The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จากบทเรียนการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สร้างนักประดิษฐ์ประกอบภาพยนตร์สั้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นนักประดิษฐ์

จากบทเรียนการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สร้างนักประดิษฐ์ประกอบภาพยนตร์สั้น

Keywords: นักประดิษฐ์ม,สพฐ.

ทนั ทที ชี่ ดุ อปุ กรณเ์ สรจ็ ใบเตยและนานากล็ งพน้ื ทท่ี ำ� การเกบ็ ขอ้ มลู เพอื่ หา
ประสทิ ธภิ าพการใชง้ าน อปุ กรณต์ ดั นำ� ไปใหเ้ กษตรกรผทู้ ำ� สวนชะอมใชเ้ ปรยี บเทยี บ
กบั กรรไกรตดั กง่ิ สว่ นอปุ กรณเ์ ดด็ รดู นำ� ไปใหแ้ มบ่ า้ นและแมค่ รวั ใชเ้ ปรยี บเทยี บกบั
การเด็ดรูดด้วยมอื เปลา่ การประเมนิ ผลนับจากจำ� นวนก่งิ ทตี่ ัดเกบ็ และเด็ดรดู ใน 1
นาที
กอ่ นท�ำการเก็บขอ้ มูล ทง้ั คตู่ ้องมัน่ ใจวา่ กลมุ่ ตวั อยา่ งทุกคนสามารถใช้งาน
อุปกรณ์ได้คล่องแคล่ว จึงตอ้ งชว่ ยกนั สาธิตการใชง้ าน
“สวมหว่ งทน่ี ว้ิ กลางและนวิ้ นางสวมเชอื กทน่ี วิ้ โปง้ เปดิ อปุ กรณใ์ หย้ อดชะอม
อยู่กลางใบมีด ก�ำนิ้วทุกน้ิว พร้อมใช้อุ้งมือดันให้อุปกรณ์ปิด ใบมีดที่อยู่ภายใน
อปุ กรณจ์ ะตดั ยอดชะอม” นานาพดู พรอ้ มสาธติ อปุ กรณต์ ดั ใหก้ บั กลมุ่ ตวั อยา่ งทเี่ ปน็
เกษตรกรสวนชะอม
“ห่วงคลอ้ งทน่ี ิ้วหวั แม่มือ จบั อุปกรณ์ให้ตัวแหนบคว�่ำลง ใชแ้ หนบเป็นตัว
เด็ดยอดชะอมและใช้ตัวแผ่นที่มีร่องเป็นตัวรูดชะอม โดยให้ยอดอยู่ในร่อง ใช้น้ิวชี้
ประคองแล้วรูดจากยอดมาหาโคน” ใบเตยพูดพร้อมสาธิตอุปกรณ์เด็ดรูดกับกลุ่ม
ตวั อยา่ งท่เี ป็นแมบ่ ้าน แม่ครวั

แมผ้ ลการประเมนิ ทไ่ี ดด้ เู หมอื น
ไม่แตกต่างกับวิธีท่ีกลุ่มตัวอย่างใช้งาน
อยู่ประจ�ำ แต่ส่ิงที่กลุ่มตัวอย่างทุกคน
พดู เปน็ เสยี งเดยี วกนั คอื ความปลอดภยั
ท่ีได้จากการถูกหนามต�ำมือ บางคน
บอกว่าถ้าท�ำขายก็จะซ้ือใบเตยจ�ำได้
มีคุณแม่เพื่อนร่วมช้ันท่านหน่ึงได้
ทดลองใชอ้ ปุ กรณ์เดด็ รูด ท่านบอกว่า
“ใช้งานได้ดีมากๆ มือไม่
เหมน็ เขยี วกลน่ิ ชะอมเลย ถ้าท�ำขายแม่
ขอซื้อ 1 อนั นะ”

ภาพท่ี 3 แสดงการใชอ้ ุปกรณ์ตดั ตน้ ชะอม

46 • การพัฒนาผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ นกั ประดิษฐ์

ภาพที่ 4 การใชอ้ ปุ กรณร์ ดู ผกั ชะอม หว่ งคลอ้ งทน่ี วิ้ หวั แมม่ อื จบั อปุ กรณใ์ หต้ วั แหนบควำ่� ลง ใชแ้ หนบ
เป็นตัวเด็ดยอดชะอม และใช้ตัวแผ่นท่ีมีร่องเป็นตัวรูดชะอม โดยให้ยอดอยู่ในร่องใช้น้ิวชี้ประคอง
แลว้ รูดจากยอดมาหาโคน

ข้ันตอนต่อไปคอื การจัดทำ� เอกสารการพัฒนาส่ิงประดษิ ฐ์ชดุ อุปกรณ์ full
paper แผ่นพบั poster และ presentation ซึง่ หนไี ม่พ้นการลงพื้นทเี่ พอื่ เก็บภาพ
สวย ๆ พร้อมจัดท�ำวิดโี อดว้ ย
วันท่ีเร่ิมเก็บภาพทั้งคู่ก็ไปสวนชะอมคุณปู่เหน่งเช่นเดิม เป็นคร้ังแรกที่ได้
ทดสอบการท�ำงานจรงิ ในสวนชะอม เป็นเวลานานพอทจี่ ะท�ำใหร้ ้วู า่ เมอื่ เกษตรกร
นำ� อปุ กรณต์ ดั ของเธอไปใชแ้ ลว้ จะรสู้ กึ อยา่ งไร นานาเปน็ คนทไ่ี ดท้ ำ� การทดสอบกอ่ น
“ใบเตย มันเจ๋งจริงๆ นะ ตัดง่ายสุดๆ มือเราไม่ถูกหนามเลยล่ะ”นานา
บอกใบเตยดว้ ยใบหนา้ ยิ้ม
“แน่นอนอย่แู ล้ว นานา” ใบเตยพูดเสรมิ อยา่ งมนั่ ใจ
เม่ือวันแข่งขันใกล้เข้ามา เกือบทุกเย็นหลังเลิกเรียนอาจารย์ดวงพรจะนัด
นกั เรยี นทง้ั สองคนไปซอ้ มพดู นำ� เสนอ และซกั ซอ้ มการตอบคำ� ถาม โดยจะมอี าจารย์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ผลัดเปล่ียนกันมานั่งฟัง ซักถามและ
ให้ค�ำแนะน�ำต่าง ๆ ใบเตยจ�ำได้ดีในวันแรกท่ีซ้อมน�ำเสนอ อาจารย์ท่านหนึ่ง
ตอ้ งการเห็นการทำ� งานจรงิ ของชดุ อปุ กรณ์ จึงลงทุนขับรถไปซือ้ ซะอมมาใหส้ าธติ
“หนูสองคนอย่าลมื นะ แมส้ งิ่ ประดิษฐข์ องเราจะมุ่งเนน้ ทก่ี ารตัดชะอมแต่
เราก็สามารถน�ำเสนอได้ว่า อุปกรณ์เราไม่ได้ใช้กับการตัดชะอมเพียงอย่างเดียวแต่
สามารถตดั พืชที่มีหนามอื่น ๆ ได้ ไม่วา่ จะเป็นกหุ ลาบหรอื โปย๊ เซียน” อาจารยด์ วงพร
กำ� ชับกบั สองสาว

การพัฒนาผู้เรียนให้เปน็ นกั ประดิษฐ์ • 47

และแล้ววันแข่งขันก็มาถึง การน�ำ
เสนอท่ีบูทไม่มีปัญหา แต่ทีมต้องข้ึนไป
นำ� เสนอบนเวทดี ว้ ย มกี ารซกั ถามหลายคำ� ถาม
แต่กรรมการท่านหนึ่งยิงค�ำถามส�ำคัญที่
ท�ำให้ทงั้ ใบเตยและนานาถงึ กับหนา้ เสีย
“ท่ีญี่ปุ่นไม่มีชะอม แล้วจะเอา
อปุ กรณไ์ ปตดั อะไร” กรรมการทา่ นหนงึ่ ถาม
“ตดั กหุ ลาบคะ่ ” นานาตอบ
“แลว้ ทญ่ี ปี่ นุ่ เขาใชอ้ ะไรตดั กหุ ลาบ”
กรรมการท่านเดิมถามต่อ ใบเตยกับนานา
เงียบเพราะไม่ได้ศึกษาข้อมูลตรงนี้มา
ภาพที่ 5 การนำ� เสนอผลงานดว้ ยโปสเตอร์ กรรมการแนะนำ� สองสาวว่า
และวดิ โี อ ในการประกวดสง่ิ ประดิษฐ์

“เราตอ้ งรบู้ รบิ ทของประเทศทเ่ี ราจะไปดว้ ย เราตอ้ งรวู้ า่ เราจะเอาอปุ กรณ์
ของเราไปใชท้ ่ีโนน่ ได้ไหม” กรรมการอกี ทา่ นหน่งึ พดู เสริมขึ้น จากน้ันก็ตอบค�ำถาม
ของกรรมการทา่ นอน่ื ๆ อกี ไมน่ านทง้ั คลู่ งจากเวทดี ว้ ยใบหนา้ ผดิ หวงั เลก็ นอ้ ย ในใจ
คดิ ว่าตกรอบแน่ ๆ
เมื่อถงึ วินาทกี ารประกาศผล ไม่น่าเชือ่ ทีมโรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ ราชบรุ ี
เปน็ ทมี แรกใน 9 ทมี ทไ่ี ดร้ บั คดั เลอื กใหไ้ ปนำ� เสนอผลงานในเวทนี านาชาตทิ ป่ี ระเทศ
ญปี่ ุ่นในปีน้ี คนทดี่ ีใจสดุ ๆ ไมพ่ ้นนานา เธอร้วู ่าผลสำ� เรจ็ คร้ังนี้ อยู่ทีค่ วามพยายาม
และความตงั้ ใจจรงิ เพราะเธอไมม่ ปี ระสบการณอ์ ยา่ งใบเตยและเธอ ไมเ่ คยเดนิ ทาง
ไปตา่ งประเทศมากอ่ นเลย มีอะไรอีกมากมายทเ่ี ธอต้องเตรยี มตวั
เม่ือเสร็จส้ินการแข่งขันทีมที่ผิดหวังก็เก็บของกลับบ้าน ทีมที่เข้ารอบต้อง
เตรียมถ่ายรูปพรอ้ มสมั ภาษณเ์ พ่อื นำ� ไปออกรายการเสยี งแห่งอนาคต และเข้าร่วม
ฟังค�ำแนะน�ำจากคณะกรรมการของ สพฐ. คณะกรรมการส่วนใหญ่ให้ค�ำแนะน�ำ
ตอ้ งเพม่ิ การนำ� เสนอใหมเ่ พราะทญ่ี ป่ี นุ่ ไมม่ ชี ะอม ทำ� ใหเ้ ราตอ้ งเปลย่ี นชอื่ สงิ่ ประดษิ ฐ์
เป็นชุดอุปกรณ์ตัดไม้หนาม เท่ากับว่าทั้งใบเตยและนานาต้องเตรียมการน�ำเสนอ
ใหมเ่ กอื บทัง้ หมด ส�ำหรบั การไปแขง่ ขันทปี่ ระเทศญปี่ ุ่น

48 • การพฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ นักประดิษฐ์

ท้ังคู่ปรึกษากันว่าชุดอุปกรณ์ท่ีต้องเป็นพระเอกคืออุปกรณ์ตัด ซ่ึงต้อง
น�ำเสนอการตัดกุหลาบและโป๊ยเซียนเพิ่มเข้าไป ต้องหาต้นโป๊ยเซียนปลอมและ
ดอกกุหลาบปลอมไปจัดแสดง จัดท�ำวีดีโอ เป็นภาษาอังกฤษ ตลอดจนการท�ำ
โปสเตอร์ และแผน่ พับ สองคนแบ่งงานกันท�ำเปน็ อย่างดีเพอ่ื ให้ผลงานดีท่สี ุด และ
ทสี่ ำ� คญั การซ้อมนำ� เสนอเปน็ ภาษาอังกฤษ ตอ้ งซ้อมทกุ วัน ซง่ึ ทางอาจารย์ดวงพร
เป็นผู้ประสานไปยังกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศเพื่อให้อาจารย์
ชาวตา่ งชาตเิ ปน็ ผฝู้ กึ ซ้อมให้ โดยมีอาจารยส์ เุ ทพ พงศพ์ ิรยิ ะสกุล คอยให้คำ� แนะน�ำ
อยใู่ กล้ ๆ ทกุ ครัง้ อาจารย์สุเทพเป็นผทู้ ี่ช่วยในเรอื่ งการแปลเอกสารภาษาอังกฤษ
ให้กับทีม การเตรียมความพร้อมทุกอย่างเดินหน้าแบบไม่มีปัญหาและอุปสรรค
ส่วนหน่งึ มาจากการวางแผนการทำ� งานที่ดขี องทมี

ภาพท่ี 6 การใชอ้ ปุ กรณ์ตดั สวมหว่ งทีน่ ้วิ ส่วนอุปกรณเ์ ดด็ รดู ชะอมแม้
กลางและนิ้วนางสวมเชือกท่ีนิ้วโปง้ เปิด ไม่ใช่พระเอกแต่ก็เอาไปน�ำเสนอด้วย
อปุ กรณใ์ หก้ ง่ิ กุหลาบอย่กู ลางใบมีด กำ� น้วิ ทกุ เพราะหลายประเทศในแถบเอเชีย
นว้ิ พรอ้ มใชอ้ ุ้งมอื ดันให้อปุ กรณ์ปดิ ใบมีดที่ มีชะอมใหร้ บั ประทานกนั
อย่ภู ายในอปุ กรณจ์ ะตดั กิง่ กุหลาบ การนำ� เสนอผลงานทปี่ ระเทศ
ญ่ีปุ่นไม่ได้ใช้รูปแบบของการน�ำเสนอ
เหมือนรอบคัดเลือกตัวแทนประเทศ
แบบทบ่ี า้ นเรา ทน่ี นั่ เราตอ้ งอยปู่ ระจำ� บทู
รอให้กรรมการมาซักถาม รูปแบบ
การนำ� เสนอดเู หมอื นไมน่ า่ ตน่ื เตน้ เทา่ ไร
สาธิตการใช้งานบ้าง ให้ดูวิดีโอบ้าง
แต่ที่ส�ำคัญจะไม่ให้อาจารย์เข้ามา
ร่วมตอบข้อซักถามเด็ดขาด ท้ังใบเตย
และนานากอ็ ดกงั วลไมไ่ ด้ เพราะเกรงวา่
จะฟังกรรมการซักถามไม่เข้าใจ แต่
ภาษาอังกฤษของทั้งสองพอใช้ได้ ไม่มี
ปญั หาดา้ นการสอื่ สาร ตา่ งผลดั กนั ตอบ

การพฒั นาผเู้ รียนใหเ้ ป็นนักประดิษฐ์ • 49

ผลัดกันสาธิต ถ้ามีผู้สนใจเข้ามาหลายคน ก็แยกกัน
ต้อนรับผู้สนใจ นับว่าเป็นประสบการณ์ชีวิตที่ดีท่ีได้มี
โอกาสมาแข่งขนั ในเวทรี ะดับนานาชาตเิ ช่นน้ี
กอ่ นเดนิ ทางมาแขง่ ขนั 2 สปั ดาห์ คณุ พอ่ ใบเตย
แนะน�ำใบเตยให้นำ� วดิ โี อลง youtube ระหว่าง การน�ำ
เสนอทีป่ ระเทศญปี่ ุน่ ใบเตยและนานาตอ้ งไมล่ มื น�ำเสนอ
ว่าผลงานของเธอท้ังสองได้ลงใน youtube ในคืนแรก
ของการแขง่ ขนั ทญี่ ปี่ นุ่ ใบเตยไดเ้ ขา้ ไปดวู ดิ โี อใน youtube
และพบว่า มผี ู้สนใจเขา้ มาดเู ปน็ จำ� นวนมาก ใบเตยมัน่ ใจ
ว่าส่วนหน่ึงของผู้เข้ามาดูต้องเป็นกรรมการผู้ให้คะแนน
ภาพท่ี 7 แสดงการใช้ อย่างแน่นอน ส่ิงส�ำคัญอีกประเด็นหน่ึง คือ การจด
อุปกรณ์ตัดไมห้ นาม อนุสิทธิบัตร ซึ่งใบเตยได้ให้คุณพ่อช่วยด�ำเนินการตรงน้ี
ให้เพ่ือเพิ่มเครดิตของผลงาน แต่เนื่องจากมีเวลาไม่มากจึงทำ� เร่ืองจดอนุสิทธิบัตร
เฉพาะอปุ กรณ์ตัดช้ินเดียว เพราะการจดอนสุ ทิ ธิบตั รมขี ้นั ตอนยุ่งยากพอควร และ
มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างมาก (ในความรู้สึกของใบเตย) เลยเอาช้ินท่ีเป็นพระเอกจด
ชิ้นเดียวก่อน

บนเวที IEYI แห่งนี้นอกจาก
ความส�ำเร็จการได้รับรางวัลเหรียญทอง
ด้านอาหารและการเกษตรแล้ว ยังได้รับ
รางวัลพิเศษจากประเทศเวียดนามใน
ฐานะท่ีได้คะแนนรวมสูงสุดด้านอาหาร
และการเกษตรอีก สร้างความยินดีให้
อาจารย์ดวงพรและนักเรียนท้ังสองเป็น
อยา่ งมาก อาจารยด์ วงพรรสู้ กึ ภมู ใิ จในตวั
ใบเตยทนี่ ำ� ความสำ� เรจ็ และนำ� ชอ่ื เสยี งมา
ให้โรงเรียนในเวทีนานาชาติสองปีซ้อน
และภมู ใิ จในตวั นานาทม่ี คี วามมงุ่ มนั่ ตง้ั ใจ
ร่วมน�ำความส�ำเร็จมาให้ทีม แม้จะเป็น

50 • การพัฒนาผ้เู รียนให้เป็นนักประดษิ ฐ์

ครั้งแรกก็ไม่ได้ท�ำให้อาจารย์ผิดหวัง ส่วนใบเตยและนานานั้นนอกจากความภูมิใจ
ในผลงานของตนเองแล้วท้ังคู่ยังได้รับประสบการณ์ชีวิตหลายอย่าง ต้ังแต่ย่างเท้า
มายงั เมอื งนาโกยา ซงึ่ เปน็ เมอื งอตุ สาหกรรมแหง่ หนงึ่ ของประเทศญปี่ นุ่ ไดเ้ หน็ ความ
เจรญิ กา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยี ไดเ้ รยี นรวู้ ฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มและประเพณขี อง
คนญี่ปุน่ แม้จะเปน็ ชว่ งเวลาสัน้ ๆ เพยี งไม่กว่ี นั แตท่ ้ังสองคนกไ็ ม่มีวนั ลืม
สิ่งประดิษฐ์ของเธอทั้งสองแม้ไม่ได้ส่งไปเข้าร่วมแข่งขันในเวทีใดๆอีก แต่
ชนิ้ งานไดก้ ลบั มานำ� เสนอใหพ้ ่ี ๆ นอ้ ง ๆ ในโรงเรยี นไดช้ มกนั เปน็ การสรา้ งแรงจงู ใจ
ใหม้ ผี อู้ ยากทำ� สงิ่ ประดิษฐ์มากขึ้น มกี ารจดั บทู เพ่อื นำ� เสนอในงานวชิ าการโรงเรยี น
งานประเมินนกั เรยี นพระราชทาน ใบเตยมกั จะพดู ให้เพอ่ื น ๆ ฟงั อยูเ่ สมอ ๆ วา่
“การทำ� ส่งิ ประดิษฐไ์ มย่ ากนะ แต่ต้องวางแผนการทำ� งานท่ดี ”ี
“สิง่ ประดษิ ฐท์ ด่ี ี ตอ้ งตอบโจทย์ปัญหาของเราได้”
“มคี วามเปน็ ไปไดน้ อ้ ยมากทที่ ำ� สง่ิ ประดษิ ฐแ์ ลว้ สามารถใชง้ านไดด้ ี โดยไมม่ ี
การแกไ้ ข”
และจากเวที IEYI คร้ังนที้ �ำใหใ้ บเตยได้ขอ้ คดิ การจดั ท�ำสิ่งประดษิ ฐ์เพอ่ื ให้
ประสบความสำ� เร็จและไดร้ บั รางวลั วา่
“จะทำ� ส่ิงประดิษฐ์ไปแข่งท่ีประเทศไหน ต้องรู้บรบิ ทของประเทศนั้นดว้ ย
ว่า สามารถน�ำไปใช้จริงที่นั่นได้หรือไม่” ถ้าใบเตยและนานาไม่เพิ่มกุหลาบและ
โปย๊ เซียนก็คงไมไ่ ดร้ างวัลแน่ ๆ
ท้ังหมดน้ีคือ สิ่งที่ใบเตยใช้เป็นแนวทางในการจัดท�ำสิ่งประดิษฐ์ต้ังแต่
สมยั เดก็ ๆ เปน็ การเรยี นรทู้ ไ่ี ดจ้ ากประสบการณจ์ รงิ แตก่ ารนำ� เสนอเปน็ เรอื่ งทม่ี อง
ข้ามไม่ได้ ต้องเตรียมความพร้อมให้ดีไม่ว่าจะเป็นการจัดท�ำวิดีโอ presentation
แผ่นพับ poster และที่ส�ำคัญท่ีสุดคือ ตัวเรา ต้องน�ำเสนอให้ชัดเจน ครอบคลุม
น่าสนใจ น�้ำเสียง ลีลาท่าทาง ล้วนแต่มีความส�ำคญั ทงั้ สิน้

การพฒั นาผูเ้ รียนให้เปน็ นักประดษิ ฐ์ • 51

วเิ คราะห์บทเรยี น

เมอื่ ทา่ นศกึ ษาบทเรยี นเรอ่ื งชดุ อปุ กรณต์ ดั ไมห้ นามแลว้ โปรดสะทอ้ นบทเรยี น
โดยตอบคำ� ถามตอ่ ไปนี้
1. ครูจัดการเรียนรู้โดยผเู้ รยี นเปน็ ศูนย์กลาง อย่างไร
................................................................................................................................
................................................................................................................................
2. ครูออกแบบการจดั การเรยี นรู้อย่างเป็นระบบได้อยา่ งไรบ้าง
................................................................................................................................
................................................................................................................................
3. ทกั ษะท่ีครูตอ้ งฝึกให้ผเู้ รียนเพอื่ เปน็ นักประดษิ ฐ์ มอี ะไรบ้าง
................................................................................................................................
................................................................................................................................
4. คุณลักษณะของนกั ประดษิ ฐ์จากบทเรยี นนี้คอื อะไร
................................................................................................................................
................................................................................................................................
5. ผ้เู รยี น เรียนรผู้ ่านการปฏบิ ตั ิกิจกรรม (Activity Base Learning) และทำ� ให้
ผูเ้ รียนสามารถสรา้ งองค์ความรดู้ ้วยตนเอง อย่างไรบ้าง
................................................................................................................................
................................................................................................................................
6. ครูเป็นที่ปรึกษา (coach) ผู้อ�ำนวยให้เกิดการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
เป็นผ้สู นบั สนุนผ้ใู หก้ �ำลงั ใจ (cheer up) ให้ผเู้ รยี นคดิ ส่งิ ประดษิ ฐ์ไดอ้ ย่างไรบ้าง
................................................................................................................................
................................................................................................................................
7. ทา่ นจะประยกุ ตบ์ ทเรยี นเรอ่ื งนไ้ี ปใชเ้ ปน็ แนวทางในการจดั การเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นา
ทกั ษะและคณุ ลักษณะนักประดิษฐ์ใหก้ ับผ้เู รียนของทา่ นอย่างไร
................................................................................................................................
................................................................................................................................
52 • การพัฒนาผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ นกั ประดิษฐ์

เรื่องที่ 3 การจัดการเรียนร้ขู องครูชำ� นาญพงษ์ เจริญผล

และเรื่องเล่าการสร้างสิ่งประดิษฐ์เร่ืองถุงกระดาษ ไคโตซาน
ดูดซับไขมันในอาหาร โรงเรียนวังน้อย (พนมยงค์วิทยา)
สงั กดั ส�ำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 3

“ความสำ� เร็จไม่ได้มาเพราะโชคชว่ ย
แต่…ขน้ึ อยู่กบั ความต้ังใจและ
พยายาม จงหมัน่ เพียร
ขยนั ซอ้ ม ซอ้ ม และกซ็ อ้ ม”

ภาพยนตร์สน้ั การจัดการเรียนร้แู ละการสรา้ งส่ิงประดษิ ฐ์เรือ่ ง
ถงุ กระดาษ ไคโตซาน ดดู ซบั ไขมนั ในอาหาร

ความเป็นมา

กิจกรรมชุมนุมโครงงานวิทยาศาสตร์เป็นการจัดเตรียมความพร้อมของ
ผู้เรียน เพ่ือการแข่งขัน ทั้งภายในและภายนอกประเภทศ เป็นการส่งเสริมและ
พฒั นาผเู้ รยี นใหร้ อบรใู้ นเรอื่ งทจี่ ดั ทำ� เปน็ การเพมิ่ ศกั ยภาพผเู้ รยี น และเตรยี มชน้ิ งาน

การพัฒนาผู้เรียนให้เปน็ นักประดิษฐ์ • 53

เมอ่ื พบปญั หานกั เรยี นสามารถแกไ้ ขปญั หาโดยอาศยั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความถนัดและสนใจในการค้นคว้าในด้านวิทยาศาสตร์เพ่ิมขึ้น
โดยมกี ารคิดวเิ คราะห์ คดิ สังเคราะห์ สรา้ งสรรค์และ มวี จิ ารณญาณ

วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ กระบวนการเกี่ยวกับการจัดท�ำ
โครงงานวิทยาศาสตร์
2. เพื่อให้นักเรียนจัดเตรียมผลงานเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
เพื่อการแข่งขนั ทง้ั ภายในและภายนอกประเทศ

การจัดการเรยี นรู้

ในการจดั การเรยี นรจู้ ะใช้ การจดั การเรยี นรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐาน (PROJECT
-BASED LEARNING)
1. การเตรียมตวั ของครกู ่อนการจดั การเรียนรู้

ในการจัดการเรียนรู้แต่ละคร้ัง ครูจะต้องเป็นผู้ท่ีมีความพร้อมและมี
ความแม่นย�ำในเนื้อหาเพ่ือให้การจัดการเรียนรู้เป็นไปอย่างราบร่ืนและสามารถ
อ�ำนวยความสะดวกให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ขณะปฏิบัติกิจกรรม ซึ่งการจัด
กิจกรรมการเรยี นรู้ดงั กล่าว มีแนวทางในการจัดการเรยี นรู้ 2 รปู แบบ คือ การจัด
กิจกรรมตามความสนใจของผู้เรยี น และการจดั กจิ กรรมตามสาระการเรยี นรู้

1.1 การจดั กจิ กรรมตามความสนใจของผเู้ รยี น เปน็ การจดั กจิ กรรม
ท่ีให้ผู้เรียนเลือกศึกษาโครงงานจากส่ิงที่สนใจอยากรู้ที่มีอยู่ในชีวิตประจ�ำวัน
สิ่งแวดล้อมในสังคมหรือจากประสบการณ์ต่าง ๆ ที่ยังต้องการค�ำตอบ ข้อสรุป
ซ่ึงอาจจะอยู่นอกเหนือจากสาระการเรยี นรใู้ นบทเรยี นของหลักสูตร มขี น้ั ตอนดังน้ี
– ตรวจสอบ วเิ คราะห์ พจิ ารณา รวบรวม ความสนใจของผเู้ รยี น
– กำ� หนดประเด็นปัญหา/หัวข้อเร่อื ง
– กำ� หนดวัตถุประสงค์

– ตั้งสมมติฐาน
54 • การพัฒนาผู้เรียนใหเ้ ปน็ นกั ประดิษฐ์

– กำ� หนดวิธกี ารศึกษาและแหล่งความรู้
– กำ� หนดเค้าโครงของโครงงาน
– ตรวจสอบสมมติฐาน
– สรปุ ผลการศกึ ษาและการนำ� ไปใช้
– เขยี นรายงานวิจยั แบบง่าย ๆ
– จดั แสดงผลงาน
1.2 การจัดกิจกรรมตามสาระการเรียนรู้ เป็นการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้โดยยึดเนื้อหาสาระตามท่ีหลักสูตรก�ำหนด ผู้เรียนเลือกท�ำโครงงาน
ตามทสี่ าระการเรยี นรู้ จากหนว่ ยเนอื้ หาทเี่ รยี นในชน้ั เรยี น นำ� มาเปน็ หวั ขอ้ โครงงาน
มขี ้ันตอนทผี่ ้สู อนดำ� เนนิ การดงั ต่อไปนี้
– ศกึ ษาเอกสาร หลักสตู ร ค่มู อื ครู
– วเิ คราะห์หลักสตู ร
– วิเคราะหค์ �ำอธบิ ายรายวิชา เพอ่ื แยกเนื้อหา จดุ ประสงค์และ
จัดกิจกรรมใหเ้ ด่นชดั
– จัดทำ� ก�ำหนดการสอน
– เขียนแผนการจัดการเรยี นรู้
– ผลิตส่ือ จัดหาแหลง่ เรยี นร้แู ละภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ
– จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเริ่มต้ังแต่ แจ้งวัตถุประสงค์
กระตนุ้ ความสนใจของผ้เู รียน จัดกลมุ่ ผู้เรยี นตามความสนใจ การใช้คำ� ถามกระตุ้น
การมีส่วนร่วมของผู้เรียน ซ่ึงจะกล่าวถึงรายละเอียดในหัวข้อ บทบาทของครู
ในฐานะผกู้ ระตนุ้ การเรยี นรู้
– จัดแหลง่ เรียนรเู้ พม่ิ เติม
– บนั ทึกผลการจัดการเรยี นรู้
ขนั้ ตอนการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน
การจดั การเรยี นรแู้ บบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐานนนั้ มกี ระบวนการและขน้ั ตอน
แตกตา่ งกันไปตามแต่ละทฤษฎี

การพฒั นาผู้เรยี นใหเ้ ปน็ นักประดษิ ฐ์ • 55

การจดั การเรยี นรแู้ บบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน ทป่ี รบั จากการศกึ ษาการจดั การ
เรยี นรแู้ บบ PBL ทไ่ี ดจ้ ากโครงการสรา้ งชดุ ความรเู้ พอื่ สรา้ งเสรมิ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษ
ที่ 21 ของเดก็ และเยาวชน: จากประสบการณค์ วามสำ� เรจ็ ของโรงเรยี นไทยของ ดษุ ฎี
โยเหลาและคณะ (2557) โดยมีทัง้ หมด 6 ขน้ั ตอน ดังน้ี

ภาพที่ 3 การจดั การเรยี นรู้แบบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน (แบบ PBL)
(ปรบั ปรุงจาก ดษุ ฎี โยเหลาและคณะ, 2557: 20-23)

ในการจดั การเรยี นรแู้ บบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐานครงั้ น้ี ไดน้ ำ� แนวคดิ ทป่ี รบั ปรงุ จาก ดษุ ฎี
โยเหลาและคณะ (2557: 20-23) ซงึ่ เปน็ แนวทางการจดั การเรยี นรทู้ ส่ี รา้ งขน้ึ มาจาก
การศึกษาโรงเรยี นในประเทศไทย โดยมขี นั้ ตอนดงั น้ี
1. ขนั้ ใหค้ วามรพู้ นื้ ฐาน ครใู หค้ วามรพู้ น้ื ฐานเกย่ี วกบั การทำ� โครงงานกอ่ น
การเรียนรู้ เน่ืองจากการท�ำโครงงานมีรูปแบบและข้ันตอนท่ีชัดเจนและรัดกุม
ดังน้ันนักเรียนจึงมีความจ�ำเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับโครงงานไว้เป็น
พ้ืนฐาน เพ่อื ใช้ในการปฏิบตั ขิ ณะทำ� งานโครงงานจรงิ ในข้นั แสวงหาความรู้

2. ขน้ั กระตนุ้ ความสนใจ ครเู ตรียมกจิ กรรมทจ่ี ะกระตนุ้ ความสนใจของ
นักเรียน โดยต้องคิดหรือเตรียมกิจกรรมท่ีดึงดูดให้นักเรียนสนใจ ใคร่รู้ถึงความ
สนกุ สนานในการทำ� โครงงานหรอื กจิ กรรมรว่ มกนั โดยกจิ กรรมนนั้ อาจเปน็ กจิ กรรม
56 • การพัฒนาผู้เรยี นให้เปน็ นกั ประดษิ ฐ์

ทค่ี รกู �ำหนดขึน้ หรืออาจเป็นกิจกรรมทีน่ ักเรียนมีความสนใจต้องการจะท�ำอย่แู ล้ว
ท้ังน้ี ในการกระตุน้ ของครูจะตอ้ งเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นเสนอจากกจิ กรรมท่ีได้เรยี นรู้
ผ่านการจัดการเรียนรู้ของครูท่ีเก่ียวข้องกับชุมชนท่ีนักเรียนอาศัยอยู่หรือเป็นเรื่อง
ใกล้ตวั ทสี่ ามารถเรียนรูไ้ ด้ด้วยตนเอง

3. ขั้นจัดกลุ่มร่วมมือ ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกันแสวงหาความรู้
ใชก้ ระบวนการกลมุ่ ในการวางแผนดำ� เนนิ กจิ กรรม โดยนกั เรยี นเปน็ ผรู้ ว่ มกนั วางแผน
กจิ กรรมการเรยี นของตนเอง โดยระดมความคดิ และหารอื แบง่ หนา้ ทเ่ี พอ่ื เปน็ แนวทาง
ปฏิบัติร่วมกัน หลังจากที่ได้ทราบหัวข้อส่ิงที่ตนเองต้องเรียนรู้ในภาคเรียนน้ัน ๆ
เรียบร้อยแลว้

4. ข้ันแสวงหาความรู้ ในข้ันแสวงหาความรู้มีแนวทางปฏิบัติส�ำหรับ
นกั เรียนในการทำ� กิจกรรม ดังน้ี
นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมโครงงาน ตามหัวข้อท่ีกลุ่มสนใจ นักเรียน
ปฏบิ ัติหนา้ ท่ีของตนตามข้อตกลงของกลมุ่ พรอ้ มทั้งรว่ มมอื กันปฏบิ ัตกิ ิจกรรม โดย
ขอคำ� ปรกึ ษาจากครเู ปน็ ระยะเมอ่ื มขี อ้ สงสยั หรอื ปญั หาเกดิ ขนึ้ นกั เรยี นรว่ มกนั เขยี น
รปู เล่ม สรปุ รายงานจากโครงงานทต่ี นปฏบิ ัติ

5. ขั้นสรุปสิ่งที่เรียนรู้ ครูให้นักเรียนสรุปส่ิงที่เรียนรู้จากการท�ำกิจกรรม
โดยครใู ช้คำ� ถาม ถามนักเรียนนำ� ไปสกู่ ารสรุปสิง่ ที่เรยี นรู้

6. ขนั้ นำ� เสนอผลงาน ครใู หน้ กั เรยี นนำ� เสนอผลการเรยี นรู้ โดยครอู อกแบบ
กิจกรรมหรือจัดเวลาให้นักเรียนได้เสนอสิ่งท่ีตนเองได้เรียนรู้ เพื่อให้เพ่ือนร่วมช้ัน
และนักเรียนอื่น ๆ ในโรงเรียนได้ชมผลงานและเรียนรู้กิจกรรมท่ีนักเรียนปฏิบัติ
ในการทำ� โครงงาน

ผลการจัดการเรยี นรู้

นักเรียนมีความรู้ มที กั ษะทางวิทยาศาสตร์ สามารถคน้ พบศกั าภาพของ
ตนเอง นกั เรียนตระหนกั เหน็ คุณคา่ ในตัวเอง มคี วามภาคภมู ิใจในการสร้างช่อื เสยี ง
ใหต้ นเอง ครู และโรงเรียน

การพัฒนาผ้เู รียนใหเ้ ปน็ นักประดษิ ฐ์ • 57

ผลจากการจดั การเรียนรู้ได้ สงิ่ ประดษิ ฐท์ ่ีเกดิ จากการ
จดั การเรยี นรู้ ได้แก่

1. ถงุ กระดาษไคโตซานดดู ซบั นำ�้ มนั ในอาหาร(ไดร้ บั รางวลั เหรยี ญ
ทองแดงและสเปเชยี ลอวอวด์ ในการแข่งขนั ส่ิงประดิษฐ์นานาชาติ
IEYI 2016 ณ เมอื งฮาร์บิน สาธารณรฐั ประชาชนจีน)
2. กระถางปลกู พืชมีหวั (เขา้ รอบสดุ ทา้ ยสิง่ ประดษิ ฐ์แนวคดิ ใหม่
2561 ระดับประเทศ)

3. กระถางรกั ษน์ ำ้� (การประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ระดบั ภาค
องค์การพพิ ิธภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.)

4. เครอื่ งชงั่ นำ้� หนกั แรงดันน้ำ� BMI (เข้ารอบสดุ ทา้ ยส่งิ ประดิษฐ์
แนวคิดใหม่ 2559 ระดบั ประเทศ)
5. แผน่ รองรองเทา้ จากเปลอื กทเุ รยี น (เขา้ รอบสดุ ทา้ ยสงิ่ ประดษิ ฐ์
แนวคิดใหม่ 2559 ระดับประเทศ)

6. อุปกรณ์ช่วยแกะเน้ือปู (เหรียญทอง ในงานศิลปหัตถกรรม
นักเรียน ระดบั เขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต 3 ปีการศกึ ษา
2560)
7. เฟอรน์ เิ จอรจ์ ากเปลอื กหอยแครง (เขา้ รอบสดุ ทา้ ย ในรายการ
แข่งขนั นวตั กรรมลดขยะทต่ี ้นทาง ปี 2561 กรมส่งเสรมิ คุณภาพ
ส่ิงแวดล้อม

58 • การพฒั นาผูเ้ รยี นให้เปน็ นักประดิษฐ์

กกรระะบบววนนการรสสาํ ำ�คคญั ญั สงสผง่ลผตอลกตาอ่รเกปานรนเกัปปน็ รนะดักิษปฐร ะดิษฐ์

สงั เกต ตงั้ คําถาม สมมตุ ิฐาน

สงิ่ ประดิษฐ์ สรุปผล ทดลอง

สำ� หรบั สง่ิ ประดษิ ฐ์ ถงุ กระดาษไคโตซานดดู ซบั
นำ�้ มนั ในอาหสาราํ ทหไี่รดับร้ สบั ่งิ รปารงะวดลั ษินม้ีฐกี ถรงุ ะกบรวะนดกาาษรไปครโตะซดาษิ นฐด์ ดู ซับนาํ้ มนั
คใดิ นแอบาบหการระทบไี่ วดนรบัการราทงวาลังวนทิ ม้ี ยีการศะาบสวตนรก์ โาดรยปเระมิ่ ดจิษากฐก าร
สคังเิดกแตบสบิ่งตก่ารงะบๆวนทกี่อายรรู่ ทอาบงวๆิทยตาวั ศเราาสตกรารตโดัง้ ยปเญั ริ่มหจาาตกัง้การสงั เกต
สสมงิ่มตตาิฐงานๆ ทด่อี ลยอูรงอบสรๆปุ ผตลัวเจรนาไกดา้สริ่งตป้ังรปะญดิษหฐา์ขตึ้นงั้ มสามเมพตือ่ ฐิ แากนป้ ทญั ดหลาอในงชีวิตประจ�ำวัน
สสวสส่่ิงปนวรุปนรใหะผใหญดลิญษจ่ จฐะจน์ทไะมไี่นไดค่ม�ำสอ่คขิ่งยอ ปไยงดรเไะใ้หดชดลใเ้ ษิชงือนิเฐใงชจขินา้ม้นึ จกามาโทากร�ำงโเใรพรหงยี่ือเ้ รกนแยีิดกเนพปปรรญเาพะหะโรยสาาชงิ่ใะนปนสชร์โิง่ ดะีวปดติยรษิมปะีคฐดรส์ะริษจูชว่ ฐนาํ�ำสวนใว หนั านญญใหท่พญคี่งษดิ  ข์ เนึ้ จจรคะิญณุ เปผคน็ลรูชํานาญพงษ์ เจ
คทอย่ีคใิดหขค้ ึน้ ำ� จปะรเกึปษน าสแ่งิ ปนระะนดำ� ิษชฐว่ ทยีน่เหาํ ลขอื พงเฒั หนลาือทใชกั มษาะททําาใงหวเทิ กยิดาปศราะสโตยรช์ นให โ้ อกาสในการ
แสโดดยงมศีคกั รยชูภาํ นพาขญองพนงกัษเรเยีจนรญิ นผกั ลเรยีคนอตยรใหะหค นาํ ปกั รเึกหษน็ าคณุ แนคาะ่ ในนําตชวั เว อยงเหมลคี ือวามภาคภมู ใิ จ
ในพกฒั านรสารทา้ ักงษชะ่ือทเสาียงงวิทไดย้ราบัศคาส�ำชตมรจใาหกโ คอรกอาบสใคนรกัวาเรพแ่อื สนดงคศรกั ู ชยมุภชานพแขลอะงปนักระเรเทียนศชนาักตเิ รียนตระหนกั
ตวั เอง มคี วามภาคภมู ิใจในการสรางชอ่ื เสียง ไดร ับคําชมจากครอบครัว เพือ่ น ครู ชมุ ชนและป
คุณลกั ษณะและทกั ษะของนกั เรยี นทจ่ี ะกา้ วเข้าสคู่ วามเป็น

นกั ประดษิ ฐ์
คณุ ลกั ษณะและท ผักู้เรษียะนขเอปกง็านนรสจัก�ำัดคเรกัญียิจทกนี่มรทีรกจี่ มาะรกกใาหาร้กนวาักเขรเรเารียสียนคูนฝวกึกาากรมาสเรปอปนนฏโนดิบกัยัตปเิจนรร้นิงะดิษฐ

การจัดกิจกทร�รำมใหกา้นรักาเรีเยรนียนไดกา้มรีทสัอกนษโะดกยเานรนสผังูเเรกียตนเปกนาสรําตคั้งัญปทัญ่ีมหีการใหนักเรียนฝ
ทําใหนักเรียนไดมีทักษตะั้งกสามรมสตังิฐเกาตน กทาดรลตอ้ังงปสญรุหปผาลต้ังมสีคมวมาตมิฐคาิดนสรท้าดงลสรอรงคส์แรุลปะผล มีความคิด
สามารถคิดสรางสิ่งประสดามิษาฐรขถึ้นคมิดาสเพร้าื่องแสก่ิงปญระหดาิษในฐช์ขีว้ึนิตมปารเพะ่ือจําแวกัน้ปไัญดหาในแชลีวะิตการจัดการเรีย
ใปนภครตะุณานจยธเำ�หอรวนรงนั มามไบจดสี นร้ ัมิยพมแธ้ืนาลรฐคะราากมนราทวครี่ดะจุณีงดัทาธกำ�มราใรหรมมเ้ผีวรต้เูิยีนลรนัยียอรในดนทู้ มจต่สี ีคนนอณุกดเาอลแรงกั ทอษมรยณกีสูรควัมะมุณทมกา่ีดธันครีสรใาง่ นมรผสวจละังรใคนิยทมธกํารไาใดรรหมอใชผทยช้ูเี่ดารวี งีงียติมานภมีคมาวยมีคาหวีุมณินนสลยั้าุขักษณกาะรทฝ่ีดกีสใหงผน
ในการคนควาทางวิทยาศาสตรจะทําใหนักเรียนมีพัฒนาการอยางตอเน่ืองเปนนักคิด นักปร
นวัตกรทเ่ี กง และดไี ดใ นอนาคต การพัฒนาผู้เรยี นใหเ้ ปน็ นักประดษิ ฐ์ • 59

บนพ้ืนฐานคุณธรรมตลอดจนการอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข การฝึกให้
นักเรียนมีทักษะในการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์จะท�ำให้นักเรียนมีพัฒนาการอย่าง
ต่อเนอื่ งเป็นนกั คดิ นักประดษิ ฐ์ และเป็น นวตั กรทเ่ี กง่ และดีได้ในอนาคต

ปัจจัยทที่ ำ� ให้ประสบความสำ� เรจ็

นกั เรียน นกั เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง รว่ มมือกนั ท�ำงานอย่างตอ่ เน่ือง
คร ู ครคู อยอำ� นวยชว่ ยเหลอื กระตุ้นใหน้ กั เรยี นคน้ หาคำ� ตอบด้วยตวั เอง
ผ้บู ริหาร มนี โยบายสง่ เสรมิ ครแู ละนกั เรยี นเขา้ รว่ มกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทง้ั หนว่ ยงาน
ตน้ สงั กดั และภาคเอกชนเพอ่ื เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพของครแู ละนกั เรยี น
อย่างตอ่ เนอื่ งใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ

ข้อคิด …

การทำ� โครงงานวิทยาศาสตร์ ให้ส�ำเร็จ

1. การบนั ทกึ ขอ้ มลู โครงงาน
สิ่งส�ำคัญที่สุดในการท�ำโครงงาน คือการบันทึกข้อมูลอย่างถูกต้อง
มีรายละเอียดที่ชัดเจน สมเหตุสมผลและละเอียดรอบคอบ ซึ่งจะช่วยให้การเขียน
รายงานมีความถกู ต้องสมบรู ณ์
2. การปรกึ ษา
ควรขอค�ำปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษาหรือผู้เช่ียวชาญอย่างสม�่ำเสมอ
เพื่อให้การท�ำโครงงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและตรงตามแผนท่ีก�ำหนดไว้
ซึ่งการพูดคุยกับที่ปรึกษาจะท�ำให้เราได้แนวคิดในการท�ำการทดลองเพิ่มเติมหรือ
เขา้ ใจความเชือ่ มโยงของโครงงานและประโยชน์ของโครงงานไดม้ ากข้นึ
3. การอ้างอิง
นกั วทิ ยาศาสตรท์ ดี่ ี จำ� เปน็ ตอ้ งมจี รยิ ธรรมในการวจิ ยั ดงั นนั้ เอกสาร หรอื
รูปภาพที่น�ำมาใช้ต้องแสดงเอกสารอ้างอิงให้ถูกต้องเพ่ือเป็นการให้เกียรติแก่ผู้อ่ืน
อย่างเหมาะสม

60 • การพฒั นาผเู้ รยี นให้เปน็ นกั ประดิษฐ์

เร่ืองเล่าการสร้างสิ่งประดิษฐ์ของนักเรียนเรื่องถุงกระดาษ
ไคโตซานดดู ซับไขมันในอาหาร(Chitosan paper Bag Absort
Fats in the Food) โรงเรียนวังน้อย (พนมยงค์วิทยา) อ�ำเภอ
วังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รางวัลเหรียญทองแดงและ
รางวลั สเปเชยี ลอวอรด์ จากประเทศญี่ปนุ่ จากการประกวดเวที
นานาชาติ International Exhibition For Young Inventers
(IEYI 2016) ณ เมืองฮาร์บนิ สาธารณรัฐประชาชนจีน

นางสาวพิมพ์มาดา เงินมาก (เนย)
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5

ภาพที่ 1 ถงุ กระดาษไคโตซานดดู ซบั ไขมนั ในอาหาร

นางสาวรตั นาภรณ์ ชัยอินทรศ์ นู ย์ (นก) จากการศึกษาข้อมูลพบว่า ในประเทศ
ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ของเรานยิ มรบั ประทานอาหารจำ� พวกกงุ้ หอย ปู
เปน็ สว่ นใหญเ่ พราะหาไดง้ า่ ย และมรี าคาถกู สว่ น
เปลือกทีเ่ หลือจากการรับประทานนนั้ ถูกมองว่า
เป็นเศษอาหารท่ีไร้ค่าเพราะไม่มีใครน�ำมันมา
ใชป้ ระโยชน์ ซง่ึ เปลอื กของสตั วจ์ ำ� พวกกงุ้ หอย ปู
จะมีสารท่ีชื่อว่า ไคโตซาน คือ สารธรรมชาติ
ชนดิ หนงึ่ ทม่ี ใี นสตั วก์ ระดองแขง็ และขาเปน็ ปลอ้ ง
เชน่ เปลือกกุ้ง ก้งั และกระดองปู ซึ่งเมื่อน�ำมา

“ความสำ�เร็จไม่ได้มาเพราะโชคช่วย แต่ขึน้ อยู่กบั ความตง้ั ใจและพยายาม”

การพฒั นาผ้เู รยี นให้เป็นนักประดิษฐ์ • 61

สกัดแยกเอาแคลเซียม โปรตนี และ ธาตุทีไ่ ม่ต้องการออกไป กจ็ ะได้สารส�ำคัญทม่ี ี
โครงสรา้ งทางเคมคี ลา้ ยเซลลโู ลส เรยี กวา่ “ไคตนิ ” (chi-tin) และเม่ือนำ� ไคตินผา่ น
กระบวนการทางเคมอี กี ครง้ั กจ็ ะไดส้ ารทเ่ี รยี กวา่ “ไคโตซาน” ซงึ่ เปน็ สารธรรมชาติ
ที่มีคุณสมบัติหน่ึงในการดักจับไขมัน ทางคณะผู้จัดจึงสนใจศึกษาเพ่ือที่จะน�ำมา
เป็นส่วนประกอบในถุงกระดาษที่เราน�ำมาใส่อาหารจ�ำพวกที่มีไขมันหรือน้�ำมัน
เพือ่ ศกึ ษาประสิทธภิ าพของไคโตซานในการดูดซับไขมนั หรือน�้ำมันในอาหาร

ทางกลมุ่ จงึ คิดประดิษฐ์ถุงกระดาษไคโตซานดูดซับไขมนั ในอาหารข้นึ มา
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การทดลองได้ใช้วัสดุท่ีเหลือท้ิงจากการ
รบั ประทาน นนั้ กค็ อื เปลอื กกงุ้ กระดาษ และสารเคมใี นหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวทิ ยาศาสตร์
ของโรงเรยี น ซึ่งผลจากการศึกษาทดลองพบวา่ ถงุ กระดาษไคโตซานสามารถน�ำไป
ใชไ้ ดจ้ รงิ
การไดร้ บั รางวลั 2 รางวลั ทนี่ า่ ภาคภมู ใิ จ จากงาน International Exhibition
for Young Inventors (IEYI 2016) ณ เมืองฮาร์บิน สาธารณรัฐประชาชนจีน
ทำ� ใหน้ ักประดษิ ฐท์ งั้ สองคนเป็นทีช่ น่ื ชมและถกู ใจของโรงเรียน ครอบครัว เพ่อื น ๆ
น้อง ๆ ในโรงเรยี นต่างยกย่องให้เป็นต้นแบบของความส�ำเร็จ
นกกับเนยหรือรัตนาภรณ์ ชัยอินทร์ศูนย์ กับพิมพ์มาดา เงินมาก เป็น
เดก็ สาวทชี่ อบทำ� กจิ กรรม ชอบไปทตี่ า่ ง ๆ การพบเจอสง่ิ ใหม่ ๆ เกดิ การแลกเปลยี่ น
ความคดิ พูดคยุ กับคนอน่ื อย่เู สมอ ทำ� ใหเ้ ธอท้งั สองคนน้นั มคี วามคดิ ท่สี รา้ งสรรค์
กลา้ พูด กล้าคดิ กล้าทำ� และต้งั ใจในการท�ำงาน
ความสำ� เร็จของพวกเธอไมไ่ ด้มาเพราะโชคช่วยแต่มีเหตปุ จั จยั มาจากการ
กระตุ้นและสร้างวิธีคิดมุมมอง กระบวนการทำ� งานแบบนักวิทยาศาสตร์ให้เกิดขึ้น
กับพวกเธอ
“เด็กทั้งสองจะสนใจและพร้อมท่ีจะหาค�ำตอบเม่ือเจอปัญหาท่ีพวกเธอ
สงสัยเสมอ และเมือ่ เกดิ ความสงสยั กจ็ ะมาหาครเู สมอ ๆ ผมกจ็ ะชว่ ยแนะแนวทาง
ให้พวกเธอหาคำ� ตอบเอง พอได้ค�ำตอบแล้วให้กลับมาเล่าให้ฟังหรือเขียนให้ผมดู”
ครชู �ำนาญพงษ์ เจรญิ ผล ครขู องเนยกับนกเล่า
บางทีนิสัยนักวิทยาศาสตร์ของหนูเกิดจากการ
มองสิ่งตา่ งๆรอบตวั มองเพอื่ นคนนั้นคนน้ี ทำ� ไมเพอื่ นขาว
ท�ำไมเพ่ือนดำ� ทำ� ไมผมหยกิ ผมตรง ลองคดิ เล่น ๆ แล้ว
62 • การพฒั นาผเู้ รยี นให้เป็นนกั ประดิษฐ์

“นกั วทิ ยาศาสตร์ต้องร้จู ัก ถามเพื่อนดู จนเพ่ือนก็บอกว่าจะรู้ไปท�ำไม
“หนกู เ็ นยี น ๆ วา่ เอาไปทำ� รายงานสง่ คณุ ครู
แกป้ ญั หาและมีไหวพรบิ ” เพราะกลวั เพอ่ื นว่า...”

“สองสาวนเ่ี วลาอยดู่ ว้ ยกนั จะขดั กนั บา้ ง เนยจะเปน็ คนมนึ ๆ นกึ อะไรกพ็ ดู
ขึน้ มา ส่วน นก จะเปน็ คนนิ่ง ๆ คดิ กอ่ นจะพูด เธอจะคอยเบรกเนยอยูเ่ สมอเวลาที่
พูดอะไรไมเ่ ข้าทา่ นี่อาจเปน็ ความแตกตา่ งท่ี ลงตัวของเด็กคนู่ ้ี”
ใคร ๆ ในโรงเรยี นวงั นอ้ ย (พนมยงคว์ ทิ ยา) ตา่ ง ๆ รดู้ วี า่ ถา้ เรอ่ื งการแขง่ ขนั
โครงงานวทิ ยาศาสตรห์ รอื สงิ่ ประดษิ ฐท์ างวทิ ยาศาสตรจ์ ะตอ้ งนกึ ถงึ คณุ ครชู ำ� นาญพงษ์
เจริญผล เพราะคุณครูจะคอยชกั ชวน เด็ก ๆ ท่สี นใจหรือมีแววเข้ามาท�ำโครงงาน
หรือสิ่งประดิษฐ์ บางคนตอนแรกไม่ชอบวิทยาศาสตร์เลย แต่พอได้ลองเข้ามา
สัมผัสจรงิ ๆ กช็ อบขึ้นมาโดยไม่รตู้ ัว
นกกับเนย เมื่อถูกชวนก็รีบมาเป็นสมาชิกเด็กวิทย์ในทีมก่อนใครจน
คุณครชู �ำนาญพงษ์ ดูจะมีกำ� ลังใจในการสง่ เดก็ ๆ เขา้ แขง่ ขนั ในเวทตี ่าง ๆ
“.. คุณครูชำ� นาญพงษ์ เลา่ ว่า นกกับเนยจะคอยมาหาเวลาพักกลางวนั อยู่
เสมอ มาช่วยงานอาจารยบ์ า้ ง มาทำ� โครงงานบ้าง มาซ้อมนำ� เสนอบา้ ง จนเรารูท้ าง
กันเลยทีเดียว ครเู ลา่ ว่าโชคดที เี่ ดก็ ตั้งใจ สนใจ ครจู งึ ใหก้ ารสนับสนนุ เดก็ ทง้ั สองคนนี้
อย่างเต็มท่ี บางคร้ังถ้าวันปกติเวลาซ้อมจะไม่ค่อยมี ครูก็จะนัดซ้อมเสาร์ อาทิตย์
บางครั้งไปรบั ไปส่ง จนผ้ปู กครองไวว้ างใจ สนับสนุนเดก็ ๆ ให้เขา้ รว่ มกิจกรรมต่าง ๆ”
“อันที่จริงครูไม่ใช่คนที่เก่งวิทยาศาสตร์หรือรู้เรื่องอะไรไปสักทุกอย่าง
ครจู ะเรียนรู้ไปพร้อม ๆ กับเด็กในสิ่งท่ีครูกบั เด็กเกดิ ความสงสยั ร่วมกนั มากกวา่ ”
ครูช�ำนาญพงษ์ เจรญิ ผล ครูท่ปี รกึ ษาของทง้ั สองสาวกล่าว
นอกจากความรู้ท่ีคุณครูสอน ครูยังสอนการใช้ชีวิต หลักการคิด
กระบวนการต่างๆ การท�ำโครงงานหรือส่ิงประดิษฐ์ก็เช่นกัน ครูจะบอกเด็กสาว
ท้ังสองคนเสมอว่าใหค้ ดิ เร่อื งใกล้ ๆ ตัว ปญั หาใกล้ ๆ ตวั เรือ่ งท่เี ราสนใจ
“ครคู ะ ๆ ” นกกับเนย รีบเดนิ เข้ามาหา
“ว่าไงลกู ” ครชู ำ� นาญพงษ์ ถาม
“คอื เมอ่ื วานพวกหนไู ปตลาดมาค่ะ แล้วเดินซ้อื ของ พอดหี วิ หนูก็เลยซือ้
ไกท่ อดมากิน” นกกับเนยเล่าอย่างจรงิ จัง
“แล้วยังไงตอ่ มันเกิดอะไรขนึ้ ” ครชู ำ� นาญพงษ์ ถาม

การพัฒนาผเู้ รียนให้เปน็ นกั ประดิษฐ์ • 63

“คือ หนูสังเกตที่ก้นถุงท่ีร้านเขาเอากระดาษรอง มันมี
นำ�้ มันเย้ิมอยู่มาก ถา้ พวกหนูกนิ เขา้ ไปมาก ๆจะเปน็ อันตรายไหมคะ
จะอ้วนไหมคะ จะเป็นความดันไหมคะ” นกกับเนยยิงคำ� ถามรวั
หลังจากวนั นน้ั ครกู ไ็ ดใ้ หก้ ารบ้านโดยใหท้ ้งั สองคนไปหามาวา่
เราจะแก้ปัญหาเร่ืองน�้ำมันเยิ้มก้นถุงได้อย่างไร ไม่นานพวกเธอก็กลับมา
พรอ้ มกบั คำ� ตอบทวี่ า่ “พวกเราจะประดษิ ฐถ์ งุ กระดาษทสี่ ามารถดดู ซบั นำ้� มนั ไดค้ ะ่ ”
โดยสองสาวไปสบื คน้ ขอ้ มลู มาเพม่ิ เตมิ อกี วา่ อะไรทสี่ ามารถดดู ซบั ไขมนั ได้ คำ� ตอบนนั้
กค็ อื “ไคโตซานจากเปลือกกุง้ ” นนั่ เอง

ทงั้ สองสาวลงมอื ทดลอง โดยมี ครชู ำ� นาญพงษ์ คอย
ใหค้ ำ� ปรกึ ษาอยตู่ ลอด พวกเธอสกดั สารไคโตซานจากเปลอื ก
กงุ้ ทเ่ี หลอื จากการรบั ประทาน โดยใชห้ อ้ งปฏบิ ตั กิ ารเคมขี อง
โรงเรยี น หลงั จากน้ันก็นำ� มาผสมกบั กระดาษ นำ� มาทดสอบ
ครูช�ำนาญพงษ์ เจรญิ ผล ประสิทธิภาพว่าสามารถดูดซับน้�ำมันได้จริงไหม “พวกเธอ
คณุ ครูท่ีปรึกษา ทำ� ได้ มันดูดซับได้จรงิ ๆ” โดยตน้ ทนุ ทเ่ี ราใช้ในการประดิษฐ์
ถงุ กระดาษไคโตซานดดู ซบั ไขมนั ในอาหารเพยี ง 400-500 บาท เพราะสารเคมี วสั ดุ
อุปกรณก์ ็ไมต่ อ้ งซอ้ื เรียกว่า ตน้ ทุนนอ้ ยมากกับความคมุ้ ค่าทีส่ องสาวประสบความ
สำ� เร็จ!!!
จนมาถึงระดบั นานาชาติ!!
สองสาวเล่าว่าไม่ใช่แค่ความส�ำเร็จในการคิดค้นสิ่งประดิษฐ์เพียงเท่านี้
พวกเธอยงั ไดฝ้ กึ ความอดทน ความเปน็ คนมขี นั้ ตอน แบบแผน มคี วามละเอยี ด รจู้ กั
แก้ปัญหาและอื่น ๆ อีกมากมาย ต่อมาสองสาวได้มีโอกาสเข้าแข่งขันสิ่งประดิษฐ์
ระดับประเทศ พวกเธอท้ังสองมีความกล้าอยู่แล้วเพราะเธอผ่านเวทีมามากมาย
ถึงแม้เวทีน้ีจะมีกรรมการอยู่ข้างหน้าพวกเธอถึง 15 ท่าน ครูและผู้เข้าแข่งขัน
อีกเป็นร้อย แตใ่ นการน�ำเสนอคร้ังแรกท่ีสองสาวได้ฟังข่าวจากครู พวกเธอดีใจมาก
แต่ดูเหมือนจะมีความกังวลอยู่ไม่น้อย เร่ืองภาษา การเดินทาง การไปอยู่ที่
สาธารณรฐั ประชาชนจนี หลายวนั ซง่ึ มนั ไกลมาก มากจรงิ ๆ การขนึ้ เครอื่ งบนิ ครงั้ แรก
คงเป็นอะไรท่ีน่าต่ืนเต้นน่าดู พวกเธอเล่าว่าครูจะคอยให้ก�ำลังใจและคอยบอกอยู่
เสมอวา่ มันเปน็ โอกาสทด่ี ีทีส่ ดุ ในชวี ิต ให้เก็บเกย่ี วความรู้สึกเหล่านี้ไว้ ทส่ี �ำคัญคอื
พวกเธอไดเ้ ปน็ ตวั แทนประเทศชาติไปสร้างชอื่ เสียงใหก้ บั ประเทศอกี ดว้ ย

64 • การพฒั นาผู้เรยี นใหเ้ ป็นนักประดษิ ฐ์

“มนั ไมใ่ ชแ่ คป่ ระสบการณจ์ ากการเดนิ ทางไกลนะคะ่ ระหวา่ งการเดนิ ทาง
เรายังได้เห็นและเรียนรู้เร่ืองต่าง ๆ มากมาย การน่ังเคร่ืองบินคร้ังแรก การนั่งรถ
โดยสารประจำ� ทางในตา่ งประเทศ การกนิ อยใู่ นตา่ งประเทศ ทไ่ี กลมาก อาจารยจ์ ะ
คอยบอกพวกเราอย่เู สมอวา่ ใหส้ งั เกตสง่ิ ต่าง ๆ อาหาร เสน้ ทาง การใช้ชีวติ แล้ว
เทียบกับประเทศของเราว่าแตกต่างกันไหม บางทีเราอาจจะน�ำประสบการณ์จาก
ตรงนม้ี าปรบั ปรงุ ใชไ้ ด้ ทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งทพ่ี วกเราไดเ้ หน็ ไดส้ มั ผสั มาทง้ั หมดนมี้ นั สำ� คญั
กบั พวกเราไมใ่ ช่น้อยเลยละ่ ค่ะ”
“หนเู คยคดิ วา่ ท่ปี ระเทศจีนจะสกปรกและไม่นา่ อยู่ ทบ่ี ้านเรานา่ จะน่าอยกู่ วา่
เพราะเคยเหน็ ภาพทเี่ ขาแชรก์ นั ทางโซเชยี ล แตพ่ อไดไ้ ปสมั ผสั ทปี่ ระเทศจนี แลว้ พบ
วา่ ประเทศของเขาสะอาดและนา่ อยมู่ าก อากาศดี เยน็ ๆ เพราะเราไปชว่ งหนา้ รอ้ น
ของเขาแตถ่ า้ หนา้ หนาว บ้านเขาจะอณุ หภมู ิติดลบยีส่ ิบกว่าองศาเลยล่ะ พอได้เหน็
แลว้ หนูเลยเกิดความคิดทีว่ า่ หนอู ยากจะกลบั มาพฒั นาบ้านเกดิ ให้นา่ อยยู่ ่งิ ขึน้ ”
“คณะอาจารย์และสาวน้อยนักประดิษฐ์บอกว่าเขามีหลักในการน�ำเสนอ
ไว้ง่าย ๆ ดังน้ี การน�ำเสนอต้องเข้าใจเร่ืองราวท่ีน�ำเสนอ อย่าท่องจ�ำอย่างเดียว
ความเขา้ ใจจะทำ� ใหเ้ ลา่ เรอ่ื งและนำ� เสนอไดอ้ ยา่ งไมต่ ดิ ขดั สามารถนำ� เสนอไดอ้ ยา่ ง
ต่อเน่ือง ซึ่งบางทีอาจจะโดนถามค�ำถามต่าง ๆ มากมาย ถ้าเราไม่เข้าใจเรื่องราว
เนื้อหาที่เราน�ำเสนอ อาจท�ำให้เราตกม้าตายได้เพราะความตื่นเต้นของเราเวลาอยู่
บนเวทีต่อหน้าคณะกรรมการและผู้ฟังมากมาย” ลีลาท่าทางของการน�ำเสนอท่ีดี
คือ ท�ำตัวเองให้ผ่อนคลาย แสดงออกอย่างชัดเจนให้เห็นถึงความเข้าใจและต้ังใจ
ท่ีจะน�ำเสนอ หัวใจของการน�ำเสนอส�ำหรับหนูคิดว่าไม่ใช่อยู่ที่ “สาระ” แต่อยู่ที่
“ตวั ผนู้ ำ� เสนอ” มากกวา่ การทำ� ตวั ตามสบายจะทำ� ใหค้ วามเปน็ ตวั เองถกู ฉายออกมา

“จงหมั่นเพยี รขยนั ซ้อม ซ้อม และกซ็ ้อม”

รางวลั ตา่ ง ๆ เปน็ ตวั การนั ตี ความสามารถของพมิ พม์ าดา เงนิ มาก
รัตนาภรณ์ ชัยอนิ ทรศ์ ูนย์
1. รางวัลเหรียญทองแดง สาขา Safety and health
(International Exhibition for Young Inventors 2016)
2. รางวัล Special Award จากประเทศญป่ี นุ่
ทั้งหมดนี้คือ เป็นประจักษ์พยานท่ียืนยันว่า ความเป็นเด็ก
ที่ต้งั ใจ ขยนั ของพวกเธอไมส่ ญู เปล่า

การพัฒนาผู้เรยี นใหเ้ ปน็ นักประดิษฐ์ • 65

วเิ คราะห์บทเรยี น

เมือ่ ทา่ นศกึ ษาบทเรยี นเรอ่ื งถุงกระดาษไคโตซานดูดซับไขมันในอาหาร
แลว้ โปรดสะท้อนบทเรยี นโดยตอบคำ� ถามตอ่ ไปนี้
1. ครจู ดั การเรียนรโู้ ดยผ้เู รียนเปน็ ศนู ย์กลางอยา่ งไร
................................................................................................................................
................................................................................................................................
2. ครอู อกแบบการจดั การเรยี นรู้อย่างเป็นระบบอย่างไรบ้าง
................................................................................................................................
................................................................................................................................
3. ทกั ษะทค่ี รตู อ้ งฝึกใหผ้ ู้เรยี นเพ่ือเปน็ นกั ประดิษฐ์ มอี ะไรบ้าง
................................................................................................................................
................................................................................................................................
4. คณุ ลกั ษณะของนกั ประดิษฐจ์ ากบทเรียนนคี้ อื อะไร
................................................................................................................................
................................................................................................................................
5. ผู้เรยี น เรียนรผู้ า่ นการปฏบิ ตั ิกิจกรรม (Activity Base Learning) และท�ำให้
ผ้เู รียนสามารถสรา้ งองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง อยา่ งไรบ้าง
................................................................................................................................
................................................................................................................................
6. ครูเป็นที่ปรึกษา (coach) ผู้อ�ำนวยให้เกิดการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
เป็นผสู้ นับสนุนผ้ใู ห้กำ� ลงั ใจ (cheer up) ให้ผเู้ รยี นคิดส่งิ ประดษิ ฐ์ไดอ้ ย่างไรบา้ ง
................................................................................................................................
..............................................................................................................................
7. ทา่ นจะประยกุ ตบ์ ทเรยี นเรอ่ื งนไ้ี ปใชเ้ ปน็ แนวทางในการจดั การเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นา
ทกั ษะและคุณลักษณะ นักประดิษฐ์ให้กับผเู้ รยี นของท่านอย่างไร
................................................................................................................................
................................................................................................................................
66 • การพฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ ป็นนกั ประดษิ ฐ์

เรือ่ งท่ี 4 การจัดการเรยี นรขู้ องครปู ระภากร เชยี งทอง และ

เรอื่ งเลา่ การสรา้ งสงิ่ ประดษิ ฐข์ องนกั เรยี นเรอ่ื ง E-Bug หนุ่ ยนต์
ปลกู พชื อตั โนมตั ิ โรงเรยี นสามเสนวทิ ยาลยั สำ� นกั งานเขตพน้ื ท่ี
การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 1



เลือกในส่ิงทใี่ ช่
ได้ทำ� ในสง่ิ ที่ชอบ...



ภาพยนตร์สั้น ของนกั ประดษิ ฐ์ เร่ือง E-Bug
หนุ่ ยนต์ปลูกพืชอัตโนมตั ิ

การพฒั นาผู้เรยี นให้เป็นนักประดิษฐ์ • 67

ความเป็นมา

สบื เนือ่ งจากการจัดการศกึ ษาในทกุ ระดบั ชัน้ มจี ุดมุ่งหมายในการพฒั นา
ศกั ยภาพของคนและในปจั จบุ นั เมอื่ ประเทศไทยกา้ วเขา้ สู่ “ไทยแลนด์ 4.0” ซงึ่ เปน็
โมเดลในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เป็นการเข้าสู่ยุคที่ประเทศไทยต้องมี
นวตั กรรมเป็นของตนเอง เป็นยุคเทคโนโลยี Creative และ Innovation เน้นการ
สรา้ งใหค้ นไทยสามารถคดิ เองได ้ ไมต่ อ้ งพงึ่ จากตา่ งชาติ การจดั การศกึ ษาจงึ จำ� เปน็
ต้องจัดให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ และต้องปรับพฤติกรรมของผู้เรียนที่
เปล่ียนไป เป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นเครื่องกระตุ้นการเรียนรู้
ม่งุ เน้นใหผ้ ้เู รียนสรา้ งสรรคน์ วัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ เป็นวิชาท่ีเรียนรู้เก่ียวกับการเขียนโปรแกรม
เพื่อควบคุมอุปกรณ์ควบคุม (ไมโครคอนโทรลเลอร์ : microcontroller) เพื่อให้
ท�ำงานตามค�ำสั่ง โดยมีวัตถุประสงค์ปลายทางคือการท่ีผู้เรียนสามารถใช้
กระบวนการคิดวิเคราะห์ น�ำเอาความรู้ การจัดการความรู้และความคิดสร้างสรรค์
มาพัฒนาให้เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยการท�ำโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์หรือ
นวตั กรรม ซง่ึ เปน็ ตน้ แบบทส่ี ามารถ ใชง้ านไดจ้ รงิ สามารถนำ� ไปพฒั นาตอ่ ยอดเปน็
อุปกรณ์อำ� นวยความสะดวกหรือแก้ปญั หาในชวี ติ ได้จรงิ

วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือใหผ้ เู้ รียน

1. ได้ศึกษาวิธีการและรูปแบบการแสวงหาความรู้ ข้อมูลและการเรียนรู้
เกยี่ วกบั การเขียนโปรแกรม เพอ่ื ควบคมุ อุปกรณค์ วบคุม

2. ได้ฝกึ ทักษะกระบวนการท�ำงานดว้ ยตนเองและการท�ำงานกลุ่ม
3. ได้ศึกษาและพัฒนาความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ เพ่ือสร้างสิ่งประดิษฐ์
แนวคิดใหม่หรือ นวัตกรรมใหม่
4. ไดศ้ กึ ษาพฒั นาและฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

68 • การพฒั นาผเู้ รียนใหเ้ ป็นนกั ประดิษฐ์

การจดั การเรยี นรู้
ขัน้ ตอนกระบวนการการจดั การเรยี นรู้

ขน้ั ตอนกระบวนการการจดั การเรยี นรเู้ พอ่ื ใหเ้ กดิ โครงงานนวตั กรรมสง่ิ ประดษิ ฐ์
ใชร้ ูปแบบขั้นตอน 6 ขัน้ ตอน ดังน้ี

ขั้นตอนที่ 1 ขน้ั ให้ความรพู้ นื้ ฐาน 
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยครูให้ความรู้พื้นฐานท่ีคิดว่าจ�ำเป็นส�ำหรับ
นักเรียน ไดแ้ ก่ ความร้พู ื้นฐานวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ ความรู้
ด้านไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรมด้านไมโครคอนโทรลเลอร์
การเขียนผังงาน การออกแบบอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรมควบคุมไมโคร
คอนโทรลเลอร์ ความรู้เกี่ยวกับประเภท รูปแบบและขั้นตอนการท�ำโครงงาน
คอมพวิ เตอร์
ข้นั ตอนท่ี 2 ข้ันกระตนุ้ ความสนใจ 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีกระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยเน้นการ
ปฏบิ ัติ เพ่ือดงึ ดูดใหน้ ักเรียนสนใจ ใคร่รู้ กระตนุ้ ความสนใจและมคี วามสนกุ สนาน
ไดแ้ ก่ การจัด Day Camp, การจัดกจิ กรรม Science Show, การปฏบิ ตั กิ ารบดั กร,ี
การเชื่อมต่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และนอกจากน้ีก็เปิดโอกาสให้นักเรียนพบกับ
นักวิทยาศาสตร์หรือรุ่นพ่ีที่ประสบความส�ำเร็จ มาถ่ายทอดประสบการณ์เพ่ือเป็น
แรงบันดาลใจ

การพฒั นาผเู้ รียนให้เป็นนกั ประดษิ ฐ์ • 69

ขนั้ ตอนที่ 3 ขน้ั แสวงหาหวั ขอ้ โครงงาน/สง่ิ ประดษิ ฐ์ โดยวธิ จี ดั กลมุ่ รว่ ม
มอื เรยี นรู้ 

เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกันแสวงหาความรู้
ใช้กระบวนการกลุ่มในการศึกษาหาความรู้ การเลือกหัวข้อโครงงาน/สิ่งประดิษฐ์
การวางแผนดำ� เนนิ กจิ กรรม โดยนกั เรยี นเปน็ ผรู้ ว่ มกนั วางแผนกจิ กรรมการทำ� โครง
งาน/สงิ่ ประดษิ ฐข์ องตนเอง โดยระดมความคดิ และหารอื แบง่ หนา้ ทเี่ พอื่ เปน็ แนวทาง
ปฏิบัติรว่ มกัน

ขน้ั ตอนที่ 4 ขัน้ ดำ� เนินการจดั ทำ� โครงงาน/สงิ่ ประดิษฐ์
หลงั จากทไ่ี ดน้ ำ� เสนอหวั ขอ้ โครงงาน/สงิ่ ประดษิ ฐแ์ ละผา่ น ไดร้ บั การอนญุ าต
จากครูที่ปรึกษาโครงงานแล้ว นักเรียนก็สามารถจัดท�ำโครงงาน/สิ่งประดิษฐ์ได้
โดยระหว่างท่ีด�ำเนินการจัดท�ำนักเรียนสามารถพูดคุยซักถามกับครูท่ีปรึกษา
โครงงานได้ตลอด ทง้ั ในคาบเรยี นและนอกคาบเรยี น การจดั ทำ� โครงงาน/ส่งิ ประดษิ ฐ์นี้
สามารถใช้อุปกรณ์หลักของโรงเรียนได้ โดยท่ีโครงการห้องเรียนพิเศษได้อ�ำนวย
ความสะดวกโดยการสั่งอุปกรณ์มาไว้ให้นักเรียน ไม่ว่าจะเป็นบอร์ดหรือเซ็นเซอร์
ชนดิ ต่าง ๆ และถ้านกั เรียนมีแนวคิดอ่ืนหรอื ตอ้ งการใชอ้ ปุ กรณท์ ี่ ไมม่ ีในหอ้ งเรียน
ก็สามารถแจ้งครูท่ีปรกึ ษาโครงงานเพื่อร่วมกันแก้ปญั หาได้
ขนั้ ตอนที่ 5 ขัน้ นำ� เสนอผลงาน
โรงเรียนออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยจัดเวลาให้นักเรียนได้น�ำเสนอ
โครงงาน/ส่ิงประดิษฐ์ ให้เพ่ือนร่วมช้ันและครูสาขาวิชาอ่ืนร่วมรับฟังและตอบ
ขอ้ ซกั ถาม โดยจดั รปู แบบจำ� ลองการสอบหรอื การประกวดโครงงาน โดยจดั กจิ กรรม
2 ครั้ง ครั้งแรกเปน็ ภาษาไทย และครั้งทีส่ องเปน็ ภาษาอังกฤษ โดยเชิญครูตา่ งชาติ
รว่ มรับฟงั และเป็นคณะกรรมการประเมนิ การน�ำเสนอของนกั เรียน
ขั้นตอนที่ 6 ขนั้ น�ำเสนอผลงานตอ่ สาธารณชน
โรงเรียนจัดกิจกรรมเพ่ือเปิดโอกาสให้นักเรียนได้น�ำเสนอโครงงาน/
ส่ิงประดิษฐ์ต่อสาธารณชน โดยการเชิญอาจารย์จากมหาวิทยาลัยมาเป็น
คณะกรรมการรว่ มรบั ฟังและตอบขอ้ ซกั ถามใหก้ บั นักเรยี น เพอื่ ใหน้ ักเรยี น ได้เกิด
ความตื่นตัวในการน�ำเสนอท่ีถูกต้องตามหลักวิชาการ และเป็นการฝึกให้นักเรียน
เกิดความกลา้ มคี วามเชื่อม่ันในตนเอง เปน็ การเปดิ ประสบการณใ์ ห้กบั นักเรยี น
70 • การพัฒนาผเู้ รยี นให้เปน็ นักประดิษฐ์

และหลังกิจกรรมยังเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงผลงานในวันส�ำคัญของ
โรงเรียน เช่นกิจกรรมวันวิชาการ วันวิทยาศาสตร์ และถ้ามีเวทีประกวด/แข่งขัน
ภายนอก โรงเรยี นก็สนบั สนนุ ใหน้ กั เรียนเข้ารว่ มกิจกรรมการประกวด/แข่งขนั อีกด้วย

ผลการจดั การเรยี นรู้
ผลจากการจดั การเรยี นรู้ท่เี กิดกบั ผ้เู รียน

การเรียนรู้ด้วยโครงงาน เป็นการเรียนรู้ที่ท�ำให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้
อย่างแท้จริง ตามศักยภาพของแต่ละบุคคลมีส่วนเสริมสร้างและพัฒนาให้ผู้เรียน
เปน็ เยาวชนทสี่ มบรู ณ์ มคี วามสมดลุ ทกุ ดา้ นทงั้ ในดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม
และสติปัญญา สามารถปรับตัวให้อยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข เป็นพลังท่ีส�ำคัญย่ิง
ของประเทศชาติในอนาคต นอกจากน้กี ารเรยี นรจู้ ากโครงงาน ยังประโยชนใ์ หก้ ับ
นักเรยี น ดังน้ี

1. นักเรยี นได้ท�ำกจิ กรรมตามความสามารถ ความถนดั ความสนใจ และ
ท�ำอยา่ งมีความสุข

2. นกั เรยี นได้ลงมือปฏบิ ัตจิ นค้นพบความสามารถ ความถนดั และวิธกี าร
เรยี นรู้ด้วยตนเอง

3. นักเรียนไดศ้ ึกษา ค้นควา้ รวบรวมข้อมูล ทดลองหาความรแู้ ละสรา้ ง
ความรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง ไดฝ้ กึ ทกั ษะการคดิ วเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะห์ รจู้ กั การแกป้ ญั หา
ตา่ ง ๆ โดยเฉพาะการแกป้ ญั หาเฉพาะหนา้ ไดป้ ระสบการณต์ รงทสี่ อดคลอ้ งกบั ชวี ติ
จรงิ  
4. นักเรียนได้แลกเปล่ียนเรียนรู้จากกลุ่ม ได้ฝึกทักษะท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับ
การดำ� รงชวี ิต เช่น ทักษะการท�ำงาน การวางแผนการทำ� งาน การอยู่ร่วมกบั ผอู้ นื่
การตดั สนิ ใจ ความมปี ระชาธปิ ไตย ความรบั ผดิ ชอบ การแบง่ เวลา และการตรงตอ่ เวลา
การเปน็ ผนู้ ำ� และผตู้ ามทดี่ ี ทำ� ใหเ้ กดิ การพฒั นาความคดิ และรจู้ กั รบั ฟงั ความคดิ เหน็
ของผอู้ ื่น

5. เป็นการส่งเสรมิ ฝกึ ให้นักเรยี นกลา้ คิด กล้าแสดงออกต่อสาธารณชน

การพฒั นาผูเ้ รยี นใหเ้ ปน็ นักประดษิ ฐ์ • 71

ผลจากการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์

ผลจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท�ำให้นักเรียนได้จัดท�ำสิ่งประดิษฐ์
แนวคิดใหม่ขึ้นทุกปี และในปีการศึกษา 2559 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัยได้ส่ง
ส่ิงประดิษฐ์เข้าร่วมการประกวดส่ิงประดิษฐ์แนวคิดใหม่ จ�ำนวน 2 ช้ิน และทั้ง
2 ช้ิน ได้เป็นตัวแทนประเทศไทยไปประกวด ส่ิงประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์
ระดบั นานาชาติ IEYI 2016 (International Exhibition for Young Inventors)
ณ เมืองฮาร์บนิ สาธารณรัฐประชาชนจีน โดย “E-bug หนุ่ ยนตป์ ลกู พชื อตั โนมตั ิ”
ได้รบั รางวัลเหรยี ญทอง

กระบวนการสำ� คัญ สง่ ผลต่อการเป็นนกั ประดษิ ฐ์

เทคนคิ วิธเี คล็ดลับความส�ำเร็จ

เทคนคิ วธิ ีท่ี 1 เลอื กเรียนในส่ิงท่ีใช่ ไดท้ ำ� ในสิ่งทช่ี อบ
โรงเรียนเปิดโอกาสให้นกั เรียนได้เลอื กสาขาวิชาที่ชอบ จาก 6 สาขาวิชา

ได้แก่ สาขาวิชาฟิสิกส์/เคมี/ชีววิทยา/คณิตศาสตร์/คอมพิวเตอร์/ดาราศาสตร์
โดยแตล่ ะสาขาวชิ าจะเรยี นเนอ้ื หาเพมิ่ เตมิ จากพนื้ ฐานทวั่ ไป การเปดิ โอกาสใหเ้ ลอื ก
วิชาเรียน ท�ำให้นักเรียนสนใจเรียน ใส่ใจศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ซึ่งจะได้
ผลดมี ากกว่าการบังคับใหเ้ รียนวิชาทไ่ี ม่ชอบ
72 • การพัฒนาผ้เู รยี นใหเ้ ปน็ นักประดิษฐ์

เทคนิควธิ ที ี่ 2 จดั หลกั สูตร ล�ำดบั ข้นั ตอนกระบวนการเรียนสำ� คญั ทสี่ ุด
ลำ� ดบั ขัน้ ตอนของหลกั สตู รตอ้ งเรียงลำ� ดับจากพืน้ ฐานงา่ ยๆ ไปส่เู น้อื หาที่

ยากและลึกซ้ึงข้ึน นอกจากนี้หลักสูตรต้องครอบคลุมเน้ือหาวิชาที่จ�ำเป็นต้อง
เรยี นรอู้ กี ดว้ ย ซง่ึ โรงเรียนสามเสนวทิ ยาลยั จดั หลกั สตู ร เนื้อหาเพม่ิ เตมิ ได้แก่

ระดบั ม.1 พนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร,์ พน้ื ฐานคณติ ศาสตร,์ การเขยี นโปรแกรม
คอมพวิ เตอร์เบอื้ งตน้ , คณติ ศาสตรเ์ พือ่ คอมพิวเตอร์

ระดบั ม.2 ความรูด้ ้านไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรมด้าน
ไมโครคอนโทรลเลอร์ การเขยี นผงั งาน การออกแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

ระดบั ม.3 การเขียนโปรแกรมควบคมุ ไมโครคอนโทรลเลอร์ ความร้เู กย่ี วกบั
ประเภท รปู แบบและขัน้ ตอนการท�ำโครงงานคอมพิวเตอร์
เทคนคิ วิธที ่ี 3 พน้ื ฐานตอ้ งแน่น รู้ใหถ้ ึงแกน่ “วทิ ยต์ ้องมา-คณติ ตอ้ งม-ี ไฟฟา้
และอิเลก็ ทรอนกิ สต์ ้องรู้”

ก่อนที่นักเรียนจะทำ� โครงงาน/สงิ่ ประดษิ ฐ์ในระดบั ชั้น ม.3 นักเรียนตอ้ ง
เรียนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์พื้นฐานคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์และไฟฟ้าและ
อเิ ล็กทรอนิกส์ เนื่องจากการทำ� โครงงาน/สง่ิ ประดษิ ฐจ์ ำ� เปน็ ตอ้ งมคี วามรูพ้ ื้นฐาน
ที่ครอบคลมุ เหลา่ นีด้ ้วย
เทคนิควธิ ีที่ 4 ใหโ้ อกาสสรา้ งฝัน สรา้ งแรงบนั ดาลใจ กระตุน้ ความคิด แนะน�ำ
แนะแนว เปน็ หน่วยสนบั สนนุ ใหอ้ สิ ระทางความคดิ ไม่ยดั เยยี ด ไม่กดดนั

ครูที่ปรึกษาโครงงานหรือครูผู้สอน มีความส�ำคัญเป็นอย่างมากต่อการท่ี
จะเกิดโครงงาน/ส่ิงประดิษฐ์ท่ีมีคุณภาพหรือไม่ ครูต้องให้อิสระทางความคิด
ไมย่ ดั เยยี ด ไมก่ ดดนั นกั เรยี น ไมช่ แี้ นะตามความคดิ ของตนเอง เพยี งแนะนำ� กระตนุ้
ความคดิ ใหเ้ กดิ แนวคดิ ใหม่ ๆ รว่ มรับรู้ และเปน็ หนว่ ยสนบั สนุน ไมป่ ิดกั้นความคดิ
เปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นได้ทดลองท�ำในส่งิ ท่ีเกิดจากความคดิ ของนกั เรียนเอง
เทคนิควธิ ีที่ 5 จัดสภาพแวดล้อมใหเ้ อ้ืออ�ำนวยต่อการเรยี นรู้

โดยการจัดสภาพห้องเรียนให้เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และมีสิ่ง
อ�ำนวยความสะดวกท่ีจ�ำเป็นต่อการท�ำโครงงาน/สิ่งประดิษฐ์ เช่น เครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้อินเทอร์เน็ตเพ่ือท�ำการสืบค้นได้ตลอดเวลาหรืออุปกรณ์
ไฟฟา้ เคร่ืองมอื อเิ ล็กทรอนกิ สห์ รือสงิ่ อำ� นวยความสะดวกในการทำ� โครงงาน เชน่
อุปกรณบ์ ดั กรี เซน็ เซอร์ สายไฟ ปืนกาว เลอ่ื ยไฟฟ้า สวา่ งไฟฟา้ เปน็ ต้น

การพฒั นาผู้เรยี นใหเ้ ปน็ นักประดิษฐ์ • 73

เทคนิควธิ ที ่ี 6 หาเวทีแสดงผลงาน/เปิดประสบการณ์
โดยการจัดกจิ กรรมเสริม เช่นกิจกรรม Science Show, กิจกรรม STEM,
การน�ำนักเรียนไปศึกษาดูงานนิทรรศการต่าง ๆ และเม่ือนักเรียนท�ำโครงงาน/
ส่ิงประดิษฐ์แล้ว ก็ควรหาเวทีให้นักเรียนเข้าร่วมการประกวด/แข่งขัน เพ่ือเป็น
การกระตนุ้ นกั เรยี นและนกั เรยี นอนื่ ๆ ในโรงเรยี น ใหร้ ะมดั ระวงั ในการสรา้ งชนิ้ งาน
ที่ถูกต้องตามหลักการและต้องไม่ลอกเลียนหรือละเมิดงานบุคคลอ่ืนและเป็น
การกระตนุ้ ให้เกดิ แนวคิดในการสร้างผลงานอกี ด้วย

คุณลักษณะและทกั ษะของนกั เรยี นสคู่ วามเปน็ นกั ประดษิ ฐ ์

1. นักเรียนจะต้องมีความกระตือรือร้นในการศึกษา
เรียนรู้เกี่ยวกับขั้นตอนส่ิงประดิษฐ์ รู้เท่าทันความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยีและการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์และการท�ำนายโลก
อนาคต เปน็ การชว่ ยสรา้ งแนวทางใหมเ่ พอ่ื รเิ รมิ่ งานไปสงู่ านอาชพี
และศกึ ษาต่อทต่ี นเองสนใจและถนัด

2. มีทักษะการท�ำวิจัย มีความรู้เข้าใจในกระบวนการ
ท�ำโครงงาน เพราะได้ปฏิบัติจริง

3. มที กั ษะในการแกป้ ญั หา มคี วามเพยี รทำ� งานกลา้ คดิ
กลา้ ทำ� ในสงิ่ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ ภมู ใิ จในผลงานทค่ี ดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์

4. มีความสมั พนั ธ์อันดรี ะหว่างเพ่อื นนกั เรียนท่ปี ฏบิ ัติรว่ มกัน
5. มคี วามร้ทู างวิชาการทกี่ วา้ งขวางขึ้น ได้รบั ความสำ� เร็จการศกึ ษาตาม
หลักสตู ร

ปจั จัยที่ทำ� ใหป้ ระสบความสำ� เรจ็

ครู ครผู สู้ อนเปน็ ปจั จยั ทสี่ ำ� คญั อยา่ งหนง่ึ ในความสำ� เรจ็ เนอื่ งจากครผู สู้ อน
ตอ้ งจดั กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยเนน้ กระบวนการเสรมิ สรา้ งประสบการณใ์ หน้ กั เรยี น
ได้ลงมือปฏิบัติจริง อันส่งผลท�ำให้เกิดความริเร่ิมสร้างสรรค์ในการท�ำโครงงาน
ใหม่ ๆ นอกจากนี้ครูยังมีสว่ นส�ำหรับในการสนับสนุน ท้ังในเร่อื งการบริหารจดั การ
74 • การพัฒนาผู้เรียนใหเ้ ปน็ นักประดิษฐ์

เวลาและใหค้ �ำปรึกษานกั เรียนในเร่ืองต่าง ๆ การกระตนุ้ หรือให้ค�ำแนะน�ำการร่วม
แกป้ ญั หา การชว่ ยสนบั สนนุ จดั หาวสั ดอุ ปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการจดั ทำ� โครงงานสง่ิ ประดษิ ฐ์
การอ�ำนวยความสะดวกในเรอ่ื งสถานท่ที ำ� งาน
นกั เรยี น นกั เรียนโครงการหอ้ งเรยี นพิเศษวิทยาศาสตร์ เป็นนกั เรยี นท่ีจัด
ไดว้ ่ามีระดบั สติปญั ญา ที่เฉลียวฉลาด เรยี นรไู้ ดร้ วดเร็ว มคี วามกระตือรือร้น สนใจ
ใฝ่เรียนรู้ ท�ำใหก้ ารจัดกิจกรรมการเรียนร้เู ป็นไปอยา่ งรวดเร็ว มปี ระสทิ ธิภาพและ
ประสิทธิผลตรงตามวัตถุประสงค์ทตี่ ัง้ ไว้

ผบู้ รหิ าร การไดร้ บั การสนบั สนนุ จากฝา่ ยบรหิ าร ในเรอ่ื งการจดั หลกั สตู ร
การเรยี นรทู้ เ่ี ปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นเลอื กวชิ าเรยี นตามทสี่ นใจ ทำ� ใหไ้ ดน้ กั เรยี นทสี่ นใจ
ดา้ นอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ จงึ เกดิ เปน็ นวตั กรรมสงิ่ ประดษิ ฐ์ นอกจากนกี้ ารจดั รายวชิ าเรยี น
ต่าง ๆ ของหลักสูตร ยังต้องสอดคล้องและตรงกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรใน
โครงการ เช่น โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ฯ รายวิชา
ทเี่ รยี นนอกจากวชิ าพน้ื ฐานและ กจ็ ะเปน็ การเรยี นเพมิ่ เตมิ โดยเนน้ เนอ้ื หาวทิ ยาศาสตร์
และคณติ ศาสตรเ์ พิ่มขึน้ มาให้มากกว่าปกติ
ผู้ปกครอง ผู้ปกครองนักเรียนมีบทบาทและมีส่วนในความส�ำเร็จหรือ
ไมส่ �ำเรจ็ ของโครงงาน สิง่ ประดษิ ฐเ์ ปน็ อยา่ งมาก เพราะเวลาส�ำหรับการทำ� งานนั้น
สว่ นมากเปน็ การทำ� งานนอกเวลาเรยี น นอกจากนผ้ี ปู้ กครองยงั มสี ว่ นชว่ ยเสรมิ และ
สนบั สนนุ ทงั้ ในเรอื่ งการบรหิ ารจดั การเวลาและใหค้ ำ� ปรกึ ษานกั เรยี นในเรอ่ื งตา่ ง ๆ

ข้อคิด …

ปญั หาอปุ สรรค
นักเรยี นยงั ไมม่ คี วามมานะพยายามอยา่ งเต็มที่ อปุ กรณ์ที่ใช้มรี าคาสงู และ

เวลาในการจัดกจิ กรรมไม่เพียงพอต่อการพฒั นาช้ินงาน
ขอ้ เสนอแนะแนวทางแก้ไข

การสร้างส่ิงประดษิ ฐ์ทางวิทยาศาสตร์ ควรมีผมู้ คี วามรู้ ผเู้ ชยี่ วชาญมาให้
ค�ำแนะน�ำ และมีการพัฒนาต่อยอดเพ่ือให้ได้ช้ินงานท่ีมากข้ึนและมีประสิทธิภาพ
สามารถส่งเข้าแข่งขนั ได้อย่างตอ่ เน่ือง

การพัฒนาผเู้ รยี นใหเ้ ป็นนักประดิษฐ์ • 75

เรอ่ื งเลา่ การสรา้ งสงิ่ ประดษิ ฐข์ องนกั เรยี นเรอื่ ง E-Bug หนุ่ ยนต์
ปลูกพชื อตั โนมตั ิ โรงเรยี นสามเสนวิทยาลัย ส�ำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 รางวัลเหรียญทองการประกวด
สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ระดับนานาชาติ IEYI 2016 (In-
ternational Exhibition for Young Inventors) ณ เมืองฮาบิน
สาธารณรัฐประชาชนจีน

รายชื่อนักเรยี นนกั ประดิษฐ์

1. ด.ช.ยศวิธ เงนิ ววิ ฒั น์กุล ช้ัน ม.3/1
ท�ำหน้าท่ี ผู้เขียนโปรแกรม, ผู้ร่วมประดิษฐ์และ
ออกแบบ ส่วนของอุปกรณ์ต่าง ๆ ของหุ่นยนต์
ได้แก่ ตัวขุดดิน อุปกรณ์ปล่อยเมล็ด ตัวหมุน
อุปกรณ์ปล่อยเม็ด ภาชนะใส่เมล็ดพืช อุปกรณ์
เสรมิ ใชย้ ดึ พน้ื ดนิ โดยใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร,์ จดั ทำ� รายงานทำ� สอื่ นำ� เสนอ,รว่ มคดิ
ชื่อโครงงาน

2. ด.ช.ศภุ วชิ ญ์ สทิ ธิพล ช้ัน ม.3/1 ท�ำหน้าทผี่ ู้รว่ มประดิษฐ์ ประกอบ
และวาดออกแบบหุ่นระยะแรก,รว่ มคิดชอ่ื โครงงาน

3. ด.ช.ธนศาสตร์ พวงทอง ช้ัน ม.3/1 ท�ำหน้าที่ผู้ร่วมประดิษฐ์และ
ออกแบบแกไ้ ขโมเดล โดยโปรแกรมคอมพวิ เตอร,์ ทำ� สอ่ื นำ� เสนอ,รว่ มคดิ ชอื่ โครงงาน

4. ด.ช.เจตณัฐ  ประภพรัตนกุล ช้ัน ม.3/1 ท�ำหน้าท่ีผู้ร่วมประดิษฐ์
ออกแบบโมเดล และจดั ท�ำสื่อนำ� เสนอผลงาน 

ความเป็นมา :

ในปัจจุบัน ชีวิตของคนเมืองมีวิถีชีวิตที่เร่งรีบ ด้วยเวลาที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด
ทำ� ใหผ้ คู้ นหันมาสนใจดูแลสขุ ภาพ เกดิ เป็นกระแส Clean Food Good Health
และการปลูกผักด้วยตนเอง การปลูกพืชน้ันไม่เพียงแต่จะช่วยให้ผู้ปลูกได้รับความ

76 • การพฒั นาผ้เู รียนให้เปน็ นกั ประดษิ ฐ์

หลากหลายในอาหาร พืชยังให้ความสุนทรีย์ทางธรรมชาติและเพ่ิมพ้ืนท่ีสีเขียว
แก่ส่ิงแวดล้อมด้วย แต่การปลูกผักในคอนโดมิเนียมของชุมชนเมืองที่มีพ้ืนที่จ�ำกัด
อีกทั้งการปลูกผักก็ใช้เวลาไม่น้อยจึงต้องการใช้เทคโนโลยีมาอ�ำนวยความสะดวก
ในชีวิตประจ�ำวันดังนั้น จึงได้เกิดแนวคิดในการสร้างหุ่นขนาดเล็กช่วยปลูกผัก
โดยอตั โนมตั ิโดยกล่มุ ผปู้ ระดษิ ฐ์ไดแ้ รงบนั ดาลใจจาก ขา่ วการใชเ้ ครอื่ งไถนาหยอด
เมล็ดขา้ วกับแนวคดิ จากการสงั เกตในการแพรพ่ นั ธพ์ุ ชื ของแมลง

ปญั หา

การน�ำเอาเทคโนโลยีมาอ�ำนวยความสะดวกต่อสังคมไทยท่ีมีอาชีพหลัก
ของประชากรเป็นด้านการเกษตรนั้นมีมาแต่ช้านานแล้ว แต่เทคโนโลยีท่ีพบท่ัวไป
ดังกลา่ วมปี ญั หาคือ ยังคงมีต้นทุนสงู และต้องการน้ำ� มันซ่งึ เปน็ ทรพั ยากรธรรมชาติ
ราคาแพงที่ไม่สามารถหามาทดแทนได้ นอกจากน้ีเคร่ืองจักรยังเสียหายได้ง่าย
และมีค่าซ่อมบ�ำรุงท่ีแพง แม้จะสามารถทุ่นแรงและลดระยะเวลาในการท�ำการ
เกษตรกรรมซง่ึ เปน็ อาชพี หลกั ของคนไทยโดยรวมแตถ่ งึ กระนน้ั เทคโนโลยนี ย้ี งั ตอ้ งใช้
มนษุ ยค์ วบคมุ ทำ� ใหเ้ กดิ คา่ เสยี โอกาสจากการทำ� งานตามหลกั เศรษฐศาสตรอ์ กี ดว้ ย
ดงั นน้ั เราจงึ เหน็ โอกาสพฒั นาตอ่ ยอดเทคโนโลยนี ้ี โดยเปลย่ี นระบบควบคมุ เปน็ แบบ
อัตโนมัติไร้คนขับ เพราะลักษณะการใช้งานท่ีต้องมีคนเป็นผู้บังคับควบคุมทิศทาง
ซึ่งถ้าน�ำมาใช้ปลูกผักคงต้องการเวลาในการบังคับเคร่ืองยนต์เพราะผักต้องปลูก
บ่อยๆเน่ืองจากเรารับประทานผักปริมาณมากทุก ๆ วัน แต่คนในชุมชนเมืองที่ใช้
ชวี ติ เรง่ รบี มเี วลาอนั จำ� กดั ไมส่ ามารถใชเ้ วลาในการบงั คบั เครอ่ื งยนตใ์ หป้ ลกู ผกั เปน็
ประจ�ำได้ เพ่ือแก้ปัญหาข้อจำ� กดั ของเวลาทตี่ อ้ งใช้ไปในการเพาะปลกู ทีมงานของ
เราได้แนวคิดมาจากการสังเกตในการแพรพ่ ันธพ์ุ ืชทแี่ มลงสว่ นใหญส่ ามารถชว่ ยให้
ขยายพันธุ์พืชโดยการกระจายเมล็ดพันธุ์และการปลูกพืชตามเส้นทางที่แมลง
เดินทางไป ดังน้ันทีมงานของเราได้ริเริ่มความคิดของหุ่นยนต์ปลูกผักหรือ E-Bug
ซงึ่ หมายถงึ ตวั แมลงอเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ ส่ี ามารถปลกู พชื ผกั ไดโ้ ดยอตั โนมตั ใิ นขณะทเี่ รา
ทำ� งานประจ�ำอยู่ E-Bug จะช่วยในการปลูกผักปลอดสารเคมีและลดภาระในชีวิต
ประจ�ำวัน เพราะเปน็ หุ่นยนตส์ �ำหรับปลูกตน้ ไม้ แบบอตั โนมตั ิ (ไมต่ ้องมคี นบงั คบั )

การพัฒนาผู้เรยี นใหเ้ ปน็ นักประดษิ ฐ์ • 77

ขัน้ ตอนการคดิ สร้างส่ิงประดิษฐ์

เร่มิ จากแนวคิดจากการสร้างหนุ่ อัตโนมัติ ขนาดเล็ก มขี าท่ีลกั ษณะคลา้ ย
แมลง ช่วยปลูกพืชในพ้ืนท่ีจ�ำกัดในขั้นต้นได้เริ่มท�ำจากภาพวาดและ ตัด แผ่น
อะครลิ คิ โดยใช้เลือ่ ย และประกอบหนุ่ โดยใช้น็อตและกาว ปัญหาทีพ่ บคือหนุ่ ยนต์
ไม่แข็งแรง ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ จึงพัฒนาปรับปรุงโดยเข้ารับการอบรม วิธีวาด
แบบโมเดลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์และการใช้เลเซอร์ในการตัดท�ำให้มี
ความแม่นย�ำและเม่ือประกอบเป็นหุ่นยนต์ท�ำให้มีความแข็งแรงและปรับส่วนของ
แบตเตอรใ่ี หเ้ ปน็ ชนดิ ทนี่ �้ำหนกั เบาและใช้งานได้นาน สว่ นของอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ของ
หุ่นยนต์ ได้แก่ ตวั ขุดดนิ อปุ กรณป์ ลอ่ ยเมลด็ ตวั หมุนอปุ กรณ์ปลอ่ ยเม็ด ภาชนะใส่
เมลด็ พชื กม็ กี ารพฒั นาเปลยี่ นแปลงภายหลงั การทดสอบภาคสนาม ทพี่ นื้ สวนหนา้
บา้ นและทา้ ยสดุ คอื การออกแบบตวั ยดึ พนื้ ดนิ เพอ่ื ชว่ ยใหห้ นุ่ มคี วามมน่ั คงในขณะขดุ
สว่ นโปรแกรมบงั คบั หนุ่ ยนตเ์ ดมิ ใช้ ipst-microbox(SE) ตอ่ มาไดเ้ ปลย่ี น เปน็ ATX2

ปัญหาและอุปสรรค

ความยากของการใชห้ นุ่ ยนตน์ ค้ี อื การปรบั คา่
ในการมองเห็นของกล้องเพราะมีการรบกวนของแสง
จากสิง่ แวดล้อม ซ่งึ ตอ้ งมกี ารปรับปรงุ ต่อไป

กระบวนการประดิษฐ์

1. ศึกษาข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง โดยศึกษาการ
ออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ โดยการใช้วิธีศึกษา
จากหุน่ ยนตส์ �ำเร็จรูป และศกึ ษาการควบคุมหนุ่ ยนต์

2. จัดเตรียมวสั ดทุ ่ีเกี่ยวขอ้ งกบั โครงงาน เชน่
เซอร์โวมอเตอร์ ไมโครคอนโทรเลอร์ แผ่นอคริลิค
(acrylics) แบตเตอรี่ เปน็ ต้น

3. รา่ งแบบทีไ่ ดแ้ ละออกแบบจากคอมพิวเตอร์
4. พิมพ์แบบจากเคร่ืองพิมพ์สามมิติและตัดแผ่นอะคริลิกด้วยเครื่องตัด
เลเซอร์
78 • การพฒั นาผูเ้ รียนให้เปน็ นักประดิษฐ์

5. ประกอบเป็นหุ่นยนต์
6. ตกแตง่ หนุ่ ยนต์
7. วาดแผน่ ปา้ ยตามทไี่ ดอ้ อกแบบไว้
8. ติดเซนเซอรไ์ ว้ตามตัวหนุ่ ยนต์ที่ไดอ้ อกแบบไว้
9. ตรวจสอบความเรียบร้อยของโมเดล
10. เขียนโปรแกรมพัฒนาโปรแกรม ศึกษาค้นคว้าในห้องสมุด และ
เขยี นโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์
11. ตรวจสอบและแกไ้ ขโปรแกรม
12. ลงโปรแกรมใน Micro controller
13. ตรวจสอบการทำ� งานของโปรแกรม เมอ่ื พบข้อผิดพลาดก็ท�ำการแก้ไข
จนส�ำเร็จ เช่น การพัฒนาระบบการตรวจจับวัตถุ โดยพิจารณาจากส่วนที่ใช้ใน
การตรวจจับวัตถุเช่น สีแดงคือหยุดการท�ำงาน เป็นต้นการพัฒนาการท�ำงานของ
หุ่นยนต์ โดยออกแบบการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ให้เคลื่อนที่ ขุดและหยอดเมล็ด
หลังจากน้ันทดสอบการท�ำงาน โดยทดสอบให้หุ่นยนต์ให้เคล่ือนที่ ขุดและหยอด
เมล็ด ตามจดุ ท่ีก�ำหนดในแปลงปลกู ปรับปรงุ โปรแกรม

วิธกี ารใช้

E-Bug ถกู ควบคมุ โดยไมโครคอนโทรลเลอร์ เริม่ ทำ� งานจากการเปดิ สวทิ ซ์
จะมกี ารเคลอื่ นทไี่ ปขา้ งหนา้ ในแปลงปลกู แลว้ หยดุ เพอ่ื เรม่ิ ปลกู ตามจดุ ทก่ี ำ� หนดไว้

การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นนกั ประดิษฐ์ • 79

(ทกุ 5 เซนติเมตร หมายเหตุ สามารถปรบั ในโปรแกรมได้) แล้ว E-BUG จะหยุด
เพอื่ เรมิ่ ขดุ และปลอ่ ยเมลด็ จากนนั้ จะเดนิ ไปเรอ่ื ย ๆ จนกวา่ หนุ่ จะพบปา้ ยสญั ญาณ
ดว้ ยการมองดว้ ยกลอ้ ง (PIXY) เมอื่ พบแผน่ ปา้ ยทมี่ สี ามสที แี่ ตกตา่ งกนั คอื สเี หลอื ง,
สนี ำ�้ เงนิ และสแี ดง จงึ มคี ำ� สงั่ สามทศิ ทางทแ่ี ตกตา่ งกนั เชน่ คำ� สง่ั เลย้ี วซา้ ย เลย้ี วขวา
และหยุด (สีแดง) โดยตำ� แหนง่ สดุ ทา้ ยทีจ่ ะใหห้ ยุดท�ำงานคอื ปา้ ยสแี ดง ถา้ E-Bug
อยใู่ นสภาพแวดลอ้ มทม่ี ดื สลวั E-Bug จะเปดิ ไฟ LED จากการตรวจสอบของเซนเซอร์
แสง (ZX – LDR) และจะมตี ัวแสดงจำ� นวนหลุมท่ปี ลกู ส�ำเร็จ (7-segment digits )

ประโยชน์

ได้หุ่นยนต์ขนาดเล็กท่ีสามารถปลูกผักได้เองโดยอัตโนมัติ ประหยัดเวลา
เพ่ิมความสะดวกสบายโดยมีผักรับประทานเองปราศจากสารเคมี และไม่เสี่ยง
อนั ตรายกบั สารตกค้างในผัก สามารถใช้เป็น Education Toy ได้
ขณะทำ� โครงการ คณุ ครคู อยให้คำ� ปรกึ ษา คำ� ชแ้ี นะ และเทคนิคการเขยี น
โปรแกรมตา่ ง ๆ รวมไปถงึ การใหค้ วามรดู้ า้ นคอมพวิ เตอร์ การชว่ ยเหลอื เรอ่ื งอปุ กรณ์
การท�ำงาน สนับสนุนค่าใช้จ่ายส�ำหรับอุปกรณ์ต่าง ๆ และเอื้อเฟื้อสถานท่ีในการ
ท�ำงาน

ขณะเขา้ รว่ มประกวด คณุ ครคู อยใหค้ ำ� ปรกึ ษา คำ� ชแี้ นะในการนำ� เสนอและ
คอยดูแลอย่างสม�่ำเสมอจนท�ำใหไ้ ด้รับรางวลั เหรียญทอง
80 • การพัฒนาผู้เรียนใหเ้ ปน็ นักประดิษฐ์

ความภาคภูมิใจของนกั เรยี น

รู้สึกดีใจท่ีเลือกวิชาเอก คอมพิวเตอร์ เพราะผมมีความสนใจในการเขียน
โปรแกรมและมีความหวังว่าจะศึกษาต่อในด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ในอนาคต
การได้ประดิษฐ์ส่ิงของเพื่อใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำ� วันเป็นสิ่งท่ีผมสนใจมาตั้งแต่
เด็ก ๆ และเคยไดร้ ับรางวัลจากส่ิงประดษิ ฐ์ในระดบั ประถมศกึ ษามาก่อน สำ� หรับ
เข้าร่วมประกวดส่ิงประดิษฐ์ในระดับนานาชาติน้ีเป็นส่ิงท่ีผมต่ืนเต้นมาก อีกทั้ง
เป็นการเดินทางไปแข่งขันในระดับนานาชาติคร้ังแรกของผม ผมได้ฝึกซ้อมการน�ำเสนอ
ด้วยภาษาอังกฤษภายใต้การแนะน�ำจากครูท�ำให้ผมมีประสบการณ์เพ่ิมข้ึน
และการได้รับรางวัลเหรียญทองท�ำให้ผมรู้สึกภาคภูมิใจและเป็นเกียรติอย่างย่ิง
ขอขอบพระคณุ ทางโรงเรยี นสามเสนวทิ ยาลยั และอาจารยท์ กุ ทา่ นทมี่ สี ว่ นสนบั สนนุ
ให้ความสำ� เรจ็ คร้งั น้ี

การพัฒนาผเู้ รียนให้เปน็ นักประดิษฐ์ • 81

วิเคราะห์บทเรยี น

เมอ่ื ศกึ ษาบทเรยี นเรอื่ ง E-Bug หนุ่ ยนตป์ ลกู พชื อตั โนมตั แิ ลว้ โปรดสะทอ้ น
บทเรียนโดยตอบค�ำถามต่อไปน้ี
1. ครูจัดการเรียนรู้โดยผู้เรยี นเปน็ ศนู ย์กลางอยา่ งไร
................................................................................................................................
................................................................................................................................
2. ครอู อกแบบการจดั การเรยี นรู้อย่างเป็นระบบอยา่ งไรบ้าง
................................................................................................................................
................................................................................................................................
3. ทกั ษะที่ครูต้องฝกึ ใหผ้ ู้เรียนเพื่อเป็นนักประดษิ ฐ์ มอี ะไรบา้ ง
................................................................................................................................
................................................................................................................................
4. คณุ ลกั ษณะของนกั ประดิษฐจ์ ากบทเรียนนี้คืออะไร
................................................................................................................................
................................................................................................................................
5. ผู้เรยี น เรียนร้ผู า่ นการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม (Activity Base Learning) และทำ� ให้ผู้
เรียนสามารถสร้างองคค์ วามรดู้ ้วยตนเอง อยา่ งไรบ้าง
................................................................................................................................
................................................................................................................................
6. ครูเป็นท่ีปรึกษา (coach) ผู้อ�ำนวยให้เกิดการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
เปน็ ผูส้ นบั สนุนผ้ใู หก้ ำ� ลงั ใจ (cheer up) ใหผ้ ู้เรียนคิดส่ิงประดิษฐไ์ ดอ้ ยา่ งไรบา้ ง
................................................................................................................................
................................................................................................................................
7. ทา่ นจะประยกุ ตบ์ ทเรยี นเรอ่ื งนไี้ ปใชเ้ ปน็ แนวทางในการจดั การเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นา
ทักษะและคุณลักษณะ นักประดษิ ฐใ์ หก้ ับผเู้ รยี นของทา่ นอย่างไร
................................................................................................................................
................................................................................................................................
82 • การพัฒนาผูเ้ รียนให้เป็นนกั ประดษิ ฐ์

เร่ืองท่ี 5 การจัดการเรียนรู้ของครูสมไชย กระต่ายทอง

นางสาวนริศรา ซุ่นทรพั ย์ นางสุภักดิ์ ภริ มยแ์ กว้ นายสชุ าย
วิเศษสินธุ์และเรื่องเล่าการสร้างส่ิงประดิษฐ์ของนักเรียน เรื่อง
โครงงานระบบสมองกลฝงั ตวั JIG SAW Smart Education
โรงเรยี นวดั เขาวงั (แสง ชว่ งสวุ นิช) ส�ำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา
ประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1

“ยุวนวตั กรของฉนั
เร่ิมสรา้ งสรรค์จากงาน

ประดิษฐช์ นิ้ เล็ก ๆ
ในช้ันเรียน…”

ภาพยนตรส์ น้ั การจดั การเรยี นรแู้ ละการสรา้ งสง่ิ ประดษิ ฐ์
เรอ่ื ง โครงงานระบบสมองกลฝงั ตวั JIG SAW Smart Education

การพัฒนาผเู้ รยี นให้เปน็ นกั ประดษิ ฐ์ • 83

ความเปน็ มา

โรงเรยี นวดั เขาวงั (แสง ชว่ งสวุ นชิ ) ตง้ั อยู่ ถนนเพชรเกษม ตำ�บลหนา้ เมอื ง
อำ�เภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบรุ ี เปิดทำ�การเรยี นการสอนตง้ั แต่ระดบั ช้ันปฐมวัย
จนถงึ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ มคี รู จำ�นวน 195คนมผี เู้ รยี น3,374คนเปน็ โรงเรยี น
ขยายโอกาสทางการศกึ ษา แมว้ า่ โรงเรยี นวดั เขาวงั (แสง ชว่ งสวุ นชิ ) เป็นโรงเรียนสังกัด
สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ที่ตั้งอยู่ในเขตอำ�เภอ
เมอื ง แต่ผู้เรียนส่วนใหญท่ เี่ ข้ามาเรยี นคอื นักเรียนในอำ�เภอตา่ ง ๆ ซงึ่ ผูป้ กครอง
ส่วนใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกรและรับจ้างทั่วไป ส่วนใหญม่ ฐี านะยากจน ส่งผล
ให้การสนับสนุนด้านการศึกษาเป็นไปด้วยความยากลำ�บาก ผู้เรียนร้อยละ 89.09
นยิ มศกึ ษาต่อสายอาชพี ร้อยละ 2.29 ออกไปประกอบอาชีพเม่ือสำ�เรจ็ การศกึ ษา
ในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ในการจดั การเรยี นการสอนระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
โรงเรยี นเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดค้ น้ พบความสามารถของตนเองตามความถนดั และ
ความสนใจจากกจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รของสถานศกึ ษา โดยมงุ่ เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นไดพ้ ฒั นา
ทกั ษะทางดา้ นศลิ ปะ กฬี า ดนตรี ภาษา และเทคโนโลยี ซงึ่ จากการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
พบวา่ ผเู้ รียนรอ้ ยละ 70 มีความสนใจในดา้ นเทคโนโลยี และรอ้ ยละ 31.57 เป็น
ผู้เรียน ท่มี พี ื้นฐานความรู้ในการเป็นนกั ประดิษฐ์ทดี่ ี มศี ักยภาพที่สามารถสง่ เสริม
สร้างสรรค์ผลงานทสี่ ามารถเขา้ ร่วมกจิ กรรมในเวทตี ่าง ๆ ได้
คณะผู้บริหารและคณะครูโรงเรียนวัดเขาวัง (แสง ช่วงสุวนิช) จึงได้หา
แนวทางในการสง่ เสรมิ ศกั ยภาพผเู้ รยี นโดยการพฒั นาระบบเทคโนโลยขี องโรงเรยี น
ใหท้ ันสมัย การสนบั สนุน และใหโ้ อกาสผู้เรียน ได้เรยี นรแู้ ละฝกึ ปฏบิ ัติ การจัดทำ�
โครงการสนบั สนนุ การจดั การเรยี นการสอนโดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอ่ื สง่ เสรมิ
การเป็นนักคิดและนักสร้างสรรค์ การสร้างผู้เรียนให้มีทักษะการเป็นนักประดิษฐ์
สรา้ งนวตั กรรม เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มและสง่ เสรมิ ดา้ นวชิ าชพี ใหก้ บั นกั เรยี น เสรมิ
สร้างศักยภาพอย่างเปน็ รูปธรรมและมีความยั่งยนื ตอ่ ไป

วัตถปุ ระสงค์

1. เพอ่ื สรา้ งผู้เรยี นใหม้ ที กั ษะความเปน็ นกั ประดษิ ฐ์
2. เพือ่ ยกระดบั ความสามารถของผูเ้ รยี นในการเป็นนวตั กร
3. เพื่อจัดโรงเรียนใหเ้ ปน็ แหลง่ เรียนรู้ของเยาวชนและชุมชน
84 • การพัฒนาผเู้ รยี นให้เปน็ นกั ประดษิ ฐ์

การจดั การเรียนร้ ู

แนวคดิ การจัดการเรยี นรู้

84

การจัดการเรยี นรู
แนวคดิ การจัดการเรียนรู

ผ้เู รียนเป็ นนวตั กร สร้างนวตั กรรม

ทกั ษะการสื่อสารภาษาสากล ภาษาตา่ ง IS นกั วจิ ยั นกั คิดค้น
ประเทศ
ทกั ษะการสื่อสาร การนําเสนอ ศิลปะ การออกแบบ
ไทย ความสวยงามของนวตั กรรม
การแสดงออก กล้าคิด กล้าทํา
กล้าพดู กล้าเส่ียง ดนตรี สงั คม เสริมนวตั กรรมท่ีเกิดประโยชน์ตอ่ สงั คม
ความแขง็ แรงร่างกาย จิตใจ นาฎศิลป ทกั ษะชีวติ

สร้างทกั ษะความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ สขุ ฯ คณิต สร้างความรู้ด้านคณิตศาสตร์
เสริมความรู้ด้านเทคโนโลยี พละ บริหาร สนบั สนนุ ให้คําปรึกษา
สร้างแรงบลั ดาลใจ วทิ ย์

เทคโนโลยี

Jigsaw model

กระบวนการ J I G S A W Model
J Joyful (ทํางานดว ยความสนกุ สนาน)

กระบวนการ J I G S A W ModelI Integrated skills (การบูรณาการทักษะในหลายสาขาวชิ า)
G Generating new ideas (การสรา งความคิดใหม ๆ)

J Joyful (ทำ� งานดว้ ยความสนุกสนาน)S Successful (มุงม่ันสคู วามสาํ เรจ็ )
A Action (การลงมือปฏบิ ตั )ิ

I Integrated skills (การบูรณาการทักษะในหลายสาขาวิชา)W Working together (การทํางานรวมกัน)
กระบวนการดาํ เนนิ งาน

G Generating new ideas (การสรา้ งความคดิ ใหม่ ๆ)1. คดั เลือกนกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 1-3 ตามความถนดั และความสนใจ เขา รวมกจิ กรรมเสรมิ
หลกั สตู ร ในโครงการพัฒนาศักยภาพผเู รยี นดา น ICT

S Successful (มงุ่ มนั่ สู่ความส�ำเรจ็ )2. ประชุมผูเกย่ี วขอ งเพ่ือขอความรวมมอื และรว มดําเนนิ การในการสรา งนวัตกร
3. จัดกจิ กรรมเพ่อื สรางแรงบนั ดาลใจ และฝก ฝนทกั ษะเบอ้ื งตนในการเปนนวตั กร คือ กลาคดิ

A Action (การลงมอื ปฏบิ ัต)ิกลาแสดงความคิดเห็น กลาท่จี ะเรียนรู และกลา ทีจ่ ะลงมอื ทาํ
W Working together (การทำ� งานรว่ มกนั )การสะทอ นถึงแนวทางการสรา งนวตั กรของโรงเรียนวัดเขาวัง (แสง ชวงสวุ นิช) ครผู ูสอนตองดึง

กระบวนการดำ� เนินงาน

1. คดั เลอื กนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-3 ตามความถนดั และความสนใจ
เข้ารว่ มกิจกรรมเสริมหลักสูตร ในโครงการพัฒนาศกั ยภาพผู้เรียนดา้ น ICT
2. ประชมุ ผเู้ กย่ี วขอ้ งเพอ่ื ขอความรว่ มมอื และรว่ มดำ�เนนิ การในการสรา้ ง
นวัตกร
3. จดั กจิ กรรมเพอ่ื สรา้ งแรงบนั ดาลใจ และฝกึ ฝนทกั ษะเบอ้ื งตน้ ในการเปน็
นวตั กร คือ กลา้ คดิ กลา้ แสดงความคดิ เหน็ กล้าทจี่ ะเรยี นรู้ และกลา้ ทจ่ี ะลงมือทำ�

การพฒั นาผู้เรยี นให้เป็นนักประดษิ ฐ์ • 85

4. โรงเรยี นไดเ้ ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นกลมุ่ นี้ ไดแ้ สดงศกั ยภาพความเปน็ นวตั กร
โดยเรมิ่ จากการแสดงนทิ รรศการภายในโรงเรยี น และรว่ มกจิ กรรมการแขง่ ขนั ในเวที
ระดับจงั หวดั ระดับภาค ระดบั ชาติ และระดบั นานาชาติ

ผลการจัดการเรียนรู้

1. ผู้เรียนระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1-3 จำ�นวน 573 คน สามารถสร้าง
สิ่งประดิษฐ์ได้อย่างสร้างสรรค์ โดยใช้องค์ความรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และ
การบูรณาการวชิ าที่เรียน จำ�นวน 465 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 81.15
2. ผเู้ รยี นระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-3 สามารถสรา้ งสรรคผ์ ลงานประสบ
ความสำ�เรจ็ ในระดับสำ�นกั งานเขตพืน้ ที่ ระดบั ภาค และระดบั ประเทศ ในงานศิลป
หตั ถกรรมนักเรียน
3. เยาวชนและชุมชน จำ�นวน 4,000 คน ใช้บริการจากแหล่งเรียนรู้ใน
โรงเรียน จำ�นวน 3,500 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 87.50

คณุ ลกั ษณะและทกั ษะของนกั เรยี นทจี่ ะกา้ วสคู่ วามเปน็ นกั ประดษิ ฐ์

นกั เรียนมจี ิตสาธารณะ อยากนำ�ความรเู้ รอ่ื งเทคโนโลยี มาช่วยนักเรยี น
อนบุ าล มีแรงบนั ดาลใจ กลา้ คิดกล้าแสดงความคิดเหน็ กล้าท่จี ะเรียนรู้ และกล้า
ทจ่ี ะลงมอื ทำ� มคี วามคิดสร้างสรรค์ตอ่ ยอดความคดิ จากรุ่นพ่มี าปรับปรุงพฒั นาให้
ใช้ประโยชน์ได้ดขี นึ้ มคี วามสามารถทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ทักษะการ
ทำ�งานรว่ มกนั เปน็ จิกซอว์

ปัจจัยท่ที �ำให้ประสบผลสำ� เร็จ

นกั เรยี น ร่วมมอื รว่ มใจ บรู ณาการความรู้ และความสามารถของสมาชิก
ภายในกลมุ่
ตอ้ งเปน็ ผอู้ ำ�นวยการการเรยี นรู้ ฝกึ ใหน้ กั เรยี นทำ�งานรว่ มกนั เพอื่
ครู บูรณาการ ความรู้ ความสามารถ ดงึ ศกั ยภาพของผ้เู รียนแตล่ ะ

คนออกมาทำ�งานร่วมกนั
ให้การสนับสนุนจัดนิทรรศการแสดงผลงานท้ังภายในโรงเรียน
ผบู้ ริหาร และภายนอกโรงเรยี น แลกเปลยี่ นเรยี นรใู้ หร้ นุ่ นอ้ งเหน็ แบบอยา่ ง
ทดี่ ขี องรนุ่ พ่สี ร้างความภาคภมู ใิ จใหน้ ักประดษิ ฐ์

86 • การพัฒนาผเู้ รียนใหเ้ ป็นนักประดิษฐ์

เรื่องเล่า การสร้างสิ่งประดิษฐ์ของนักเรียน เรื่องโครงงานระบบ
สมองกลฝงั ตวั JIG SAW Smart Education โรงเรยี นวดั เขาวงั
(แสง ชว่ งสวุ นิช) รางวัลรองชนะเลิศ อนั ดบั 3 จากการแขง่ ขันหุ่น
ยนต์นานาชาติ 2561 ณ กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน
โดย นางสาวมณี รตั นสนุ ทร นายลขิ ติ ฟองนำ�้ เดก็ หญงิ สริ นิ ยา
กระตา่ ยทอง

มณี รตั นสนุ ทร
เขา้ เรยี นระดบั มธั ยม“เพราะรกั ศลิ ปะชอบวาดรปู และสามารถ
ตอ่ ศพั ทภ์ าษาองั กฤษ เรยี นรวู้ ทิ ย์ คณติ ไดด้ ี แตไ่ มร่ วู้ า่ อะไร
คือส่ิงที่ฉันรัก ฉันต้องการแสดงออกถึงความสามารถ
ของฉนั ฉันตอ้ งการปลดล็อค คณุ ครูดวงใจหัวหน้าวชิ าการสายชัน้ มัธยมแนะนำ� ให้ฉนั
เข้าสชู่ ุมนมุ คอมพิวเตอร์ คณุ ครูที่ปรึกษาชุมนมุ แนะใหฉ้ นั ฝกึ เขียนโปรแกรมภาษา
เร่ิมตน้ ด้วยภาษา C++ ผ่านการเขียนควบคุมสมองกลหุน่ ยนต์ ฉันลงเวทีแขง่ ขันหุน่
ยนต์อัตโนมัติในรุ่นระดับกลางฉันชนะ ฉันได้รับคัดเลือกลงรุ่นระดับสูงของ
การแขง่ ขนั ระดบั ภาค ฉันรสู้ ึกกดดันและฉนั ขอถอนตัวออกจากการแขง่ ขัน .... ฉนั
ต้องการปลดล็อค คุณครูแนะน�ำฉันให้ฉันพิสูจน์ความสามารถตัวเองและไม่ถอย
ไมถ่ อนตัวในสถานการณท์ กี่ ดดนั โดยพาฉนั สู่การแขง่ ขนั แบบ โอเพน ฉันนักเรียน
สาธิต นักเรียนระดับมัธยมปลาย ในเวทีหุ่นยนต์อัตโนมัติและคร้ังน้ีฉันสามารถ
ปลดล็อคความสามารถฉันส�ำเร็จ ฉันมีประสบการณ์ มีความพร้อม ฉันเริ่ม
เรียนรู้ภาษา HTML และ Java เพ่ือให้เกิดความหลากหลายและเกิดขั้นตอน
ในการสร้างนวัตกรรมฉันได้รับแรงบันดาลใจในค่ายยุวนวัตกร ครูแนะน�ำบอร์ด
สมองกลฝังตัว raspberry pi 3 model b และ เริม่ ศกึ ษาภาษา ไพธอน ซ่งึ นกั เรียน
ชัน้ ม.ปลาย ศกึ ษากัน และ LAB กับวงจรแบบตา่ ง ๆ ฉันคอื Jigsaw”


ลขิ ติ ฟองนำ้�
เรยี นในหอ้ งเรยี นระดบั กลาง ๆ คะแนนปานกลาง “ผมมี
พช่ี ายซงึ่ เคยชนะระดบั ประเทศเป็นแบบอย่าง ผมอยาก

การพัฒนาผเู้ รยี นให้เปน็ นักประดิษฐ์ • 87

สร้างสิง่ ประดิษฐ์ดี ๆ แบบพี่ ถ้าผมมีอะไรพอเปน็ ทุนบา้ งก็คอื ก�ำลงั กาย กำ� ลงั ใจ
และทกั ษะในเชงิ ชา่ ง ผมกา้ วสชู่ มุ นมุ คอมพวิ เตอรด์ ว้ ยการแนะนำ� ของพชี่ าย คณุ ครู
แนะนำ� ใหผ้ ม ตอ่ วงจร แนะนำ� และฝึกฝนใหใ้ ช้เครอ่ื งมือทหี่ ลากหลายจนเกิดความ
คุ้นเคย และส่งผมสู่เวทีการแข่งขันหุ่นยนต์ระดับกลาง ผมได้รับรางวัลเหรียญเงิน
อันดับที่ 5 ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก ปีต่อมาคุณครูแนะน�ำให้ผมเข้าสู่
สายการสรา้ งนวตั กรรมโดยผา่ นโครงการคา่ ยยวุ นวตั กรของโรงเรยี น คณุ ครแู นะนำ�
บอร์ดสมองกลฝังตัว ช่ือ NodMCU คุณครูแนะน�ำให้ผมทดลองเขียนโปรแกรม
ควบคมุ ดว้ ยภาษา C นคี้ ือ Jigsaw ในมือผม ผมคือ Jigsaw”

สริ นิ ยา กระตา่ ยทอง
เลา่ วา่ “ชว่ งประถมฉนั ไมไ่ ดเ้ รยี นทโี่ รงเรยี นวดั เขาวงั (แสง
ชว่ งสวุ นชิ ) ในระดบั มธั ยม ผปู้ กครองอยากใหฉ้ นั เขา้ เรยี น
โรงเรียนแห่งน้ี ซ่ึงมีการสอบคัดเลือก ฉันตัดสินใจสมัคร
ประเภทห้องเรียนความสามารถด้านคอมพิวเตอร์ ฉันสามารถสอบเข้าได้โดยใช้
โปรแกรมออกแบบสามมิติสอบผ่านเข้ามาและได้เข้าสู่ชุมนุมคอมพิวเตอร์ ฉันพูด
ไมเ่ กง่ แต่ฉันมีความอดทนและพยายาม ฉันสามารถเขา้ LAB ไดเ้ ปน็ วันไมว่ ่าการ
ทดลองนน้ั จะสำ� เรจ็ หรอื ลม้ เหลว คณุ ครแู นะนำ� ใหฉ้ นั รจู้ กั บอรด์ สมองกลแบบฝงั ตวั
ช่ือ Raspberry pi 3 model b และแนะน�ำให้ฉันศึกษาโปรแกรมแบบ GUI
ดว้ ย Wiring Pi ทดลองแล็บ senser ประเภทต่าง ๆ ท่ีคุณครมู ีให้ทดลองในหอ้ ง
วิทยบริการ และเร่ิมศึกษาภาษาไพธอน ตลอดจนการต้ังค่าต่าง ๆ ในบอร์ด ชื่อ
Raspberry pi ฉนั ไดร้ บั ความรสู้ สู่ ายนวตั กรเตรยี มความพรอ้ มในการสรา้ งนวตั กรรม
โดยผ่านค่ายยุวนวัตกรของโรงเรียน ฉันเริ่มสร้างสรรค์งานประดิษฐ์ช้ินเล็ก ๆ ใน
ช้ันเรียนรว่ มกับเพื่อน ๆ ใหมใ่ นโรงเรียนแห่งนี้ ฉันคือ Jigsaw
พวกเราคือ Jigsaw ที่คุณครูค่อย ๆ ต่อให้
ลงตวั เราทกุ คนเหน็ หนุ่ ทรี่ นุ่ พสี่ รา้ งไวแ้ ละวางไวเ้ ปน็ แรง
บนั ดาลใจ เราอยากปลกุ ชวี ติ ใหห้ นุ่ ยนตข์ องรนุ่ พเี่ กดิ เปน็
เวอรช์ นั ใหมเ่ ขา้ กับยุค 4.0 เราผนวกเอาความสามารถ
ของแนวทางดี ๆ ทพี่ ี่ ๆ วางไวเ้ ชน่ การใช้กล่องราคาถูก
หาได้ในร้านค้าสหกรณ์ของโรงเรียนที่สามารถเปิด-ปิด
88 • การพัฒนาผู้เรยี นใหเ้ ป็นนักประดิษฐ์

แกไ้ ขชนิ้ งานไดส้ ะดวก ความสามารถในการชว่ ยชวี ติ คน
การสร้างความอบอุ่นใจให้เกิดข้ึนแก่ทุกฝ่ายและมัน
ต้องถูกเรียกว่า Jigsaw แล้ว Jigsaw ของเราก็ออก
เดินทางและถูกเติมเต็มให้สมบูรณ์ข้ึนด้วย Jigsaw
ในมือของทุก ๆ คนเพราะทกุ คนคอื .......”

“สงสยั เราไหม ?

มาร้จู ัก Jigsaw กัน



เนื่องจากเหตุการณ์ท่ีเป็นข่าวในแต่ละปีพบว่า มีนักเรียนเสียชีวิตในรถ
โรงเรียนหลายราย ซึง่ เป็นข่าวที่ สะเทอื นขวัญเป็นอยา่ งมาก เพราะนักเรยี นทเี่ สยี
ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในวัยอนุบาลที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ เมื่อถูกลืมอยู่ในรถ
โรงเรยี น เราจงึ คดิ น�ำเทคโนโลยีและการสือ่ สารมาเปน็ กลไกในการสรา้ งเครื่องมือ
เพือ่ ป้องกันปญั หาที่อาจเกดิ ขนึ้ กับนักเรยี นบนรถโรงเรยี น ตลอดถึงการประยุกตใ์ ช้
การดูแล แจ้งการเดินทางถงึ โรงเรียนหรือหอ้ งเรียนเพือ่ ความปลอดภัยของนักเรียน
เกดิ ความอุ่นใจกับผ้ปู กครอง ครู ผ้บู รหิ ารและผ้ทู เี่ ก่ยี วข้องทกุ ส่วน โครงงานระบบ
สมองกลฝังตวั ห่นุ ยนต์ Jigsaw Smart Education เปน็ โครงงานทน่ี ำ� เทคโนโลยี
สมองกลมาเพื่อใช้แก้ปัญหาและสร้างนวัตกรรมที่ช่ือว่า หุ่นยนต์ Jigsaw Smart
Education โดยระบบการท�ำงาน จะเริ่มจากการเช็คสถานะทันทีเม่ือนักเรียน
เดินผ่าน และท�ำการแจ้งข้อมูลให้ผู้ปกครองและผู้มีส่วนเก่ียวข้องทราบด้วยการ
แสดงข้อความผ่านทาง Application Line หุ่นยนต์ Jigsaw Smart Education
ได้น�ำบอร์ด Raspberry Pi3 วงจร RFID LED โพรโทบอร์ด webcam หรือ
Camera Module มาใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ Jigsaw Smart Education
โดยใช้โปรแกรมภาษา Python และ IFTTT ในการพัฒนาระบบการท�ำงานของ
หุ่นยนต์ Jigsaw Smart Education

การพฒั นาผเู้ รียนใหเ้ ปน็ นกั ประดษิ ฐ์ • 89

สรา งเครื่องมอื เพือ่ ปอ งกนั ปญหาที่อาจเกดิ ขึน้ กบั นกั เรียนบนรถโรงเรียน ตลอดถงึ การประยุกตใ ชก ารดูแล
แจง การเดนิ ทางถงึ โรงเรยี นหรือหอ งเรียนเพื่อความปลอดภัยของนักเรยี นเกิด ความอุนใจกบั ผปู กครอง ครู

ผบู รหิ ารและผทู ีเ่ กยี่ วของทกุ สว น โครงงานระบบสมองกลฝงตวั หนุ ยนต Jigsaw Smart Education เปน

โครงงานทน่ี ําเทคโนโลยีสมองกลมาเพอ่ื ใชแ กปญ หาและสรางนวัตกรรมทชี่ ่อื วา หุนยนต Jigsaw Smart

พวกเราชว่ ยกันวเิ คราะหป์ ัญหาด้วยชดุ ค�ำถาม 5W1HEducation โดยระบบการทํางาน จะเรมิ่ จากการเช็คสถานะทันทีเม่อื นกั เรยี นเดินผา น และทาํ การแจง

• ขอปมัญลู ใหหผ าปู คกือคอรอะงไแรละผ(Wูมีสhวนaเtก)่ยี วคข�ำอตงทอรบาบดควยนกขาับรแรสถดงรขับอ สคว่งานมักผาเนรทียานงมAักppลlืมicaตtรioวnจLสinอeบหวนุ่ายนต

JigนsaักwเรSียmนaลrtงEจdาuกcaรtถioหnมไดดนทําบุกอครนด หRaรsือpยbeังrryผู้ปPiก๓ควงรจอรงRแFลIDะLผEู้เDกี่ยโพวรขโท้อบงอตร้อดงwกeาbรcทamราหบรือ
Caขmอ้ eมraลู Mตoา่ dงuๆlเeพอื่มาคใวชใานมกอารบสอราุ่นงหใจนุ ยนต Jigsaw Smart Education โดย ใชโปรแกรมภาษา Python

• แลปะญั IFหTTาTเกใิดนกกบัารใพคฒั รน(าWระhบบoก)ารคท�ำาํ งตาอนขบองนหกั นุ เรยนยี ตน Jigsaw Smart Education
• ปหัญอ้ งหเราียเพกนวิดกขเรึ้นาทชวี่ไยหกนนั วเิ(คWราhะeหปreญ)หาคด�ำวตยชอุดบคํารถาถมรับ๕Wส่ง๑นHักเรียน ตลอดจนโรงเรียน
• - ปปญัญหหาคาือเอกะิดไรข้ึน(Wเhมa่ือt)ไรคาํ ต(Wอบhคeนnข)บั รคถ�ำรบัตสอง บนักเเรมยี ื่อนมมักีเลดืม็กตหรวลจับสออบยวู่ใา นนรักถเรแยี นลล้วงคจานกขรถับหไมมด่ททันุกคน
•• โ--ห--รรเปปปเจงรสนพือพเญญญ ะะรรังักยรยีหหหาแเบังเะกนาาาารกบผเเเเะหตียหกกกปู้ปอรเตเดิิดิดนกหอืหัญนิใุขกขคซเดตนนึ้ึ้บัขน็เรหจง่ึตาเทใใุอึงมอคาถดงกไ่ีอตอ่ืรหึงอแาจอารหไลนจ(ยรงงึรเ์Wอะแนเต่า(เ(งผกWกWhดเงต็อ้ูเรปoิดกไินhhียงรญ)ี่ยอeeนทแวหrnาคโeขก(าดา)กําH)องป้ยต(างคคถoเWอตัญฉรําํางึบwอตพhตชโหงอyอารน)อ็ก)ะบาบงักาคขคคเเรรเอรรํา(ทม�ำถียหWตงียอ่ืรรตเนอดมนาับมhบอบ็กเีสดหดชyบเขงลสว็กร)นอ็กยหตือมักมเคลลูเหิเรีขขบัแ�ำตลยี อต้อา้าลอืนงยถเอคะๆดใูตึงนบอวเ็กลพหรทาาชออื่ถ้อมตี่จด่วคแิดงจแวยลเอเนาจวสรเยมโหค้งยีรียูใอนนงลนชบเขรผรืออโีวบัถียู้ทดนุเริตไนดมับใี่เยไจกทก็หสดเฉัน่ียงอท้นสงพว่ตีกัเังขราเเิดียกร้อะนอยีตงขนเยหทอซู่ใ็นงึ่ั้งงนอหเกราดามจถก็รเดรเกเดบัิดผลนิ อ่็กาสทานง่ากงาถรงึ

แลช- อ็จว้ คะแเหรกมป าดญ สกหตาช็ิ แอว่ลยะายงอไารกจ(นัHเสoียคwช)วีดิ ิตคไแดาํ กต อป้ บ ญัมีขอหควาามนแจำ� ง เทผทู คีเ่ กี่ยโนวขโอลงทยั้งหสี มดมผาอนงระกบบลอมินเตาอเรพเนต็อื่ ใช้
แกแลป้ ว เรญั ากช็หวายกตันคาดิ มแกขปน้ัญ หตานอาํ นเทคโนโลยีสมองกลมาเพอื่ ใชแ กปญ หาตามข้นั ตอน

1.สรางทางเลือกวิธกี ารแกป ญ หา วธิ ีท่ี 1 2.เลอื กวิธีการ 3.ออกแบบและปฏบิ ัตกิ าร

วธิ ีท่ี 2

7.ประเมินประสทิ ธภิ าพของสิ่งประดษิ ฐ 6.ปรบั ปรุงแกไ ข 5.ทดสอบ 4.ลงมือสราง

ภาพวงจรการทำ� งานของห่นุ ยนต์ Jigsaw Smart Education

90 • การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นนกั ประดิษฐ์

ลงมอื สรา้ งตามขน้ั ตอน

ภาพการสร้างส่งิ ปะดิษฐ์ Jigsaw Smart Education

ขนั้ ตอนการสรา้ งหนุ่ ยนต์ Jigsaw Smart Education คอื 1. ออกแบบวงจรหนุ่ ยนต์
Jigsaw Smart Education 2. ตอ่ วงจรตามท่ีได้ออกแบบไว้ 3. เขียนโปรแกรม
ควบคุม 4. ทดสอบและแก้ไขการท�ำงานของวงจรหุ่นยนต์ Jigsaw Smart
Education ใหส้ ามารถใชง้ านได้ 5. ตดิ ตง้ั วงจรหนุ่ ยนต์ Jigsaw Smart Education
ลงกลอ่ งเพอื่ ใหส้ ามารถใชง้ านไดส้ ะดวก 6. ตดิ ตงั้ หนุ่ ยนต์ Jigsaw Smart Education
เข้ากบั โมเดลทดสอบ 7. ตรวจสอบการใชง้ านและตกแต่งโมเดลให้ดสู วยงาม

การพฒั นาผ้เู รียนให้เปน็ นกั ประดิษฐ์ • 91

วเิ คราะหบ์ ทเรยี น

เมื่อท่านศึกษาบทเรียนเรื่องโครงการระบบสมองกลฝังตัว JIG SAW
Smart Education แล้ว โปรดสะท้อนบทเรยี นโดยตอบคำ� ถามตอ่ ไปนี้
1. ครูจัดการเรยี นรโู้ ดยผ้เู รยี นเปน็ ศูนยก์ ลางอย่างไร
................................................................................................................................
................................................................................................................................
2. ครอู อกแบบการจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งเป็นระบบอยา่ งไรบา้ ง
................................................................................................................................
................................................................................................................................
3. ทกั ษะท่คี รตู ้องฝกึ ให้ผู้เรยี นเพอื่ เป็นนักประดษิ ฐ์ มอี ะไรบา้ ง
................................................................................................................................
................................................................................................................................
4. คุณลักษณะของนักประดิษฐจ์ ากบทเรยี นน้คี ืออะไร
................................................................................................................................
................................................................................................................................
5. ผูเ้ รยี น เรียนร้ผู ่านการปฏิบัตกิ ิจกรรม (Activity Base Learning) และทำ� ให้
ผ้เู รยี นสามารถสร้างองค์ความรดู้ ว้ ยตนเอง อย่างไรบา้ ง
................................................................................................................................
................................................................................................................................
6. ครูเป็นที่ปรึกษา (coach) ผู้อ�ำนวยให้เกิดการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
เป็นผสู้ นับสนุนผู้ให้กำ� ลงั ใจ (cheer up) ใหผ้ เู้ รยี นคิดส่ิงประดษิ ฐไ์ ด้อยา่ งไรบา้ ง
................................................................................................................................
................................................................................................................................
7. ทา่ นจะประยกุ ตบ์ ทเรยี นเรอื่ งนไี้ ปใชเ้ ปน็ แนวทางในการจดั การเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นา
ทักษะและคุณลักษณะนักประดิษฐใ์ หก้ บั ผเู้ รียนของท่านอย่างไร
...............................................................................................................................
...............................................................................................................................
92 • การพัฒนาผเู้ รยี นให้เป็นนกั ประดิษฐ์

บทที่ 3

สรปุ บทเรียนการจัดการเรยี นรู้
เพื่อพฒั นาคุณลักษณะและทักษะของผเู้ รยี นส่คู วาม
เป็นนักประดิษฐา์ ัาาาั ูำี้ ู่าิั

ก ารพัฒนาผู้เรียนให้เป็นนักประดิษฐ์ได้น้ันผู้บริหาร ครู ผู้เรียน และชุมชน

ตอ้ งรว่ มมอื กนั พฒั นาผเู้ รยี น กำ� หนดเปา้ หมายการจดั การเรยี นรู้ ตามทศิ ทาง
ของยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) ที่จะให้เยาวชนทุกคนเป็นคนดี เก่ง
มีคุณภาพ มีปัญญา และมีนวัตกรรม การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณลักษณะ
และทักษะของผู้เรียนสู่ความเป็นนักประดิษฐ์ ผู้มีบทบาทส�ำคัญคือครูที่จะเป็น
ผู้จัดอ�ำนวยการให้ผู้เรียนเรียนรู้ มีคุณลักษณะและทักษะของนักประดิษฐ์ โดยมี
ผู้บรหิ ารสถานศึกษาให้การสนับสนนุ สง่ เสรมิ การจดั การเรียนรู้ของครู และผู้เรยี น
เชน่ การจดั หลกั สตู รสาระเพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี การจดั ใหม้ โี ครงงาน
วิทยาศาสตร์การสร้างส่ิงประดิษฐ์ การจัดให้มีเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน
สถานประกอบการ และสถาบนั อดุ มศกึ ษา การสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารจดั แสดงนทิ รรศการ
ผลงานสิ่งประดิษฐ์ การจัดแข่งขันประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์ในเวทีต่างๆ รวมท้ัง
การได้รับความร่วมมือจากชุมชน ภูมิปัญญา ผู้ปกครองท้องถ่ินให้การสนับสนุน
สง่ เสรมิ ผูเ้ รยี นให้เกิดการค้นพบสง่ิ ประดษิ ฐเ์ พื่อการใช้ประโยชนใ์ นสงั คม
การจดั การเรยี นรขู้ องครู ใหผ้ เู้ รยี นมคี ณุ ลกั ษณะและทกั ษะของนกั ประดษิ ฐ์
สรุปบทบาท วิธีการจัดการเรียนรู้ และการส่งเสริมนักเรียนให้มีคุณลักษณะและ
ทกั ษะของนกั ประดษิ ฐไ์ ด้ดังน้ี

การพัฒนาผู้เรียนใหเ้ ป็นนกั ประดิษฐ์ • 93

1. บทบาทครใู นการจดั การเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาคณุ ลกั ษณะและ
ทกั ษะของนักประดิษฐ์

บทบาทครู เร่ิมจากทัศนคติภายในตัวครู ไปสู่ความรู้ความสามารถ การ
จัดการเรียนรเู้ สรมิ สรา้ งคุณลักษณะและทกั ษะของผู้เรยี น ดังนี้
1) การมีปรัชญาในการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ และปรับ
กระบวนทศั นใ์ หมว่ า่ ไมใ่ ชเ่ พยี งผมู้ พี รสวรรคเ์ ทา่ นน้ั ทจ่ี ะสรา้ งสงิ่ ประดษิ ฐไ์ ด้ ผเู้ รยี น
ทกุ คนมคี วามคดิ สรา้ งสรรคใ์ นแบบของตนเองและผเู้ รยี นทกุ คนเปน็ นกั ประดษิ ฐไ์ ด้
2) ครูใช้ท้งั ศาสตร์และศิลปใ์ นการจดั การเรียนรู้ กล่าวคือต้องใฝ่หาความ
ร้ใู หท้ นั ยุคทันสมยั ให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจ เก่ียวกบั รปู แบบการจัดการเรียนรู้เพ่อื
ผูเ้ รียนในศตวรรษท่ี 21 โดยเน้นผูเ้ รียนเปน็ สำ� คญั และพัฒนาตนเองใหส้ ามารถนำ�
รปู แบบการจดั การเรยี นรทู้ เ่ี หมาะสมกบั ผเู้ รยี นไปใช้ โดยมหี ลกั จติ วทิ ยา เทคนคิ การ
จัดการเรียนรู้ และจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ กระตุ้นให้ค้นหา
ความรู้ และเรยี นรอู้ ย่างมคี วามสุข
3) จดั การเรยี นรู้ โดย ครู เปน็ ผเู้ ออื้ อำ� นวยการใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ (learning
facilitator) โดยมีการวางแผนและจดั การเรยี นรอู้ ย่างเปน็ ระบบ จดั บรรยากาศให้
ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง พัฒนาความรู้ คุณลักษณะ และทักษะของ
นกั ประดษิ ฐ์ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ผา่ นรายวชิ า ดว้ ยกจิ กรรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Activity Base
Learning) ทง้ั ในและนอกห้องเรยี น เพื่อผเู้ รียนคิดสร้างผลผลติ /ส่งิ ประดษิ ฐ์

4) การวัดประเมินผล ว่าผู้เรียนได้คุณลักษณะ ทักษะของนักประดิษฐ์
และความรูท้ จ่ี �ำเป็นแล้ว และสร้างเสรมิ ก�ำลงั ใจ ให้ผู้เรยี น คดิ สิง่ ใหมๆ่ และเปดิ ใจ
กว้างรับความผิดพลาด จากการลองผิดลองถูกความคดิ ใหม่ๆ

5) ทบทวนสรุปภาพความส�ำเร็จ และข้อปรับปรุงแก้ไขร่วมกับผู้เรียน
ทงั้ ในผลผลิต /สงิ่ ประดษิ ฐ์ และกระบวนการจัดการเรียนรู้
94 • การพัฒนาผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ นักประดิษฐ์

2. วธิ กี ารจดั การเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาคณุ ลกั ษณะและทกั ษะของ
นักประดษิ ฐ์

ในการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิผลต้องวางแผนการจัดการเรียนรู้
อย่างเป็นระบบ ก�ำหนดเนื้อหา วัตถุประสงค์การเรียนรู้ด้านความรู้ คุณลักษณะ
และทักษะที่ต้องการพัฒนานักเรียนแล้วครูต้องเตรียมความพร้อม เตรียมส่ือ
อุปกรณแ์ ละจัดบรรยากาศใหเ้ อ้อื ต่อการเรียนร้แู ลว้ ด�ำเนินการจัดการเรยี นรู้โดย
1) จดั การเรยี นรผู้ า่ นรายวชิ าตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551และมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั ฯ (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560) และ
เรยี นรจู้ ากการลงมอื ปฏบิ ตั ใิ นบทเรยี นนเ้ี นน้ การจดั การเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาคณุ ลกั ษณะ
และทักษะของนักประดิษฐ์ จึงเสนอให้ใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน
สรา้ งส่งิ ประดิษฐท์ างวิทยาศาสตร์ หรือสิง่ ประดษิ ฐ์ทางเทคโนโลยี การจัดการเรียนรู้
แบบโครงงานนแ้ี มจ้ ะไมใ่ ชร่ ปู แบบใหมใ่ นการจดั การเรยี นรู้ แตเ่ ปน็ การจดั การเรยี นรู้
ท่ีทันสมัย ในยุคประเทศไทย 4.0 ที่สามารถตอบโจทย์การสร้างผู้เรียนให้เป็น
นวัตกรได้
2) การจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ การพัฒนาคุณลักษณะ
และทักษะของนักประดิษฐ์และส่งเสริมให้ผู้เรียนได้สร้างสรรค์ความรู้ความคิด
ด้วยตนเองด้วยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน โดยก�ำหนดสถานการณ์เพื่อให้นักเรียน
คดิ สรา้ งสงิ่ ประดษิ ฐท์ เ่ี ปน็ ประโยชนเ์ กย่ี วกบั การดำ� เนนิ ชวี ติ ในบรบิ ทของชมุ ชนสงั คม
ใกล้ตัว จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้เรียนเรียนรู้แก้ปัญหาให้สังคมจากการปฏิบัติกิจกรรม
และน�ำความรไู้ ปประยุกตใ์ ชส้ รา้ งส่งิ ประดิษฐ์ สสู่ ังคม
3) การออกแบบการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ โดย การวางแผน
การจดั การเรยี นรู้ การจดั ปัจจยั จดั กระบวนการ ลำ� ดบั ขั้นตอนกระบวนการเรยี น
รู้จากความรู้พ้ืนฐาน จากง่ายไปสู่เน้ือหาเฉพาะและลึกซึ้ง ให้ผู้เรียนรู้จักคิด วิจัย
และวจิ ารณ์ จดั กระบวนการกลมุ่ ใหท้ ำ� งานเปน็ ทมี ทำ� งานรว่ มกนั เพอื่ สรา้ งผลผลติ
/สง่ิ ประดิษฐ์ ตามความสนใจและความถนดั ของผ้เู รยี นเอง
4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สร้างเสริมพัฒนาคุณลักษณะและทักษะ
ของนกั ประดษิ ฐ์ ดว้ ยเทคนคิ ตา่ งๆ เชน่ เทคนคิ ทชี่ ว่ ยเสรมิ ความสามารถดา้ นความคดิ
ด้วยเทคนคิ หมวกคดิ 6 ใบของ เอ็ดเวดิ ร์ เดอ โบโน (Edward De Bono:1986)

การพฒั นาผ้เู รียนให้เปน็ นกั ประดิษฐ์ • 95


Click to View FlipBook Version