ แค๊บ 2.กุ้งลาย 3.กงุ้ มงั กร 4.กุ้งเหลือง
5.กงุ้ หวั มนั 6.กุ้งจิก๊ โก๋ 7.กุ้งแชบ๋วย 8.กงุ้ ก้ิมชยุ
9.กงุ้ ตาแฉะ 10.กุ้งหางมว่ ง
1.กั้งกระดาน
2.กั้งตก๊ั แตน
1.ปมู ้า 2.ปหู ิน 3.ปูเสอื 4.ปดู าว
5.ปูตายาว 6.ปดู ำ� 7.ปูรถถงั
8.ปแู ดง 9.ปูจัก๊ จ่ัน
12 | ศักยภาพจะนะ
1.หอยหูกวาง 2.หอยสงั ขล์ าย 3.หอยสังข์เหลอื ง 4.หอยแมลงภู่ 5.หอยกาบ
6.หอยลาย 7.หอยเชลล์ 8.หอยดำ� 9.หอยแครง 10.หอยตาววั 11.หอยบิด
12.หอยกอดแคระ 13.หอยมุข 14.หอยข้ผี ้ึง 15.หอยหวาน 16.หอยเหล็กขดู
17.หอยเบย้ี 18.หอยมอื เสือ 19.หอยเชอรร์ ่ี 20.หอยด�ำ
1.หมกึ กระดอง 2.หมกึ กลว้ ย 3.หมึกสายหรือหมึกกระ
4.หมึกลูกยอหรือหมึกคางคก 5.หมึกหอม 6.หมึกยักษ์
7.หมกึ การ์ตูนหรือหมึกกระตอย
ศักยภาพจะนะ | 13
และมสี ัตวน์ ำ้� ท่ีมผี ลต่อระบบนิเวศรวม 46 ชนดิ ได้แก่ ปลา 20 ชนิด ปู 10 ชนดิ หอย 8 ชนิด และสตั วอ์ นื่ ๆ 8 ชนดิ
ซึง่ สัตวเ์ หลา่ นี้คือตวั ชี้วดั ความอดุ มสมบรู ณ์ของทอ้ งทะเลไดเ้ ป็นอย่างดี ซงึ่ เป็นระบบนิเวศทตี่ อ้ งพึ่งพาอาศัยกนั และมคี วาม
สัมพนั ธ์เชอ่ื มโยงกนั ของสิ่งมชี ีวิตทม่ี คี วามหลากหลายทางชวี ภาพ
สัตวน์ �้ำทมี่ ีผลต่อระบบนเิ วศ
1.ปลาปักเปา้ 2.ปลาการ์ตนู 3.ปลาผีเสอ้ื 4.ปลาอมไข่
5.ปลาปะการังเมอื ก 6.ปลาไหลมอเรย์ 7.ปลาสายร้งุ 8.ปลาดาวห้าแฉก(เลก็ )
9.ปลาดาวหา้ แฉก(ใหญ่) 10.ปลาดาวแปดแฉก 11.ปลาสนิ สมุทรจกั รพรรดิ
12.ปลาตดิ 13.ปลาฉลามวาฬ 14.ปลาฉลามจ้าวมัน 15.ปลาฉลามใบ้
16.ปลาฉลามหดู �ำ 17.ปลาโรนัน 18.ปลากระเบนนก
19.ปลากระเบนลายจุด 20.ปลาซอ๊ ต
1.ปเู ปง่ 2.ปหู ิน 3.ปขู าว 4.ปูตาเลือ่ ย
5.ปูลม 6.ปลู มทราย 7.ปูหมวก
8.ปูแมงมมุ 9.ปูเสฉวน 10.ปูหนมุ าน
1.หอยกระตา่ ย 2.หอยลูกเนยี ง 3.หอยหนาม
4.หอยเพยี ง 5.หอยเหล็กไช 6.หอยกริช
7.หอยขนจมกู 8.หอยเมน่ สีน้ำ� เงนิ
1.ม้านำ้� 2.แมงกะพรนุ ไฟ 3.แมงกะพรนุ สายฟ้าฟาด
4.แมงกะพรนุ ลูกโหนด 5.แมงกะพรนุ ลอดช่อง
6.เตา่ 7.จกั จน่ั ทะเล 8.โลมา
14 | ศักยภาพจะนะ
ศักยภาพจะนะ | 15
จากการส�ำรวจและเก็บขอ้ มูลของชมุ ชนพบวา่ พื้นที่ชายฝงั่ ทะเลจะนะมเี รอื ประมงพื้นบ้าน 907 ล�ำ (ส�ำนักงานอำ� เภอ
ประมงอำ� เภอจะนะ, 2565) และเรืออวนปู 22 ล�ำ ซง่ึ สร้างรายได้ให้กบั เจา้ ของเรอื ประมงพน้ื บ้าน 907 ลำ� เฉลย่ี วนั ละ 1,000 บาท
เจ้าของเรอื อวนปู 12 คน (เรอื 22 ล�ำ) รายได้เฉล่ียวนั ละ 2,500 บาท ซ่ึงเรอื แต่ละลำ� ในบางชว่ งบางฤดกู าลชาวประมงจะมีโอกาส
ที่จะมีรายได้มากกว่าน้ันหรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “น๊อค” ซึ่งสามารถได้เงินหลักหม่ืนหลักแสนบาทต่อวันจากการท�ำงานใน
วนั เดยี ว
เกดิ การจ้างงานรวม 1,396 คน ไดแ้ ก่ รับจ้างออกเรอื ประมงพ้ืนบ้าน 937 คน ออกเรืออวนปู 110 คน รับจ้างแปรรูป
สตั วน์ ้�ำจำ� นวน 83 คน และรับจ้างทำ� อวน (มาดอวน) 55 คน รายได้เฉล่ียวันละ 300 บาท รบั จ้างปลดปูและปลดเศษหอยทต่ี ดิ
มากับอวน (ปลดซ๊อกแซก็ ) 203 คน รบั จา้ งระอวน (แยกสว่ นอวนเพ่ือนำ� มาท�ำอวนใหม่) 8 คน รายได้เฉล่ียวันละ 300 บาท
มผี ูป้ ระกอบการรบั ซอื้ 16 คน มีท้งั ทซี่ อื้ ของลกู น้องตนเอง (ผปู้ ระกอบการลงทุนเครือ่ งมอื ให้) และผูป้ ระกอบการรบั ซอ้ื
ท่ัวไปในชุมชน มีรายได้เฉลี่ยวันละ 1,500 บาท มีผู้ค้ารายย่อยขายสินค้าในตลาดท้องถิ่นและขายเร่ในชุมชนจ�ำนวน 56 คน
รายได้เฉลี่ยวันละ 1,000 บาท รวมท้ังมผี ูป้ ระกอบการแปรรปู สัตว์น�ำ้ ได้แก่ ปลาแหง้ ปลาแดดเดยี ว ปลาเค็ม ปลายา่ ง ก้งุ สม้
ปลาสม้ ปลาแป้งแดง มันกงุ้ และกงุ้ แหง้ 25 คน มรี ายไดเ้ ฉลี่ยวันละ 1,500 บาท รวมมูลคา่ เศรษฐกิจเฉพาะกจิ การสัตว์ทะเล
โดยเฉลยี่ วนั ละ 1,498,300 บาท (สำ� รวจ ณ เดือนเมษายน 2565)
คุณลักษณะพิเศษของการจ้างงานคือ การท�ำงานวันละ 3-8 ช่ัวโมง ขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่ท�ำ ท�ำให้บางคนสามารถ
ทำ� งานอ่นื ไดม้ ากกว่า 1 งานในแตล่ ะวนั นอกจากนคี้ นทไี่ มม่ เี รอื กย็ งั สามารถออกหาปลารมิ ชายฝ่งั ทะเลด้วยการทอดแห ดักอวน
หาหอยเสยี บ และหากงุ้ เคย กวา่ 100 คน ซง่ึ มีทงั้ การทำ� เป็นอาชพี หลกั และท�ำเป็นอาชพี เสรมิ นอกจากคนหมบู่ า้ นรมิ ชายฝ่งั
ทะเลแลว้ กย็ ังมีคนจากหม่บู า้ นอ่ืนเขา้ มาประกอบอาชีพดงั กลา่ วดว้ ย
ท� ำ ใ ห ้ เ กิ ด ก า ร ก ร ะ จ า ย
สนิ คา้ กว่า 40 ตลาดทอ้ งถนิ่ ในพ้ืนท่ี
จงั หวดั สงขลา 8 อำ� เภอ ไดแ้ ก่ อำ� เภอ
จะนะ อำ� เภอนาหม่อม อำ� เภอนาทวี
อ�ำเภอเทพา อ�ำเภอเมือง อ�ำเภอ
หาดใหญ่ อำ� เภอสะเดา และอำ� เภอ
รัตภูมิ รวมท้ังมีแม่ค้าคนกลาง
กระจายสนิ คา้ ไปยงั จงั หวดั ตา่ งๆ เชน่
ภเู กต็ นครศรธี รรมราช ยะลา ปตั ตานี
สมทุ รสาครและกรงุ เทพ นอกจากนี้
ยังมีการส่งไปยังแพปลาจังหวัด
สงขลา กระจายสนิ คา้ สง่ ตา่ งประเทศ
ได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย จนี เกาหลี
และญี่ปุ่น รวมทั้งการส่งโรงงาน
แปรรูปสัตว์น�้ำท้ังในพื้นท่ีจังหวัด
สงขลาและจงั หวดั ใกลเ้ คยี ง
16 | ศักยภาพจะนะ
ศักยภาพจะนะ | 17
วิถฅี นริมเล
เรามที ะเล กบั ขา้ วเราไมต่ อ้ งซอื้ เหลอื เราไดแ้ จกใหเ้ พอ่ื น
พน่ี อ้ ง มกี งุ้ มปี ลา เราแจกคนละกโิ ล ทแี่ จกนนั้ เราไมร่ วยเงนิ ทอง
แตเ่ รารวยทรพั ยากรทางทะเล ไดใ้ หเ้ ราสบายใจ” ไรหนับ เส็น
หรือกะ๊ หนบั อายุ 54 ปี บ้านปากบาง ตำ� บลสะกอม ตอบด้วย
ความรู้สึกภาคภูมิใจเมื่อถามถึงความรู้สึกที่มีต่ออาชีพประมงที่ตน
ทำ� มากว่า 30 ปี ซ่งึ เริม่ ตง้ั แต่แต่งงานมีครอบครัวและมาอยูบ่ า้ น
ปากบาง ต�ำบลสะกอม บา้ นของสามี
กะ๊ หนับเลา่ ว่า ชวี ิตการท�ำประมงของตนเรม่ิ ต้นจากศนู ย์
โดยเร่มิ ท�ำประมงดว้ ยการเปน็ ลูกจ้างเรือของเพอื่ นบา้ น ต่อมาพอ่ แม่ของสามซี ือ้ เรือให้ ซ่งึ เปน็ เงินทไ่ี ดจ้ ากการขายกะปทิ เ่ี ก็บ
ออมไว้ ด้วยจดุ ม่งุ หมายเพ่อื ใหล้ กู ได้มเี รือเป็นของตวั เอง ซงึ่ ตอนนน้ั ยังไม่สามารถซ้อื อวนเปน็ ของตนเองได้ จงึ ไดซ้ ้ืออวนของ
เถ้าแก่ โดยเถ้าแกจ่ ะรับซอ้ื สัตวน์ ้ำ� ท่ีจบั มาได้ หลังจากไดม้ กี ารผ่อนจ่ายค่าอวนจนครบตามจำ� นวนจงึ ไดซ้ อ้ื อวนและเคร่อื งมือ
การท�ำประมงเปน็ ของตนเอง โดยสามีเป็นคนออกเรือประมง สว่ นก๊ะหนับท�ำหน้าทนี่ �ำสัตวน์ ำ้� ท่จี ับไดไ้ ปขายในตลาดจะนะ รวม
ทงั้ มกี ารรบั ซอ้ื สตั วน์ ำ้� ของเพอื่ นบา้ นมาขายบา้ ง ดว้ ยอยากใหพ้ น่ี อ้ งชาวประมงในชมุ ชนขายสตั วน์ ำ�้ ไดร้ าคาทด่ี กี วา่ ทวา่ ชว่ ง
5 - 6 ปีหลังมานี้ มีแมค่ ้ารายยอ่ ยและแมค่ า้ คนกลางทงั้ ในและนอกชมุ ชนมารับซื้อท่บี า้ น ทำ� ใหไ้ ม่ตอ้ งออกไปขายในตลาด
เหมอื นเมอ่ื กอ่ น
“ทะเลคอื ชวี ิตของเรา ทะเลคือครอบครวั เราหากิน 8 ชีวติ ” ก๊ะหนบั เลา่ ถงึ ชวี ติ ความเปน็ อย่ขู องครอบครวั วา่
ตนเปน็ แมท่ ตี่ ้องดูแลลกู 5 คน พิการ 1 คน ตอ้ งมคี นดแู ล ก๊ะหนับเปรียบเทียบว่าหากสามีทำ� งานโรงงานวันละ 400 บาท
ไม่พอใช้จ่ายในครอบครัวแน่นอน เพราะต้องซ้ือทุกอย่าง การส่งลูกเรียนหนังสือน่าจะเป็นเรื่องท่ียากพอสมควร แต่ในทาง
กลบั กนั ทำ� อาชีพประมงสามารถซ้ือทกุ อยา่ งได้ ได้สรา้ งบา้ น ซื้อรถ สง่ ให้ลกู เรยี น และการทำ� ประมงนอกจากชว่ ยครอบครัว
ของตนให้มีความเป็นอยู่ท่ีดีแล้ว ยังสามารถช่วยเหลือครอบครัวอื่นได้ ด้วยการจ้างลูกน้องมาช่วยออกเรือ สามารถจ้าง
เพ่ือนๆ ในชมุ ชนมาช่วยปลดปปู ลดเศษสัตวน์ ้�ำท่ีตดิ มากับอวน ได้กงุ้ ได้ปลากแ็ บ่งปันกนั กิน มวี ถิ ชี ีวิตทช่ี ว่ ยเหลือพงึ่ พากนั
“ทะเลคอื ชวี ติ
พรันพรือ(อย่างไร)
ก็ ไ ม ่ ย อ ม ใ ห ้ นิ ค ม
อุตสาหกรรมมาสร้าง
เหมือนกับเอาชีวิตเป็น
เดมิ พนั อยา่ ให้สูญเสีย
ทรัพยากรทางทะเล
เพราะพระเจ้าสร้างมา
เราต้องปกป้องของท่ี
พระเจา้ สรา้ งมาอยา่ ให้
อะไรมาทำ� ลาย” กะ๊ หนบั
กลา่ วทงิ้ ทา้ ยดว้ ยนำ้� เสยี ง
ทีห่ นักแนน่
18 | ศักยภาพจะนะ
มีเวลาได้อยู่กับครอบครัวมากข้ึน ถือว่าชีวิตดีขึ้นกว่าท�ำงาน
ประจ�ำ รายได้กเ็ ยอะกวา่ เดมิ ” สกั รยี า หมดั เหล็ม หรือบงั อิบ อายุ 39 ปี
ชายหนุ่มบ้านสวนกง ต�ำบลนาทับ อดตี พนักงานบรษิ ทั ทีผ่ นั ตัวกลับมาทำ�
ประมงและท�ำเกษตรทบี่ ้าน เลา่ ถึงความแตกตา่ งของการทำ� งานประมงและ
งานประจำ� ทเ่ี คยท�ำมา จากท่ีตอ้ งทำ� งานวันละ 12 ช่วั โมง มีรายได้เดือนละ
15,000 บาท กลับมาทำ� ประมงที่บ้านมรี ายได้ 20,000-30,000 บาท
ตอ่ เดอื น ซึ่งในแตล่ ะวนั สามารถท�ำงานไดห้ ลายอย่าง เชน่ ชว่ งเช้าออกเรือ
ประมาณ 6 โมง ไมเ่ กินเที่ยงกลับข้นึ ฝงั่ มีเวลาได้พกั ผอ่ นอยูก่ ับครอบครัว
ช่วงเย็นท�ำเกษตรดูแลสวนปาล์ม และในช่วงมรสุมไม่สามารถออกทะเลได้ (พฤศจิกายน - มกราคม) กป็ ลกู แตงโมซงึ่ ใช้
เวลาในการปลูกจนถงึ การเก็บผลผลิตประมาณ 2-3 เดอื น หลงั จากนั้นกอ็ อกเรอื ท�ำประมงตอ่
บงั อิบ กลา่ วว่า “การท�ำประมงมีรายได้ไมแ่ นน่ อน บางวัน
ได้มากบางวันได้น้อย แต่รายได้รวมกันในแต่ละเดือนมากกว่า
การท�ำงานบรษิ ทั ทตี่ นเคยท�ำมาถึง 2 เทา่ ในชว่ งมรสมุ ประมาณ
2-3 เดือน ไม่สามารถออกทะเลได้ แต่ก็ได้ปลูกแตงโมซ่ึงท�ำให้มี
เงนิ ก้อนเงนิ สะสม การกลบั มาทำ� งานท่บี า้ นท�ำใหม้ ีเวลาว่างมากขน้ึ
มเี วลาได้อยู่กบั ครอบครัวมากข้นึ ชวี ติ ดีขึน้ กว่าเดมิ รายจ่ายน้อย
ลงเกินครง่ึ เมือ่ เทียบกบั การท�ำงานบรษิ ทั บา้ นก็ไม่ตอ้ งเชา่ กับขา้ วก็
หาเองได”้
ศักยภาพจะนะ | 19
ชอบงานประมงอิสระและสบาย เป็น
งานที่ชอบต้ังแต่เด็กๆ มีความสุขที่ได้ปลา
เยอะๆ ตื่นเตน้ ไดล้ นุ้ ปลาตัวใหญ่ๆ มากสดุ คือ
ได้ปลาอินทรี 14 ตัว เม่ือปีที่แล้ว (พ.ศ.
2564) วันเดียวได้เงินหม่ืนกว่าบาท โดยใช้
เวลาในการออกทะเลประมาณ 6 ช่วั โมงกลับ
ข้นึ ฝ่ัง” เจะรอนิง ยะหมันยะ หรือ หมกึ อายุ
32 ปี บา้ นสวนกง ต�ำบลนาทบั เล่าถงึ ความ
รู้สึกท่ีมตี ่อการทำ� งานประมง โดยเคร่อื งมอื ที่ใช้
บอ่ ยทส่ี ดุ คอื อวนปลา และเบด็ ราวซงึ่ ทำ� ใหไ้ ดป้ ลา
ตวั ใหญ่ๆ เช่น ปลาอนิ ทรี ปลาสาก ปลาชอ่ น
ทะเล ซึ่งการวางเบ็ดราวต้องอาศัยทักษะและ
ภูมปิ ญั ญาในการวาง และคอ่ นขา้ งเป็นอันตราย
เนอ่ื งจากมีตาเบด็ 200-300 ตา แตห่ มกึ ได้
รบั การถา่ ยทอดมาจากบงั เหตผเู้ ปน็ พอ่ ทำ� ใหเ้ ขา
สามารถวางเบ็ดราวได้อย่างคล่องแคล่ว หมึก
ตามพ่อออกทะเลตั้งแต่เด็กๆ และได้ท�ำอย่าง
จรงิ จงั ตัง้ แต่อายุ 16 ปี หลงั จากเรยี นจบชน้ั
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
“ เ ค ย อ อ ก ไ ป ท� ำ ง า น ท่ี ส ง ข ล า ที่
หาดใหญ่ ทำ� งานยงั ไมห่ ลดุ คา่ รองเทา้ กก็ ลับ
มาทำ� ประมงทบี่ า้ น” หมกึ เลา่ พลางหวั เราะ เมอ่ื
พูดถึงครั้งท่ีออกไปท�ำงานในตัวเมืองสงขลา
และหาดใหญ่ ซึ่งเคยท�ำท้ังงานก่อสร้างและเป็น
เจา้ หนา้ ทรี่ กั ษาความปลอดภยั ในหา้ งสรรพสนิ คา้
แต่ท�ำได้ไม่กี่วันตัดสินใจกลับมาท�ำงานประมง
ที่บ้านเหมือนเดิม เพราะได้เห็นความแตกต่าง
ระหว่างการท�ำงานรับจ้างอ่ืนๆ กับงานประมง
ซ่ึงหมึกได้ข้อสรุปว่างานประมงเป็นงานที่สบาย
กว่ารายได้ดีกว่า มีเวลาได้พักผ่อนมากกว่า
บางช่วงฤดกู าลหมึกออกหาปลาวันละ 2 รอบ
รอบเชา้ วางเบด็ ราวหรอื อวนกงุ้ รอบคำ่� วางอวน
ปลา โดยออกเรือกับน้องชาย หลังจากได้ปลา
หรือสตั วน์ �ำ้ ตา่ งๆ กจ็ ะน�ำมาให้แมไ่ ปขายทตี่ ลาด
ช่วงว่างจากการออกเรือก็ไปช่วยพ่อท�ำสวน
มะพรา้ ว สวนปาลม์
20 | ศักยภาพจะนะ
ครอบครัวเราหาเองเอาไปขายเองไม่ผ่านแม่ค้าคนกลาง ราคาเรา
สามารถกำ� หนดเองได้ ต่อเดอื นมรี ายได้ประมาณ 30,000 – 40,000 บาท
(จากการท�ำประมง)” ไซหนับ ยะหมดั ยะ หรือก๊ะหนบั ผู้เปน็ แม่ของหมึกเล่าใหฟ้ ัง
ถงึ การขายสตั วน์ ำ�้ ของตนทไ่ี มผ่ า่ นพอ่ คา้ คนกลาง โดยมลี กู ชายและสามเี ปน็ ผอู้ อก
เรอื หาปลา และตนเปน็ ผนู้ ำ� ไปขายทตี่ ลาดนดั ในพน้ื ทอี่ ำ� เภอนาหมอ่ ม จงั หวดั สงขลา
การออกเรือเองขายเองท�ำให้ก๊ะหนับได้เปรียบกว่าแม่ค้าที่รับซื้อปลามาจากที่อ่ืน
เพราะลูกค้าส่วนใหญ่รู้ว่าเป็นเรือประมงเล็กเจ้าของเรือมาขายเอง จับได้ช่วงเช้า
ช่วงบ่ายนำ� ไปขายตลาดนดั ท�ำใหล้ ูกค้ามัน่ ใจวา่ ได้ของสดและปลอดภยั แนน่ อน
สตั วน์ ำ้� ทจี่ บั ไดน้ อกจากขายกน็ ำ� มาบรโิ ภคในครอบครวั อกี ทงั้ ในตลาดนดั
แม่คา้ ดว้ ยกนั ตา่ งแลกเปลย่ี นอาหารกัน เชน่ แมค่ ้าขายเนือ้ น�ำเนือ้ มาแลกกบั ปลา ท�ำใหใ้ นแตล่ ะวันไม่ตอ้ งซอ้ื กบั ขา้ ว
ซ้อื แต่ของกินเลน่ ครอบครัวของกะ๊ หนับเปน็ ครอบครวั ใหญ่มีสมาชิกรวมทั้งหมด 9 คน ซง่ึ ประกอบด้วย สามี ลกู
และหลาน หากต้องซ้ือกับข้าวในแต่ละวันก็ต้องจ่ายวันละหลายร้อยบาท ก๊ะหนับบอกว่าน่ีคือรายจ่ายส�ำคัญของ
ครอบครวั และเปน็ ขอ้ ดขี องชาวประมงทไี่ มต่ อ้ งเสยี เงนิ ซอ้ื กบั ขา้ วในแตล่ ะวนั อกี ทง้ั ไดก้ นิ อาหารทะเลทสี่ ดและปลอดภยั
“ทะเลคือชวี ติ จรงิ ๆ สร้างบา้ น ซอื้ รถ ซื้อสวน สง่ ลูกเรยี นจนจบเป็นพยาบาลกไ็ ดม้ าจากทะเล ทะเล
เปรียบเสมือนตู้ ATM ไปกดทกุ ครัง้ ไดก้ ลับมาทกุ ครัง้ มากบา้ งน้อยบ้าง อย่างนอ้ ย 500 บาท ไดอ้ ยแู่ ลว้ และ
มีหลายครั้งทนี่ ๊อค (จบั สตั วน์ ำ้� ได้เยอะ) ได้เงินหลักหมื่นตอ่ วัน นคี่ ือสงิ่ ท่คี รอบครัวเราได้รบั จากทะเล” ก๊ะหนบั
พดู เสยี งดังฟังชดั เมอ่ื พูดถงึ ความรูส้ กึ ทมี่ ีต่ออาชีพการท�ำประมงของตนและครอบครวั
ศักยภาพจะนะ | 21
สะดวก สบายไม่ต้องเป็นลูกจ้างเพ่ือน สามารถจ้างงานคนในชุมชนได้
เราได้มีปลาสดๆกิน รสู้ กึ ภูมิใจทีไ่ ด้อยูก่ บั ทะเล” นายสชุ าติ เหล็มเหลา๊ ะ หรอื ร้นี อายุ
30 ปี บา้ นสวนกง ตำ� บลนาทับ กล่าวถึงความรสู้ กึ ที่มีตอ่ การทำ� งานของตน
ร้ีนมีอาชีพท�ำปลาแห้งและปลาแดดเดียวขายในตลาดนัด ซึ่งเป็นอาชีพที่
ถา่ ยทอดมาจากพอ่ แม่ ช่วยพ่อแมท่ ำ� ปลาตากปลามาตง้ั แตเ่ ดก็ ๆ จนกระทั่งมคี รอบครวั
จึงได้แยกมาท�ำเป็นของตนเอง โดยการจ้างคนในชุมชนมาช่วยท�ำปลาตากปลา
2 คน ใหค้ า่ จ้างต่อคนวันละ 300-400 บาท ขนึ้ อยกู่ ับปริมาณปลาที่ท�ำในแต่ละวนั
ซ่ึงใชเ้ วลาในการทำ� ปลาแคว่ ันละประมาณ 5 ชัว่ โมง (เวลา 06.00 น. – 11.00 น.)
จากนน้ั เวลาบา่ ยโมงเขากจ็ ดั ของขนึ้ รถ นำ� ไปขายทตี่ ลาดนดั บา้ นพรกุ ลบั ถงึ บา้ นประมาณ
2 ท่มุ ขายได้วันละ 6,000 – 7,000 บาท
“ปลาที่(ทะเล)บ้านเรานั้นมันมีอยู่แล้ว เราจะไม่ใส่ยาหนอนเลย รสชาติ
เคม็ น้อย และขายไม่แพงเพราะเศรษฐกิจชว่ งน้ีตอ้ งชว่ ยๆ กนั ” รนี้ กล่าวถงึ เหตุผลที่
ทำ� ใหต้ นยดึ อาชพี ทำ� ปลาแหง้ และคณุ สมบตั พิ เิ ศษของการทำ� ปลาแหง้ ทมี่ าจากทะเลจะนะ
คอื มคี วามสด ปลอดสารเคมี และมีรสชาตอิ รอ่ ย ท�ำใหล้ ูกค้าติดใจ แตใ่ นช่วงฤดูมรสมุ
หรอื ช่วงทป่ี ลาในพ้ืนทนี่ ้อยก็จะซ้ือปลามาจากแพในจังหวดั ปตั ตานี และเขาจะบอกลูกค้า
วา่ ปลาท่นี ำ� มาขายนนั้ มาจากไหนอย่างตรงไปตรงมาเสมอ
22 | ศักยภาพจะนะ
หากินแบบง่ายๆ หากนิ แถวชายฝงั่ ไมต่ ้องไปไกล” อรญั ญา คงเส็น หรอื บังยา ชาวประมงบ้านในไร่ ต�ำบลตลง่ิ ชัน
อายุ 54 ปี เล่าถึงลกั ษณะการทำ� ประมงของตนทไ่ี ม่ต้องออกไปไกลจากชายฝั่ง
บังยาเป็นหนึ่งในผูม้ คี วามสามารถในการด�ำน้ำ� ฟังเสยี งปลาหรือทเ่ี รียกกนั วา่ “ดูหล�ำ” บงั ยาใชว้ ิชาดูหล�ำออกเรือ
หาปลารมิ ชายฝง่ั ทะเลจะนะมาอยา่ งตอ่ เน่ืองตามชว่ งฤดูกาล บงั ยาเริม่ ออกเรือต้ังแต่อายุ 10 ปี เร่มิ จากออกเรือของคนอื่น
จนกระท่ังแต่งงานมีครอบครัวจึงได้ซื้อเรือเป็นของตนเอง และได้ฝึกด�ำน�้ำฟังเสียงปลามาต้ังแต่เด็กๆ ด้วยความชอบและ
เห็นวา่ การดำ� น�้ำฟงั เสยี งปลา ท�ำให้ไดป้ ลาจ�ำนวนมากในการล้อมอวนในแตล่ ะครั้ง จงึ ไดเ้ รยี นรแู้ ละฝึกฝนจากผ้ใู หญใ่ นชุมชน
ซงึ่ บงั ยาเรยี กวา่ อาจารย์ ฝกึ ดำ� นำ้� และฝกึ ฟงั เสยี งของปลาแตล่ ะชนดิ มาอยา่ งตอ่ เนอื่ งกวา่ 10 ปี จนเกดิ ความชำ� นาญ กระทง่ั
อายุ 20 กวา่ ปีจงึ เริ่มใชว้ ิชาดูหล�ำในการออกหาปลา
การด�ำน�้ำฟังเสียงปลาของบังยาจะอยู่ในช่วง 3 เดือน ก่อนเข้าฤดูมรสุม คือช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคมและ
3 เดือนหลังจากมรสมุ คือช่วงเดอื นมนี าคม - พฤษภาคม ระหว่างเดอื นมถิ นุ ายน – กรกฎาคม จะเปน็ ช่วงของการออกอวน
ปลาหลังเขียวซึ่งออกใกล้ๆ ริมชายฝั่งเช่นกัน ท�ำงานวันละ 4-6 ชั่วโมง มีรายได้ประมาณ 1,000-2,000 ต่อวัน
บางวันล้อมอวนไดป้ ลาเยอะ มีรายไดห้ ลักหม่นื บาทต่อวันก็มี
“ทะเลมันใหค้ ณุ คา่ มาก เพราะเราเปน็ คนตดิ ชายฝ่ัง
ออกเรอื หาปลาไมต่ อ้ งไปแยง่ ชงิ กบั ใคร หากนิ แบบงา่ ยๆ หากนิ
แถวชายฝั่งไม่ต้องไปไกล ค่าน�้ำมันค่าของกินรวมกันวันละ
ไม่เกนิ 300 บาท” บังยา กลา่ วทิง้ ท้ายถงึ ขอ้ ดขี องการทำ�
ประมงใกลๆ้ ริมชายฝัง่ ใกลบ้ ้านของตน
ศักยภาพจะนะ | 23
เวลาไปหาหอยคือช่วงที่ไมม่ คี นมานวด ชว่ งหอยมากได้ 300 บาทต่อวัน” กีหนะ เขร็มกา
หรอื กะ๊ หนะ บา้ นในไร่ ตำ� บลตลง่ิ ชนั กลา่ วถงึ การหาหอยเสยี บซงึ่ เปน็ รายไดเ้ สรมิ ในชว่ งทว่ี า่ งจากการทำ� งาน
หลัก
กะ๊ หนะเปน็ หมอนวดพ้ืนบา้ น ซ่งึ เวลาวา่ งจากงานนวดกจ็ ะออกไปหาหอยเสยี บ ช่วงท่คี ลน่ื ลมสงบ
อากาศดนี �้ำดีจะเปน็ ช่วงทสี่ ามารถหาหอยเสยี บได้จำ� นวนมาก ไดเ้ งนิ ประมาณ 300 บาท หรอื มากกว่าน้ัน
ขน้ึ อยกู่ บั ระยะเวลาการหาในแตล่ ะวนั ขายสดกโิ ลกรมั ละ 80 บาท นำ� มาดองและใหล้ กู ไปขายในตลาดกโิ ลกรมั
ละ 100 บาท ช่วงหอยเสยี บมากบางคนไดถ้ ึง 7 กโิ ลกรัมต่อวนั บางคนมีรายได้จากการหาหอยเดือนละ
เป็นหมื่น ซึ่งเป็นการหาแบบจรงิ จังหาทกุ วัน โดยใช้คราดในการหา
และเมื่อถามถึงจ�ำนวนคนท่ีหาหอยเสียบในพ้ืนท่ีต�ำบลตล่ิงชัน ก๊ะหนะบอกว่า บ้านในไร่มีคนหา
หอยเสียบเป็นหลกั ประมาณ 3 คน และในบ้านตลิง่ ชันประมาณกวา่ 10 คน ข้อดขี องการหาหอยเสยี บคือ
ไมต่ อ้ งลงทุนเครอ่ื งมอื อะไรมาก บางคนใช้ตะกร้าเล็กๆ บางคนใชแ้ ค่มอื เปล่าในการหา แตส่ งิ่ ทส่ี ำ� คัญคอื จะ
ตอ้ งดูเปน็ ว่าช่วงไหนมหี อยหรอื ไม่มี สว่ นใหญจ่ ะสงั เกตจากสภาพน้ำ� และอากาศ
24 | ศักยภาพจะนะ
การท�ำปะการังเทียมช่วยให้สัตว์น้�ำเยอะข้ึน ตอนน้ี
พนี่ อ้ งรสู้ กึ วา่ ปลามเี ยอะมตี ลอดป”ี บเ้ี ยา๊ ะ อำ� พนั นยิ ม หรอื กะ๊ เยา๊ ะ
อายุ 42 ปี ประธานกลมุ่ สตรแี ปรรปู อาหารทะเลบา้ นนาทบั ตำ� บล
นาทับ เล่าถึงความเปล่ียนแปลงของทะเลที่เห็นได้ชัดหลังจากที่มี
การทำ� ซงั้ หรอื ปะการงั เทยี มเพอ่ื อนรุ กั ษแ์ ละฟน้ื ฟทู รพั ยากรชายฝง่ั
ทะเลมาอย่างตอ่ เนือ่ ง
กะ๊ เยาะเปน็ ทง้ั เจา้ ของเรอื อวนปลาหลงั เขยี ว ผปู้ ระกอบการ
รับซื้อปลาหลังเขียว และแม่ค้าตลาดนัด ในส่วนของเรืออวน
ปลาหลงั เขยี วของกะ๊ เยาะมกี ารจา้ งลกู นอ้ งรวม 5 คน หรอื มากกวา่
นน้ั ในชว่ งทจี่ บั ปลาหลงั เขยี วไดว้ นั ละจำ� นวนมาก ซงึ่ ทผี่ า่ นมาไดเ้ ยอะ
สดุ ประมาณ 5,000 กโิ ลกรมั ตอ่ วนั ตอ่ ลำ� การจา้ งงานของกะ๊ เยาะ
ลกู จ้างกนิ อย่ดู ้วยกันพง่ึ พาอาศัยกันเสมอื นญาตพิ ่นี ้อง
ปัจจบุ ันในพื้นท่บี ้านปากบาง (นาทบั ) มีเรืออวนปลาหลงั เขียวจำ� นวน 10 ลำ� มีการจ้างงาน (ลูกนอ้ งเรอื ) รวม
50 คน มีการแบง่ ส่วนรายไดห้ ลังหกั คา่ ใชจ้ า่ ย 50% เชน่ มีรายได้หลงั หกั ค่าใชจ้ ่าย(ค่านำ�้ มนั และค่าอาหาร) 5,000 บาท
เจ้าของเรอื 2,500 บาท ลูกน้อง 2,500 บาท 5 คน ได้รับคนละ 500 บาท โดยใชเ้ วลาในการออกเรือจนกระท่ังขึ้นฝง่ั
และนำ� ปลาไปขายประมาณ 7-8 ชั่วโมงตอ่ วนั หลังจากทขี่ ายใหก้ บั แมค่ ้าทำ� ปลาแห้งในชุมชน ส่วนที่เหลอื กจ็ ะน�ำมาขายใหก้ บั
ก๊ะเย๊าะ โดยก๊ะเย๊าะจะท�ำหน้าที่รวบรวม
ปลาหลังเขียวทั้งหมดเพ่ือส่งต่อไปยัง
แพปลาหรอื โรงงานแปรรปู สตั วน์ ำ้� ในพน้ื ที่
จงั หวดั สงขลาและจงั หวดั ใกลเ้ คียง
อีกบทบาทหน่ึงของก๊ะเย๊าะ คือ
ประธานกลุ่มสตรีแปรรูปอาหารทะเล
บา้ นนาทบั จากปลาหลงั เขยี วทีม่ จี ำ� นวน
มากท�ำให้ทางกลมุ่ ฯ มีแนวคดิ ท่ีจะแปรรูป
ปลาหลังเขียวให้เป็นอัตลักษณ์ของกลุ่ม
เนื่องจากเป็นปลาท้องถิ่นท่ีมีจ�ำนวนมาก
และมีโปรตีนสูง จากต้นน�้ำการจับวิถี
ประมงพื้นบ้านสู่การแปรรูปเพิ่มมูลค่า
ซ่ึงปัจจุบันอยู่ระหว่างการศึกษาและ
ทดลองท�ำผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม เช่น
การท�ำข้าวเกรียบ ปลาหวาน ปลาเค็ม
“ก๊ะเร่ิมจากการค้าขายและเป็นหน้ีกว่า 500,000 บาท หลังจากท�ำเรืออวนปลาหลังเขียวสามารถจ่ายหน้ี
ได้หมด ทะเลใหท้ ุกสง่ิ ทุกอย่างในชวี ิตให้หมดเลย ใหท้ ัง้ ลูก ทงั้ ทดี่ นิ บา้ น รถ ทุกอยา่ งไดม้ าจากทะเลทง้ั หมด ไดม้ าจากทะเล
แล้วแปลงเป็นทรพั ยส์ นิ ถ้าต้องไปเปน็ ลกู จา้ งได้วันละ 500 บาท คา่ รถ ค่าขา้ ว คา่ ไฟ คา่ นำ�้ ค่าเช่าบ้าน ก็หมดแลว้ ”
กะ๊ เยา๊ ะกลา่ วด้วยความภาคภมู ใิ จในงานของตน
ศักยภาพจะนะ | 25
ไดท้ ำ� งานอยทู่ บ่ี า้ นถงึ เวลาไปทำ� กบั ขา้ วก็
ไปทำ� กบั ขา้ ว ถงึ เวลาละหมาดกไ็ ปละหมาด ไดช้ ว่ ย
งานพน่ี อ้ งในชมุ ชน มีเวลาไดอ้ ยกู่ บั ลกู กับหลานได้
กินข้าวพร้อมกัน” น่าดิย๊ะ มะเสาะ หรือ ก๊ะย๊ะ
บา้ นปากบาง ตำ� บลสะกอม อายุ 58 ปี อาชพี รบั จา้ ง
ทำ� อวน กลา่ วถงึ ความพเิ ศษของงานทำ� อวน ซง่ึ เปน็
อาชพี ตอ่ เนอ่ื งจากการทำ� การประมงของคนในชมุ ชน
ชายฝ่ังทะเล
ก๊ะย๊ะเล่าให้ฟังว่ารับจ้างท�ำอวนมากว่า
30 ปี มบี างชว่ งออกไปทำ� งานโรงงาน ชว่ งทที่ ำ� งาน
โรงงานท�ำอวนเป็นอาชีพเสริม หลังจากออกจาก
โรงงานก็กลับมายึดอาชีพนี้เป็นอาชีพหลัก หากท�ำ
เต็มที่(ท�ำท้งั วนั )จะมีรายได้วันละ 400 บาท ได้มาก
บ้างน้อยบ้างแล้วแต่เวลาท่ีท�ำในแต่ละวัน โดยมี
รายได้ละเดอื น 7,000 - 8,000 บาท ซงึ่ งานทำ�
อวนมีให้ท�ำตลอด อาชีพน้ีพอกินแล้วยังเหลือเก็บ
ไม่ตอ้ งไปรบกวนใคร จะไปไหนกไ็ มล่ ำ� บาก
“ถ้าเราไม่ลุกขึ้นมาปกป้องทะเลใครจะ
ลุกข้ึน ลุกขึ้นมาในจิตส�ำนึกท่ีต้องการรักษาทะเล
ไว้ รู้สึกภูมิใจท่ีได้เป็นคนหนึ่งใน 36 คน ท่ีถูก
ด�ำเนินคดี เพราะออกมาปกป้องบ้านเกิดของ
ตนเอง ปกป้องทะเลท่ีอุดมสมบูรณ์” ก๊ะย๊ะกล่าว
ดว้ ยความรู้สึกภาคภมู ิใจ
26 | ศักยภาพจะนะ
ไม่เคยมีวันไหนที่ไม่มีงานท�ำนอกจากว่าขี้เกียจอยากจะหยุดพักผ่อนก็พัก” สาริอ๊ะ มิเหร็น หรือก๊ะอ๊ะ
บ้านปากบาง ต�ำบลสะกอม อายุ 59 ปี เล่าถึงการท�ำงานของตน ก๊ะอ๊ะมีอาชีพรับจ้างท�ำอวน ปลดอวนปู และ
ปลดขยะ (เศษสัตวน์ ้ำ� ที่ตดิ มากับอวน) หรอื ที่เรียกกนั วา่ “ปลดซอ๊ กแซก๊ ” ก๊ะอ๊ะ ท�ำอวนมาตัง้ แตอ่ ายุ 20 กว่าปี
มีรายไดว้ นั ละประมาณ 200 - 400 บาท
“วันไหนมีเศษปูเศษหอยติดมากับอวนเยอะก็ได้รายได้
เยอะ เพราะปลดซอ๊ กแซ๊กชัง่ เป็นกโิ ล กิโลกรัมละ 2 บาท ไม่เคย
มวี นั ไหนทไี่ มม่ งี านทำ� นอกจากวา่ ขเ้ี กยี จอยากจะหยดุ พกั ผอ่ นกพ็ กั
บางวนั ทำ� 2 งาน ปลดอวนปู ปลดซอ๊ กแซก๊ เสรจ็ กก็ ลบั ไปทำ� อวน
ต่อท่บี า้ น ซึง่ เป็นอวนจากร้านขายอวนในตวั เมืองสงขลาส่งมาให้
ทำ� ขอ้ ดขี องการไดท้ ำ� งานทีบ่ ้านคอื ได้ดูแลพ่อแม่ ค่าใช้จา่ ยใน
แตล่ ะวันกไ็ มเ่ ยอะซอ้ื ขนมกินวันละ 10-20 บาท กับขา้ วพามา
เองจากบา้ น วนั ไหนมกี ารปลดปลาปลดปกู ไ็ ดก้ ลบั เอาไปทำ� กบั ขา้ ว
ท่บี า้ น” กะ๊ อ๊ะ กล่าวดว้ ยด้วยรอยยมิ้
ศักยภาพจะนะ | 27
คลองนาทับ
28 | ศักยภาพจะนะ
คลองนาทับ มีต้นก�ำเนิดมาจากสายน้�ำ 6 สาย
ส�ำคัญคือ 1.เทือกเขาในอุทยานแห่งชาติเขาน้�ำค้าง อ�ำเภอนาทวี
2.เทอื กเขาทศิ ตะวนั ตกของอำ� เภอจะนะ 3.เทอื กเขาทางทศิ ตะวนั ออก
ของอำ� เภอนาหมอ่ ม 4.เทือกเขาบ้านตรับ บา้ นตหุ รง บา้ นทรายขาว
บ้านขุนทอง 5.เทือกเขาทางทิศใต้ของอ�ำเภอเมือง 6.สายน�้ำมาจาก
บ้านบ่ออิฐ อ�ำเภอเมือง บ้านปึกคลองนาทับ เกิดเป็นคลองนาทับ
ไหลผา่ นตำ� บลปา่ ชงิ ตำ� บลคลองเปยี ะ ตำ� บลจะโหนง เทศบาลตำ� บล
นาทับ ไหลลงสู่ทะเลอ่าวไทยที่บ้านปากบาง ต�ำบลนาทับ เม่ือรวม
คลองสาขามีความยาวประมาณ 86 กโิ ลเมตร บางตอนกวา้ งกว่า
ร้อยเมตร บางตอนโอบล้อมเกาะขนาดใหญ่ (บ้านคูน�้ำรอบ) (การ
ศกึ ษาปลากระบอกกบั วถิ ปี ระมงในคลองนาทบั . เทศบาลตำ� บลนาทบั
อ�ำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา, ดร.ปรีชา ร่มบ้านโหล๊ะ, 2565) เป็น
คลองสามน�้ำที่มีขนาดใหญ่ น�้ำจืด น�้ำกร่อย และน�้ำเค็มมาบรรจบ
กัน เป็นแหลง่ เพาะขยายพนั ธุ์ แหล่งอนบุ าลสตั วน์ �้ำและแหล่งอาหาร
ของสตั วน์ ำ�้ ทำ� ใหพ้ น้ื ทแี่ หง่ นม้ี คี วามอดุ มสมบรู ณ์ มสี ตั วน์ ำ�้ กรอ่ ยท่ี
มคี วามสำ� คญั ทางเศรษฐกจิ หลายชนดิ เชน่ ปลากระบอก ปลากะพง
ปลากดข้ีลิง ปลาท่องเท่ียว ปลากุเหรา ปลาสาก ปลาขี้ตังราชา
ปลาขี้ตังเสือ ปลาอั้งจ้อ ปลามิหลัง กุ้งก้ามกราม กุ้งลาย กุ้งเคย
ปูม้า ปูดำ� หอยระกัน หอยขลู หอยนางรม หอยแมลงภู่ หมกึ ลกู ยอ
ศักยภาพจะนะ | 29
วิถีฅนริมคลองนาทับ
ต้องท�ำให้รัฐบาลมีแนวคิดใหม่ในเร่ืองของ
กระบวนการพฒั นา ซง่ึ ตอ้ งพฒั นาอยบู่ นบรบิ ทของ
ชมุ ชนในทกุ ๆ มติ ิเชน่ ดา้ นอาชพี เขาทำ� อะไรกพ็ ฒั นา
ตรงนั้น เช่น ท�ำประมง ทะเลเขาดี ท�ำให้ดีข้ึนปลาจะ
เพ่ิมมากขึ้น คนมีรายได้เพ่ิมขึ้นแล้วรายได้น้ันไม่
จ�ำเปน็ ต้องท�ำงาน 8-10 ชั่วโมง ทำ� งาน 2-3 ชว่ั โมง
ก็ได้แล้ว ซึง่ ไดร้ ายไดม้ ากกว่า” ดร.ปรชี า รม่ บ้านโหละ๊
หรืออาจารย์ปรีชา กล่าวถึงข้อเสนอแนะในการพัฒนาพื้นท่ี
คลองนาทับหลงั จากได้ท�ำงานวจิ ัย “การศึกษาปลากระบอก
กับวิถีประมงในคลองนาทับ เทศบาลต�ำบลนาทับ อ�ำเภอ
จะนะ จงั หวัดสงขลา” ดว้ ยเติบโตและผกู พันกบั คลองนาทับ
จงึ ทำ� ใหม้ องเหน็ ความเปลยี่ นแปลงของคลองนาทบั จากอดตี
ถงึ ปัจจบุ นั ได้ชัดเจนกวา่ นักวจิ ยั ทัว่ ไป
อาจารย์ปรีชา เล่าว่าคลองนาทับในอดีตมีความ
อุดมสมบูรณ์มีกุ้งแชบ๊วยเยอะชาวประมงหากุ้งได้ 4-5
กิโลกรัมต่อวัน ในสมัยก่อนราคาไม่แพง รวมท้ังมีกุ้งกุลาด�ำ
กุ้งขาว วิถีชาวประมงมีทั้งการดักโพงพาง ลอยอวนปลา
ทอดแหกงุ้ งมกุ้ง วางหมรฺ ำ� 1 กลางคืนมกี ารโละ๊ (ส่องไฟช่วยในการหา) ปลา ปู เนื่องจากบา้ นอยขู่ ้างคลองตอนเดก็ ๆ เคยเดินโล๊ะ
ปลา กลับจากโรงเรียนไม่ต้องทำ� อะไรยกไซปดู �ำได้ 50 กโิ ลกรัมตอ่ วัน
แต่หลังจากนน้ั เริม่ มกี ารท�ำนากงุ้ และมกี ารถางป่าชายเลน จึงมีผลทำ� ใหพ้ ื้นที่ปา่ ชายเลนลดลงจาก 6,000 ไร่ เหลือ 2,000
กว่าไร่ มกี ารขุดลอกคลอง กงุ้ ตายหมดทง้ั คลอง ชาวบ้านขาดทนุ กงุ้ ท่เี ล้ยี งตาย ปลาก็หายไป 2-3 ปีกว่าจะกลับเข้ามา หลังจากนัน้
ในปี พ.ศ.2525-2526 มีการสร้างเข่ือนกันคล่ืนการขุดลอกทางเดินเรือที่ปากบางนาทับ และการขุดลอกคลองนาทับท�ำให้
กระแสนำ�้ เปลย่ี นทศิ ทาง เกดิ นำ�้ เสยี สตั วน์ ำ�้ หายไปจากคลองนาทบั 1-2 ปี ปลาเปน็ แผลเนา่ เปอ่ื ย ตอ่ มาคลองนาทบั มคี วามสมบรู ณ์
อกี ครงั้ แตห่ ลังจากนัน้ มีการสรา้ งโรงงานอตุ สาหกรรม และโรงไฟฟ้า รวม 13 โรง มกี ารปลอ่ ยน�้ำเสียลงคลองนาทบั ประกอบกับ
การใชเ้ คร่ืองมอื ทีผ่ ดิ กฎหมายมีการจบั สตั ว์น้�ำวัยออ่ น เช่น โพงพาง ไซหนอน จงึ มผี ลทำ� ให้สตั วน์ �ำ้ ลดลงอยา่ งมาก ซึ่งสอดคลอ้ งกบั
การศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทรเ์ มอื่ ปี พ.ศ.2530 ทพี่ บวา่ คลองนาทบั มสี ตั วน์ ำ�้ 90 ชนดิ และลา่ สดุ มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ
ได้มีการศึกษาพบว่า คลองนาทับมีสัตว์น้�ำ 60 ชนิด หายไป 30 ชนิด สัตว์น้�ำที่ทนต่อสภาพน�้ำเสียก็จะยังคงอยู่ เช่น
ปลากระบอก ปัจจุบันเมื่อสภาพคลองนาทับเปล่ียน วิถีคนเปลี่ยน ชาวประมงหันไปท�ำการประมงในทะเลมากข้ึนท�ำให้มีต้นทุน
(ค่าเรือ ค่าน�ำ้ มนั และคา่ อนื่ ๆ) ในการทำ� ประมงเพ่ิมขึน้ ดว้ ยเช่นกนั
1 หมรฺ ำ� เป็นวิธกี ารจับสตั วน์ ้�ำของคนในสมัยกอ่ น มีการน�ำก่งิ ไมม้ ามดั รวมกันและผูกเชือกไว้ น�ำไปจมไว้ในคลอง เมอื่ วางท้ิงไวส้ ักระยะหนึ่ง จะมีการยกเชอื กขนึ้
แลว้ น�ำวะมาสอดไวใ้ ตห้ มรฺ �ำ (ลกั ษณะเหมอื นสวงิ ขนาดใหญ่แต่มีทุน่ 2 ข้าง) วะก็จะลอยข้นึ จากน้ันก็เขย่าๆ หมฺร�ำสตั วน์ �้ำก็จะตกลงไปในวะ
30 | ศักยภาพจะนะ
จากงานศึกษาปลากระบอกกับวิถีประมงในคลองนาทับ
เทศบาลตำ� บลนาทบั อำ� เภอจะนะ จงั หวดั สงขลา พบวา่ การทำ� ประมง
ในคลองนาทับมีมูลค่าการหาปลากระบอกเพียงอย่างเดียวนอกจาก
การบริโภคในครัวเรือน และแบ่งปันให้เพื่อนบ้าน โดยใช้บามเป็น
เครื่องมือมีรายได้ 37.5 ล้านบาทต่อปี จากจ�ำนวนบามทั้งหมด
150 ร้าน รา้ นบาม 1 ร้าน มีรายได้เฉลี่ย 250,000 บาทตอ่ ปี จาก
พื้นที่ปากบางคลองนาทับถึงบ้านตรับ ซ่ึงท�ำงานไม่เกิน 5 ช่ัวโมง
สามารถไปท�ำอาชพี อ่ืนได้ เช่น ทำ� สวนยาง ปลูกผักทำ� การเกษตร
“ปัจจุบันสภาพสิ่งแวดล้อมเปล่ียนไปเยอะ
ท�ำอย่างไรจะเพิ่มทรัพยากรสัตว์น�้ำข้ึนมาใหม่ ถ้าสภาพ
แวดล้อมฟื้นฟูข้ึนสัตว์น้�ำก็จะอุดมสมบูรณ์ข้ึน เราต้อง
อนุรักษ์”
คลองบ้านเราอุดมสมบูรณ์มีกุ้งฝอยตลอดท้ังปี มีของสดๆ
ขาย พอข้ึนจากคลองช่ังกิโลเสร็จเราก็เอามาต้มรสชาติมันจะอร่อย”
หนะ๊ กะเส็มสุรยิ ะ หรือก๊ะหน๊ะ อายุ 65 ปี ประธานกลมุ่ ทะเลกรอบ บา้ นท่าคลอง
ต�ำบลนาทับ เล่าถงึ ทมี่ าของการทำ� กงุ้ แหง้ ผลิตภัณฑข์ องกล่มุ ทะเลกรอบ
เดมิ ก๊ะหน๊ะมีอาชีพขายอาหารทะเลสด จากน้ัน
ในปี พ.ศ.2558 ไดร้ วมกลมุ่ กันข้ึนโดยมีสมาชกิ ประมาณ
10 คน ตง้ั ชอื่ กลมุ่ วา่ “กลุม่ ทะเลกรอบ” เร่มิ จากการทำ�
กะปิ ทำ� กงุ้ แห้ง ปลาตากแหง้ ปลาเคม็ และน้�ำบูดขู า้ วย�ำ
โดยมีวัตถุดิบหลักมาจากคลองนาทับและทะเล ต่อมาได้
มีการจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชมุ ชนในปี พ.ศ.2561 โดย
มสี ำ� นกั งานเกษตรอำ� เภอเปน็ หนว่ ยงานทใ่ี หก้ ารสนบั สนนุ
จากนั้นได้มีการเร่ิมออกบูธแสดงสินค้ามาอย่างต่อเน่ือง
จนกระทงั่ ถงึ ปจั จบุ นั ในชว่ งทไี่ มไ่ ดอ้ อกบธู กจ็ ะขายสนิ คา้
อยู่ท่ีตลาดเกษตรของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ
ขายออนไลน์ ซงึ่ เป็นช่องทางการขายทีไ่ ด้ราคาดีกว่าการ
ขายในตลาดนัดท่วั ไป
ก๊ะหน๊ะบอกว่า การแปรรูปอาหารทะเลท�ำให้
สนิ คา้ มมี ลู ค่ามากขึ้น เม่ือก่อนกงุ้ ฝอยมีราคาถกู แตเ่ มอ่ื มี
คนรบั ซอ้ื มากขนึ้ กงุ้ กม็ รี าคาเพมิ่ ขน้ึ ซงึ่ กเ็ ปน็ ผลดกี บั พนี่ อ้ ง
ชาวประมงทำ� ใหม้ รี ายไดเ้ พมิ่ ขนึ้ สรา้ งรายไดใ้ หก้ บั สมาชกิ
กลุ่มและคนหากุ้งหาสัตว์น้�ำมาอย่างต่อเนื่อง และสิ่ง
ท่ีส�ำคัญที่สุดคือ การขายของที่มีคุณภาพ สะอาดและ
ปลอดภัย น่ีคือสิ่งท่ีชุมชนได้รับจากการมีทรัพยากรท่ี
อุดมสมบูรณ์
ศักยภาพจะนะ | 31
คลองนาทบั คอื ขมุ ทรพั ยข์ องเราถา้ เราไม่
ข้เี กียจ” ก้อเฉียะ หมาน อายุ 50 ปี บ้านนาเสมียน ตำ� บล
นาทับ อาชีพหาหอยนางรมในคลองนาทับ กล่าวถึง
ค�ำนยิ ามของคลองนาทบั กับการประกอบอาชีพของตน
กะ๊ ก้อเฉยี ะทำ� อาชพี นี้มากวา่ 7 ปี โดยเม่ือกอ่ น
มอี าชพี ท�ำประมงในคลองนาทับโดยใช้อวน เปล่ยี นมาหา
หอยนางรมเพราะมีรายได้ดีกว่า โดยสามีเป็นคนงมหา
ตนเป็นคนแกะใส่ถุงส่งให้ลูกค้า ซ่ึงข้อดีของการหาหอย
นางรมคือ ไม่ต้องลงทุนเคร่ืองมืออะไรมากมีแค่เรืออย่าง
เดียวก็สามารถท�ำได้ ตอนนี้มีรายได้เดือนละประมาณ
20,000 บาท ในแตล่ ะวนั จะทำ� การแกะหอยสดๆ สง่ แมค่ า้
ท่บี า้ นสวนกง และบา้ นปากบาง ต�ำบลนาทบั แม่คา้ นำ� ไป
ขายทต่ี ลาดนดั ในอ�ำเภอหาดใหญ่
การหาหอยนางรมนนั้ จะหาไม่ได้ในชว่ งประมาณพฤศจิกายน-มกราคม เพราะเป็นชว่ งฤดูฝนน�้ำจืดไหลลงมาแทนท่ีน�ำ้ กร่อย
ในชว่ งนกี้ ะ๊ กอ้ เฉยี ะจะปลกู แตงโมกบั ขา้ วโพดในสวนแทน เมอื่ ไดผ้ ลผลติ กน็ ำ� ไปขายตามชมุ ชนและตลาดนดั ทำ� ใหม้ รี ายไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง
เมือ่ ชว่ งหนา้ ฝนผ่านไปก็กลบั มาหาหอยนางรมในคลองเช่นเดมิ
ทำ� งานเราดกี วา่ เพราะวา่ ถา้ เราเหนอ่ื ยเรากห็ ยดุ ไดพ้ กั ผอ่ น แตถ่ า้ ทำ� งานขา้ งนอกเราตอ้ งใชแ้ รงมาก ทำ� งาน
ของเพ่ือนมนั ไม่ผา่ น งานนแ้ี หละมันดี รายได้ไม่มากแต่ก็พอไดจ้ า่ ย” รอฟะ หมนั เดน็ อายุ 49 ปี บา้ นนาเสมยี น ตำ� บลนาทับ
ผมู้ ีอาชีพหาหอยนางรมในคลองนาทบั พดู ถึงการทำ� งานของตนเปรยี บเทยี บกับการทำ� งานอนื่ ทต่ี อ้ งใช้แรงงาน
ก๊ะรอฟะ มอี าชพี หาปลาในคลองมากว่า 29 ปี ปจั จุบันหาหอยนางรมเป็นอาชีพหลกั สลับกบั การหาปลาบา้ งในบางวนั บาง
ชว่ งฤดกู าล กะ๊ รอฟะมรี ายไดจ้ ากการหาหอยนางรมตอ่ เดอื นประมาณ 6,000-7,000 บาท สว่ นใหญจ่ ะนำ� ไปขายเองในตลาดนดั ในพน้ื ที่
อำ� เภอจะนะ และขายออนไลนโ์ ดยมลี กู สาวเปน็ คนขายให้ การขายหอยนางรมของกะ๊ รอฟะจะมกี ารทำ� จดั ทำ� เปน็ ชดุ พรอ้ มรบั ประทาน
มผี ักและเครอื่ งเคยี งต่างๆ งา่ ยและ
สะดวกต่อผู้ซือ้
ก๊ะรอฟะบอกว่าในสมัย
กอ่ นปลาและสตั วน์ ำ�้ ในคลองนาทบั
มเี ยอะกวา่ น้ี แตป่ จั จบุ นั มเี ครอ่ื งมอื
ท่ีมีการจับสัตว์น้�ำวัยอ่อนมากขึ้น
ทำ� ใหจ้ ำ� นวนสตั วน์ ำ้� ลดลง ประกอบ
กับอวนมรี าคาแพงขึ้น การหาหอย
นางรมไม่ต้องใช้เครื่องมืออะไรมาก
จึงเป็นตัวเลอื กทด่ี ีกว่า
32 | ศักยภาพจะนะ
เปรียบเสมือนเรือนร่างเหมือนกับมือข้างหน่ึงขาข้างหน่ึงของร่างกายเรา เวลานอนฝันถึงบริเวณตรงนี้
เราใหญ่(เติบโต)มา บางทีฝันเห็นภาพก่อนๆ การยกบาม เห็นเรือ ชีวิตผูกพันกับส่ิงนี้ไปแล้ว เราท�ำมาหากินตรงนี้
ทุกอย่างเลยเป็นส่วนหน่ึงในชีวิตในแต่ละวัน อย่างน้อยต่อวันได้มานั่งตรงน้ีถือว่าสบายคุ้มแล้วเพราะอากาศดี”
ดลเลาะ หมันหมาน หรือบังเลาะ อายุ 51 ปี บ้านท่ายาง ต�ำบลนาทบั เล่าถงึ ความรู้สกึ และความผูกพนั ที่มตี อ่ คลองนาทบั ซ่ึงเปน็ ทที่ ำ�
กินประกอบอาชพี เลยี้ งครอบครวั ของตนมายาวนาน
บังเลาะเริ่มท�ำประมงในคลองตงั้ แตอ่ ยู่โรงเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ในสมัยนน้ั คลองนาทับมคี วามอดุ มสมบูรณ์มาก มีการ
หาปลากันโดยการน�ำก่ิงไม้มามัดรวมกันซึ่งเรียกกันว่า “หมฺร�ำ” ผูกเชือกไว้แล้วนำ� ไปจมลงในคลอง เมื่อมีกุ้งหรือปลาเข้าไปอยู่ก็จะ
คอ่ ยๆ ยกหมรฺ �ำข้ึน แล้วน�ำวะ (เคร่ืองมอื คลา้ ยสวิงขนาดใหญ่แตม่ ีทนุ่ ลอย 2 ข้าง) สอดไวใ้ ตห้ มรฺ �ำ วะจะคอ่ ยลอยขึ้น จากน้ันเขยา่
หมฺร�ำให้ปลาลงไปในวะ ส่วนใหญ่ก็จะมีกุ้งและปลาเก๋าเข้าไปอยู่ในหมฺร�ำ ก่อนไปโรงเรียนและหลังกลับจากโรงเรียนบังเลาะก็จะแวะ
เข้ามายกหมฺรำ� ก่อน
บังเลาะทำ� ประมงมาตลอด มีบางช่วงที่ออกไปทำ� งานอื่นบ้าง ท�ำได้ไม่ก่เี ดือนกก็ ลบั มาทำ� ประมงในคลองเหมือนเดิม เพราะ
รสู้ กึ ว่าการทำ� งานท่ีบา้ นรายได้ดกี ว่าออกไปข้างนอก โดยสว่ นใหญ่จะวางอวนปลา อวนปู ไดป้ ลากระบอก ปลาทราย บางชว่ งก็ได้ปมู า้
ปูด�ำ มีรายได้วันละประมาณ 300
บาท ท่ีส�ำคญั กบั ขา้ วไม่ตอ้ งซอ้ื และ
ใชเ้ วลาในการทำ� งานไมเ่ กนิ 5 ชวั่ โมง
มงี านเสรมิ คือเป็นช่างท�ำอลูมเิ นียม
“โรงงาน ไซหนอน
ทา่ เรือขนส่งสินคา้ (ปากแมน่ �ำ้ )
เอาสามอยา่ งนอ้ี อกไปกอ่ นอยา่
ให้ท�ำลาย ไม่ต้องคิดปล่อยกุ้ง
ปล่อยปลา เพราะว่ามันมีโดย
ธรรมชาติอยู่แล้ว ถ้าสามสิ่งน้ี
ออกไปคลองนาทบั กจ็ ะกลบั มา
เหมอื นเดมิ ” บงั เลาะ กลา่ วทง้ิ ทา้ ย
ถึงวิธีการพัฒนาและฟื้นฟูคลอง
นาทับกลับมามีความอุดมสมบูรณ์
เหมือนเดิม
รสู้ ึกภูมใิ จ ชอบในงานน้เี พราะว่าหากินไดส้ บาย หากินในคลอง
ไม่ถูกลมถูกคลืน่ ” ยะโกบ หวัดหะ หรือบังถาง อายุ 58 ปี บ้านท่ายาง ตำ� บล
นาทบั เลา่ ถงึ ความรสู้ กึ ในการประกอบอาชพี วางอวนหาปู หาปลาในคลอง ซงึ่ ทำ� มา
กวา่ 30 ปี ช่วงทคี่ ลน่ื ลมสงบมีการออกหาปลาในทะเลบา้ ง แต่ส่วนใหญบ่ งั ถางจะ
ออกหาปลาในคลองมากกวา่ โดยมีรายได้ 200 - 300 บาทต่อวัน ทำ� งานวนั ละไม่
เกนิ 5 ชวั่ โมง วางอวนท้งิ ไว้เมอ่ื ถึงเวลากไ็ ปสาวอวน ช่วงเวลาว่างจากการออกเรือ
หาปลา บังถางท�ำอวนรบั จา้ งเปน็ รายไดอ้ ีกทางหน่งึ
ศักยภาพจะนะ | 33
ปกติได้วันละ 1,500-2,000 บาท ช่วงข้างแรมปลาไม่ค่อยมีมัน
จะมีช่วงข้างข้ึน ได้มากสุดคือ 10,000 บาทต่อวัน น้อยสุดคือ
200-300 บาท” ไพจิตร์ ฮัจชา หรือซาหรนี อายุ 28 ปี บ้านท่ายาง ตำ� บลนาทบั
กลา่ วถึงรายได้ในการหาปลาโดยใช้บามเป็นเคร่ืองมอื ในการหาปลา
ครอบครัวของซาหรีนมีอาชีพหาปลาโดยใช้บามเป็นเครื่องมือมาหลาย
สิบปี บามเป็นเคร่ืองมือประมงพื้นบ้านที่ใช้จับสัตว์น้�ำบริเวณชายฝั่งและในคลอง
ลักษณะคล้ายยอขนาดใหญ่แต่ไม่มีคันยอ อวนรูปส่ีเหล่ียมประกอบเข้ากับคันบาม
จ�ำนวน 2 คัน และปูผืนอวนไว้ที่พ้ืนดินใต้น้�ำ รอให้สัตว์น้�ำเข้ามาแล้วยกขอบอวน
สี่ด้านให้พ้นผิวน้�ำ โดยมีร้านสูงส�ำหรับเฝ้าดูฝูงปลาและติดต้ังกว้านมือเพื่อช่วยใน
การยก มีบาม 2 ร้าน อยใู่ กลก้ นั โดยมซี าหรีน น้องชาย กับพอ่ เฝ้าร้านบาม แมเ่ ป็น
คนน�ำสัตว์น�้ำที่จับได้ไปขายที่ตลาดนัดสวนตูลในตัวเมืองจังหวัดสงขลา ซึ่งไม่ไกล
จากบา้ นมากนกั ซาหรนี ทำ� งานนมี้ าตงั้ แตอ่ ายุ 18 ปี หลงั จากเรยี นจบชน้ั มธั ยมศกึ ษา
ปีที่ 6 โดยจะมีช่วงหยุดพักคือช่วงมรสุมประมาณเดือนพฤศจิกายน - มกราคม
ช่วงที่คลื่นลมแรงก็อาจท�ำให้ร้านบามพังไปบ้าง หลังจากคลื่นลมสงบก็จะมาซ่อมร้านบามน้ีอีกคร้ัง สัตว์น้�ำที่จับได้ส่วนใหญ่คือ
ปลาขต้ี งั ปลากระบอก ปลาแป้น และปลาอ่ืนๆ ปนมาบา้ ง ข้อดีของการใช้บามคอื ปลาทจ่ี ับได้เกลด็ จะไม่หลุดท�ำให้ปลามีราคาดกี ว่า
การจบั ดว้ ยเครอ่ื งมอื อนื่
“รักน้ันแหละกับอาชีพนี้เพราะได้ปลาทุกวันท�ำให้เรามีรายได้ แต่ต้องอดทนในช่วงมีลมมรสุมเข้า ไม่ได้ท�ำ”
ซาหรนี กลา่ วท้ิงทา้ ย
นอกจากน้ันคลองนาทับยังมี
การเลยี้ งปลากะพงในกระชงั รวม
34 ราย ในพ้ืนที่บ้านบ่อโต๊ะคง
บ้านนาเสมียน และบ้านปากบาง
นาทบั (สำ� รวจ ณ เดอื นกนั ยายน
2565)
34 | ศักยภาพจะนะ
อาชพี นท้ี �ำใหช้ ีวิตดีขน้ึ มบี า้ น มรี ถ รายได้
ดี 1,500 -2,000 บาท ไดท้ ุกวนั สมัยกอ่ นน้นั ไม่มี
อะไรเลย ได้สร้างบ้านซ้ือรถ รายได้ดีพอสมควร
ดกี วา่ ไปทำ� งานขา้ งนอก” จริ ายุ หมนั เจรญิ หรอื ซดี อายุ
25 ปี บ้านคูน�้ำรอบ ต�ำบลนาทับ ผู้มีอาชีพข้ึนตาลโตนด
กล่าวถึงความรู้สึกหลังจากปลดประจ�ำการจากการเป็น
ทหารเกณฑ์และกลบั มาทำ� งานท่บี ้านกวา่ 2 ปที ผ่ี า่ นมา
โดยมีตาเป็นผู้ถ่ายทอดวิชาการข้ึนตาลโตนด
และมยี ายเปน็ ผชู้ ว่ ยในการเคย่ี วนำ้� ตาล ทำ� ใหเ้ ขาเหน็ คณุ คา่
และมูลค่าที่ได้จากการข้ึนตาลโตนด ซีดเป็นผู้มีอาชีพ
ขึ้นตาลโตนดที่อายุน้อยสุดในบรรดาผู้มีอาชีพข้ึนตาลโตนด
ในพื้นที่บ้านคูน�้ำรอบซ่ึงมีอยู่ท้ังหมด 3 คน 3 ครอบครัว
ท่ียงั คงยดึ อาชพี น้ี อันเปน็ อาชพี ด้งั เดมิ ของคนท่นี ่กี ว็ า่ ได้
ในแต่ละวันซีดจะข้ึนตาลโตนดวันละสองรอบเช้าเย็น โดยมีอุปกรณ์คือมีดปาดตาลกับกระบอกรองน�้ำหวาน
จากงวงตาล อาชีพข้ึนตาลโตนดใน 1 ปี จะท�ำได้แค่ 8-9 เดือน ต้ังแต่เดือนมกราคม - กันยายน เพราะช่วงฤดูฝน
(ตุลาคม - ธันวาคม) ไม่สามารถขึ้นไปปาดตาลได้ แม้ว่าเป็นอาชีพที่ค่อนข้างอันตรายแต่เขาก็มองว่าเป็นอาชีพท่ีดีมี
อิสระ “ผมไมเ่ คยท�ำงานอะไรเพราะวา่ ไปเปน็ ทหาร แล้วเหน็ ความส�ำคญั ของทีบ่ ้าน รายได้ดี ไม่ต้องออก
ไปข้างนอกหรอื ว่นุ วายกับใคร” ซดี กลา่ ว
นำ้� ตาลท่ีน่ีขายดเี พราะรสชาติอร่อยกว่าท่ีอืน่ มีกลนิ่ หอม หวาน มัน รสชาติแตกต่างจากทีอ่ ื่น
เพราะมนี ้�ำล้อมรอบมนี �้ำเค็มอยขู่ ้างใต้” ฟีเยาะ หวังโส๊ะ หรอื ยีฟี บ้านคูนำ้� รอบ ตำ� บลนาทับ พูดถึงความพเิ ศษ
ของน�ำ้ ตาลโตนดบ้านคนู ้�ำรอบ
ทุกๆ วนั ยามเช้าถึง 11 โมง ยีฟีมีหนา้ ท่เี คยี่ วน้�ำตาลโตนดทห่ี ลานขน้ึ มา ซ่งึ ท�ำมาต้ังแตป่ ี พ.ศ.2530 แต่เลิกท�ำ
เม่ือปี พ.ศ.2560 แล้วกลับมาท�ำอีกครั้งเมื่อ 2 ปีที่แล้วเมื่อหลานกลับมาสืบสานอาชีพข้ึนตาลโตนดต่อจากผู้เป็นตา
“มะได้ซื้อดินได้สร้างเนื้อสร้าง
ตัวเพราะตาลโตนด เม่ือก่อน
ทั้ ง ห มู ่ บ ้ า น คู น�้ ำ ร อ บ นี้ ท� ำ
ตาลโตนดเกอื บทง้ั หมด แตค่ น
รุ่นหลังไม่มีใครท�ำมีหลานมะ
คนเดยี วทท่ี ำ� ไดต้ อ่ ยอดมะดใี จ
เพราะรายได้ดีท�ำ 5-6 เดือน
ได้ตั้ง 200,000 - 300,000
บาท” ยีฟีกล่าวด้วยความภูมิใจ
ในอาชีพการขึ้นตาลโตนดที่ตนท�ำ
มาตลอด
ศักยภาพจะนะ | 35
คลองสะกอม
36 | ศักยภาพจะนะ
คลองสะกอม ได้รับอิทธิพลจากน้�ำจืด
ที่ไหลมาจากคลองนาทวี ซ่ึงมีต้นก�ำเนิดมาจากเขาน้�ำค้าง
(เทอื กเขาสนั กาลาครี )ี ทางตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ไหลผา่ นอำ� เภอ
นาทวี เข้าเขตอ�ำเภอจะนะ ลงสู่อ่าวไทยที่บ้านปากบาง ต�ำบล
สะกอม เป็นแหล่งก�ำเนิดและแหล่งอนุบาลตัวอ่อนของสัตว์น้�ำ
กรอ่ ยท่มี คี วามส�ำคัญทางเศรษฐกจิ หลายชนดิ เช่น ปลากะพง
ขาว ปลากะพงแดง ปลากระบอก ปลาดุกทะเล ปลาขี้ตัง
ปลากดข้ีลิง ปลาบะวง(ปลาแขยง) ปลาบู่ ปูด�ำ หอยระกัน
หอยตาควาย กงุ้ กลุ าดำ� กุง้ กลุ าลาย ก้งุ เคย และกงุ้ ก้ามกราม
ศักยภาพจะนะ | 37
วถิ ีฅนรมิ คลองสะกอม
เราได้ประโยชน์ได้ความสบายใจว่าเราได้เล้ียงครอบครัว เรามีความภูมิใจในอาชีพของเรา
ไม่ต้องไปง้อใครยืมเงินใคร เราทำ� งานของเราเองพอเพียงเท่าน้ี ซ่ึงเราสามารถจับเงินแสนในมือได้
แล้ว” สใุ บเดาะ บากา หรือกะ๊ ยะ บ้านบอ่ โชน ต�ำบลสะกอม กลา่ วถึงความภมู ใิ จในการทำ� งานของตน
กะ๊ ยะกบั สามมี อี าชพี ออกเรอื ประมงเปน็ อาชพี หลกั รายไดเ้ ฉลยี่ เดอื นละ 30,000 บาท และเลยี้ งปลากะพง
ในคลองสะกอมเปน็ อาชพี เสรมิ มากวา่ 15 ปี แตล่ ะรอบทล่ี งปลาใชเ้ วลาเลย้ี งประมาณ 7 - 8 เดอื น มรี ายไดป้ ระมาณ
ปีละ 160,000 - 170,000 บาท ในแต่ละวันจะรับซื้อปลาตัวเล็กๆ ที่ไม่มีราคา เช่น ปลาโคบ ปลาหลังเขียว
ปลาบาง ซง่ึ เป็นปลาทม่ี รี าคาน้อยรบั ซอ้ื มาในราคากโิ ลละ 10 บาท เพอ่ื น�ำมาเปน็ อาหาร
ปลากะพง สร้างรายได้ให้คนหาปลาในชุมชน แต่ละวันก็จะต่ืนมาเอาอาหารให้ปลากะพง
กลับมาท�ำกับข้าวหากมีเรือเข้าก็จะไปปลดปู ท่ีแพเรืออวนปู ในแต่ละสัปดาห์จะมีเรือเข้า
2 ครัง้ และมอี าชีพเสริมอีกอย่างคือการจบั ก้งุ กุลาด�ำ จบั ปดู �ำในคลอง ในชว่ งทน่ี ้�ำดอี ากาศดี
“รสู้ กึ วา่ โชคดที เ่ี ขาใหค้ วามสมบรู ณม์ า เราไมต่ อ้ งงอ้ ใครไมต่ อ้ งกา้ วกา่ ย
อะไรมากมาย ซ่งึ เราไดต้ รงนเี้ รากส็ มบูรณ์แล้ว ไม่เอาอะไรมากแล้วมที ้ังคลอง
ทั้งทะเล” ก๊ะยะห์กล่าวทิ้งท้ายถึงความอุดมสมบูรณ์ของพื้นท่ีชุมชนที่อาศัยอยู่ติดชายฝั่ง
ทะเลและคลองสะกอม
คลองสะกอม มกี ารเลย้ี ง
ปลากะพงในกระชงั รวม 18 ราย
ในพื้นท่ีบ้านบ่อโชน และบ้าน
ปากบางสะกอม ต�ำบลสะกอม
อ�ำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
(ส�ำรวจ ณ วันท่ี 23 สิงหาคม
2565)
38 | ศักยภาพจะนะ
ถ้าเราไม่ไปเปลยี่ นแปลงไมว่ ่าจะเป็นแนวรมิ ตล่ิง รมิ คลองหรือป่าจาก ความอดุ มสมบูรณจ์ ะทำ� ให้
หากินได้ตลอด แต่เม่อื หนงึ่ เม่ือใดเราไปเอาออกขุดให้เปน็ คอนกรตี หมด มนั คงจะไมม่ ีเลยพอเราไปเปลย่ี น
ตรงนั้น กุ้งจะไม่มี ถ้าเราไม่ไปเปล่ียนแปลงตรงนั้นเราสามารถหากินได้ตลอดปีตลอดชาติ ซึ่งหากินมา
20 กว่าปีแล้ว” สมาร์ท นิยมเดชา อายุ 36 ปี กล่าวถึงความอุดมสมบูรณ์ของคลองสะกอม และสิ่งที่จะท�ำให้ความ
อดุ มสมบรู ณข์ องคลองสะกอมเปล่ยี นแปลงไป
สมาร์ทเป็นคนรุ่นใหม่ท่ีประกอบอาชีพประมงตั้งแต่เด็กๆ ตามวิถีของครอบครัว โดยเริ่มออกเรือประมงตั้งแต่
อายุ 9 ปี นอกจากการท�ำประมงออกเรอื หาปลาในทะเลแล้ว สมาร์ทก็ยงั มีอีกหนึ่งอาชีพเสรมิ คือด�ำน้ำ� หาก้งุ ก้ามกรามใน
คลองสะกอม ซึ่งหามาตั้งแต่เป็นเด็กด้วยความชอบเล่นน้�ำคลอง ท�ำให้เขาสังเกตและเรียนรู้วิธีการจับกุ้งก้ามกรามด้วย
ตนเอง โดยจะสามารถหาไดใ้ นชว่ งฤดนู ำ�้ หลากเมือ่ มีน�้ำจืดไหลลงมาแทนทีน่ ำ้� เค็ม หลังจากน้�ำข่นุ หายไปกส็ ามารถดำ� น�ำ้
หากุ้งได้ทันที ซ่ึงกุ้งก้ามกรามจะอาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีดอนในน�้ำคือ
ริมคลอง เม่ือด�ำพบตัวกุ้งเขาก็จะใช้ฉมวกเป็นเคร่ืองในการช่วย
จบั ก้งุ ก้ามกราม สมาร์ทเคยหากุง้ ก้ามกรามไดม้ ากสดุ ในวันเดียว
ประมาณ 10 กิโลกรัม ขายกิโลกรัมละ 300 กว่าบาท รวมๆ
ในแตล่ ะปีมรี ายไดเ้ สรมิ จากการจบั กงุ้ กา้ มกว่า 10,000
บาท โดยใช้เวลาเพยี งไม่กว่ี ันเทา่ นั้น
ศักยภาพจะนะ | 39
บวทิถท่ีีก2 ารเกษตร
40 | ศักยภาพจะนะ
ศักยภาพจะนะ | 41
ต.สะกอม
ต.ทาหมอไทร
42 | ศักยภาพจะนะ
อำ� เภอจะนะ จงั หวดั สงขลา มพี น้ื ทท่ี ้ังหมด 314,262 ไร่ เปน็ พนื้ ท่ถี ือครองเพ่อื การเกษตร 267,443 ไร่ มคี รัวเรือนเกษตร
14,427 ครวั เรอื น มแี รงงานเพอ่ื การเกษตรรวม 56,054 คน ซึ่งสามารถจ�ำแนกการใช้ที่ดินเพ่อื การเกษตรไดด้ ังนี้ พ้ืนทสี่ วนยางพารา
204,509 ไร่ พน้ื ทนี่ า 8,452 ไร่ พ้ืนทปี่ ลูกไม้ผล 12,399 ไร่ พน้ื ที่ปลูกพชื ไร่ 397 ไร่ พืน้ ท่ีปลกู ผกั 5,874 ไร่ พนื้ ทปี่ ลูกไมด้ อกไม้ประดบั
94 ไร่ และพ้ืนท่อี นื่ ๆ 44,708 ไร่ (ที่มา : ระบบขอ้ มลู พน้ื ฐานส�ำหรับส่งเสริมการเกษตรกร อำ� เภอจะนะ จงั หวัดสงขลา, 2564) โดยมี
พชื เศรษฐกิจท่ีส�ำคญั ดังนี้
1) ยางพารา เปน็ พชื เศรษฐกจิ หลกั ทสี่ รา้ งอาชพี สรา้ ง
รายได้แก่คนในพ้ืนที่อ�ำเภอจะนะ โดยมีพื้นท่ีปลูกยางพารา รวม
204,509 ไร่ ซง่ึ มกี ารปลกู ยางพาราในทกุ ตำ� บลในพน้ื ทอี่ ำ� เภอจะนะ
ปัจจุบันแม้ว่าราคายางพาราจะต่�ำลง แต่ชุมชนได้มีการเรียนรู้และ
ปรับเปล่ียนวิถีในการปลูกยางพารา โดยได้มีการปลูกพืชร่วมยาง
หรือพืชแซมยางมากขึ้น เพ่ือสร้างรายได้และสร้างพืชอาหารให้
ครัวเรือน ซึ่งเป็นการลดรายจ่ายและเพ่ิมรายได้ให้แก่ครัวเรือน
เกษตรกร
2) ขา้ ว เปน็ พืชเศรษฐกจิ ที่นยิ มปลกู รองมาจากยางพารา เป็นการปลูกข้าวนาปี (ปีละ 1 ครง้ั ) มีการปลกู ใน
ทุกต�ำบลมากน้อยแตกต่างกันตามสภาพพ้ืนท่ีและวิถีของคนในชุมชน โดยมีพ้ืนที่ปลูกข้าวรวม 8,452 ไร่ ส่วนใหญ่
ปลูกเพือ่ การบริโภคในครวั เรือนเป็นหลัก และเม่ือเหลอื ก็นำ� ไปจ�ำหน่ายเป็นรายไดเ้ สรมิ อกี ทางหน่งึ
จากการเก็บรวบรวมข้อมูลพันธุ์ข้าวในพ้ืนที่อ�ำเภอจะนะ พบจ�ำนวนพันธุ์ข้าวท้ังหมด 27 สายพันธุ์ ซ่ึงมีทั้ง
พันธุ์ดั้งเดิม และพันธุ์ใหม่ท่ีได้รับการส่งเสริมจากเกษตรอ�ำเภอ ได้แก่ ข้าวลูกปลา ข้าวลูกด�ำ ข้าวรวงรี ข้าวเล็บนก
ข้าวเข็มทอง ข้าวเหนียวด�ำ ข้าวช่อนางแก้ว ข้าวสังข์หยด ข้าวหอมประทุม ข้าวดอกยอม ข้าวนางหงส์ ข้าวเบาขาว
ขา้ วไรซเ์ บอรร์ ี่ ขา้ วเหนียวลางนง่ึ ขา้ วบุษราคมั ขา้ วบายอ ข้าวลูกขาว ขา้ วลกู แดง ข้าวดงั ปูและ ข้าวขืนดนิ ข้าวหอม
ขา้ วนางเอก ข้าวรวงงาม ขา้ วชอ่ ลุง ขา้ วหอมจนั ทร์ ข้าวขิง ข้าวช่อกระดังงา (ส�ำรวจ ณ เดอื นสงิ หาคม 2565)
ศักยภาพจะนะ | 43
3)ไม้ผล เกษตรกรนิยมปลูกไม้ผลเปน็ รายได้
เสรมิ และปลูกตามความต้องการของตลาด เช่น ลองกอง
ทเุ รียน มังคดุ เงาะ ส้มจุก ขนนุ จ�ำปาดะ กระท้อน สละ
อนิ โด และมะมว่ ง โดยมพี น้ื ทกี่ ารปลกู ไมผ้ ลรวม 12,399 ไร่
4) พืชไร่ เกษตรกรนยิ มปลกู เพ่ือ
เป็นอาชีพเสริมรายได้ เช่น แตงโม ฟักทอง
แคนตาลปู อ้อย มันสำ� ปะหลัง มนั เทศ ข้าวโพด
หวาน สบั ปะรด และถวั่ ลิสง โดยมีพ้ืนทีใ่ นการ
ปลกู พชื ไรร่ วม 397 ไร่
5) พชื ผกั ส่วนใหญเ่ กษตรกรนิยมปลูกเพอื่ การบรโิ ภคในครัวเรือน
โดยเฉพาะผักพ้ืนบ้าน เม่ือเหลือเยอะมีการน�ำไปขายในตลาด เช่น แตงกวา
พรกิ ขห้ี นู ถว่ั ฝักยาว คะน้า ผักบุง้ โดยมีพน้ื ทใี่ นการปลกู พืชผักรวม 5,874 ไร่
44 | ศักยภาพจะนะ
วถิ ีเกษตรฅนจะนะ
ในสวนยางเป็นซูปเปอร์มาเก็ตไปแล้ว
มีท้ังของกินของใช้ในครัวเรือน มีบ่อปลาดุกท่ี
เลยี้ งไวก้ นิ อยากกนิ อะไรกเ็ กบ็ ไปกนิ เหลอื จากกนิ
กน็ ำ� ไปขาย” ชนพิ ทั ธ์ นลิ กาญจน์ หรือพ่ีพัท อายุ 55 ปี
ประธานกลุ่มกรีนไม้แก่น ต�ำบลสะพานไม้แก่น อ�ำเภอ
จะนะ จังหวัดสงขลา กลา่ วถงึ ผลทไ่ี ด้รับจากการปลูกพืช
รว่ มยางทไี่ ดม้ ีการปลูกมาตั้งแตป่ ี พ.ศ.2558
พี่พัทมีรายได้หลักจากการท�ำสวนยางพารา
ในเนื้อที่ 10 ไร่ โดยเฉล่ยี เดอื นละ 20,000 บาท และเริม่
ปลกู พชื รว่ มยางดว้ ยการปลกู ไมย้ นื ตน้ เพอื่ เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ จำ� นวน 200 ตน้
หลังจากนั้นได้เข้าร่วมโครงการและจัดกระบวนการเรียนรู้พืชร่วมยางในกลุ่มกรีนไม้แก่น ซึ่งพ่ีพัทมีบทบาทเป็นประธานกลุ่มฯ โดยมี
การดำ� เนนิ การมาอยา่ งตอ่ เนอื่ งจนถงึ ปจั จบุ นั สบื เนอื่ งจากตอ้ งการขยายแนวคดิ พชื รว่ มยางใหแ้ กส่ มาชกิ ในกลมุ่ และพนี่ อ้ งในชมุ ชน ซงึ่
ทางกลุม่ เหน็ แลว้ ว่าสามารถลดรายจา่ ยเพ่มิ รายไดใ้ ห้กับพ่ีน้องชาวสวนยางไดจ้ ริง
พ่พี ัทเริม่ จากการสร้างรปู ธรรมใหเ้ กิดขึ้นในสวนของตนเพือ่ เปน็ ตวั อย่างใหค้ นอื่นในชมุ ชน โดยการปลกู พชื ในรอ่ งยาง ได้แก่
ผกั เหลียง ผกั กูด หนอ่ ไม้ สะตอ ลกู เนียง พรกิ ไทย หมาก สิเหรง ซ่ึงตน้ ไม้บางชนิดเปน็ ต้นไม้ท่ีขึน้ ตามธรรมชาตอิ ยแู่ ล้ว สามารถน�ำมา
กินในครัวเรือน ท�ำให้ลดคา่ ใช้จา่ ยกับข้าวไดว้ นั ละ 40-50 บาท ซอ้ื เนื้อกับไกเ่ ทา่ นน้ั พชื ผกั ไมต่ อ้ งซ้ือ พชื ผักทีเ่ หลอื จากกินกน็ ำ� ไปขาย
สรา้ งรายไดเ้ สริม เช่น ผักกดู ผักเหลยี ง หน่อไม้ สะตอ รวมท้ังการขายใบสเิ หรง มีรายไดร้ วมในแต่ละปกี วา่ 10,000 บาท นอกจากน้ี
กย็ งั มีไม้ยนื ตน้ เช่น ตน้ ตะเคยี น ต้นสะเดา ต้นทงั ที่เป็นเสมือนเงินออม เงนิ บำ� นาญ สามารถส่งตอ่ ใหล้ ูกหลานใชป้ ระโยชน์ตอ่ ไปได้
“มูลค่ามันอาจจะไม่เยอะแต่เราได้ความสบายใจซึ่งมีค่ามากกว่า พอย่ิงได้กินย่ิงสบายใจ ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้
ไดจ้ รงิ เหมอื นกบั คนออกกำ� ลังกายถามวา่ ได้อะไรบ้าง เราตอบว่าไดค้ วามสบายใจตรงนั้นก็คอื โอเคแลว้ ” พพี่ ัทกลา่ ว
นอกจากการท�ำในสวนของตนแล้ว พี่พัทและสมาชิกกลุ่มกรีนไม้แก่นได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการปลูกพืชร่วมยาง
ซึ่งมิใชก่ ารเพมิ่ รายได้ลดรายจา่ ยเพยี งอยา่ งเดยี ว แตห่ มายถงึ การร่วมกันดแู ลฐานทรพั ยากรชุมชน การสร้างฐานการดแู ลสุขภาพของ
คนในชุมชนด้วยเช่นกัน ทางกลุ่มฯ จึงได้มีการจัดกระบวนการเรียนรู้เก่ียวกับการปลูกพืชสมุนไพรในสวนยาง ซ่ึงการปลูกสมุนไพร
ในสวนยางน้ันจะต้องไม่ใช้สารเคมีในสวนยาง ดู
เหมือนว่าเป็นเร่ืองยากและเป็นความท้าทายของ
กลุ่มกรีนไม้แก่นที่พยายามด�ำเนินการมาอย่าง
ต่อเนอ่ื ง
ศักยภาพจะนะ | 45
เรารวมกลุ่มกันปี 2548 เริ่มรวมกลุ่มเพราะเกิดวิกฤตยางราคาตกต่�ำ
เราคดิ วา่ เราจะหารายไดม้ าจนุ เจอื ในครอบครวั ซง่ึ ชาวบา้ นหลายคนปรบั ตวั ไมถ่ กู
เลยหันมาดูรอบตัวซึ่งเรามีข้าวอยู่แล้ว จึงรวมตัวกันคิดเรื่องการปลูกข้าวชูการ
ท�ำนาปลอดสารข้ึนมา” เธียรรัตน์ แก้วนะ หรือพี่รัตน์ ประธานกลุ่มวิสาหกิจเครือข่าย เธียรรัตน์ แกว้ นะ
นาอนิ ทรีย์อำ� เภอจะนะ (จะณะแบง่ สุข) ต.ป่าชิง อ.จะนะ จ.สงขลา พูดถึงท่มี าของจัดตัง้ กล่มุ
เมอื่ ปี พ.ศ.2548
อาชพี หลกั ของพรี่ ตั นแ์ ละคนอนื่ ๆ ในชมุ ชนบา้ นปา่ ชงิ คอื การทำ� สวนยางพารา แตเ่ มอื่
ยางพาราราคาตกตำ�่ จงึ ไดเ้ กดิ การรวมตวั กนั ขน้ึ และไดร้ บั การสง่ เสรมิ จากหนว่ ยงานของรฐั ทำ� ให้
ทางกลมุ่ ฯ เกดิ การเรียนรู้และตระหนักถงึ คณุ คา่ ของข้าวลกู ปลา ซ่งึ เปน็ ข้าวพันธดุ์ งั้ เดมิ ของคน
ป่าชิง “ความตั้งใจของเราน้ันเราอยากให้อนุรักษ์พันธุ์ข้าวไว้ อยากรักษาพื้นท่ีให้
เปน็ แบบน้ี มสี งิ่ แวดลอ้ มทดี่ ี ไมอ่ ยากให้ใครเขา้ มาทำ� ลายสง่ิ แวดลอ้ มทำ� ลายอากาศ
ทด่ี ี ซึ่งคนนอกทเ่ี ข้ามาสัมผสั พื้นที่ตรงน้เี ขาจะชอบเขาอยากใหอ้ ย่แู บบนี้ ซง่ึ ที่นาที่ วีรธ์ มิ า ศักดิศ์ ฤงคาร
มีดอี ยแู่ ลว้ พัฒนาสง่ เสรมิ พนื้ ท่ใี ห้เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทีย่ ว แหล่งเรียนรู้เชงิ เกษตรของ
เด็กๆ จะเปน็ การพัฒนาท่ียงั่ ยืน” พร่ี ตั น์พูดถึงความต้งั ใจในการดำ� เนินงานของกลมุ่ และความรู้สึกของตนทอ่ี ยากใหม้ ีการพฒั นา
ทสี่ อดคลอ้ งกับสภาพพ้นื ท่ีท่เี ปน็ อยู่
และเม่ือพูดถึงการขายข้าวลูกปลา วีรธ์ มิ า ศักดศ์ิ ฤงคาร หรอื พี่เก่ง ผ้ปู ระสานงานของกลุ่มฯ และนกั การตลาดชุมชนผู้รว่ ม
ผลักดันและด�ำเนินการให้ข้าวลูกปลาเป็นท่ีรู้จักในวงกว้างกล่าวว่า “บุคคลภายนอกอาจจะคิดว่าการท�ำข้าวลูกปลารายได้
นอ้ ยเพราะไมใ่ ช่ขา้ วท่ีตลาดต้องการ แตเ่ ป้าหมายหลักของชมุ ชนคอื ท�ำเพอื่ กินส่วนท่เี หลือกนิ ก็น�ำไปขาย ขายเทา่ ที่
เรามี ไม่จ�ำเป็นต้องทำ� ตามท่เี ขาต้องการ ไม่ตอ้ งทำ� ให้มากขายใหม้ าก ซง่ึ มันเปน็ ไปไม่ได้อยู่แล้ว แต่เราสามารถสรา้ ง
มูลค่าเพม่ิ ได้ด้วยการแปรรปู เช่น ขา้ วธรรมดากโิ ลกรมั ละ 35-40 บาท พอท�ำขา้ วกล้องงอกเราขายได้กโิ ลกรมั ละ
80 บาท เรามนี อ้ ยแต่เราพัฒนาใหด้ ีข้ึนได้”
ปัจจบุ นั ทางกลุ่มฯมีสมาชิกจำ� นวน 74 คน มีพน้ื ทนี่ าทีเ่ ข้ารว่ มการทำ� นาขา้ วปลอดภยั รวม 350 ไร่ และไดม้ กี ารแปรรูปเป็น
ผลติ ภณั ฑต์ า่ งๆ ซงึ่ เรมิ่ ตน้ จากการทำ� ซชู ขิ า้ วลกู ปลา ขา้ วกลอ้ งงอก แปง้ ขา้ วลกู ปลา และมกี ารตอ่ ยอดเปน็ ขนมและอาหาร ไดแ้ ก่ ขนมจนี
ขนมทองม้วนสด ขนมทองม้วนกรอบ คกุ ก้ีร�ำข้าวลกู ปลา และข้าวย�ำนอกกรอบ โดยได้รบั การส่งเสริมสนับสนุนจากหลายหน่วยงาน
เชน่ สถานบี รกิ ารวชิ าการชมุ ชนจะนะ สำ� นกั สง่ เสรมิ และบรกิ ารวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี คลนิ กิ เทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ศูนยว์ จิ ยั พนั ธขุ์ า้ วปตั ตานี วทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ศนู ยเ์ มลด็ พนั ธข์ุ ้าวปตั ตานี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา
และสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) และส�ำนกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ชาติ (สวทช.)
46 | ศักยภาพจะนะ
การทำ� นาตอ้ งทำ� ใหอ้ ดตี กบั ปจั จบุ นั เชอื่ มโยงกนั อดตี ดอี ยแู่ ลว้ นำ� ไปตอ่ ยอดใหด้ ขี นึ้ สรา้ งมลู คา่
ให้เพ่มิ ข้นึ ท่ีเขาว่าประเทศไทยอขู่ ้าวอูน้�ำในนำ้� มีปลาในนามีขา้ ว แตถ่ ้าเปลี่ยนเปน็ อุตสาหกรรมอดีตมนั
ก็จะล่มสลายไปกลายเป็นอะไรก็ไม่รู้ ซึ่งเราจะท�ำอะไรไม่ได้อีกต่อไป เราจะหารากเหง้าของเราไม่เจอ”
พ่ีรัตน์ กล่าวท้ิงทา้ ย
ร้สู กึ สบายใจเพราะว่าเราชอบ” เจะตี สุขเกษม อายุ
70 ปี ผสู้ ูงอายใุ นชุมชนบา้ นปา่ งาม ตำ� บลตลิ่งชนั สหี น้าเตม็ ไปด้วย
รอยยิ้มเม่ือถามถึงความรู้สึกในอาชีพปลูกผัก ซึ่งปลูกมาต้ังแต่อายุ
10 กวา่ ปี มบี างช่วงปลูกผักควบคไู่ ปกบั การเลี้ยงไก่เน้อื แต่ปจั จุบัน
ด้วยอายุที่มากข้ึน มะเจ๊ะตีจึงยึดอาชีพปลูกผักเป็นอาชีพหลักเพียง
อย่างเดียว โดยมีลูกชายเป็นผู้ปลูกให้ซ่ึงลูกชายมีอาชีพหลักคือ
เปดิ รา้ นซ่อมรถ
ปลกู พืชผกั หมุนเวียนตลอดทั้งปใี นเนื้อที่ 2 ไร่ เช่น พริก
แตงกวา ขา้ วโพด ถ่ัวพู และบวบ ถือหลกั ส�ำคญั คอื การไมใ่ ชส้ ารเคมี
ก�ำจัดศัตรูพืชโดยใช้ปูนขาวโรย ฉีดพ่นด้วยน้�ำส้มสายชู และน�้ำปูน
กินหมาก หนา้ ทหี่ ลกั ของมะเจ๊ะตีคอื การเก็บผลผลติ ในชว่ งเช้าและ
ช่วงเยน็ ช่วงกลางวนั นอนพกั ผ่อนอยู่บ้าน มีรายได้เดือนละ 6,000
- 7,000 บาท “อยู่บ้านเรา ชีวติ สบายแล้วคนแก่กม็ งี านท�ำ”
มะเจะตีกลา่ ว
ศักยภาพจะนะ | 47
ท�ำนามา 30 กวา่ ปแี ลว้ ไม่เคยหยุดเลย ทำ� ต้งั แต่ไมม่ ี
ลูก ถ้าหยุดท�ำเหมือนว่าขาดอะไรสักอย่างในฤดูท�ำนา นั่งดู
คนอื่นไปท�ำนาแล้วรู้สึกไม่สบายใจ” อามีดะ สีหมะ หรือก๊ะดะ
อายุ 52 ปี บ้านคูประดู่ ตำ� บลคู พูดถงึ ระยะเวลาในการทำ� นาของตน
ตั้งแตเ่ รม่ิ ท�ำและเหตผุ ลทท่ี ำ� นามาโดยตลอด
บา้ นคปู ระดู่ ตำ� บลคู เปน็ อกี หมบู่ า้ นหนง่ึ ในพน้ื ทอี่ ำ� เภอจะนะ
ที่คนในชุมชนมีการปลูกข้าวซึ่งส่วนใหญ่ปลูกเพ่ือบริโภคในครัวเรือน
โดยทำ� สวนยางเปน็ หลกั พอถงึ ฤดทู ำ� นาปกี ท็ ำ� นาซงึ่ มที ง้ั การทำ� ในทนี่ า
ของตนและเช่าท่ีนาของเพ่ือนบ้าน ซ่ึงราคาค่าเช่าอยู่ไร่ละ 100-300
บาท หรอื ไมค่ ดิ เงนิ เลยกม็ ี อยกู่ นั ในวถิ พี งึ่ พาอาศยั แบง่ ปนั กนั พนั ธข์ุ า้ ว
ท่ีคนบ้านคูประดู่นิยมปลูกมีท้ังข้าวพันธุ์พื้นบ้านและข้าวท่ีได้รับการ
สนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐ ได้แก่ ข้าวพันธุ์นางเอก ข้าวรวงงาม
ข้าวรวงรี ข้าวช่อลงุ ข้าวเล็บนก และขา้ วสำ� หรบั เลี้ยงนก
ก๊ะดะก็เป็นอีกคนหนึ่งท่ีท�ำนามาอย่างต่อเน่ืองเป็นประจ�ำ
ทกุ ปี ทำ� นา 3 ไร่ เปน็ ท่ขี องตน 1.5 ไร่ และทีน่ าเชา่ ของเพอ่ื นบ้าน
1.5 ไร่ จา่ ยค่าเช่า 300 บาท บางปที ำ� เยอะบางปีทำ� นอ้ ยแลว้ แต่ก�ำลัง
ทรพั ยแ์ ละสขุ ภาพในแตล่ ะปี เนน้ ปลกู ไวบ้ รโิ ภคในครวั เรอื นและแบง่ ปนั ญาตพิ นี่ อ้ ง สว่ นพนั ธข์ุ า้ วทก่ี ะ๊ ดะปลกู คอื ขา้ วเลบ็ นก เนอ่ื งจาก
มีการแตกกอดี รวงดก ข้าวสุกพร้อมเก็บเกี่ยวพร้อมกัน ท�ำให้ผลผลิตได้เยอะกว่าข้าวอ่ืน ซึ่งเป็นข้าวที่ได้รับการสนับสนุนมาจาก
โครงการฟื้นฟูนาร้าง เมือ่ 5-6 ปกี อ่ น นอกจากท�ำนากม็ กี ารเล้ียงววั เลีย้ งแพะประมาณ 4-5 ตวั
ปจั จบุ นั กะ๊ ดะไดร้ วมกลมุ่ กบั พนี่ อ้ งในชมุ ชนยนื่ จดทะเบยี นวสิ าหกจิ ชมุ ชนทำ� นาบา้ นคู โดยมจี ดุ ประสงคเ์ พอ่ื ลดพนื้ ทน่ี ารา้ ง
สนับสนุนการปลูกข้าวปลอดสารเคมี สร้างความสามัคคีและสร้างรายได้เสริมให้กับคนในชุมชน นอกจากการปลูกข้าวแล้วยังมี
เป้าหมายอนื่ ๆ เช่น การปลกู ผกั ในช่วงหลังฤดูเกบ็ เกีย่ วข้าว การเลย้ี งปลาในนาขา้ วตลอดจนการแปรรปู ปลาท่ีได้ ซ่งึ ตอนนีม้ ีสมาชกิ
10 คน และอยรู่ ะหว่างดำ� เนนิ การ
48 | ศักยภาพจะนะ
เดิมนั้นผมมีพันธุ์ส้มจุกอยู่แล้วมา
ฟื้นฟูใหม่ เป็นพันธุ์ท่ีรุ่นทวดรุ่นปู่ถ่ายทอดมา
ปลูกข้างบ้านปลูกตามยถากรรมไม่ดูแล
เท่าไหร่” ดนหลีม สุนทรมาลาตี หรือบังหลมี เจ้าของ
สวนคงุ้ คลองววั บา้ นเพนยี ด ตำ� บลแค อายุ 62 ปี กลา่ ว
ถึงที่มาของพันธสุ์ ม้ จุกท่ปี ลกู ในสวนของตน
สม้ จกุ ผลไมพ้ น้ื เมอื งทอ่ี ยคู่ กู่ บั อำ� เภอจะนะมา
นาน ด้วยรสชาติหวานอมเปรี้ยวและมีกลิ่นเฉพาะตัว
จึงท�ำให้เป็นผลไม้เศรษฐกิจท่ีมีความต้องการในตลาด
เป็นอยา่ งมาก จ�ำหน่ายได้ราคาดี เป็นพชื อตั ลักษณท์ ี่
สร้างชอื่ เสยี งใหแ้ กอ่ ำ� เภอจะนะ
ในปีพ.ศ.2525 บังหลีมได้เร่ิมทดลองปลูกที่
บ้านทุ่งครกในเน้ือท่ี 3 ไร่ ทดลองขยายพันธุ์โดยใช้
ตน้ สม้ โอกบั ตน้ มะนาวเปน็ ตน้ ตอในการเสยี บยอด และ
ทดลองใส่ปุ๋ย จนได้ข้อสรุปว่าการปลูกส้มจุกให้ได้
คุณภาพดีต้องปลูกต้นตอด้วยส้มพันธุ์พ้ืนเมืองหรือ
ส้มซ่า เม่ือต้นตออายุ 1 ปี จึงน�ำส้มจุกมาเสียบยอด
และที่ส�ำคัญการใส่ปุ๋ยไม่สามารถใส่มูลสัตว์ที่ผ่าน
การรดโซดาไฟและมูลสัตว์ที่กินอาหารส�ำเร็จรูปจาก
โรงงานได้ เพราะสารเคมีที่อยู่ในมูลสัตว์ท�ำให้ส้มจุก
ตาย สม้ จกุ จดั วา่ เปน็ สม้ ทด่ี แู ลยากกวา่ สม้ ชนดิ อนื่ หาก
ปลอ่ ยปละละเลยจะไดผ้ ลผลิตที่ไม่มีคุณภาพ
บังหลีมได้ปลูกส้มจุกในสวนของตนอย่าง
จริงจังเมื่อปี พ.ศ.2552 หลังจากได้ลองผิดลองถูกมา
หลายปี ซง่ึ เปน็ ช่วงทย่ี างมีราคาสงู เกษตรกรส่วนใหญ่
หนั ไปปลกู ยาง แต่บังหลมี กลบั สวนกระแสปลูกสม้ จุก
โดยการขยายพันธุ์จากต้นเดิมท่ีมีอยู่ ปัจจุบันบังหลีม
ท�ำสวนส้มจกุ ในเนอื้ ที่ 3 ไร่ เป็นอาชพี หลกั ให้ผลผลิต
ปีละหนึ่งคร้ัง ส้มจุกสวนบังหลีมจัดว่าเป็นส้มที่มี
คุณภาพ นำ้� หนกั 3-4 ผล ต่อกิโลกรัม ขายกโิ ลกรัมละ
200 บาท บังหลีมมีรายได้จากการขายส้มจุกเพียง
อยา่ งเดียว 200,000-300,000 บาทต่อปี เมื่อผลผลติ
เรม่ิ ตดิ จะมกี ารจองผา่ นทางเพจโดยมลี กู ชายเปน็ ผชู้ ว่ ย
ในการขาย นอกจากนี้ก็ยังมีต้นพันธุ์ส้มจุกขาย ซึ่งท้ัง
ผลส้มจุกและต้นพันธุ์ส้มขายทางเพจส้มจุก บ้าน
แคเหนอื ไมข่ ายหน้าร้านหรอื ตลาดทัว่ ไป
ศักยภาพจะนะ | 49