The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ASCAR.RMUTK, 2020-09-30 23:44:28

คู่มือนักศึกษา2562

คู่มือนักศึกษา2562

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

Rajamangala University of Technology Krungthep

ค่มู ือนกั ศึกษา
๒๕๖๒

คมู่ ือนี้ มเี จา้ ของช่ือ..................................................................................................................
รหสั นกั ศึกษา..................................................................................................................................
สาขา............................................................................................................................................................
คณะ.............................................................................................................................................................
อาจารยท์ ี่ปรึกษาช่ือ.............................................................................................................

สารจากอธกิ ารบดี ๑-๘ หน้า
ประวตั คิ วามเปน็ มาของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
๙-๑๒ ๔
สญั ลักษณ์ ๑๓-๑๖ ๔
สปี ระจำมหำวทิ ยำลยั ๕
ต้นไม้ประจำมหำวิทยำลยั ๑๗-๒๗ ๖
ผู้บริหำรมหำวทิ ยำลัย 2๘-๖๗ ๗
วิสัยทัศน์ อตั ลักษณ์ และเอกลักษณ์ ๘
ทีต่ งั้ และแผนท่กี ำรเดนิ ทำง
หมายเลขโทรศัพทต์ ดิ ต่อผ้บู รหิ ารและหนว่ ยงานสนับสนุน ๑๔
การให้บรกิ ารจากสานกั สง่ เสริมวชิ าการและงานทะเบยี น ๑๕
ประเภทกำรบริกำร ๑๕
สง่ิ ทนี่ กั ศกึ ษำควรปฏิบตั ิ ๑๕
ระบบกำรจดั กำรศึกษำ ๑๖
กำรลงทะเบยี น เรียน ๑๖
บทลงโทษสำหรบั กำรปลอมแปลงเอกสำร
กำรพน้ สภำพ ๑๘
การจัดการศกึ ษา ๒๒
คณะ/สำขำวิชำทีเ่ ปดิ สอนในมหำวทิ ยำลยั ๒๓
ควำมหมำยของเลขรหสั นักศึกษำ ๒๔
เคร่อื งแบบนกั ศกึ ษำ
บทบำทของอำจำรยท์ ป่ี รกึ ษำ ๓๐
หมวดทว่ั ไป ๕๙
พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎกี า ขอ้ บังคบั ระเบียบ
ประกาศของมหาวิทยาลัยท่ีเกยี่ วข้องกับนกั ศึกษา ๖๔
พระรำชบญั ญัตมิ หำวิทยำลยั เทคโนโลยรี ำชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘
พระรำชกฤษฎกี ำว่ำด้วยปรญิ ญำในสำขำวิชำ อกั ษรย่อสำหรบั สำขำวิชำ
ครุยวทิ ยฐำนะ เขม็ วิทยฐำนะ และครยุ ประจำตำแหน่งของมหำวิทยำลยั
เทคโนโลยีรำชมงคลกรงุ เทพ พ.ศ. ๒๕๕๑
พระรำชกฤษฎีกำ วำ่ ด้วยปริญญำในสำขำวิชำ อักษรยอ่ สำหรับสำขำวิชำ
ครยุ วทิ ยฐำนะ เขม็ วทิ ยฐำนะ และครยุ ประจำตำแหน่งของมหำวิทยำลยั
เทคโนโลยีรำชมงคลกรงุ เทพ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๕

หน้า

ระดับปรญิ ญาตรี ๖๘-๑๕๓

หมวดวา่ ด้วยการจัดการศกึ ษา

ข้อบังคบั ฯ ว่ำดว้ ยกำรศกึ ษำระดบั ปรญิ ญำตรี พ.ศ. ๒๕๕๐ ๖๙

ระเบยี บฯ วำ่ ด้วยกำรแต่งกำยของนกั ศึกษำ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๘๑

ระเบยี บฯ วำ่ ดว้ ยวินัยนกั ศึกษำและผมู้ ำรบั บรกิ ำรทำงวิชำกำร ๘๕

จำกมหำวิทยำลัย พ.ศ. ๒๕๕๗

ระเบยี บฯ วำ่ ด้วยกำรใช้บรกิ ำรสำนกั วิทยบรกิ ำรและเทคโนโลยสี ำรสนเทศ ๙๙

พ.ศ. ๒๕๕๙

ระเบยี บฯ ว่ำด้วยกำรสอบของนกั ศึกษำระดบั ปริญญำตรี พ.ศ. ๒๕๓๗ ๑๐๙

ประกำศฯ เรอ่ื ง ขอ้ ปฏิบตั ใิ นกำรสอบของนกั ศกึ ษำระดับปรญิ ญำ ๑๑๒

พ.ศ. ๒๕๕๗

ประกำศฯ เรอ่ื ง ขอ้ ปฏิบัตขิ องกรรมกำรกำกบั หอ้ งสอบ ในกำรสอบประจำภำค ๑๑๖

ของนกั ศกึ ษำระดบั ปรญิ ญำ พ.ศ. ๒๕๕๗

ระเบยี บฯ วำ่ ด้วยกำรเทยี บโอนผลกำรเรยี น พ.ศ. ๒๕๕๐ ๑๑๘

ระเบียบฯ ว่ำดว้ ยกำรศกึ ษำลกั ษณะวชิ ำเพิ่มเติมสำหรับบณั ฑิต พ.ศ. ๒๕๓๗ ๑๒๓

ประกำศฯ เรอ่ื ง เกณฑก์ ำรวัดและประเมนิ ผลกำรศกึ ษำระดับปรญิ ญำตรี ๑๒๕

ประกำศฯ เร่ือง เกณฑ์กำรวดั และประเมินผลกำรศกึ ษำระดับปริญญำตรี ๑๓๑

(ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๒

ประกำศฯ เรื่อง กำรลงทะเบียนเรยี นประจำภำคฤดรู อ้ น ๑๓๓

ประกำศฯ เรื่อง กำรลงทะเบียนเรยี นขำ้ มภำคกำรศกึ ษำ ๑๓๔

ประกำศฯ เรอ่ื ง กำรตรวจสอบผลกำรลงทะเบียนและกล่มุ เรียน (Section) ๑๓๕

ประกำศฯ เรื่อง กำรลงทะเบียนของนักศกึ ษำกลุ่มสหกิจศึกษำ นักศกึ ษำฝึกงำน ๑๓๖

ในสถำนประกอบกำร หรอื นักศกึ ษำฝึกประสบกำรณ์กำรสอนในสถำนศกึ ษำ

ประกำศฯ เรื่อง กำรขอกลบั เขำ้ ศกึ ษำ และ คนื สภำพกำรเปน็ นักศึกษำ ๑๓๗

ประกำศฯ เรือ่ ง กำรลงทะเบยี นประจำภำคกำรศึกษำ ๑๓๘

ประกำศฯ เรื่อง เกณฑก์ ำรลงทะเบยี นเรยี นซำ้ หรอื แทน ๑๓๙

และกำรนบั หนว่ ยกิตรวมตลอดหลกั สตู ร พ.ศ. ๒๕๕๔

ประกำศฯ เรอ่ื ง กำรย้ำยคณะ หรือเปลยี่ นสำขำวชิ ำ พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑๔๑

ประกำศฯ เรอ่ื ง หลกั เกณฑก์ ำรพจิ ำรณำเทียบรำยวิชำหรอื กลมุ่ วิชำ ๑๔๓

ประกำศฯ เรือ่ ง รปู ถ่ำยท่ีใชใ้ นกำรติดเอกสำรทำงกำรศกึ ษำ ๑๔๔

ประกำศฯ เรอ่ื ง กำรขอผ่อนผันเลือ่ นรบั พระรำชทำนปริญญำบัตร ๑๔๗

ระเบยี บฯ ว่ำด้วยกำรปฐมนเิ ทศและปจั ฉิมนเิ ทศนักศกึ ษำ พ.ศ. ๒๕๓๙ ๑๔๘

หนา้

ประกำศฯ เร่อื ง มำตรกำรในกำรจดั กิจกรรมต้อนรบั น้องใหม่ ๑๕๑

และประชมุ เชยี รใ์ นมหำวทิ ยำลยั

ประกำศฯ เรื่อง บทลงโทษนักศึกษำที่กระทำผดิ ตำมประกำศมหำวทิ ยำลยั ๑๕๓

เทคโนโลยีรำชมงคลกรงุ เทพเรอ่ื งมำตรกำรในกำรจัดกิจกรรม

ต้อนรบั นอ้ งใหม่และประชมุ เชยี ร์ในมหำวิทยำลยั

หมวดการเงิน ๑๕๔-๑๖๗

ประกำศฯ เรื่อง กำรถอนคนื เงินคำ่ บำรงุ กำรศกึ ษำ ค่ำลงทะเบยี น คำ่ สนบั สนุน ๑๕๕

กำรจดั กำรศึกษำ และค่ำธรรมเนียมกำรศึกษำในกำรจดั กำรศกึ ษำ

ระดบั ปริญญำตรี พ.ศ. ๒๕๕๙

ประกำศฯ เรอ่ื ง อตั รำกำรเก็บเงินคำ่ บำรงุ กำรศึกษำ ค่ำลงทะเบยี น คำ่ ขนึ้ ทะเบยี น ๑๕๗

นักศึกษำ คำ่ ธรรมเนียมกำรศกึ ษำและคำ่ ใชจ้ ่ำยอ่ืน ในกำรจดั กำรศกึ ษำ

ระดับปริญญำตรี หลกั สูตรนำนำชำติ พ.ศ. ๒๕๕๗

ประกำศฯ เรื่อง อัตรำกำรเก็บเงินคำ่ บำรงุ กำรศกึ ษำ และค่ำลงทะเบยี น ค่ำสนบั สนนุ ๑๕๙

กำรจัดกำรศึกษำ และคำ่ ธรรมเนยี มกำรศกึ ษำในกำรจดั กำรศกึ ษำระดบั

ปรญิ ญำตรี พ.ศ. ๒๕๕๘

ประกำศฯ เร่อื ง อตั รำกำรเก็บเงนิ คำ่ ธรรมเนยี มกำรศกึ ษำแรกเข้ำในกำรจัดกำรศึกษำ ๑๖๔

ระดบั ปรญิ ญำตรี พ.ศ. ๒๕๖๒

ระเบยี บฯ วำ่ ด้วย กำรเกบ็ เงินและใช้จำ่ ยเงินบำรงุ หอ้ งพยำบำล พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑๖๖

หมวดวา่ ด้วยการบริการและสวสั ดิการนกั ศกึ ษา ๑๖๘-๑๗๗

ทุนกำรศกึ ษำ ๑๖๙

งำนแนะแนวกำรศกึ ษำและอำชีพ ๑๗๒

งำนประกนั อุบัตเิ หตุ ๑๗๒

งำนสุขภำพอนำมยั ๑๗๓

งำนวิชำทหำร ๑๗๔

องค์กำรนกั ศึกษำ ๑๗๖

งำนเสรมิ สรำ้ งกำรเรยี นรู้และประสบกำรณ์ชุมชน ๑๗๗

หมวดวา่ ดว้ ยการศึกษาและการเงนิ ระดับบัณฑิตศกึ ษา ๑๗๘-๒๒๙

ข้อบังคับมหำวทิ ยำลัยเทคโนโลยรี ำชมงคลกรุงเทพ ๑๗๙

ว่ำดว้ ยกำรศกึ ษำระดับบณั ฑติ ศึกษำพ.ศ. ๒๕๖๐

ประกำศมหำวิทยำลยั เทคโนโลยรี ำชมงคลกรุงเทพ ๒๒๒

เร่ือง อตั รำกำรเกบ็ ค่ำเลำ่ เรยี นแบบเหมำจ่ำย และคำ่ ธรรมเนยี มกำรศึกษำ

ในกำรจดั กำรศกึ ษำระดับบณั ฑิตศกึ ษำ พ.ศ. ๒๕๕๘

ประกำศมหำวทิ ยำลยั เทคโนโลยรี ำชมงคลกรุงเทพ หนา้
เรอื่ ง อัตรำกำรเกบ็ คำ่ เลำ่ เรยี นแบบเหมำจ่ำย และคำ่ ธรรมเนยี มกำรศึกษำ ๒๒๕
ในกำรจัดกำรศึกษำระดับบัณฑิตศกึ ษำ คณะอตุ สำหกรรมส่ิงทอ ภำคสมทบ
พ.ศ. ๒๕๖๑ ๒๒๘
ประกำศมหำวิทยำลยั เทคโนโลยรี ำชมงคลกรงุ เทพ
เร่อื ง อัตรำกำรเกบ็ คำ่ เลำ่ เรียนแบบเหมำจำ่ ย และคำ่ ธรรมเนียมกำรศกึ ษำ ๒๓๐-๒๔๓
ในกำรจดั กำรศกึ ษำระดบั บณั ฑิตศกึ ษำ คณะวิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๒๔๔-๒๕๐
ภำคสมทบ พ.ศ. ๒๕๖๑
ข้อปฏิบัตเิ กย่ี วกับการเรยี นการสอน ๒๔๕
สาระน่ารู้ ๒๔๘

ค่ำนิยมหลักมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลกรุงเทพ (UTK)
กำรคำนวณระดบั คะแนนเฉลีย่ สะสม

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มุ่งเน้นจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาประเทศ
เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อรองรับการแข่งขันและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
ของประเทศ โดยพัฒนาหลักสูตรหรือการบริการท่ีได้รับการรับรองจากหน่วยงานภายนอก
พฒั นากาลังคนดา้ นวศิ วกรรมเพ่ืออุตสาหกรรมใหม่ สร้างนวตั กรรมอาหาร พฒั นาการจดั การ
ด้านผสู้ งู อายุ และพฒั นาศักยภาพอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรคแ์ ละการบริการ โดยมเี ป้าหมายการ
ผลิตบัณฑิตใหเ้ ป็นทย่ี อมรับในสถานการณป์ ระเทศไทยยุค 4.0 ทั้งน้ี เพื่อใหส้ อดคล้องกับแผน
ยทุ ธศาสตร์ของชาติ

มหาวิทยาลัยมีความคาดหวังอย่างยิ่งว่า ระบบการเรียนการสอนและส่ิงแวดล้อม
ทางการศึกษา การกระตุ้นและพัฒนาความคิดเชงิ เทคโนโลยสี รา้ งสรรค์ รวมถงึ กิจกรรมตา่ ง ๆ
ทีม่ หาวิทยาลัยตัง้ ใจดาเนินการอยา่ งต่อเนอ่ื ง จะช่วยหล่อหลอมและสร้างให้นักศึกษาของราช
มงคลกรุงเทพทุกคนเป็นคนดีของสังคม รู้จักการแบ่งปัน มีความเข้มแข็ง อดทดและสามารถ
ทางานเป็นทีม มีทักษะ ความรู้ ความสามารถ พร้อมออกไปปฏิบัติงานตามสายอาชีพของ
ตวั เอง

ทง้ั นี้ ในนามของคณะผู้บริหาร คณาจารย์ และเจ้าหน้าท่ขี องมหาวิทยาลยั เทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ ขออานวยอวยพรให้นักศึกษาใหม่ทุกคน ประสบความสาเร็จในการเรียนรู้
และมีความสุขในการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยแห่งน้ีตลอดระยะเวลาการศึกษา เพื่อคุณภาพ
ชีวติ ท่ดี กี ว่าสาหรบั อนาคตของตนเองและประเทศชาตติ ่อไป

ด้วยความปรารถนาดี
สกุ ิจ นติ นิ ัย

(ดร.สกุ จิ นิตนิ ัย)
อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒ (๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

 ประวตั ิความเป็ นมา
 สญั ลกั ษณ์ สี และตน้ ไมป้ ระจามหาวิทยาลยั
 ผบู้ ริหารมหาวิทยาลยั
 วิสยั ทศั น์ อตั ลกั ษณแ์ ละเอกลกั ษณ์
 ที่ตงั้ และแผนทีก่ ารเดนิ ทาง
 หมายเลขโทรศัพท์

(๒) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ม ห าวิท ย าลั ย เท ค โน โล ยี รา ช ม งค ล ก รุ งเท พ
เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา ตามพระราชบัญ ญั ติมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘ เม่ือวันท่ี ๑๙
มกราคม ๒๕๔๘ เป็นการรวมตัวของ ๓ วิทยาเขต คือ
วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ วิทยาเขตบพิตรพิมุขมหาเมฆ
และวิทยาเขตพระนครใต้ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ จัดการเรียนการสอนใน
ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า ห ลั ก สู ต ร ป ริ ญ ญ า ต รี แ ล ะ ป ริ ญ ญ า โท
หลากหลายสาขาวชิ า ยดึ ม่ันในอุดมการณแ์ ละปรัชญา การ
จัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ตอบสนองความ
ต้องการของสังคม โดยเชื่อมั่นว่าเทค โนโลยีแล ะ
อ า ชี ว ศึ ก ษ า เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ศึ ก ษ า ท่ี จ า เ ป็ น ใ น ก า ร
เสริมสร้างมาตรฐานคุณภาพ เพื่อเป็นกาลังสาคัญในการ
พฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมไทย

พ้ืนท่ีการศกึ ษาทง้ั ๓ แหง่ ไดแ้ ก่
 เทคนิคกรุงเทพฯ
ต้ังอยู่ที่เลขท่ี ๒ ถนนนางลิ้นจ่ี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐ ก่อตั้งขึ้น

เมือ่ วนั ที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๔๙๕ บนเนือ้ ท่ี ๑๔๕ ไร่ ๑ งาน ๖๒ ตารางวา เร่ิมตน้ จากวิทยาลัยเทคนิค
กรุงเทพฯ ในรัฐบาลสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาเป็น
สถานศึกษาด้านเทคนิคแห่งแรกของประเทศไทย เริ่มการเรียนการสอนด้านช่างอิเล็กทรอนิกส์

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ช่างไฟฟ้า ช่างยนต์ ช่างก่อสร้าง เลขานุการ การบัญชี คหกรรมศาสตร์ จากวิทยาลัยเทคโนโลยี
และอาชีวศึกษา วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ มาเป็นสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทคนิค
กรุงเทพฯ ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของสานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ และ
เป็นสถานท่ีจัดการเรียนการสอนของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะบรหิ ารธุรกจิ วทิ ยาลัยนานาชาติ และคณะอตุ สาหกรรมสงิ่ ทอ

 บพิตรพมิ ุข มหาเมฆ
ต้ังอยู่เลขท่ี ๘๗๘ ถนนอาคารสงเคราะห์ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐

เป็นวิทยาเขตที่แยกการบริหารจัดการมาจากวิทยาเขตบพิตรพิมุขจักรวรรดิ เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๒๖ โดย
คณะรัฐมนตรีมีมติให้ใช้ที่ดินราชพัสดุ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ บนเนื้อท่ี ๑๘ ไร่ ๑ งาน
๙๘ ตารางวา และอนุมัติงบประมาณแผ่นดินจานวน ๑๐ ล้านบาท เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๑๙ ให้สร้างอาคาร
เรยี นจานวน ๑ หลงั เพอื่ จดั การเรียนการสอนระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ แผนกวิชาธรุ กจิ สาขาวชิ า
การเลขานุการและการบัญชี และแผนกธุรกิจ สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ (ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น
ภาษาอังกฤษ) โดยเริ่มเปิดเรียนเม่ือ วันจันทร์ท่ี ๕ มิถุนายน ๒๕๒๑ จัดการเรียนการสอนในระดับ
ประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสูง (พ.ศ. ๒๕๒๗) และระดับปริญญาตรี (พ.ศ. ๒๕๓๖) ปัจจุบนั เป็นสถานที่
จดั การเรียนการสอนของ คณะบริหารธรุ กิจ

 พระนครใต้
ตั้งอยู่เลขที่ ๑๔๙ ถนนเจริญกรุง เขตสาทร กรุงเทพฯ วิทยาเขตพระนครใต้ก่อต้ังขึ้น

ภายใต้ชื่อ โรงเรียนการช่างสตรี เป็นแห่งแรกของประเทศไทย เม่ือวันท่ี ๑ สิงหาคม ๒๔๖๕ และ
พฒั นามาเป็นโรงเรียนสตรีบา้ นทวาย วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาพระนครใต้ และเป็นวิทยาลัยเทคโนโลยีและ
อาชีวศึกษาวิทยาเขตพระนครใต้ โดยเปิดสอนระดับ ปวช. ปวส. และประกาศนียบัตรประโยคครู
มัธยม (ป.ม.) ต่อมาเปิดสอนระดับปริญญาตรี สายวิชาคหกรรมศาสตร์ สายวิชาศิลปกรรม สายวิชา
บริหารธรุ กิจ ภายใต้ชื่อสถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล วทิ ยาเขตพระนครใต้ ปัจจุบันเป็นสถานที่จดั การ
เรียนการสอนของคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์

(๔) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ตราสัญลักษณม์ หาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
เปน็ ตรารูปวงกลม มดี อกบัว ๘ กลบี ล้อมรอบ หมายถงึ ทางแห่งความสาเรจ็ มรรค ๘ และความ

สดช่ืนเบิกบาน ท่ีก่อให้เกิดปัญญาแผ่ขจรไปท่ัวสารทิศ ภายในดอกบัวเป็นตราพระลัญจกรบรรจุอยู่
อันเป็นสัญลักษณ์ และเคร่ืองหมายประจาองค์พระมหากษัตริย์ รัชกาลท่ี ๙ บนตรารูปวงกลมมีพระ
มหาพิชัยมงกุฎครอบ และมีเลข ๙ บรรจุอยู่ หมายถึง รัชกาลที่ ๙ ด้านล่างของตรารูปวงกลมทาเป็น
กรอบโค้งรองรับ มีช่ือมหาวิทยาลัยบรรจุอยู่ภายในว่า “มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ”
คนั่ ปดิ หัวทา้ ยของกรอบดว้ ยลายดอกไม้ทิพยป์ ระจายามทงั้ สองข้าง
สีประจามหาวทิ ยาลยั “สเี ขยี ว”

ท่ีมาและความหมาย สีเขียวเป็นสีวรรณะเย็น ท่ีแสดงถึงความเจริญงอกงาม ความสดชื่น
แจ่มใส เป็นสัญลักษณ์แห่งความสงบร่มเย็น ซึ่งหมายถึง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มุ่งสร้างบัณฑิตให้มีความเจริญงอกงามในทุกด้าน ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์
และสังคม และพร้อมจะเป็นสถานศึกษาที่เป็นบ้านอันร่มเย็นให้นักศึกษาได้พักพิง เรียนรู้ และใช้ชีวิต
อยูอ่ ยา่ งมีความสุข

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒ (๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ต้นไม้ประจามหาวิทยาลยั “ต้นสาธร”

สาธร เป็นไม้ยนื ตน้ หายากพนั ธุ์หนึ่ง ที่มีชื่อพ้องกับสถานที่ตั้ง
ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ท่ีต้ังอยู่บนพ้ืนท่ี
เขตสาทร กรงุ เทพมหานคร ต้นสาธรเป็นไม้ทม่ี ีเนื้อไมแ้ ละแกน่ ท่ีมี
ลักษณะสวยงามดอกมีสีขาวรวมกันเป็นช่อ เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ
ใบอ่อนและยอดอ่อน มีขนยาวออ่ นนิ่มคลา้ ยเส้นไหมปกคลมุ อยู่

เป็นลักษณะของพันธ์ุไม้ที่มีความเข้มแข็งและอ่อนโยนอยู่ในตัว ลักษณะของต้นสาธรน้ีเหมือนเป็น
สัญลักษณ์แสดงว่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีมีความยืนยง ม่ันคง
มีความเข้มแข็งทางวิชาการ แต่ขณะเดียวกันมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ก็มิได้ละท้ิง
การทานบุ ารุงศลิ ปวัฒนธรรมอนั ดีงามของชาติ และพร้อมจะเป็นร่มเงาท่ียืนยงเป็นทพ่ี ่ึงด้านวิชาการแก่
สังคมตลอดไป

(๖) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๘) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

การเดนิ ทางโดยรถสาธารณะ
 รถประจาทางและรถปรบั อากาศ สาย ๖๒, ๖๗, ๘๙ (ถนนนางลน้ิ จ)ี่
 รถใต้ดิน MRT ลงทส่ี ถานลี มุ พนิ ี ตอ่ รถประจาทางและรถปรับอากาศ สาย ๖๒, ๖๗
 รถไฟฟ้า BTS

- ลงทสี่ ถานศี าลาแดง ต่อรถประจาทาง สาย ๖๗ หนา้ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
- ลงทส่ี ถานชี อ่ งนนทรี ต่อรถประจาทาง BRT หรอื ลงที่สถานีสรุ ศักด์ ต่อรถประจาทาง
สาย ๗๗ (ถนนนราธิวาสราชนครนิ ทร)์
 รถประจาทาง BRT ลงท่สี ถานีเทคนคิ กรุงเทพฯ (ถนนนราธวิ าสราชนครินทร)์

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

หมายเลขโทรศพั ท์

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
เลขท่ี ๒ ถนนนางลนิ้ จ่ี แขวงทงุ่ มหาเมฆ เขตสาทร กรงุ เทพฯ ๑๐๑๒๐

โทรศพั ท์ ๐-๒๒๘๗-๙๖๐๐ โทรสาร ๐-๒๒๘๖-๓๕๙๖

หนว่ ยงาน หมายเลขตดิ ตอ่

อธิการบดี 0 228๗ ๙๖๐๐ ต่อ ๒๒๘๙
ดร.สกุ จิ นติ ินยั 0 2287 9600 ต่อ 2120, 2121
เลขานกุ าร 0 2286 4159

รองอธิการบดี 0 2287 9600 ตอ่ ๗12๘,
ผศ.อาภรณ์ บางเจริญพรพงค์ 0 2286 8271

ดร.หทยั กร พนั ธง์ุ าม 0 2287 96๐๐ ตอ่ ๗๑๐๔
ผศ.สวสั ด์ิ ศรเี มอื งธน 0 2287 9600 ตอ่ 110๖, 1107
นางสาวสรุ รี ตั น์ โงว้ วฒั นา 0 2287 9659

ผชู้ ่วยอธิการบดี 0 2287 9600 ต่อ 710๒
ดร.ปรารถนา ศรสี ุข 0 2287 9600 ต่อ 7๖๐๙
นายพิษณวุ ัตร สุจวิพนั ธ์ 0 2287 9600 ตอ่ 2114
ผศ.ธรรมมา เจยี รธราวานชิ 0 2287 9600 ต่อ 7342
ผศ.พรสวัสด์ิ ผดุง 0 2287 9600 ตอ่ 1177
ผศ.นพรัตน์ ภยั วมิ ตุ ิ
0 2287 9741
กองกลาง 0 2287 9600 ตอ่ 2118
ผ้อู านวยการกองกลาง (นายบุญชว่ ย เจรญิ ผล) 0 2286 3596
สนง.กองกลาง 0 2287 9600 ตอ่ ๒๑๐๕, ๗๐๕๙, ๗๑๔๑
โทรสาร 0 2287 9600 ตอ่ 7077
ศูนย์ประชาสัมพนั ธ์
งานอาคารสถานที่

(๑๐) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒ หมายเลขตดิ ตอ่

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ 0 2287 9600 ต่อ ๗๕๔๙
0 2287 9600 ตอ่ ๗๑๒๕
หนว่ ยงาน
0 2287 968๖
งานรกั ษาความปลอดภยั 0 2287 9600 ตอ่ 2116, 2117, ๗๑๒๑
ยานพาหนะ 0 2287 9687
กองบรหิ ารงานบุคคล
ผู้อานวยการ (นางสดุ ารัตน์ ผดงุ ) 0 2287 ๗๕๕๐
สนง.กองบรหิ ารงานบคุ คล 0 2287 ๗๓๓๙
โทรสาร
กองคลัง 0 2287 9691
ผอู้ านวยการ (นางสาวดาวเรอื ง ตก๊ ควรเฮง) 0 2287 9600 ตอ่ 2149, 711๗, 7120
สนง.กองคลงั 0 2287 9627
กองนโยบายและแผน
ผู้อานวยการ (นางดลพร ทวาโรจน์) 0 2287 9600 ตอ่ ๗๖๐๕
สนง.กองนโยบายและแผน
โทรสาร 0 2287 9600 ตอ่ ๗๖๐๑
กองพฒั นานักศกึ ษา 0 2287 9600 ตอ่ ๗๖๒๖
ผอู้ านวยการ (นายบุญสม ครกึ ครนื ) 0 2287 9600 ต่อ ๗๖๑๗, ๗๖๑๘,
7619
สนง.กองพฒั นานักศึกษา 0 2287 9600 ตอ่ ๗๖๒๒
โทรสาร 0 2287 9600 ตอ่ ๗๖๑๕, ๗๖๒๓,
งานกองทุนกู้ยืมเพื่อการศกึ ษา 7624
0 2287 9600 ต่อ ๗๖๐๓, ๗๖๐๔
งานวชิ าทหาร
งานพยาบาล 0 2287 9600 ตอ่ 7070, 7071

งานกิจกรรมนักศึกษา
สานกั งานสหกจิ ศกึ ษา

อาคารเฉลมิ พระเกียรติ ๘๐ พรรษา R ๒๐๒

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๑๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

หนว่ ยงาน หมายเลขตดิ ตอ่

สานักส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบียน 0 2287 9๗๑๑
ผ้อู านวยการ (นายอลงกรณ์ อยสู่ าราญ) 0 2287 9625
สนง.สานกั ส่งเสริมวชิ าการและงานทะเบยี น 0 2287 9600 ตอ่ 2123, 2124
กลุม่ งานบริการ
0 2287 9600 ต่อ 7001
สานักวทิ ยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ 0 2287 9600 ตอ่ 7034, 70๓๕,
ผ้อู านวยการ (ผศ.ภรู วิ ตั ร คมั ภรี ภาพพฒั น์) 70๓๖
สานกั งานสานักวิทยบริการ 0 2287 9600 ต่อ 7004, 70๔๖
0 2287 9600 ตอ่ 7013, 7042
งานพัฒนาระบบสารสนเทศ 0 2287 9600 ต่อ 7067
หอสมุดกลาง
เทคโนโลยกี ารศึกษา 0 2287 9600 ตอ่ ๙๖๘๕
สถาบันวจิ ยั และพฒั นา 0 2287 9600 ต่อ 1177
ผูอ้ านวยการ (ผศ.สายชล ชุดเจอื จนี ) ๐ ๒๒๘๗ ๙๖๘๔
สนง. สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา
โทรสาร 0 2287 9600 ตอ่ ๗๓07
คณะศิลปศาสตร์ 0 2287 9600 ตอ่ ๗๓๐๘, ๗๓๑๓,
คณบดี (ผศ.จานงค์ แก้วเพ็ชร) 7315
สนง. คณะศลิ ปศาสตร์ 0 2287 9600 ตอ่ ๗๓๑3/ 2282
0 2287 9600 ต่อ ๒๑๓๒
(ฝั่งเทคนิคกรงุ เทพ ฯ/ฝงั่ บพิตร)
โทรสาร 0 2287 9600 ต่อ 7555, 7556
คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 0 2287 9600 ต่อ 7555, 7556
คณบดี (นายธวัชชัย สารวงษ์) 0 2287 9681
สนง. คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โทรสาร

(๑๒) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ หมายเลขตดิ ตอ่

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ 0 2287 9600 ต่อ 7059
๐ 2287 9600 ต่อ 7056, 7058
หนว่ ยงาน
0 2287 9600 ตอ่ ๗๐๗๓
คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม 0 2287 9600 ต่อ ๗๐๗๒
คณบดี (นายสมพร ปยิ ะพันธ์) 0 2287 9733
สนง. ครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม
0 2287 9600 ต่อ ๙๖๔๓
คณะวศิ วกรรมศาสตร์ 0 2287 9600 ต่อ 7331
คณบดี (ผศ.พชิ ยั จันทรม์ ณี) 0 2286 8962
สนง. คณะวศิ วกรรมศาสตร์
โทรสาร ๐ ๒๒๘๗ ๙๖๐๐ ต่อ ๗๒๑๑
0 2287 9600 ต่อ 7204, 7207
คณะบรหิ ารธรุ กจิ 0 2211 2040
คณบดี (ผศ.ดร.กงิ่ แกว้ เอย่ี มแฉล้ม)
สนง. คณะบริหารธุรกิจ 0 2287 9600 ตอ่ 1252
โทรสาร 0 2287 9600 ตอ่ 7341, 7342
0 2287 9600 ต่อ ๑๒๕๔
คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
คณบดี (นางสาวณภทั ร ยศยงิ่ ยง) 0 2287 9600 ต่อ 2288
สนง. คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ 0 2287 9600 ตอ่ 7102, 9730
โทรสาร 0 2287 9600 ตอ่ 7332

คณะอตุ สาหกรรมส่ิงทอ
คณบดี (ผศ.ภทั รานิษฐ์ สทิ ธนิ พพันธ์)
สนง. คณะอตุ สาหกรรมส่งิ ทอ
โทรสาร

โครงการจดั ต้งั วทิ ยาลัยนานาชาติ
ผอู้ านวยการ (ดร.ปรารถนา ศรีสุข)
สนง. วิทยาลยั นานาชาติ (เทคนิคกรงุ เทพ ฯ)
สนง. วิทยาลัยนานาชาติ (บพิตรฯ)

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๑๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

 ประเภทการใหบ้ ริการ
 สิง่ ทีน่ กั ศึกษาควรปฏิบตั ิ
 ระบบการจดั การศึกษา
 การลงทะเบียนเรียน
 บทลงโทษสาหรบั การปลอมแปลงเอกสาร
 การพน้ สภาพ

(๑๔) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

สถานที่ทาการ อาคาร ๓๖ ชน้ั ๑ ปกี ซ้าย
เวลาทาการ วันจนั ทร์ – วนั ศุกร์ เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๘.๓๐ น. (เว้นวันหยุดราชการ)
หน้าท่ีโดยสงั เขป สนบั สนนุ งานที่เกี่ยวขอ้ งกบั การเรยี นการสอน ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บ ขอ้ บังคบั
และประกาศของมหาวทิ ยาลัยฯ
ประเภทการบริการ บริการนักศึกษาปัจจุบัน นักศึกษาท่ีสาเร็จการศึกษา ศิษย์เก่า ประชาชนท่ัวไป
ท้งั หนว่ ยงานภายในและภายนอก โดยแบ่งออกเปน็ ๓ ชอ่ งทาง

๑. บริการผ่านระบบเครือข่าย
- การลงทะเบยี น การลงทะเบยี นเพมิ่ -ถอน
- การตรวจสอบผลการลงทะเบียน
- การตรวจสอบโครงสร้างหลกั สตู ร
- การตรวจสอบตารางสอน – ตารางสอบ การใช้หอ้ งเรียน / ห้องสอบ
- การตรวจสอบผลการศึกษาประจาภาค
- การตรวจสอบสถานภาพการเปน็ นกั ศกึ ษา
- ภาระค่าใช้จา่ ย
- การตรวจสอบค้างส่งหนังสอื ห้องสมุด
- การตรวจสอบการลงทะเบยี นครบหลักสูตร

๒. บรกิ ารหน้าเคานเ์ ตอร์ ใหบ้ ริการรบั คาร้อง
- รบั คาร้องตา่ ง ๆ โดย นกั ศึกษาสามารถ Print ใบคาร้องไดจ้ าก www.ascar.rmutk.ac.th
- การออกหนังสอื รบั รองการเป็นนกั ศกึ ษา และใบรายงานผลการศกึ ษา (Transcript )
- ทาบัตรนักศกึ ษาใหม่ กรณีเปลยี่ นช่อื -สกุล หรือบัตรสูญหาย
- การลงทะเบียน ลงทะเบียนเพ่มิ /ถอน ลงทะเบยี นล่าช้า ลงทะเบยี นขา้ มสถานศกึ ษา

๓. บริการข้อมลู และข่าวสารงานทะเบยี น เชน่ ปฏิทนิ การศึกษา ประกาศตา่ ง ๆ ผ่าน
www.ascar.rmutk.ac.th

วธิ กี ารติดต่อ การตดิ ตอ่ สานกั สง่ เสรมิ วิชาการและงานทะเบียน ให้ปฏิบตั ิดงั น้ี
๑. นักศึกษาปัจจุบันต้องแสดงบัตรประจาตัวนักศึกษา ผู้เคยศึกษาแสดงบัตรประจาตัว

ประชาชน หรือบัตรขา้ ราชการ หรอื ใบอนุญาตขบั ข่ีรถยนต์
๒. แต่งกายสภุ าพ

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒ (๑๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

๓. แจ้งเรอ่ื งทจ่ี ะติดตอ่ และข้อมูลสว่ นตวั เชน่ ช่อื -สกลุ คณะ/สาขาวชิ า รอบ ปีท่ีเข้าศึกษา
และปีทีส่ าเรจ็ การศกึ ษา เปน็ ตน้

๔. กรณีนักศกึ ษาต้องการเอกสารทางการศึกษาที่ต้องติดรูปถ่าย ให้เตรียมรูปถ่ายขนาด ๑ น้ิว
มาด้วย เม่ือรับเอกสารแล้ว นักศึกษาต้องตรวจสอบความถูกต้องทุกคร้ัง กรณีถ้าพบเอกสารไม่ถูกต้อง
ใหร้ บี แจ้งเพือ่ ดาเนนิ การแกไ้ ข

ส่งิ ทีน่ ักศึกษาควรปฏบิ ัติ มีดงั นี้
๑. อ่านคู่มือนกั ศึกษานี้ใหเ้ ข้าใจ และเก็บรกั ษาไวอ้ ย่างนอ้ ยตลอดระยะเวลาทศี่ กึ ษา
๒. ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั และประกาศของมหาวิทยาลัย นักศึกษาทุกคนต้องทราบเป็นอยา่ งดีเพ่ือ

ใช้เปน็ แนวทางปฏบิ ตั ไิ ด้อย่างถูกตอ้ ง
๓. ตดิ ตามขา่ วสาร ประกาศต่าง ๆ และดาเนินการให้ตรงต่อเวลา
๔. รับเอกสารใด ๆ ตอ้ งอา่ น ทาความเขา้ ใจและปฏบิ ตั ติ ามโดยเคร่งครดั

ระบบการจดั การศึกษา
การจัดการศึกษาภายในมหาวิทยาลัยใช้ระบบทวิภาค โดยใน ๑ ปีการศึกษา แบ่งเป็น ๒ ภาค

การศึกษาปกติ ซ่ึงภาคการศึกษาที่ ๑ เริ่มเดือนมิถุนายน เป็นต้นไป รวม ๑๕ สัปดาห์ และภาค
การศกึ ษาที่ ๒ เริม่ เดือนพฤศจกิ ายน เป็นตน้ ไป รวม ๑๕ สปั ดาห์

ทั้งน้ี มหาวิทยาลัยอาจเปิดภาคการศึกษาฤดูร้อน เป็นภาคการศึกษาที่ไม่บังคับ ใช้ระยะเวลา
ศกึ ษา ๗ สัปดาห์ โดยใหเ้ พ่มิ ชัว่ โมงการศกึ ษาในแตล่ ะรายวิชาให้เท่ากบั ภาคการศึกษาปกติ

การลงทะเบยี นเรยี น
นกั ศึกษาท่ีจะลงทะเบียนเรียน ควรศึกษาและปฏบิ ัติ ดังน้ี
๑. กอ่ นลงทะเบียนประจาภาค นักศึกษาต้องพบอาจารยท์ ี่ปรกึ ษากรณีที่มีปัญหาเก่ียวกับ ผล

การศกึ ษา เพือ่ ทาการลงทะเบียนใหถ้ กู ตอ้ ง
๒. นกั ศึกษาควรศึกษาหลักสูตร แผนการเรียนในหลกั สูตร และแผนการเรียนประจาภาค ให้

เข้าใจ โดยพิจารณาดังน้ี
๒.๑ ตอ้ งสอบผ่านรายวชิ าบงั คับกอ่ น (PREREQUISITE) ทีก่ าหนดไวใ้ นหลักสตู ร
๒.๒ นักศึกษาท่มี สี ถานภาพรอพินจิ จะลงทะเบียนเรยี นไดต้ อ้ งอยู่ในดลุ พินจิ ของอาจารย์

ที่ปรกึ ษา
๓. นักศึกษาลงทะเบียนผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยนักศึกษาสามารถศึกษาวิธีการ

ล งท ะ เบี ย น ได้ จ าก คู่ มื อ วิธี ก ารล งท ะเบี ยน อ อ น ไล น์ ส าห รับ นั ก ศึ ก ษ า (โด ย เข้ าไป ที่
www.ascar.rmutk.ac.th หน้าหลัก คลิกเลือกระบบงานทะเบียน คลิกเลือกคู่มือ) โดยนักศกึ ษาต้องทา
ความเข้าใจคู่มอื อยา่ งละเอียด และถอื ปฏิบตั ติ ามคาแนะนาในค่มู ืออย่างเคร่งครัด ในกรณที ่ีมขี ้อสงสัยให้

(๑๖) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ขอคาปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษา สถานท่ีที่นักศึกษาสามารถขอใช้คอมพิวเตอร์ในการลงทะเบียนได้
คือ สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน (สวท.) สานักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ (สวส.)
และสานกั งานคณะ (ทนี่ กั ศึกษาศกึ ษาอย)ู่

การยนื ยนั การลงทะเบยี น
เม่ือนักศกึ ษาตรวจสอบรายวชิ าและมนั่ ใจในการเลอื กรายวิชาทตี่ ้องการลงทะเบยี นแล้ว ใหท้ า

การยืนยันการลงทะเบียนทุกครั้ง ระบบจะแสดงข้อความการยืนยันการลงทะเบียนพร้อมท้ังแสดง
ยอดเงินสุทธิค่าลงทะเบียนที่ต้องชาระทั้งหมด โดยนักศึกษาสามารถพิมพ์ ใบแจ้งยอดชาระเงิน
(Pay in) เพ่ือไปชาระเงินท่ีธนาคารภายในวันท่ีกาหนด และตรวจสอบผลการลงทะเบียนผ่าน
เครอื ขา่ ย ซ่งึ จะแสดงรหสั วิชา รายช่ือวิชา และจานวนหน่วยกติ

บทลงโทษสาหรับการปลอมแปลงเอกสาร
หา้ มนักศกึ ษาเปล่ียนแปลงขอ้ มลู ใด ๆ ในเอกสารต่าง ๆ เชน่ แบบฟอร์มคาร้อง ใบผลการเรยี น

(Transcript) ท่ีดาเนนิ การแล้วเสรจ็ (มกี ารลงนามในเอกสารครบถว้ นแล้ว) โดยเดด็ ขาด และการปลอม
แปลงเอกสาร และการลงนามนับเป็นคดอี าญา
การพ้นสภาพ

การพน้ สภาพการเป็นนกั ศึกษา เนื่องจากผลการศกึ ษาประจาภาค พิจารณาจากหนว่ ยกิตท่ี
ลงทะเบยี นรวมทั้งหมด แสดงดงั ตาราง

การลงทะเบยี นเรยี น ค่าระดบั คะแนนเฉลี่ยสะสม หมายเหตุ
หนว่ ยกิตรวม พน้ สภาพการเปน็ นกั ศกึ ษา

๓๐ - ๕๙ ตา่ กว่า ๑.๕๐ 
ตง้ั แต่ ๖๐ ขน้ึ ไป ต่ากว่า ๑.๗๕ 
เรียนครบหลกั สูตร ตา่ กว่า ๒.๐๐ 

เรียนครบหลักสตู ร ระหวา่ ง ๑.๙๐ – ๑.๙๙ ต้ อ ง ล ง ท ะ เบี ย น เ รี ย น ซ้ า ร า ย วิ ช า ที่ ไ ด้ ร ะ ดั บ
คะแนนต่ากว่า ก (A) เพอ่ื ปรับค่าเฉล่ียสะสมให้
ถึง ๒.๐๐ (จบหลักสูตร) ภายในระยะเวลา ๓
ภาคการศึกษา รวมภาคการศึกษาฤดูร้อน
แต่ไม่เกินระยะเวลา ๒ เท่าของแผนการเรียน
ตามหลกั สตู ร (ขอ้ ๒๒.๒)

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒ (๑๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

 คณะ / สาขาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลยั
 ความหมายของเลขรหสั นกั ศึกษา
 เคร่อื งแบบนักศึกษา
 บทบาทของอาจารย์ท่ปี รึกษา

(๑๘) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

การจดั การเรียนการสอนในคณะ/สาขาวชิ าที่เปดิ รบั

ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒

ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท

เทยี บ ชอื่ ย่อปรญิ ญา
๔ ๕ โอน
คณะ/สาขาวิชา ภาค
ปี ปี รายวชิ า ภาค

๑. คณะศิลปศาสตร์

การทอ่ งเทย่ี ว  - - ปกติ - ศศ.บ. (การท่องเทย่ี ว)

การโรงแรม  - - ปกติ - ศศ.บ. (การโรงแรม)

ภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สารสากล  - - ปกติ - ศศ.บ. (ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สารสากล)

ภาษาญี่ปุน่  - - ปกติ - ศศ.บ. (ภาษาญปี่ ุ่น)

ภาษาจีนเพอื่ การสือ่ สาร  - - ปกติ - ศศ.บ. (ภาษาจนี เพอื่ การสอ่ื สาร)

การพฒั นาผลิตภัณฑ์ภมู ิปญั ญาไทย  - - ปกติ - ศศ.บ. (การพัฒนาผลิตภัณฑภ์ มู ิปญั ญาไทย)

๒. คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

วิทยาศาสตร์การวเิ คราะห์ -- - - สมทบ วท.ม. (วทิ ยาศาสตร์การวิเคราะห์)

เคมี  - - ปกติ - วท.บ. (เคมี)

ออกแบบผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม  - - ปกติ - ทล.บ. (ออกแบบผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรม)
ทล.บ. (เทคโนโลยีการถ่ายภาพและ

เทคโนโลยกี ารถา่ ยภาพและภาพยนตร์  - - ปกติ - ภาพยนตร์)

เทคโนโลยีการโทรทศั น์และ ทล.บ. (เทคโนโลยีการโทรทศั นแ์ ละ

วทิ ยุกระจายเสยี ง  - - ปกติ - วิทยกุ ระจายเสยี ง)

เทคโนโลยกี ารพิมพ์  - - ปกติ - ทล.บ. (เทคโนโลยีการพิมพ์)

วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์/เทคโนโลยี วท.บ. (วทิ ยาการคอมพิวเตอร์)

สารสนเทศ  - - ปกติ - วท.บ (เทคโนโลยีสารสนเทศ)
เทคโนโลยเี คร่อื งเรือนและการ

ออกแบบ  - - ปกติ - ทล.บ. (เทคโนโลยีเครื่องเรือนและการออกแบบ)
เทคโนโลยีและการจัดการความ วท.บ. (เทคโนโลยแี ละการจดั การความปลอดภัย

ปลอดภัยของอาหาร  - - ปกติ - ของอาหาร)

วิทยาศาสตรเ์ พอื่ สุขภาพและความงาม  - - ปกติ - วท.บ. (วิทยาศาสตร์เพ่ือสุขภาพและความงาม)

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒ (๑๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญา
โท

เทียบ ชอ่ื ยอ่ ปริญญา
๔ ๕ โอน
ปี ปี รายวิชา ภาค ภาค

๓. คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม -  - ปกติ - ค.อ.บ. (วิศวกรรมเครอ่ื งกล)
วิศวกรรมเครอ่ื งกล -  - ปกติ - ค.อ.บ. (วิศวกรรมอุตสาหการ)
วศิ วกรรมอตุ สาหการ
- - ปกติ - อส.บ. (เทคโนโลยีวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์)
เทคโนโลยวี ิศวกรรมคอมพิวเตอร์ - - ปกติ - อส.บ. (เทคโนโลยอี ุตสาหการ)
เทคโนโลยีอุตสาหการ
๔. คณะวศิ วกรรมศาสตร์  -  ปกติ

วิศวกรรมโยธา - -  สมทบ - วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
วศิ วกรรมสารวจ
 - - ปกติ - วศ.บ. (วศิ วกรรมสารวจ)
วศิ วกรรมไฟฟ้า
วิศวกรรมอเิ ล็กทรอนกิ ส์และ  - - ปกติ
โทรคมนาคม
- -  สมทบ - วศ.บ. (วศิ วกรรมไฟฟา้ )
วิศวกรรมเครื่องกล
 - - ปกติ วศ.บ. (วศิ วกรรมอิเล็กทรอนิกสแ์ ละ
วศิ วกรรมอุตสาหการ
วศิ วกรรมเคมี - -  สมทบ - โทรคมนาคม)
วิศวกรรมอัตโนมตั แิ ละหุ่นยนต์
วศิ วกรรมซ่อมบารุงอากาศยาน  -  ปกติ

วิศวกรรมการผลติ ความแมน่ ยาสงู - -  สมทบ - วศ.บ. (วศิ วกรรมเคร่ืองกล)

 -  ปกติ
- - - สมทบ - วศ.บ. (วิศวกรรมอุตสาหการ)

 - - ปกติ - วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี)
 - - ปกติ - วศ.บ. (วิศวกรรมอัตโนมัตแิ ละหุ่นยนต์

 - - ปกติ - วศ.บ. (วิศวกรรมซอ่ มบารุงอากาศยาน)

วศ.บ. (วิศวกรรมการผลิตความแม่นยา

 - - ปกติ - สงู )

(๒๐) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ปริญญาตรี ปริญญา ชอ่ื ยอ่ ปริญญา
โท
เทียบ

คณะ/สาขาวชิ า ๔ ๕ โอน
ปี ปี รายวิชา ภาค ภาค

๕. คณะบริหารธรุ กจิ

หลกั สตู รบริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต - - - - สมทบ บธ.ม. (บรหิ ารธุรกจิ มหาบัณฑติ )

การเงนิ - - ปกติ - บธ.บ. (การเงิน)
ภาษาองั กฤษธรุ กิจ - - ปกติ - บธ.บ. (ภาษาองั กฤษธรุ กจิ )

การประเมินราคาทรัพยส์ นิ - - ปกติ - บธ.บ. (การประเมินราคาทรัพย์สนิ )
ระบบสารสนเทศ - บธ.บ. (ระบบสารสนเทศ)
-  ปกติ
-- - สมทบ

  ปกติ

การบญั ชี - - - สมทบ - บช.บ. (การบัญชี)

การจัดการท่วั ไป   ปกติ - บธ.บ. (การจัดการ)
-- - สมทบ

การจัดการทรพั ยากรมนุษย์ - - ปกติ - บธ.บ. (การจดั การ)
การบรหิ ารการตลาด
 -  ปกติ

- - - สมทบ - บธ.บ. (การตลาด)

การตลาดระหว่างประเทศ - - ปกติ - บธ.บ. (การตลาด)
เทคโนโลยสี ารสนเทศและธรุ กจิ ทล.บ. (เทคโนโลยีสารสนเทศและธรุ กจิ

ดิจิทลั  -  ปกติ - ดิจิทัล)
๖. คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์

คหกรรมศาสตร์ศึกษา -   ปกติ - ศษ.บ. (คหกรรมศาสตร์ศึกษา)

อาหารและโภชนาการ   ปกติ - คศ.บ. (อาหารและโภชนาการ)
เทคโนโลยเี ส้อื ผ้าและแพทเทิร์น - - สมทบ - คศ.บ. (เทคโนโลยีเส้อื ผ้าและแพทเทิร์น)
การออกแบบแฟชนั่ - ทล.บ. (การออกแบบแฟช่นั )
ธุรกิจอาหาร  - - ปกติ - คศ.บ. (ธรุ กจิ อาหาร)
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยกี าร
 - - ปกติ วท.บ. (วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยกี าร

 - - ปกติ

อาหาร - - ปกติ - อาหาร)
การพฒั นาผลิตภณั ฑ์อาหาร - - ปกติ - วท.บ. (การพัฒนาผลิตภัณฑอ์ าหาร)

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒ (๒๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญา
โท

เทียบ ช่อื ย่อปรญิ ญา
โอน
คณะ/สาขาวชิ า ๔ ปี ๕ ปี รายวชิ า ภาค ภาค
๗. คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ
นวัตกรรมสิง่ ทอ -- - - สมทบ วท.ม. (นวตั กรรมสิ่งทอ)
เทคโนโลยีสง่ิ ทอ
นวัตกรรมสง่ิ ทอ - - ปกติ - วท.บ. (เทคโนโลยสี ่งิ ทอ)
ออกแบบสิง่ ทอและแฟช่ัน -
๘. วทิ ยาลยั นานาชาติ - - ปกติ - วท.บ. (นวัตกรรมส่ิงทอ)
คณะบรหิ ารธรุ กจิ - ปกติ - ทล.บ. (ออกแบบส่งิ ทอและแฟช่ัน)

การจดั การธุรกิจระหวา่ งประเทศ - - ปกติ บธ.บ. (การจัดการธุรกิจระหวา่ ง
- ประเทศ)

(๒๒) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

AA – B– CC – DD – E – XXX-X

ลาดับท่ี
ภาค

สาขาวชิ า
คณะ

หลักสตู ร

ปีทเี่ ข้าศกึ ษา

AA ปที ่เี ขา้ ศกึ ษา

B หลักสูตร

๕ หมายถึง ๔ ปี

๖ หมายถึง ต่อเนอื่ ง, เทยี บโอนรายวชิ า

๗ หมายถงึ ๕ ปี

๘ หมายถึง ปริญญาโท

๙ หมายถงึ นานาชาติ

CC คณะ

๐๑ ศลิ ปศาสตร์ ๐๒ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

๐๓ ครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม ๐๔ วศิ วกรรมศาสตร์

๐๕ บริหารธรุ กจิ ๐๖ เทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์

๐๗ อุตสาหกรรมส่ิงทอ

๙๑ ศลิ ปศาสตร์นานาชาติ ๙๕ บรหิ ารธรุ กจิ นานาชาติ

ตวั อยา่ ง เลขรหสั นักศกึ ษา คือ ๖๒ ๖ ๐๕ ๑๔ ๐ ๑๐๑ – ๐
หมายถึง นักศึกษาแรกเข้าปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ หลักสูตรเทียบโอนรายวชิ า

คณะบริหารธุรกจิ สาขาวิชาการจดั การ ภาคปกติ ลาดบั ที่ ๑๐๑

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๒๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

เครอื่ งแต่งกายแบบปกติ นกั ศึกษาชาย

(๑) เส้ือเช้ิตแขนส้ัน หรือแขนยาวสีขาวทรงสุภาพ กลัดกระดุม สีขาวทุกเม็ด
มีกระเปา๋ ขนาดเหมาะสมท่ีอกเบื้องซา้ ย เวลาสวมให้สอดชายเสือ้ ไว้ในกางเกงใหเ้ รยี บรอ้ ย

(๒) กางเกงขายาวแบบสากล ทรงสุภาพ ไม่รัดรูปหรือหลวมเกินไป มีหูเข็มขัด
เยบ็ ดว้ ยผ้าสเี ดยี วกัน ผ้าพ้นื สดี า หรอื สีกรมท่า ไม่มีลวดลาย

(๓) สายเขม็ ขัดหนังสดี า ไมม่ ลี วดลาย หัวเขม็ ขัดเคร่ืองหมายมหาวทิ ยาลัยตามแบบ
ท่ีมหาวทิ ยาลยั กาหนด

(๔) รองเท้าหมุ้ สน้ สีดา ทรงสุภาพ
(๕) ถุงเท้าสีดา หรือสีท่ีกลมกลืนกับรองเท้า ไม่มี
ลวดลาย

เครื่องแต่งกายแบบปกติ นักศึกษาหญงิ

(๑) เส้ือเชิ้ตสีขาวแขนส้ันเพียงศอก ปลายแขน
ปล่อยตรง ไม่ผ่าปลายแขน ไม่บางเกินควร ไม่รัดรูป
และหลวมเกินไป ไม่มีลวดลาย ผ่าหน้าตลอด กระดุม
สีเงินลายดุนนูนตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย ตัวเส้ือมี
ความยาวเพียงพอสาหรับให้กระโปรงทับได้ เวลาสวม
ให้สอดชายเสื้อไว้ในกระโปรงให้เรียบรอ้ ย

(๒) เข็มกลัดเส้ือตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
กลัดอกเสื้อเบอ้ื งซ้าย

(๓) กระโปรง เอวสูง แบบสุภาพ ไม่รัดรูป ไม่ส้ัน
เกินไป ผ้าเนือ้ เรียบ ไม่มีลวดลาย สีดา หรอื สีกรมท่า
(๔) สายเข็มขัดหนังสีดา หัวเข็มขัดเครื่องหมายมหาวิทยาลัย ตามแบบที่
มหาวทิ ยาลัยกาหนด
(๕) รองเทา้ หนังหรือผา้ ใบหุม้ สน้ สดี า ไมม่ ลี วดลายทรงสุภาพ

(๒๔) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ด้วยวิสัยทัศน์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีความเป็นเลิศในการจัดการศึกษา
วิชาชีพ บนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อพัฒนากาลังคนให้เป็นนักปฏิบัติท่ีมีความรู้คู่
คุณธรรม ในการจัดการศึกษาให้สาเร็จลุล่วงไปได้นั้น จาเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากบุคลากรและ
หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย ส่วนหน่ึงที่สาคัญมากในการจัดการศึกษา คือ “อาจารย์ที่ปรึกษา” ซ่ึง
ต้องมีหน้าที่เกี่ยวข้องและต้องรับผิดชอบโดยตรงต่อนักศึกษาในงานด้านวิชาการ โดยอาจารย์ท่ีปรึกษามี
หน้าท่ีเป็นผู้ให้คาปรึกษาต่อนักศึกษาในเร่ืองที่เก่ียวกับการเรียน และปัญหาเร่ืองอื่น ๆ ท่ีนักศึกษา
ต้องการปรึกษา และกระตุ้นให้นักศึกษามีความสนใจในดา้ นการเรยี น รวมถึงส่งเสริมให้นกั ศึกษาปฏิบัติ
ตามข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ของมหาวทิ ยาลัยอยา่ งเคร่งครัด

คุณลกั ษณะของอาจารย์ทปี่ รึกษา
อาจารย์ทีป่ รึกษาทดี่ ีควรมคี ณุ ลกั ษณะ ดงั น้ี
๑) มมี นษุ ยสมั พนั ธ์ท่ีดี
๒) มีความรับผิดชอบสูง
๓) ใจกวา้ งและรบั ฟังความคดิ เห็นของนกั ศกึ ษา
๔) มคี วามรูก้ วา้ งขวางทันตอ่ เหตกุ ารณ์ในงานวชิ าการและวิชาชีพ
๕) มคี วามจริงใจและเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ ืน่
๖) มีเหตผุ ลและมคี วามสามารถในการแก้ปญั หา
๗) มีความเมตตากรุณา
๘) ไวตอ่ การรบั รู้และเขา้ ใจสง่ิ ตา่ ง ๆ ได้รวดเร็ว
๙) มหี ลักจติ วิทยาในการใหค้ าปรึกษา และมจี รรยาบรรณอาจารยท์ ่ปี รกึ ษา
๑๐) มคี วามประพฤตเิ หมาะสมทจี่ ะเปน็ แบบอย่างทีด่ ี
๑๑) รู้บทบาทและหนา้ ที่ของอาจารย์ทป่ี รกึ ษาเปน็ อย่างดี
๑๒) มปี ระสบการณ์ในหน้าที่ของอาจารยท์ ่ปี รึกษา

จรรยาบรรณของอาจารยท์ ป่ี รึกษา
เนื่องจากอาจารย์ท่ีปรึกษามีหน้าท่ีให้การปรึกษาแนะนาช่วยเหลืออบรมดูแลนักศึกษา จึงมี

ความจาเป็นต้องยึดม่ันในจรรยาบรรณ โดยต้องคานึงถึงสวัสดิภาพของนักศึกษา ต้องเก็บรักษาข้อมูล
ตา่ ง ๆ เร่อื งส่วนตัวของนักศึกษาให้เป็นความลับ ใหค้ วามชว่ ยเหลือ (ภายในขอบเขตความสามารถของ
ตน) ไมว่ พิ ากษว์ จิ ารณบ์ ุคคลหรอื สถาบนั ในทางเสื่อมเสียให้นักศึกษาฟัง และทสี่ าคัญอาจารยท์ ป่ี รกึ ษา

ต้องเป็นผู้ท่ีมีความประพฤติที่เหมาะสมตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพในสาขาที่ตนสอนและมีศีลธรรม
จรรยาทดี่ ีงาม เพ่ือเป็นแบบอย่างท่ดี แี ก่นกั ศกึ ษา

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒ (๒๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

บทบาทอาจารยท์ ่ีปรกึ ษา
หนา้ ทข่ี องอาจารยท์ ่ปี รึกษาดา้ นวิชาการ
- ใหก้ ารปรกึ ษาแนะนานักศึกษาเก่ยี วกบั หลกั สตู ร
- ให้การปรึกษานักศึกษาเก่ียวกับวิธีการเรียน การค้นคว้า และติดตามผลการเรียนของ
นักศึกษาอย่างสม่าเสมอ
- ใหค้ าปรึกษาแนะนาหรอื ตกั เตือนเม่ือผลการเรียนของนกั ศกึ ษาต่าลง
- ให้การปรึกษาและช่วยเหลือนักศกึ ษาเพ่อื แก้ไขปัญหาอุปสรรคในการเรียนวชิ าตา่ ง ๆ
- ใหค้ าปรึกษาแนะนาเก่ียวกบั การคดิ คา่ ระดบั คะแนนเฉลย่ี ของนกั ศกึ ษา
- ให้คาปรกึ ษาแนะนาเกี่ยวกบั การศกึ ษาต่อในระดับสูง
หนา้ ที่ของอาจารยท์ ี่ปรกึ ษาดา้ นบรกิ ารและพฒั นานกั ศกึ ษา
- ใหก้ ารปรึกษาเกี่ยวกบั ปัญหาส่วนตวั ได้แก่ สขุ ภาพอนามยั ท้ังสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ
- ใหก้ ารปรกึ ษาเกี่ยวกบั ปัญหาสงั คม เช่น การปรบั ตวั ในสังคม และปญั หาการคบเพือ่ น
- ใหก้ ารปรกึ ษาเกย่ี วกบั การพัฒนาบคุ ลิกภาพ ความประพฤติ และจริยธรรม
- ให้คาแนะนา ควบคุมและสอดส่องนักศึกษา เกี่ยวกับการแต่งกาย ความประพฤติ และ
มารยาททางสังคม
หน้าท่ขี องอาจารยท์ ่ปี รึกษาดา้ นอืน่ ๆ
- ประสานงานกับอาจารย์ผู้สอนและหน่วยงานต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง ได้แก่ สานักส่งเสริม
วชิ าการและงานทะเบียน และกองพัฒนานักศึกษา เป็นต้น
- กาหนดเวลาให้นกั ศึกษาเข้าพบเพอ่ื ขอคาปรึกษาแนะนาอย่างสม่าเสมอ
- เกบ็ ขอ้ มลู รายละเอียดของนักศึกษาท่ีอยใู่ นความรับผิดชอบเพื่อเปน็ ข้อมูลพื้นฐานสาหรับ
ให้คาปรกึ ษาและช่วยเหลือนกั ศึกษา
- ใหค้ วามร่วมมอื สร้างสมั พันธภาพและความเข้าใจอนั ดรี ะหวา่ งนักศกึ ษากบั คณาจารย์
- ให้การรับรองนักศึกษาเมื่อต้องการนาข้อมูลไปแสดงแก่ผู้อ่ืนในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น
การศึกษาตอ่ เป็นต้น
- ป้อนข้อมูลย้อนกลับ (feed back) มายังผู้บริหารเก่ียวกับปัญหาต่าง ๆ ของนักศึกษา
เพอื่ ปรบั ปรงุ แกไ้ ข
ภารกิจของอาจารยท์ ่ีปรกึ ษา
- อาจารย์ท่ปี รกึ ษาตอ้ งศึกษากฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั ต่าง ๆ ของมหาวทิ ยาลยั
- อาจารย์ที่ปรึกษาต้องแจ้งตารางเวลา (office hours) เพื่อให้นักศึกษาเข้าพบอย่างน้อย
เดือนละครงั้

(๒๖) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

- อาจารย์ที่ปรึกษาควรติดตามผลการเรียนของนักศึกษาในความดูแลของตนเองเพ่ือ
แนะนาและช่วยเหลือนักศึกษา และให้ความสนใจกับนักศึกษาในโครงการพิเศษ หรือ
กรณีทีน่ กั ศกึ ษามปี ญั หาในดา้ นตา่ ง ๆ

- อาจารยท์ ปี่ รึกษาควรสนใจทจ่ี ะพัฒนาตนเองทงั้ ในด้านเทคนคิ ในการให้คาปรกึ ษาและ
ด้านอ่ืนๆ เพื่อใหม้ ลี กั ษณะของอาจารยท์ ีป่ รกึ ษาทด่ี ที ้งั ๑๒ ประการ

เทคนคิ การให้คาปรึกษาเบื้องต้น
อาจารยท์ ีป่ รึกษาต้องมีเทคนิคการสร้างสมั พันธภาพท่ีดี เพอื่ ใหน้ ักศกึ ษารู้สกึ ว่าอาจารย์

ท่ีปรึกษาสามารถใหค้ วามเป็นกันเอง ให้ความอบอนุ่ และเป็นทพี่ ง่ึ ทางใจของนกั ศกึ ษาได้
เทคนิคการให้การปรึกษาเบื้องตน้ ทีส่ าคญั และจาเปน็ มดี งั น้ี
๑. เทคนิคในการสรา้ งสัมพนั ธภาพ
- สรา้ งบรรยากาศทเี่ ปน็ มติ ร อบอนุ่ ย้มิ แย้มแจ่มใส
- เปดิ เผยไมม่ ลี ับลมคมใน
- มคี วามสนใจ มเี มตตากรณุ า
- มีความจริงใจและปฏบิ ัติตนอยา่ งเสมอตน้ เสมอปลาย
- ยอมรบั ท้งั คุณคา่ และความแตกต่างของบคุ คล
- ให้ความช่วยเหลอื นกั ศกึ ษาอยา่ งจรงิ จังและจรงิ ใจ
๒. การให้คาแนะนาและการปรกึ ษา
- การให้คาแนะนา (advising) เป็นวิธีที่อาจารย์ที่ปรึกษาให้การช่วยเหลือแก่ นักศึกษา

มากทสี่ ุดซึง่ มักจะเปน็ เรือ่ งกฎ ระเบียบ หรือวธิ ีปฏบิ ัตทิ ่ีใช้กันอย่เู ปน็ ประจา เชน่ การขาดเรียน การขาด
สอบ หรือปัญหาเล็กน้อยที่อาจารย์ท่ีปรึกษามีประสบการณ์ เพื่อช่วยให้นักศึกษาสามารถหาทาง
แก้ปัญหาได้ การให้คาแนะนาไม่เหมาะสมกับปัญหาท่ีเกี่ยวกับอารมณ์อย่างรุนแรง ปัญหาบุคลิกภาพ
หรอื ปัญหาทต่ี ้องตัดสินใจเลอื กทาอยา่ งใดอย่างหนึ่ง

- การให้คาปรึกษา (counseling) เป็นกระบวนการช่วยเหลือให้นักศึกษาเข้าใจตนเอง
สภาพแวดล้อมและปัญหาท่ีเผชิญอยู่ สามารถใช้ความเข้าใจดังกล่าวมาแก้ปัญหาหรือตัดสินใจเลือก
เปา้ หมายในการดาเนินชีวิตทเี่ หมาะสมกบั ตัวเอง และเพ่อื การปรับตัวทดี่ ีในอนาคต

- เทคนิคในการปรึกษาเป็นเทคนิคในการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ซ่ึงจะต้องมีการศึกษา
อบรมและมกี ารฝึกปฏบิ ตั ิเพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความชานาญ จึงจะสามารถแก้ปัญหาของนักศกึ ษาได้อย่าง
กว้างขวาง อาจารย์ท่ีปรึกษาที่ไม่ได้ฝึกอบรมมาทางนี้โดยตรงแต่มีหน้าที่ต้องช่วยเหลือนักศึกษา
จงึ จาเป็นต้องศึกษาและฝึกทักษะในเทคนิคต่าง ๆ เพื่อให้มีพ้ืนฐานความรู้ ความชานาญพอสมควรในการ
ชว่ ยเหลอื นกั ศึกษา อยา่ งไรกต็ ามปญั หาของนักศกึ ษาบางอย่างเปน็ ปัญหาท่ีแก้ไขไดย้ ากหรอื ต้องใชเ้ วลา
เช่น ปัญหาทางเศรษฐกิจ ปัญหาครอบครัว เป็นต้น อาจารย์ท่ีปรึกษาจาเป็นต้องใช้เทคนิคในการ
ปรึกษาอย่างระมดั ระวงั เพื่อช่วยใหป้ ญั หาคลี่คลาย สิ่งสาคัญที่สุดก็คอื การเป็นผูฟ้ งั ทีด่ ี ควรให้กาลังใจ

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๒๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ให้ความอบอุ่น และให้ความจริงจังและจริงใจในการช่วยเหลือนักศึกษาอย่างเต็มความสามารถ และ
หาทางออกเบอื้ งต้นอยา่ งดที ส่ี ดุ ใหก้ บั นกั ศึกษาในฐานะอาจารย์ทป่ี รกึ ษา

บรรณานกุ รม

สานกั งานปลัดทบวงมหาวิทยาลยั กองบริการการศึกษา. ระบบอาจารยท์ ่ปี รกึ ษาวชิ าการ
ระดับปรญิ ญาตรีในมหาวิทยาลยั . พิมพค์ ร้ังที่ ๒. กรุงเทพ ฯ: โรงพิมพจ์ ุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั : ๒๕๓๖.

http://www.amed.go.th/RTA_Med/MedSchool/insure/req.htm

(๒๘) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒ (๒๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

พระราชบญั ญตั ิ พระราชกฤษฎกี า
ขอ้ บงั คบั ระเบียบ ประกาศ
ของมหาวิทยาลยั
ทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั นกั ศึกษา

(๓๐) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

พระราชบัญญัติ
มหาวิทยาลัยั เทคโนโลยรั าชมงคล

พ.ศ. ๒๕๔๘
------------------------
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไ้ ว ณ วัันท่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘
เปน็ ปที ่ ๖๐ ในรัชกาลปจั จบุ ัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ
ใหประกาศวา่

โดยที่เป็นการสมควรจัดตั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลขึ้นแทนสถาบัน
เทคโนโลยีราชมงคล จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญตั ิขนึ้ ไวโดยคำแนะนา
และยินยอมของรฐั สภา ดังตอ่ ไปนี้

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตนิ ีเ้ รียกว่า “พระราชบัญญตั ิมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
พ.ศ. ๒๕๔๘”

มาตรา ๒ พระราชบญั ญัตินี้ใหใชบังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา
นเุ บกษา เป็นตนไป

มาตรา ๓ ใหยกเลิก
(๑) พระราชบญั ญัตวิ ทิ ยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๑๘
(๒) พระราชบัญญัติเปลี่ยนชอ่ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเป็นสถาบัน
เทคโนโลยรี าชมงคล พ.ศ. ๒๕๓๒
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญตั ิน้ี

“มหาวทิ ยาลัย” หมายความวา่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล
ตามพระราชบญั ญัติน้ี

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๓๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

“สภามหาวิทยาลัย” หมายความว่า สภามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลตามพระราชบญั ญัตินี้

“สภาวิชาการ” หมายความว่า สภาวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลตามพระราชบัญญัติน้ี

“สภาคณาจารย์และขาราชการ” หมายความว่า สภาคณาจารย์และขาราชการ

ม ห าว ิท ย าลั ย เท ค โน โล ยี ราช ม งค ล ต าม

พระราชบญั ญัตินี้

“วิทยาเขต” หมายความว่า เขตการศึกษาของมหาวิทยาลัย

ท่ีมีคณะ สถาบัน สานัก วทิ ยาลัยหรอส่วน

ราชการ ท่ีเรียกช่อ อย่างอ่นที่มีฐานะเทียบเทา่

คณะ ต้งั แต่สองส่วนราชการขึ้นไปต้ังอย่ใู นเขต

การศึกษานั้นตามที่ สภามหาวิทยาลัยกำหนด

“รฐั มนตร”ี หมายความวา่ รฐั มนตรผี รู ักษาการตามพระราช

บัญญตั ิน้ี

มาตรา ๕ ใหสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีราช

มงคล พ.ศ. ๒๕๑๘ เป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตามพระราชบัญญัติน้ี จำนวน

๙ แหง่ ดังน้ี

(๑) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี

(๒) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

(๓) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก

(๔) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร

(๕) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสินทร์

(๖) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลลานนา

(๗) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชัย

(๘) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

(๙) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน

(๓๒) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ใหมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแต่ละแห่งตามวรรคหนึ่งเป็นนิติบุคคลและ
เป็นส่วนราชการ ตามกฎหมายว่าดวยวิธีการงบประมาณในสังกัดสานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

มาตรา ๖ ใหรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการรกั ษาการตามพระราชบัญญัติน้ี และ
มอี ำนาจออก กฎกระทรวง และประกาศ เพอ่ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี

กฎกระทรวง และประกาศนั้น เม่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับ
ได

หมวดั๑
บทท่ัวไป
--------------------

มาตรา ๗ ใหมหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษาดานวิชาชีพและเทคโนโลยี
มีวัตถุประสงค์ให การศึกษา ส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงที่เนนการปฏิบัติ ทำการ
สอน ทำการวิจัย ผลิตครูวิชาชีพ ใหบริการทางวิชาการในดานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แก่สังคม ทะนุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม และอนุรักษ์ ส่ิงแวดลอม โดยใหผูสาเร็จอาชีวศกึ ษา
มีโอกาสในการศึกษาต่อดานวชิ าชพี เฉพาะทางระดบั ปรญิ ญาเป็นหลัก

มาตรา ๘ มหาวิทยาลัยอาจแบง่ ส่วนราชการ ดังน้ี
(๑) สานกั งานอธิการบดี
(๒) สานกั งานวิทยาเขต
(๓) บณั ฑิตวิทยาลัย
(๔) คณะ
(๕) สถาบัน
(๖) สานกั
(๗) วทิ ยาลัย
มหาวทิ ยาลัยอาจใหมีส่วนราชการท่ีเรียกช่ออย่างอ่นท่ีมีฐานะเทียบเท่าคณะ
เพอ่ ดาเนินการตาม วัตถุประสงค์ในมาตรา ๗ เป็นส่วนราชการในมหาวิทยาลัยอีกได
สำนกั งานอธิการบดแี ละสำนักงานวทิ ยาเขตอาจแบ่งส่วนราชการเป็นกองหรอส่วน

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๓๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ราชการ ทเี่ รยี กช่อ อยา่ งอ่นทมี่ ฐี านะเทียบเทา่ กอง
บัณฑิตวิทยาลัย อาจแบง่ ส่วนราชการเป็นสานักงานคณบดี กองหรอส่วนราชการ

ทเ่ี รียกช่ออยา่ งอ่น ท่ีมีฐานะเทียบเท่ากอง
คณะ อาจแบ่งส่วนราชการเป็นสานักงานคณบดี ภาควิชา กองหรอส่วนราชการที่

เรยี กช่ออย่างอ่นทมี่ ี ฐานะเทยี บเท่าภาควิชาหรอกอง
สถาบัน สำนกั หรอสว่ นราชการที่เรียกช่ออย่างอ่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ อาจแบ่ง

ส่วนราชการเป็น สำนักงานผูอานวยการ กองหรอส่วนราชการท่ีเรียกช่ออย่างอ่นท่ีมีฐานะ
เทยี บเทา่ กอง

วิทยาลัย อาจแบ่งสว่ นราชการเป็นสำนักงานผูอานวยการ ภาควิชา กองหรอสว่ น
ราชการ ทเี่ รยี กช่ออย่างอ่น ที่มฐี านะเทยี บเทา่ ภาควิชาหรอกอง

สำนกั งานคณบดี สำนกั งานผูอานวยการ ภาควิชา กองหรอส่วนราชการที่
เรียกช่ออย่างอ่นท่ีมีฐานะ เทียบเท่าภาควิชาหรอกอง อาจแบ่งส่วนราชการเป็นงานหรอส่วน
ราชการทเ่ี รยี กช่ออยา่ งอ่นทม่ี ฐี านะเทียบเทา่ งาน

มาตรา ๙ การจัดต้ัง การรวม และการยุบเลิกสานักงานวิทยาเขต บัณฑิต
วิทยาลัย คณะ สถาบัน สานัก วิทยาลัยหรอส่วนราชการท่ีเรียกช่ออย่างอ่นท่ีมีฐานะ
เทยี บเทา่ คณะ ใหทำเป็นกฎกระทรวง

การแบ่งส่วนราชการเป็นสานกั งานคณบดี สำนักงานผูอานวยการ ภาควิชา กอง
หรอส่วนราชการที่ เรียกช่ออย่างอ่นท่ีมีฐานะเทียบเท่าภาควิชาหรอกอง ใหทาเป็นประกาศ
กระทรวงศึกษาธกิ าร

การแบ่งส่วนราชการเป็นงานหรอสว่ นราชการท่ีเรยี กช่ออย่างอ่นที่มีฐานะเทียบเท่างาน
ใหทำเปน็ ประกาศ มหาวิทยาลยั

มาตรา ๑๐ ภายใตวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๗ มหาวิทยาลยั จะรับสถาบันการศึกษา
ช้ันสูงหรอสถาบันอ่นเขาสมทบในมหาวิทยาลัยก็ไดและมีอานาจใหปริญญาอนุปริญญาหรอ
ประกาศนียบัตรชั้นหน่ึง ช้นั ใดแก่ผสู าเรจ็ การศกึ ษาจากสถาบันสมทบน้ันได

การรบั เขาสมทบหรอยกเลิกการสมทบซ่งึ สถาบันการศึกษาช้ันสูงหรอสถาบันอ่น ให
เปน็ ไปตามขอบังคับ ของมหาวิทยาลัยและประกาศในราชกิจจานเุ บกษา

การควบคุมสถาบันการศึกษาชั้นสูงหรอสถาบันอ่นที่เขาสมทบในมหาวิทยาลัย
ใหเป็นไปตามขอบังคับ ของมหาวิทยาลัย

(๓๔) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มาตรา ๑๑ มหาวิทยาลัยจะปฏิเสธการรับผูใดเขาศึกษาในมหาวิทยาลัย หรอยุติหรอ
ชะลอการศึกษา ของนกั ศึกษาผูใดดวยเหตุเพียงว่าผูน้ันขาดแคลนทุนทรัพย์เพ่อจา่ ยค่าธรรมเนียม
การศึกษาตา่ ง ๆ แก่มหาวิทยาลยั มิได

หลกั เกณฑ์การพิจารณาว่านักศึกษาผูใดขาดแคลนทนุ ทรพั ย์ ใหเป็นไปตามระเบียบที่
สภามหาวทิ ยาลัย กาหนด

มาตรา ๑๒ นอกจากเงินท่ีกาหนดไวในงบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยอาจมี
รายได ดงั นี้

(๑) เงนิ ผลประโยชน์ ค่าธรรมเนียม คา่ ปรบั และคา่ บริการต่างๆ ของมหาวิทยาลัย
(๒) รายไดหรอผลประโยชน์ท่ีไดมาจากการใชทีร่ าชพัสดุซง่ึ มหาวิทยาลยั ปกครอง ดแู ล
หรอใชประโยชน์
(๓) เงนิ และทรพั ย์สินซงึ่ มผี อู ทุ ิศใหแก่มหาวทิ ยาลยั
(๔) รายไดหรอผลประโยชนท์ ี่ไดจากการลงทุนและจากทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย
(๕) เงินอุดหนุนจากองค์กรปกครองส่วนทองถิ่นหรอเงินอุดหนุนอ่นที่มหาวิทยาลัย
ไดรับ
(๖) รายไดหรอผลประโยชน์อย่างอ่น
ใหมหาวิทยาลัยมอี ำนาจในการปกครอง ดูแล บำรุงรักษา ใชและจัดหาผลประโยชน์
จากทรัพย์สิน ของมหาวิทยาลยั ท้ังท่ีเป็นทรี่ าชพัสดุตามกฎหมายว่าดวยท่รี าชพัสดุและท่เี ป็น
ทรัพย์สินอ่น รวมท้ังจัดหารายได จากการใหบริการ และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษา
ของส่วนราชการในมหาวิทยาลยั
รายไดและผลประโยชน์ของมหาวิทยาลัยเบี้ยปรับท่ีเกิดจากการดำเนินการตาม
วัตถุประสงค์ของมหาวทิ ยาลัย รวมท้ังเบี้ยปรับทเ่ี กิดจากการผิดสัญญาลาศึกษาและเบี้ยปรบั
ที่เกิดจากการผิดสัญญาการซ้อ ทรัพย์สินหรอสญั ญาจางทำของที่ดาเนินการโดยใชเงิน
งบประมาณ ไม่เป็นรายไดที่ตองนำส่งกระทรวง การคลัง ตามกฎหมายว่าดวยเงินคงคลัง
และกฎหมายว่าดวยวธิ ีการงบประมาณ
มาตรา๑๓ บรรดาอสังหาริมทรัพย์ที่มหาวิทยาลัยไดมาโดยมีผูอุทิศใหหรอไดมา
โดยการซ้อหรอ แลกเปลี่ยนจากรายไดของมหาวิทยาลัยตั้งแต่วันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใชบงั คับ
ไม่ถอเป็นท่ีราชพัสดุและใหเป็น กรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัย

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๓๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มาตรา ๑๔ บรรดารายไดและทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยจะตองจัดการเพ่อ
ประโยชน์ภายใต วัตถุประสงคข์ องมหาวิทยาลัยตามมาตรา ๗

เงินและทรัพย์สินที่มีผูอุทิศใหแก่มหาวิทยาลัยจะตองจัดการตามเง่อนไขท่ีผูอุทิศให
กาหนดไวและตอง เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย แต่ถามีความจาเป็นตอง
เปลี่ยนแปลงเง่อนไขดังกล่าว มหาวิทยาลัย ตองไดรับความยินยอมจากผูอุทิศใหหรอทายาท
หากไมม่ ที ายาทหรอทายาทไมป่ รากฏ จะตองไดรับอนุมัตจิ าก สภามหาวทิ ยาลัย

หมวดั๒
การดาเนนิ การ
--------------------

มาตรา ๑๕ ใหมหาวทิ ยาลัยแตล่ ะแหง่ มีสภามหาวิทยาลยั ประกอบดวย
(๑) นายกสภามหาวิทยาลยั ซ่งึ จะไดทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ แตง่ ต้งั
(๒) กรรมการสภามหาวิทยาลัยโดยตำแหน่ง ไดแก่ อธิการบดีและประธานสภา
คณาจารย์ และ ขาราชการ
(๓) กรรมการสภามหาวิทยาลัยจำนวนหกคน ซึ่งเลอกจากผูดำรงตำแหน่งรอง
อธิการบดี คณบดี ผูอำนวยการสถาบัน ผูอานวยการสำนัก ผูอานวยการวิทยาลัย และ
หัวหนาส่วนราชการ ท่เี รยี กชอ่ อย่างอ่นท่มี ี ฐานะเทียบเท่าคณะ
(๔) กรรมการสภามหาวิทยาลัยจำนวนหกคน ซ่ึงเลอกจากคณาจารย์ประจำของ
มหาวิทยาลัยและ ขาราชการพลเรอนในสถาบนั อดุ มศกึ ษาทม่ี ิใช่ผูดารงตาแหน่งตาม (๓)
(๕) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิจำนวนสิบสี่คน ซึ ่ง จ ะ ได ท ร ง พ ร ะ
กรุณาโปรดเกลาฯ แต่งต้ังจากบุคคลภายนอกมหาวทิ ยาลัย โดยคำแนะนำของนายกสภา
มหาวิทยาลัย และกรรมการสภา มหาวิทยาลัยตาม (๒) (๓) และ (๔) ทั้งนี้ ผูทรงคุณวุฒิ
ดังกล่าวตองมาจากผูมีความรู ความเชี่ยวชาญดานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กฎหมาย
การงบประมาณและการเงิน การบรหิ ารงานบุคคลการศึกษา เศรษฐศาสตร์ และสังคมศาสตร์
อยา่ งนอยดานละหนึ่งคน และดานอน่ ๆ ตามทสี่ ภามหาวทิ ยาลัยเห็นสมควร

(๓๖) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ใหสภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งรองอธิการบดีคนหนึ่ง ซึ่งมิใช่กรรมการสภ า
มหาวิทยาลัยตาม (๓) เป็นเลขานุการสภามหาวทิ ยาลัยโดยคาแนะนาของอธิการบดี

ใหสภามหาวิทยาลัยเลอกกรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิคนหน่ึงเปน็
อุปนายกสภา มหาวิทยาลัยทำหนาที่แทนนายกสภามหาวิทยาลัยเม่อนายกสภามหาวทิ ยาลัย
ไม่อาจปฏิบัติหนาทไ่ี ด หรอเม่อไมม่ ผี ูดารงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัย

คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการไดมาซึ่งนายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการ
สภามหาวิทยาลัย ผูทรงคุณวุฒิ คุณสมบตั ิของผูเลอก ตลอดจนหลักเกณฑ์ และวิธีการเลอก
กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ตาม (๓) และ (๔) ใหเป็นไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลยั

มาตรา ๑๖ นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัยตามมาตรา
๑๕ (๓) (๔) และ (๕) มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสามปี แต่จะทรงพระกรุณา
โปรดเกลาฯ แตง่ ต้ังหรออาจไดรับเลอกใหมอ่ ีกได

นอกจากการพนจากตำแหน่งตามวาระตามวรรคหนึ่ง นายกสภามหาวิทยาลัยและ
กรรมการสภามหาวิทยาลัย ตามมาตรา ๑๕ (๓) (๔) และ (๕) พนจากตำแหนง่ เมอ่

(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ขาดคุณสมบัติของการเป็นนายกสภามหาวทิ ยาลัยหรอกรรมการสภา
มหาวิทยาลยั ใน ประเภทน้ัน
(๔) ถูกจาคกุ โดยคำพิพากษาถึงที่สดุ ใหจาคกุ
(๕) สภามหาวิทยาลัยมีมติใหออกเพราะมีความประพฤตเิ ส่อมเสียบกพร่องต่อหนาท่ีหรอ
หย่อน ความสามารถ
(๖) เปน็ บคุ คลลมละลาย
(๗) เป็นคนไรความสามารถหรอคนเสมอนไรความสามารถ
การพนจากตำแหน่งตาม (๕) ตองมีคะแนนเสียงลงมติไม่นอยกว่าสองในสามของ
จำนวนกรรมการ สภามหาวทิ ยาลยั เท่าที่มีอยู่
ในกรณีท่ีตาแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยหรอกรรมการสภามหาวิทยาลยั ว่างลงไม่ว่า
ดวยเหตุใดและยังมิไดดาเนินการใหไดมาซึ่งนายกสภามหาวิทยาลัยหรอกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยแทนตาแหน่งท่ีว่าง ใหสภา มหาวิทยาลัยประกอบดวยกรรมการสภา
มหาวิทยาลยั เทา่ ทมี่ อี ยู่

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒ (๓๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ในกรณีที่นายกสภามหาวิทยาลัยหรอกรรมการสภามหาวิทยาลัยตามมาตรา ๑๕
(๓) (๔) หรอ (๕) พนจากตำแหน่งก่อนครบวาระ และไดทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ แต่งต้ัง
หรอไดมีการเลอกผูดำรงตำแหน่งแทนแลว ใหผูซ่ึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แต่งตั้ง หรอ
ไดรับเลอกอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลออยู่ของผซู ึ่งตนแทน แต่ถาวาระการดำรงตาแหน่ง
เหลออย่นู อยกวา่ เกาสบิ วนั จะไมด่ ำเนินการใหมผี ูดารงตำแหนง่ แทนก็ได

ในกรณที ่นี ายกสภามหาวทิ ยาลยั หรอกรรมการสภามหาวิทยาลัยตามมาตรา ๑๕ (๓)
(๔) และ (๕) พนจากตำแหน่งตามวาระแต่ยังมิไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แต่งต้ังนายก
สภามหาวิทยาลัยหรอกรรมการ สภามหาวิทยาลัย ผูทรงคุณวุฒิหรอยังมิไดเลอกกรรมการ
สภามหาวิทยาลัยอ่นขึ้นใหม่ใหนายกสภา มหาวิทยาลัยหรอกรรมการสภามหาวิทยาลัยซึ่ง
พนจากตำแหน่งปฏิบัติหนาท่ีต่อไปจนกว่าจะไดมีนายกสภา มหาวิทยาลัยหรอกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยใหมแ่ ลว

ใหมีการดาเนินการใหไดมาซึง่ นายกสภามหาวิทยาลัยหรอกรรมการสภามหาวิทยาลัย
ตามมาตรา ๑๕ (๓) (๔) และ (๕) ภายในเกาสิบวนั นับแตว่ ันท่ีผูนน้ั พนจากตาแหน่ง

มาตรา ๑๗ สภามหาวิทยาลัยมีอานาจและหนาท่ีควบคุมดูแลกิจการท่ัวไปของ
มหาวิทยาลยั และ โดยเฉพาะใหมอี ำนาจและหนาที่ ดังน้ี

(๑) วางนโยบาย และอนุมัตแิ ผนพัฒนาของมหาวิทยาลัยเก่ียวกับการศึกษาการ
ส่งเสริมวิชาการและ วิชาชีพช้ันสูงท่ีเนนการปฏิบัติ ทำการสอน ทำการวิจัย ผลิตครูวิชาชีพ
ใหบริการทางวิชาการในดานวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแก่สังคม ทะนุบารุงศิลปะและ
วฒั นธรรม และอนุรกั ษ์ส่ิงแวดลอม

(๒) วางระเบียบออกขอบังคับและประกาศของมหาวิทยาลัย และอาจมอบใหส่วน
ราชการใดในมหาวิทยาลัยเปน็ ผูวางระเบียบ ออกขอบังคับและประกาศสำหรับส่วนราชการ
นน้ั เป็นเรอ่ ง ๆ ไปกไ็ ด

(๓) กากบั มาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
(๔) ตดิ ตามและประเมินผลการดาเนนิ งานของมหาวทิ ยาลัย
(๕) พิจารณาใหความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาใหสอดคลองกับมาตรฐาน
ที่คณะกรรมการ การอุดมศึกษากำหนด
(๖) พิจารณาการจัดตั้ง การรวม และการยุบเลิก สำนักงานวิทยาเขต บัณฑติ
วิทยาลัย คณะ สถาบัน สำนัก วิทยาลัยหรอส่วนราชการที่เรียกช่ออย่างอ่นที่มีฐานะ

(๓๘) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

เทียบเท่าคณะรวมทั้งการแบ่งส่วนราชการของ ส่วนราชการดังกล่าว
(๗) อนุมัติใหปริญญา ประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ประกาศนียบัตรบัณฑิต

อนปุ รญิ ญาและ ประกาศนียบัตร
(๘) อนมุ ัติการรบั สถาบันการศึกษาชั้นสงู และสถาบันอ่นเขาสมทบ หรอการยกเลิก

การสมทบ
(๙) พิจารณาเสนอเร่องเพ่อทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แต่งต้ังและถอดถอนนายก

สภามหาวิทยาลัย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ อธิการบดี ศาสตราจารย์ และ
ศาสตราจารยพ์ เิ ศษ

(๑๐) แต่งตั้งและถอดถอนรองอธิการบดี คณบดี ผูอำนวยการสถาบัน ผูอำนวยการ
สำนัก ผูอำนวยการวิทยาลยั หรอหวั หนาส่วนราชการทเ่ี รียกช่ออย่างอ่นที่มฐี านะเทียบเท่าคณะ
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ รองศาสตราจารย์พิเศษ ผูช่วยศาสตราจารย์พิเศษ และกรรมการ
สภาวิชาการ

(๑๑) อนุมัติงบประมาณรายจ่ายจากเงนิ รายไดของมหาวิทยาลัย
(๑๒) วางระเบียบและออกขอบังคับเกี่ยวกับการบริหารการเงินและทรัพย์สนิ ของ
มหาวิทยาลยั และการจัดหารายไดของมหาวิทยาลัย
(๑๓) พิจารณาดาเนินการเก่ียวกับการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยตาม
กฎหมายว่าดวยระเบียบ ขาราชการพลเรอนในสถาบันอดุ มศึกษา และตามที่คณะกรรมการ
ขาราชการพลเรอนในสถาบันอุดมศึกษามอบหมาย
(๑๔) แต่งต้ังคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรอบุคคลหน่ึงบุคคลใดเพ่อพิจารณา
และเสนอความเหน็ ในเร่องหนึ่งเร่องใด หรอเพ่อมอบหมายใหปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดอันอยู่
ในอำนาจและหนาที่ของสภามหาวทิ ยาลยั
(๑๕) พิจารณาและใหความเห็นชอบในเร่องที่เกี่ยวกับกิจการของมหาวิทยาลัยตามท่ี
อธิการบดเี สนอ และอาจมอบหมายใหอธิการบดีปฏิบัติอยา่ งหนึ่งอย่างใดอันอยใู่ นอานาจและ
หนาทข่ี องสภามหาวิทยาลยั ก็ได
(๑๖) ส่งเสริม สนับสนุน และแสวงหาวิธีการ เพ่อพัฒนาความกาวหนาของ
มหาวิทยาลัย

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๓๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๑๗) ปฏิบัติหนาที่อ่นเกี่ยวกับกิจการของมหาวิทยาลัยท่ีมิไดระบุใหเป็นหนาท่ีของ
ผใู ดโดยเฉพาะ

มาตรา ๑๘ การประชมุ สภามหาวิทยาลยั ใหเปน็ ไปตามขอบังคบั ของมหาวิทยาลยั
มาตรา ๑๙ ใหมหาวิทยาลยั แต่ละแหง่ มสี ภาวิชาการ ประกอบดวย
(๑) อธิการบดี เป็นประธานสภาวิชาการ
(๒) รองอธิการบดฝี า่ ยวิชาการ เป็นรองประธานสภาวิชาการ
(๓) กรรมการสภาวิชาการโดยตำแหน่ง ไดแก่ รองอธิการบดีประจาวิทยาเขต
คณบดี ผอู านวยการ สถาบนั เพอ่ การวิจัย และผอู านวยการวิทยาลยั ถามี
(๔) กรรมการสภาวชิ าการจานวนหกคน ซึ่งเลอกจากคณาจารย์ประจาใน
มหาวิทยาลัย
(๕) กรรมการสภาวชิ าการผูทรงคุณวุฒิจำนวนสิบคน ซ่ึงแต่งต้ังจากบุคคลภายนอก
โดยความ เหน็ ชอบของสภามหาวิทยาลยั
คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการไดมาซึ่งกรรมการสภาวิชาการตาม (๔) และ
(๕) ใหเปน็ ไปตาม ขอบังคับของมหาวิทยาลยั
ใหอธิการบดีแต่งตั้งคณาจารย์ประจำในมหาวิทยาลัยคนหนึ่งเป็นเลขานุการสภา
วิชาการและอาจ แต่งตั้งคณ าจารย์ประจาในมหาวิทยาลัยอีกไม่เกินสองคนเป็น
ผูช่วยเลขานุการ
มาตรา ๒๐ วาระการดำรงตำแหน่ง และการพนจากตาแหน่งของกรรมการสภา
วิชาการตลอดจน การประชุมและการดาเนินงานของสภาวิชาการ ใหเป็นไปตามขอบังคับของ
มหาวทิ ยาลยั
มาตรา ๒๑ สภาวชิ าการมอี านาจและหนาท่ี ดังนี้
(๑) พิจารณาเกณฑม์ าตรฐานเกี่ยวกับหลักสูตร การเรียนการสอนการวิจัย การ
วดั ผลการศึกษา และ การประกนั คุณภาพการศกึ ษาเสนอต่อสภามหาวิทยาลยั
(๒) เสนอความเห็นเกย่ี วกับการรวมและการยกเลิกสาขาวิชาต่อสภามหาวิทยาลัย
(๓) เสนอความเหน็ เกี่ยวกับการเปดิ สอนตามหลักสตู รของมหาวิทยาลยั
(๔) พิจารณาเสนอความเห็นในเร่องทเ่ี กีย่ วกับวิชาการตอ่ สภามหาวิทยาลยั
(๕) ส่งเสริมการวิจัยและการบริการทางวิชาการท่ีสอดคลองกับภารกิจของ
มหาวิทยาลัยและความ ตองการของชุมชน

(๔๐) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๖) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ หรอบุคคลหนึ่งบุคคลใดเพ่อกระทำการใด ๆ อันอยู่
ในอานาจและหนาที่ ของสภาวิชาการ

มาตรา ๒๒ ใหมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งมีสภาคณาจารย์และขาราชการ
ประกอบดวย ประธานสภา คณาจารย์และขาราชการ และกรรมการสภาคณาจารย์และ
ขาราชการซ่งึ เลอกจากคณาจารย์ประจำและขาราชการ ของมหาวิทยาลยั

จำนวน คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการไดมา วาระการดำรงตำแหน่ง และการ
พนจากตำแหน่งของประธานสภาคณาจารย์และขาราชการ และกรรมการสภาคณาจารย์และ
ขาราชการตามวรรคหนึ่ง ตลอดจน การประชุมและการดำเนินงานของสภาคณาจารย์และ
ขาราชการ ใหเป็นไปตามขอบังคบั ของมหาวทิ ยาลยั

มาตรา ๒๓ สภาคณาจารย์และขาราชการมอี านาจและหนาท่ี ดงั น้ี
(๑) ใหคาปรึกษาและขอเสนอแนะในกิจการของมหาวิทยาลัยและการพัฒนา
มหาวิทยาลยั แก่อธิการบดี หรอสภามหาวิทยาลัย
(๒) ส่งเสริมและพฒั นาศักยภาพของคณาจารย์และขาราชการในการปฏิบัติหนาที่
ตามจรรยาบรรณแห่งวชิ าชีพ
(๓) พิทักษ์ผลประโยชน์ของมหาวทิ ยาลัยและปฏิบัติหนาท่ีอ่นตามที่อธิการบดีหรอ
สภามหาวทิ ยาลยั มอบหมาย
(๔) เรียกประชุมคณาจารย์และขาราชการเพ่อพิจารณากิจกรรมของมหาวิทยาลัย
และนำเสนอ ความคดิ เห็นต่อสภามหาวิทยาลยั ทั้งน้ี ตามขอบงั คับของมหาวทิ ยาลัย
การปฏิบัติหนาที่ของสภาคณาจารย์และขาราชการถอเป็นการปฏิบัติหนาท่ีราชการ
และการดำเนินการใด ๆ ในการปฏิบัติหนาที่โดยชอบย่อมไดรับความคุมครองและไม่เป็นเหตใุ น
การดาเนนิ การทางวนิ ัย
มาตรา ๒๔ ใหมีอธิการบดีเป็นผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบการบริหารงานของ
มหาวิทยาลัยแต่ละ แห่ง และอาจมีรองอธิการบดี หรอผูช่วยอธิการบดีหรอจะมีทั้งรอง
อธิการบดีและผูช่วยอธิการบดีตาม จำนวนที่สภามหาวิทยาลัยแต่ละแห่งกาหนด เพ่อทา
หนาทแ่ี ละรับผิดชอบตามที่อธกิ ารบดีมอบหมายก็ได
มาตรา ๒๕ อธิการบดีนัน้ จะทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แต่งต้ังโดยการสรรหาตาม
ขอบังคับของ มหาวิทยาลัยจากผูมีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๖ วรรคหน่ึง ทั้งนี้ ให
คานึงถงึ การมีสว่ นรว่ มของบุคลากรของ มหาวทิ ยาลยั

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒ (๔๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

อธิการบดีมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี และจะทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ
แต่งตงั้ ใหมอ่ กี ได แตจ่ ะดำรงตาแหน่งเกนิ สองวาระติดต่อกนั มิได

นอกจากการพนจากตาแหน่งตามวาระตามวรรคสอง อธิการบดีพนจากตาแหน่ง
เม่อ

(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ถูกลงโทษทางวินยั อยา่ งรายแรงหรอถกู สง่ั ใหออกจากราชการ เพราะ
เหตุมมี ลทินหรอ มัวหมองใน กรณที ี่ถกู สอบสวนทางวินยั อยา่ งรายแรง
(๔) เปน็ บุคคลลมละลาย คนไรความสามารถ หรอคนเสมอนไรความสามารถ
(๕) ถกู จาคุกโดยคำพิพากษาถงึ ทสี่ ดุ ใหจาคุก
(๖) สภามหาวทิ ยาลัยใหพนจากตำแหน่ง เพราะบกพร่องต่อหนาที่มีความ
ประพฤติเสอ่ มเสียหรอหย่อนความสามารถ มติของสภามหาวิทยาลัยใหพนจากตาแหน่ง
ตองประกอบดวยคะแนนเสียงไม่นอยกว่า สองในสามของจำนวนกรรมการสภามหาวิทยาลัย
ท้ังหมด
รองอธิการบดีใหสภามหาวิทยาลัยแต่งต้ังโดยคำแนะนำของอธิการบดีจากผูมี
คุณสมบตั ติ ามมาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง
ผูช่วยอธิการบดี ใหอธิการบดีแต่งตั้งจากขาราชการพลเรอนในสถาบันอุดมศึกษาซ่ึงมี
คณุ สมบัติตาม มาตรา ๒๖ วรรคสอง และใหอธิการบดีมีอานาจถอดถอนผูช่วยอธิการบดีดวย
เม่ออธิการบดีพนจากตาแหน่ง ใหรองอธิการบดีและผูช่วยอธิการบดี พนจาก
ตาแหนง่ ดวย
มาตรา ๒๖ อธิการบดีและรองอธกิ ารบดี ตองสำเรจ็ การศึกษาไม่ตา่ กว่าปริญญาตรหี รอ
เทยี บเทา่ จาก มหาวิทยาลัยหรอสถาบันอุดมศึกษาอ่นทีส่ ภามหาวิทยาลัยรบั รอง แ ล ะ ได ท ำ
การสอนหรอมีประสบการณ์ดาน การบริหารมาแลวไม่นอยกว่าหาปีในมหาวิทยาลัย หรอ
สถาบันอุดมศึกษาอ่นท่ีสภามหาวิทยาลัยรับรอง หรอเคย ดำรงตำแหน่งกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยไม่นอยกว่าสามปีหรอดำรงตำแหน่งหรอเคยดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ รวมทั้งมี
คุณสมบัตอิ น่ และไม่มีลักษณะตองหามตามทก่ี าหนดในขอบังคบั ของมหาวิทยาลัย
ผูช่วยอธิการบดี ตองสำเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาตรีหรอเทียบเท่าจาก
มหาวิทยาลัย หรอ สถาบันอุดมศึกษาอ่นที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง และไดทำการสอนหรอมี

(๔๒) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ป ระส บ ก ารณ ์ดาน ก ารบ ริห ารมาแล ว ไม่น อย ก ว่าสามปี ใน มหาวิทยาลัย ห รอ
สถาบันอุดมศึกษาอ่นที่สภามหาวทิ ยาลัยรับรอง

มาตรา ๒๗ อธิการบดีมอี านาจและหนาท่ี ดงั น้ี
(๑) บริหารกิจการของมหาวทิ ยาลัยใหเป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ
ขอบังคับของทางราชการ และของมหาวิทยาลัย รวมท้ังนโยบายและวัตถุประสงค์ของ
มหาวทิ ยาลัย
(๒) บริหารบุคลากร การเงิน การพัสดุ สถานท่ีและทรพั ย์สินอ่นของมหาวิทยาลัยให
เป็นไปตาม กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบงั คับของทางราชการและของมหาวิทยาลยั
(๓) จัดทาแผนพัฒนามหาวิทยาลัย ดูแลใหมีการปฏิบัติตามนโยบายและแผนงาน
รวมทง้ั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดาเนินงานดานต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย
(๔) แตง่ ต้งั และถอดถอนผูชว่ ยอธิการบดี รองคณบดี รองผูอานวยการสถาบัน
รองผอู านวยการ สานกั รองผูอำนวยการวิทยาลัย รองหัวหนาส่วนราชการที่เรียกช่ออย่าง
อ่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะหัวหนาภาควิชา หัวหนาส่วนราชการที่เรียกช่ออย่างอ่นที่มฐี านะ
เทยี บเทา่ ภาควิชาและอาจารย์พเิ ศษ
(๕) รายงานเกย่ี วกับกิจการและการดำเนินการของมหาวิทยาลัยต่อสภา
มหาวิทยาลัย
(๖) ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของสภาคณาจารย์และขาราชการ
คณะกรรมการส่งเสริม กจิ การวิทยาเขต และส่งเสรมิ การพฒั นานกั ศึกษาและกิจการนักศกึ ษา
(๗) ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชน รวมทั้งการเขาไปมีส่วน
รว่ มในการสราง ความสมั พันธ์กับชุมชน
(๘) เปน็ ผูแทนมหาวทิ ยาลยั ในกิจการทว่ั ไป
(๙) ปฏิบัติหนาที่อน่ ตามระเบียบ ขอบงั คบั และประกาศของมหาวิทยาลัย ตามท่ี
สภามหาวิทยาลยั มอบหมายหรอตามทกี่ ฎหมายกำหนดใหเป็นอานาจหนาท่ีของอธิการบดี
มาตรา ๒๘ ในกรณีท่ีผูดำรงตำแหน่งอธกิ ารบดีไม่อยู่หรอไม่อาจปฏิบัติราชการได ให
รองอธิการบดีเป็นผูรักษาราชการแทนถามีรองอธิการบดีหลายคน ใหรองอธิการบดีซ่ึง
อธิการบดีมอบหมายเป็นผูรักษาราชการแทน ถาอธิการบดีมิไดมอบหมาย ใหรองอธกิ ารบดีซึง่
มอี าวุโสสงู สุดเปน็ ผรู กั ษาราชการแทน

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๔๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ในกรณีท่ีไม่มี ผรู ักษาราชการแทนอธิการบดีตามความในวรรคหน่ึง หรอมแี ต่ไม่อาจ
ปฏิบัติราชการได หรอไม่มีผูดำรงตำแหน่งอธิการบดี ใหสภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งผูมี
คุณสมบัติตามมาตรา ๒๖ วรรคหน่ึง เป็นผรู กั ษา ราชการแทนอธิการบดี

มาตรา ๒๙ ในวิทยาเขตใหมีรองอธกิ ารบดีคนหนึ่งซ่ึงสภามหาวิทยาลยั แต่งต้ังโดย
คำแนะนำของ อธิการบดีเป็นผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบการบริหารงานของวทิ ยาเขตให
เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และประกาศของมหาวิทยาลัย และปฏิบัติหนาท่ีอ่น
ตามทีอ่ ธกิ ารบดีมอบหมาย

มาตรา ๓๐ ในวิทยาเขต ใหมีคณ ะกรรมการประจาวิทยาเขตคณ ะหนึ่ง
องค์ประกอบ จำนวน คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการไดมา วาระการดำรงตำแหน่ง
และการพนจากตำแหน่งของกรรมการประจำวิทยาเขต ตลอดจนการประชุมของ
คณะกรรมการประจำวิทยาเขตและการจัดระบบบริหารงานใน วิทยาเขต ใหเป็นไปตาม
ขอบงั คบั ของมหาวทิ ยาลัย ทั้งนี้ ตองมีกรรมการท่ีเป็ น ผูทรงคุณ วุฒิ ซึ่งแต่งต้ังจาก
บุคคลภายนอกไมน่ อยกว่าหนึ่งในสาม

มาตรา ๓๑ คณะกรรมการประจำวิทยาเขตมีอำนาจและหนาท่ี ดงั นี้
(๑) สง่ เสริมใหวทิ ยาเขตดำเนินภารกิจใหสอดคลองกบั นโยบาย เป้าหมาย และ
แผนพฒั นาตามทสี่ ภา มหาวทิ ยาลัยกาหนด
(๒) ใหคาปรึกษาและขอเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินกิจการต่างๆ ของวิทยาเขต
แก่อธิการบดี
(๓) เสนอแนะการเปิดสอนตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัยในวิทยาเขตต่อสภา
วิชาการ
(๔) ประสานงานระหวา่ งบัณฑิตวิทยาลัย คณะ สถาบัน สำนัก วิทยาลัย และ
ส่วนราชการทเี่ รียกชอ่ อยา่ งอ่นทม่ี ีฐานะเทยี บเทา่ คณะภายในวิทยาเขต
(๕) พิจารณาวางระเบยี บหรอออกขอบงั คบั อ่นตามทส่ี ภามหาวทิ ยาลัยมอบหมาย
(๖) พิจารณาเสนอแผนพัฒนา แผนงาน และงบประมาณประจำปีและจัดทำ
รายงานผลการดาเนิน กิจการของวิทยาเขตเสนอต่ออธกิ ารบดี
(๗) แตง่ ต้งั คณะอนุกรรมการ หรอบคุ คลหนึ่งบุคคลใดเพ่อกระทำการใด ๆ อันอย่ใู น
อานาจและหนาที่ ของคณะกรรมการประจำวิทยาเขต
(๘) ปฏบิ ัติงานอ่นตามทีอ่ ธิการบดีมอบหมาย


Click to View FlipBook Version