(๑๙๔) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ค้นคว้าอสิ ระ โดยผ่านความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลยั และแจ้งคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา
รบั ทราบ
(จ) อาจารย์ผสู้ อน ต้องเปน็ อาจารยป์ ระจาหรอื อาจารยพ์ ิเศษ ที่มคี ุณวุฒขิ ั้น
ต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาน้ันหรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธ์กัน หรือในสาขาวิชาของ
รายวิชาที่สอนและต้องมีประสบการณ์ด้านการสอนและมีผลงานทางวิชาการท่ีไม่ใช่ส่วนหนึง่ ของ
การศึกษาเพื่อรบั ปริญญาและเป็นผลงานทางวิชาการท่ีไดร้ ับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนด
ในการพิจารณาแต่งต้ังให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย ๑ รายการ ในรอบ ๕ ปี
ย้อนหลงั
ท้ังนี้ อาจารย์พิเศษต้องมีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ ๕๐ ของรายวิชา
โดยมอี าจารยป์ ระจาเป็นผู้รับผดิ ชอบรายวชิ านั้น
(๔) ปรญิ ญาเอก
(ก) อาจารย์ประจาหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่า
ปริญญาโทหรือเทียบเท่าท่ีมีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่ง
ของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการท่ีได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ท่ี
กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งใหบ้ คุ คลดารงตาแหนง่ ทางวชิ าการอย่างน้อย ๓ รายการ ในรอบ ๕
ปียอ้ นหลัง โดยอยา่ งน้อย ๑ รายการตอ้ งเป็นผลงานวิจัย
(ข) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จานวนอย่างน้อย ๓ คน มีคุณวุฒิ
ปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าท่ีมีตาแหน่งศาสตราจารย์ และมี
ผลงานทางวิชาการท่ีไม่ใช่ส่วนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่
ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดในการพิจารณาแต่งต้ังให้บุคคลดารงตาแหน่งทาง
วิชาการอย่างน้อย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย ๑ รายการต้องเป็น
ผลงานวิจยั
กรณีที่มีความจาเป็นอย่างย่ิงสาหรับสาขาวิชาท่ีไม่สามารถสรรหา
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบตามจานวน หรือมีจานวนนักศึกษานอ้ ยกว่า ๑๐ คน ทางคณะ
ต้องเสนอจานวนและคุณวุฒิของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรท่ีมีน้ันให้มหาวิทยาลัยทราบเพื่อ
เสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเป็นรายกรณี
ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๑๙๕)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
(ค) อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาวทิ ยานิพนธ์ แบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท คอื
๑) อาจารย์ทป่ี รึกษาวทิ ยานพิ นธ์หลัก ตอ้ งเป็นอาจารย์ประจาหลกั สูตร
มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือข้ันต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าท่ีมีตาแหน่งรอง
ศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา และเป็น
ผลงานทางวิชาการท่ีได้รับการเผยแพร่ ตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดในการพิจารณาแต่งต้ังให้บุคคล
ดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย ๑ รายการ
ตอ้ งเปน็ ผลงานวจิ ัย
๒) อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี) ต้องมีคุณวุฒิและ
คณุ สมบัติดังตอ่ ไปนี้
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมท่ีเป็นอาจารย์ประจา ต้องมี
คุณวุฒิและผลงานทางวชิ าการเช่นเดียวกับอาจารยท์ ี่ปรึกษาวทิ ยานิพนธ์หลกั
สาหรับอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมท่ีเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ
ภายนอก มหาวิทยาลัยต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการท่ีได้รับ
การตพี มิ พเ์ ผยแพร่ในวารสารท่ีมีชอื่ อยูใ่ นฐานข้อมลู ที่เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือ
สมั พันธก์ ับหัวขอ้ วิทยานพิ นธไ์ มน่ ้อยกว่า ๕ เรื่อง
กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยท่ีไม่มีคุณวุฒิและผลงาน
ทางวิชาการตามท่ีกาหนดข้างต้น ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยจะต้องเป็นผู้มีความรู้ความ
เช่ียวชาญและประสบการณ์สูงมากเป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ โดย
ผ่านความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย และแจง้ คณะกรรมการการอดุ มศึกษารบั ทราบ
(ง) อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ต้องประกอบด้วยอาจารย์ประจาหลักสูตร
และผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย รวมไม่น้อยกว่า ๕ คน ทั้งนี้ ประธานกรรมการสอบต้อง
เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย โดยอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องมีคุณวุฒิ คุณสมบัติ
และผลงานทางวิชาการ ดังต่อไปน้ี
๑) กรณีอาจารย์ประจาหลกั สูตร ต้องมคี ณุ วุฒปิ รญิ ญาเอกหรอื เทียบเท่า
หรอื ขน้ั ต่าปรญิ ญาโทหรือเทียบเทา่ ท่ีมตี าแหนง่ รองศาสตราจารย์ และมผี ลงานทางวิชาการทไี่ มใ่ ช่
ส่วนหน่ึงของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการท่ีได้รับการเผยแพร่ตาม
หลักเกณฑ์ท่ีกาหนดในการพิจารณาแต่งต้ังให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย ๓
รายการ ในรอบ ๕ ปียอ้ นหลงั โดยอย่างน้อย ๑ รายการต้องเปน็ ผลงานวจิ ัย
(๑๙๖) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
๒) กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอก
หรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่มีช่ืออยู่ใน
ฐานข้อมูลที่เป็นท่ยี อมรบั ในระดับนานาชาติ ซงึ่ ตรงหรือสัมพันธ์กับหัวขอ้ วิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า
๕ เรอ่ื ง
กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยที่ไม่มีคุณวุฒิและผลงานทาง
วิชาการตามท่ีกาหนดข้างต้น ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยจะต้องเป็นผู้มีความรู้ความ
เช่ียวชาญและประสบการณ์สูงมากเป็นที่ยอมรับ ซ่ึงตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ โดย
ผา่ นความเหน็ ชอบจากสภามหาวิทยาลยั และแจ้งคณะกรรมการการอดุ มศึกษารับทราบ
(จ) อาจารย์ผู้สอน ต้องเป็นอาจารย์ประจาหรืออาจารย์พิเศษ ท่ีมีคุณวุฒิ
ปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือข้ันต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าท่ีมีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ ใน
สาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมี
ประสบการณ์ด้านการสอนและมีผลงานทางวิชาการทไ่ี มใ่ ช่ส่วนหนง่ึ ของการศึกษาเพื่อรบั ปริญญา
และเปน็ ผลงานทางวชิ าการท่ีได้รบั การเผยแพรต่ ามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดในการพจิ ารณาแต่งตั้งให้
บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างนอ้ ย ๑ รายการ ในรอบ ๕ ปยี ้อนหลัง
ในกรณีรายวิชาที่สอนไมใ่ ชว่ ิชาในสาขาวิชาของหลักสูตร อนุโลมให้อาจารย์
ที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่าท่ีมีตาแหน่งทางวิชาการต่ากว่ารองศาสตราจารย์ ทา
หน้าทีอ่ าจารย์ผู้สอนได้
ทั้งนี้ อาจารย์พิเศษต้องมีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ ๕๐ ของรายวิชา โดยมี
อาจารยป์ ระจาเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบรายวชิ าน้นั
ข้อ ๑๙ ภาระงานท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์และการคน้ คว้าอิสระ
(๑) อาจารย์ประจาหลักสูตร ๑ คน ให้เป็นอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักของ
นกั ศึกษาปริญญาโทและปริญญาเอกตามหลกั เกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปน้ี
(ก) กรณีอาจารย์ประจาหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมี
ผลงานทางวชิ าการตามเกณฑ์ ให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของนักศกึ ษาระดบั ปริญญาโท
และเอกรวมไดไ้ มเ่ กิน ๕ คน ตอ่ ภาคการศกึ ษา
(ข) กรณีอาจารย์ประจาหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และ
ดารงตาแหน่งระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ข้ึนไป หรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่าท่ีมีตาแหน่ง
คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒ (๑๙๗)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
รองศาสตราจารย์ข้ึนไป และมผี ลงานทางวิชาการตามเกณฑ์ ใหเ้ ป็นอาจารยท์ ่ีปรึกษาวทิ ยานิพนธ์
ของนกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโทและเอกรวมได้ไม่เกนิ ๑๐ คนตอ่ ภาคการศกึ ษา
(ค) กรณีอาจารย์ประจาหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และ
ดารงตาแหน่งศาสตราจารย์และมคี วามจาเป็นต้องดแู ลนักศึกษาเกนิ กว่าจานวนที่กาหนดใหเ้ สนอ
ต่อสภามหาวิทยาลัยพิจารณา แต่ท้ังน้ีต้องไม่เกิน ๑๕ คนต่อภาคการศึกษา หากมีความ
จาเป็นต้องดูแลนักศึกษามากกว่า ๑๕ คน ให้มหาวิทยาลัยขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
การอุดมศกึ ษาเป็นรายกรณี
(๒) อาจารย์ประจาหลักสูตร ๑ คน ให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระของ
นกั ศึกษาปรญิ ญาโทไดไ้ ม่เกนิ ๑๕ คน
หากเป็นอาจารย์ท่ีปรึกษาท้ังวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ ให้คิดสัดส่วน
จานวนนักศึกษาท่ีทาวิทยานิพนธ์ ๑ คน เทียบได้กับจานวนนักศึกษาที่ค้นคว้าอิสระ ๓ คน แต่
ท้ังน้รี วมแล้วตอ้ งไมเ่ กนิ ๑๕ คนต่อภาคการศึกษา
(๓) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ต้องทาหน้าท่ีอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือ
อาจารย์ผสู้ อบวทิ ยานพิ นธ์ หรอื อาจารย์ผสู้ อนในหลักสตู รน้นั ด้วย
ข้อ ๒๐ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และอาจารย์ที่
ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ ให้คณบดีแต่งต้ังตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสตู รเสนอ
หมวด ๖
การจดั การศกึ ษา
ข้อ ๒๑ แผนการเรียน หมายถึง รายวิชา ปัญหาพิเศษ และวิทยานิพนธ์ หรือการ
ค้นคว้าอิสระ ท่ีนักศึกษาจะต้องเรียนหรือดาเนินการให้แล้วเสร็จและครบตามหลักสูตรของแต่ละ
สาขาวิชา
ขอ้ ๒๒ การลงทะเบียนเรยี น
(๑) ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนในแต่ละภาคการศึกษาตามประกาศของ
มหาวทิ ยาลัย
(๑๙๘) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
(๒) ในภาคการศึกษาปกติ นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาในระดับ
บัณฑิตศึกษาไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต และต้องไม่เกิน ๑๕ หน่วยกิต ยกเว้นในกรณีที่นักศึกษามี
หน่วยกิตคงเหลือตามหลักสูตรน้อยกว่า ๔ หน่วยกิต หรือเหลือเฉพาะวิทยานิพนธ์ หรือการ
ค้นคว้าอิสระ หรือได้รับความเห็นชอบจากคณบดี
(๓) ในภาคการศึกษาฤดรู ้อน ลงทะเบียนรายวชิ าไดไ้ มเ่ กนิ ๖ หนว่ ยกติ
(๔) ในภาคการศึกษาแรกท่ีเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย นักศึกษาลงทะเบียนเรียน
รายวิชาต่ากวา่ ๖ หนว่ ยกิตไม่ได้ มิฉะน้ันถือวา่ พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา
(๕) การลงทะเบียนเรียนรายวชิ าเพอื่ เขา้ ร่วมฟังการบรรยาย
(ก) การลงทะเบียนเรียนรายวิชาเพ่ือเข้าร่วมฟังการบรรยาย หมายถึง
การลงทะเบียนรายวิชาเป็นพิเศษ โดยไม่นับหน่วยกิตรวมเข้าในจานวนหน่วยกิตในภาคการศึกษา
และจานวนหน่วยกิตตามหลกั สูตร
(ข) ให้บันทึกผลการประเมินรายวิชาลงในระเบียนเป็น AU เฉพาะผู้ท่ีมีเวลา
เรียนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทัง้ หมดของรายวชิ านนั้
(๖) การลงทะเบียนเรียนรายวิชาไม่นับหน่วยกิต โดย “รายวิชาไม่นับหน่วย
กิต” หมายถึง รายวิชาท่ีกาหนดในหลักสตู รหรือรายวิชาท่คี ณะกรรมการบริหารหลกั สูตรกาหนดให้
ศึกษาเพ่ิมเติม โดยนักศึกษาต้องศึกษาและสอบผ่านได้ระดับคะแนน S โดยไม่นามาคิดแต้มระดับ
คะแนนเฉลย่ี
(ก) นักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก ๑ และนักศึกษา
หลักสูตรปริญญาดษุ ฎบี ัณฑิต แบบ ๑ หลกั สูตรอาจกาหนดใหเ้ รยี นรายวิชาไมน่ บั หน่วยกติ
(ข) นักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ที่ไม่มีพื้นฐานพอเพียงสาหรับ
การศึกษาในหลักสูตรที่เข้าศึกษา คณะกรรมการบริหารหลักสูตรอาจกาหนดให้เรียนรายวิชา
นอกเหนือจากหลักสูตร เพื่อเป็นพื้นฐานและต้องสอบผ่านโดยได้รับผลการประเมินระดับคะแนน
เปน็ S
(ค) ใหบ้ ันทึกผลการประเมนิ รายวิชาลงในใบแสดงผลการศึกษาเป็น S หรือ
U
(๗) นักศึกษาที่ไม่มาลงทะเบียนภายใน ๑๕ วัน หลังจากวันเปิดภาคการศึกษา ถือ
ว่าพน้ สภาพการเป็นนกั ศึกษา
(๘) การลงทะเบียนเพื่อรักษาสภาพการเป็นนกั ศึกษา
ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๑๙๙)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
(ก) นักศึกษาที่ลงทะเบียนและเรียนครบตามแผนการเรียนแล้ว แต่ยังไม่
สามารถปฏิบัติตามเกณ ฑ์การสาเร็จการศึกษาได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ต้องชาระ
ค่าธรรมเนียมรักษาสภาพนักศึกษา ค่าธรรมเนียม และค่าบารุง ตามระเบียบท่ีมหาวิทยาลัย
กาหนดไวท้ กุ ภาคการศึกษา จนกว่าจะสาเร็จการศึกษาหรือพน้ สภาพการเป็นนักศึกษา
(ข) การลงทะเบียนเพื่อรักษาสภาพการเป็นนักศึกษาต้องดาเนินการให้แล้ว
เสร็จภายใน ๓๐ วนั นบั จากวันเปดิ ภาคการศึกษา มฉิ ะนนั้ ถือว่าพ้นสภาพการเปน็ นกั ศกึ ษา
(๙) ในกรณีท่ีมีเหตุอันควร คณะอาจประกาศงดการเรียนการสอนรายวิชาใด หรือ
จากัดจานวนนักศึกษาทล่ี งทะเบียนเรียนในรายวิชาใดก็ได้
ข้อ ๒๓ การขอเพ่ิมและถอนรายวิชา
(๑) การขอเพิ่มรายวิชาจะกระทาได้ภายใน ๒ สัปดาห์ นับจากวันเปิดภาค
การศึกษาสาหรับภาคการศึกษาปกติ หรือภายในสัปดาห์แรกนับจากวันเปิดภาคการศึกษา
สาหรับภาคการศึกษาฤดรู ้อน
(๒) การขอถอนรายวชิ า
(ก) ในกรณีที่ขอถอนรายวิชาภายใน ๒ สัปดาห์ นับจากวันเปิดภาคการศึกษา
สาหรับภาคการศึกษาปกติ และภายในสัปดาห์แรกนับจากวันเปิดภาคการศึกษาสาหรับภาค
การศึกษาฤดูร้อน รายวิชาทข่ี อถอนไมป่ รากฏในระเบียน และให้ได้รบั เงนิ ลงทะเบยี นคนื
(ข) ในกรณีที่ขอถอนรายวิชาหลังจาก ๒ สัปดาห์ นับจากวันเปิดภาค
การศึกษาสาหรับภาคการศึกษาปกติ และหลังจากสัปดาห์แรกนับจากวันเปิดภาคการศึกษา
สาหรับภาคการศึกษาฤดูร้อน ให้บนั ทึกระดบั คะแนน W ในรายวิชาทข่ี อถอน และจะไม่ได้รับเงิน
ลงทะเบยี นคืน
(ค) การขอถอนรายวิชาจะต้องกระทาก่อนสอบปลายภาคไม่น้อยกว่า ๒
สัปดาห์ หากขอถอนรายวิชาหลังจากระยะเวลาดังกล่าว ให้ได้ระดับคะแนน F และจะไม่ได้รับเงิน
ลงทะเบียนคนื
(๓) การขอเพ่ิมและถอนรายวิชาใน (๑) และ (๒) ต้องไม่ขัดต่อการลงทะเบียน
เรียนในขอ้ ๒๒ (๒) และ (๓)
(๔) การขอเพิ่มและถอนรายวิชาท่ีไม่สามารถดาเนินการตาม (๑) (๒) และ (๓)
ใหอ้ ยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร และได้รบั อนุมัตจิ ากคณบดี
(๒๐๐) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ข้อ ๒๔ การลาพักการศึกษา หมายถึง การท่ีนักศึกษายังเรียนไม่ครบตามแผนการ
เรียน แต่มีความประสงค์ขอหยุดเรียนชว่ั คราว โดยขอรักษาสภาพการเป็นนักศึกษาไวเ้ ป็นคราว ๆ
ไป
(๑) นักศึกษามีสิทธิลาพักการศึกษาได้ ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ท่ี
ปรึกษาและได้รับอนุมัติจากคณบดี ภายในช่วงเวลาถอนรายวิชาเรียน หรือตามประกาศของ
มหาวิทยาลัย โดยถือเกณฑ์การพิจารณาอนุมัติดังตอ่ ไปน้ี
(ก) ถูกเกณฑห์ รอื ระดมเข้ารับรบั ราชการทหารกองประจาการ
(ข) ได้รับทุนแลกเปล่ียนนักศึกษาระหว่างประเทศ หรือทุนอื่นใดท่ีเป็น
ประโยชนต์ อ่ การศกึ ษาหรือการวิจัยในหลกั สูตรซ่งึ มหาวทิ ยาลยั เหน็ สมควรสนบั สนุน
(ค) เจ็บป่วยต้องพักรักษาตัวเป็นระยะเวลานานเกินร้อยละ ๒๐ ของเวลาเรียน
ทั้งหมด และต้องมีใบรบั รองแพทยม์ าแสดง
(ง) มีความจาเป็นส่วนตัว ท้ังน้ี ต้องศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ภาค
การศึกษา
(๒) การลาพักการศึกษาตาม (๑) (ก) ให้เป็นไปตามความต้องการของราชการ
ทหาร และการลาพักการศึกษาตาม (๑) (ข) ให้เป็นไปตามเง่ือนไขของทุนที่ได้รับ การลาพัก
การศึกษาตาม (๑) (ค) และ (ง) กระทาได้ครั้งละไม่เกิน ๒ ภาคการศึกษาติดต่อกัน ถ้ามีความ
จาเป็นต้องลาพักการศึกษาต่อไปอีก ให้ย่ืนคาร้องขอลาพักการศึกษาได้อีกไม่เกิน ๑ ภาคการศกึ ษา
ทัง้ นี้ ตอ้ งได้รบั ความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและไดร้ ับอนมุ ตั จิ ากคณบดี
(๓) ในกรณีที่นกั ศึกษาไดร้ ับอนุญาตให้ลาพักการศึกษา ให้นับระยะเวลาท่ีลาพักอยู่
ในระยะเวลาของการศึกษาดว้ ย ยกเว้นนกั ศกึ ษาทไ่ี ดร้ บั อนญุ าตให้ลาพกั ตาม (๑) (ก)
(๔) นักศึกษาต้องรักษาสภาพการเป็นนักศึกษาระหว่างที่ได้รับอนุญาตให้ลาพัก
การศึกษา โดยชาระค่าธรรมเนียมค่ารักษาสภาพการเป็นนักศึกษาตามระเบียบมหาวิทยาลัย
และให้นักศึกษามาดาเนินการรักษาสภาพการเป็นนักศึกษาให้แล้วเสร็จภายใน ๑๕ วัน หลังเปิดภาค
การศึกษา มิฉะน้ันให้พน้ สภาพการเป็นนักศึกษา ยกเว้นการลาพกั การศึกษาตาม (๑) (ก)
(๕) นักศึกษาท่ีได้รับอนุญาตให้ลาพักการศึกษา เม่ือจะกลับเข้าศึกษาต้องย่ืนคา
รอ้ งขอกลับเขา้ ศึกษาต่อคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร และตอ้ งได้รับอนุมัติจากคณบดี ก่อนกาหนด
การลงทะเบยี นไม่น้อยกว่า ๑ สัปดาห์
ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๒๐๑)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
(๖) การลาพักการศึกษาท่ีไม่เป็นไปตาม (๑) (ก) (ข) (ค) และ (ง) ให้อยู่ในดุลพินิจ
ของอธิการบดี
(๗) การลาพักการศึกษาในระหว่างภาคการศึกษา ใหม้ ีในกรณดี ังตอ่ ไปน้ี
(ก) ถ้าวันที่ขอลาพักการศึกษาอยู่ในระหว่าง ๒ สัปดาห์นับจากวันเปิดภาค
การศึกษาสาหรับภาคการศึกษาปกติ และภายในสัปดาห์แรกนับจากวันเปิดภาคการศึกษาสาหรับ
ภาคการศกึ ษาฤดูร้อน รายวิชาท่ีนักศึกษาลงทะเบยี นท้งั หมดจะไม่ปรากฏในระเบยี น
(ข) ถ้าวันที่ขอลาพักการศึกษาพ้นกาหนด ๒ สัปดาห์นับจากวันเปิดภาค
การศึกษาสาหรับภาคการศึกษาปกติ และหลังจากสัปดาห์แรกนับจากวันเปิดภาคการศึกษาสาหรับ
ภาคการศึกษาฤดูร้อน ให้บันทึกระดับคะแนน W ในระเบียนทุกรายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนใน
ภาคการศกึ ษานัน้
ข้อ ๒๕ การพ้นสภาพการเป็นนักศกึ ษา นักศึกษาจะพ้นสภาพการเปน็ นักศึกษา
ในกรณีดังต่อไปนี้
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ขาดคุณสมบตั ิในการเข้าเป็นนกั ศึกษามหาวิทยาลยั ตามข้อ ๑๓
(๔) ศกึ ษาครบถ้วนตามหลักสตู ร และไดร้ บั อนุมัตใิ หส้ าเรจ็ การศกึ ษา
(๕) คณบดีส่งั ให้พ้นสภาพการเปน็ นกั ศึกษา ในกรณีดงั ต่อไปน้ี
(ก) ไมส่ ามารถสาเร็จการศกึ ษาตามระยะเวลาการศึกษาตามข้อ ๑๒
(ข) ไม่ลงทะเบียนเรียนหรือไม่ชาระค่าธรรมเนียมการศึกษา ค่าลงทะเบียนเรียน หรือ
ค่าบารงุ การศึกษาในเวลาท่ีกาหนด
(ค) ไม่ปฏบิ ตั ิตามเงื่อนไขของการลาพักการศึกษา
(ง) ไมส่ ามารถปฏิบัติไดต้ ามเกณฑ์ท่ีกาหนดไวใ้ นหมวด ๗
(๖) การพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา เน่ืองจากความผิดทางวนิ ัยตามความเห็นชอบ
ของสภามหาวิทยาลัย
ข้อ ๒๖ การคืนสภาพการเป็นนกั ศึกษา
(๑) นักศึกษาท่ีถูกถอนชื่อออกเน่ืองจากไม่มาลงทะเบียน กลับเข้าเป็นนักศึกษาได้
หากมีเหตุอันสมควร ทงั้ นี้ ต้องไม่พน้ กาหนด ๑ ปี
(๒๐๒) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
(๒) การคืนสภาพการเป็นนักศึกษา ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณบดีและ
ไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากอธกิ ารบดี
(๓) นักศึกษาต้องชาระค่าธรรมเนียมการคืนสภาพการเป็นนักศึกษา ค่าบารุงการศึกษา
และค่าลงทะเบยี นเรยี น ตามระเบียบมหาวิทยาลัย
(๔) นักศึกษาท่ีได้รับอนุมัติให้คืนสภาพการเป็นนักศึกษา จะมีสภาพการเป็น
นักศึกษาเช่นเดียวกบั สภาพเดิมก่อนพ้นสภาพ ทั้งน้ี การนับระยะเวลาการศึกษาให้เป็นไปตามข้อ
๑๒
ข้อ ๒๗ การลาออก นักศึกษาท่ีประสงค์จะลาออกจากการเป็นนักศึกษา
ให้ยน่ื คาร้องต่อคณบดีผา่ นอาจารย์ทป่ี รึกษา และคณะกรรมการบริหารหลักสูตร การลาออกจะมี
ผลสมบูรณ์เมอ่ื คณบดอี นมุ ัตใิ หล้ าออก
ข้อ ๒๘ การเปล่ียนสาขาวิชาและแผนการศึกษา นักศึกษาอาจขอเปลี่ยนสาขาวิชา
หรือเปล่ียนแผนการศึกษาในคณะเดียวกันได้ เม่ือได้ศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ภาคการศึกษา ท้ังนี้
ตอ้ งได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและได้รบั อนมุ ัติจากคณบดี
ข้อ ๒๙ การลงทะเบียนรายวชิ าในมหาวิทยาลัย หรอื มหาวทิ ยาลัยอืน่
(๑) นักศึกษาอาจขอลงทะเบียนรายวิชาในมหาวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัยอ่ืนได้
โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา และคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และได้รับ
อนุมัติจากคณบดีโดยถอื เกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปนี้
(ก) รายวิชาท่ีหลักสูตรกาหนด มิได้เปิดสอนในมหาวิทยาลัยในภาคการศึกษา
และปกี ารศกึ ษาน้นั
(ข) รายวิชาท่ีมหาวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัยอ่ืนเปิดสอน ต้องมีเน้ือหาท่ี
เทียบเคยี งกนั ได้ หรือมีเนือ้ หาสาระครอบคลมุ ไม่น้อยกวา่ สามในสี่ของรายวชิ าในหลักสตู ร
(ค) รายวิชาท่ีเป็นประโยชนต์ ่อการศึกษา หรือการทาวิทยานิพนธ์ หรือการ
คน้ ควา้ อิสระของนกั ศกึ ษา
(๒) ให้นาหน่วยกิตและผลการศึกษาของรายวิชาท่ีนักศึกษาลงทะเบียนเรียน
ในมหาวิทยาลัยหรือต่างมหาวิทยาลัย ไปเป็นส่วนหน่ึงของการประเมินผลการศึกษาตามหลักสูตร
ทน่ี กั ศกึ ษากาลังศกึ ษาอยู่
(๓) นักศึกษาต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าลงทะเบียน และค่าธรรมเนียมอื่น ๆ ตามที่
มหาวทิ ยาลยั หรือมหาวิทยาลยั อน่ื ท่ีนักศกึ ษาไปเรยี นนนั้ กาหนด
คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒ (๒๐๓)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
หมวด ๗
การวัดผลและประเมินผลการศึกษา
ข้อ ๓๐ การสอบรายวิชา เป็นการสอบเพื่อวัดว่านักศึกษามีความรู้ในวชิ านนั้ ๆ
ซึง่ อาจเป็นการสอบข้อเขียนหรือการประเมินผลการศึกษาโดยวิธีอ่ืน ท้ังน้ี ต้องประกาศถึงวิธีการ
สอบและเกณฑ์การพิจารณาผลการสอบให้นักศึกษาทราบล่วงหน้าต้ังแต่ต้นภาคการศึกษา การ
วดั ผลและประเมินผลรายวิชาให้คณบดีเปน็ ผู้อนุมัติ
ข้อ ๓๑ การสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination)
(๑) การสอบประมวลความรู้ ใช้สาหรับนักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต
แผน ข
(๒) การสอบประมวลความรู้ ประกอบด้วย การสอบข้อเขยี น และการสอบปาก
เปล่า เพื่อวัดความสามารถและศักยภาพในการนาหลักวิชาการและประสบการณ์การเรียนไป
ประยกุ ตใ์ ช้
(๓) ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรรับผิดชอบในการจัดสอบประมวลความรู้
อยา่ งนอ้ ยภาคการศึกษาละ ๑ ครง้ั เมอื่ มนี กั ศึกษายนื่ คาร้องขอสอบ
(๔) นักศึกษาจะมีสิทธิขอสอบประมวลความรู้ได้ เมื่อสอบผ่านรายวิชาท่ีกาหนด
ในหลักสูตรให้เป็นส่วนหนึ่งของการสอบประมวลความรู้ครบถ้วน โดยได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ย
สะสมไม่ต่ากว่า ๓.๐๐
(๕) นักศึกษาที่ประสงคจ์ ะขอสอบ ต้องย่นื คาร้องขอสอบผา่ นอาจารย์ทป่ี รึกษา
(๖) ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตร เสนอรายช่ือคณะกรรมการสอบประมวล
ความรู้จานวน ๓ – ๕ คน ต่อคณบดีเพ่ือพิจารณาแต่งตั้ง โดยกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานกรรมการ
สอบ คณะกรรมการสอบเป็นผู้รับผิดชอบในการดาเนินการสอบ และให้รายงานผลการสอบต่อ
คณบดีโดยผา่ นคณะกรรมการบริหารหลกั สูตร ภายใน ๔ สปั ดาห์ หลงั จากเสรจ็ ส้นิ การสอบ
(๗) เมื่อนกั ศึกษาไดร้ ับอนุมตั ิให้สอบในภาคการศึกษาใด ๆ แล้ว ถ้าขาดสอบโดย
ไม่มีเหตุผลอันสมควร ให้ถือว่าสอบไม่ผ่านในการสอบคราวน้ัน ทั้งน้ี ให้อยู่ในดุลพินิจของประธาน
กรรมการสอบ
(๒๐๔) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
(๘) ผู้ท่ีสอบไม่ผ่านหรือไม่เป็นท่ีพอใจ มีสิทธิขอสอบแก้ตัวได้อีก ๑ คร้ัง ภายใน ๑
ปี นบั จากการสอบครงั้ แรก มฉิ ะน้ันใหพ้ น้ สภาพการเป็นนกั ศกึ ษา
ข้อ ๓๒ การสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)
(๑) การสอบวัดคณุ สมบตั ิเป็นการสอบเพ่ือประเมินความพร้อมสาหรบั นักศึกษา
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แบบ ก ๑ และนักศึกษาหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบบ ๑ และ
แบบ ๒ เพื่อวัดว่านักศึกษามีความรู้พ้ืนฐาน และมีความพร้อมในการทาวิทยานิพนธ์ และเพ่ือมี
สิทธเิ สนอเค้าโครงวทิ ยานิพนธ์
(๒) การสอบวดั คุณสมบตั ิประกอบด้วยการสอบข้อเขยี นและการสอบปากเปลา่
(๓) ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตร จัดสอบวัดคุณสมบัติสาหรับการสอบ
ข้อเขียนอย่างน้อยภาคการศึกษาละ ๑ คร้ัง เมื่อมีนักศึกษาย่ืนคาร้องขอสอบ ส่วนการสอบปาก
เปล่าให้อยู่ในดุลพนิ ิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
(๔) ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเสนอรายชื่อคณะกรรมการสอบวัด
คุณสมบตั ิจานวน ๓-๕ คน ต่อคณบดีเพือ่ พจิ ารณาแตง่ ตง้ั โดยกรรมการคนหนึ่งเปน็ ประธานกรรมการ
สอบ คณะกรรมการสอบเป็นผู้รับผิดชอบในการดาเนินการสอบ และให้รายงานผลการสอบต่อ
คณบดโี ดยผา่ นคณะกรรมการบริหารหลักสตู รภายใน ๒ สัปดาห์ หลงั จากเสร็จสิ้นการสอบ
(๕) นักศึกษาจะมีสิทธิสอบวัดคุณสมบัติเมื่อได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ท่ี
ปรึกษาและคณะกรรมการบริหารหลกั สูตร วา่ มคี วามรู้พน้ื ฐานพร้อมท่ีจะสอบได้
(๖) นักศึกษาท่ีขอสอบวัดคุณสมบัติ ต้องย่ืนคาร้องขอสอบผ่านอาจารย์ที่ปรึกษา
คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร ไปยังคณะ และชาระคา่ ธรรมเนียมตามระเบียบมหาวทิ ยาลยั
(๗) เมื่อนักศึกษาได้รับอนุมัติให้สอบในภาคการศึกษาใด ๆ แลว้ ถ้าขาดสอบโดย
ไม่มีเหตุผลอันสมควร ให้ถือว่าสอบไม่ผ่านในการสอบคราวนั้น ท้ังนี้ ให้อยู่ในดุลพินิจของประธาน
กรรมการสอบ
(๘) นักศึกษาท่ีสอบครั้งแรกไม่ผ่านหรือไม่เป็นท่ีพอใจ มีสิทธิสอบแก้ตัวได้ ๑ คร้ัง
ทงั้ น้ี ไม่ก่อน ๖๐ วัน นับจากวนั สอบคร้ังแรก นักศกึ ษาท่สี อบคร้ังที่สองไม่ผ่านหรือไม่เป็นทพ่ี อใจ
ใหพ้ น้ สภาพการเปน็ นกั ศึกษา
(๙) นกั ศึกษาต้องสอบวดั คุณสมบัตใิ ห้ผ่าน โดยไดผ้ ลการประเมินระดับคะแนน
เปน็ S ภายในระยะเวลาตามหลักสตู รต่าง ๆ ดังต่อไปน้ี โดยนับต้งั แต่ภาคการศึกษาแรกทเ่ี ขา้ ศึกษา
มิฉะน้นั ใหพ้ ้นสภาพการเป็นนักศึกษา
ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๒๐๕)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
(ก) หลักสูตรปรญิ ญามหาบัณฑติ แบบ ก ๑ ภายใน ๓ ภาคการศกึ ษาปกติ
(ข) หลกั สูตรปรญิ ญาดุษฎีบัณฑติ แบบ ๑.๑ ภายใน ๔ ภาคการศึกษาปกติ
(ค) หลกั สตู รปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบบ ๑.๒ ภายใน ๔ ภาคการศึกษาปกติ
(ง) หลกั สูตรปริญญาดุษฎีบณั ฑิต แบบ ๒.๑ ภายใน ๖ ภาคการศึกษาปกติ
(จ) หลกั สตู รปรญิ ญาดุษฎีบัณฑิต แบบ ๒.๒ ภายใน ๔ ภาคการศึกษาปกติ
ขอ้ ๓๓ การประเมินผลการศึกษา จะต้องกระทาเมอ่ื สิ้นภาคการศกึ ษาแต่ละภาค
การศึกษา โดยให้ผลการประเมนิ เป็นระดบั คะแนน (Grade) ซึ่งระดับคะแนน ค่าระดับคะแนน
และผลการศึกษาเปน็ ดังตอ่ ไปน้ี
ระดบั ค่าระดับ ผลการศึกษา
คะแนน คะแนน
๔.๐๐ ดีเลิศ (Excellent)
A ๓.๕๐ ดมี าก (Very Good)
B ๓.๐๐ ดี (Good)
B ๒.๕๐ ค่อนข้างดี (Fairly Good)
C ๒.๐๐ พอใช้ (Fair)
C ๑.๕๐ คอ่ นข้างพอใช้ (Poor)
D ๑.๐๐ ออ่ น (Very Poor)
D ๐ ตก (Fail)
F - สอบผ่าน/เป็นที่พอใจ (Satisfactory)
S - สอบไมผ่ า่ น/ไม่เปน็ ท่ี (Unsatisfactory)
U พอใจ
การวดั ผลรายวิชายังไม่ (Incomplete)
I- สมบูรณ์
ขอถอนวชิ าเรียนหลัง (Withdrawal)
W- กาหนด
เข้าร่วมฟงั การบรรยาย
AU -
(๒๐๖) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ข้อ ๓๔ การประเมินผลการสอบประมวลความรู้ การสอบวัดคุณสมบัติ การสอบ
ภาษาตา่ งประเทศ การสอบวทิ ยานพิ นธ์ และการคน้ คว้าอิสระ
(๑) การประเมินผลการสอบประมวลความรู้ การสอบวัดคุณสมบัติ และการสอบ
ภาษาต่างประเทศ ใหผ้ ลการประเมินเปน็ ระดบั คะแนน ดังต่อไปน้ี
ระดบั คะแนน ผลการศึกษา (Satisfactory)
S สอบผา่ น/เปน็ ที่พอใจ (Unsatisfactory)
U สอบไม่ผ่าน/ไม่เปน็ ที่พอใจ
(๒) การประเมินผลวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระ ให้ผลการประเมินเป็น
ระดบั คะแนน ดังต่อไปน้ี
ระดับคะแนน ผลการศึกษา (Pass)
P ผา่ น (Fail)
F ตก (In Progress)
IP การทาวทิ ยานิพนธ/์ การค้นคว้าอิสระ
ยังไมส่ ้นิ สดุ
การให้ระดับคะแนน IP อาจแบ่งจานวนหน่วยกิตตามความก้าวหน้าในการทา
วทิ ยานิพนธ์หรอื การค้นควา้ อิสระ
ข้อ ๓๕ การคานวณหน่วยกิตสะสม และคา่ ระดับคะแนนเฉล่ีย
(๑) การคานวณหน่วยกิตสะสม และค่าระดับคะแนนเฉลี่ย ให้กระทาเมื่อสิ้น
แต่ละภาคการศึกษา
(๒) หน่วยกิตสะสม คือ จานวนหน่วยกิตของรายวิชาในระดับบัณฑิตศึกษาท่ี
ลงทะเบียนเรยี นทง้ั หมดทไ่ี ด้รบั ค่าระดับคะแนนตามข้อ ๓๓
(๓) ค่าระดับคะแนนเฉลี่ย มี ๒ ประเภท คือ ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยประจาภาค
และค่าระดบั คะแนนเฉล่ียสะสม การคานวณคา่ ระดบั คะแนนเฉลย่ี ให้ทาดงั ต่อไปนี้
(ก) ค่าระดับคะแนนเฉล่ียประจาภาค คานวณจากผลการศึกษาของนักศึกษาใน
ภาคการศึกษานั้น โดยเอาผลรวมของผลคูณของหน่วยกิตกับค่าระดับคะแนนของผลการศึกษาในแต่
ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒ (๒๐๗)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ละรายวิชาในภาคการศึกษานั้น ๆ ที่นักศึกษาได้รับเป็นตัวต้ัง หารด้วยผลรวมของหน่วยกิต
รายวชิ าในระดับบัณฑิตศึกษาในภาคการศึกษานน้ั ๆ
(ข) ค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสม ให้คานวณจากผลการศึกษาของนักศึกษา
ตั้งแต่เร่ิมเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย จนถึงการประเมินผลครั้งสุดท้าย โดยเอาผลรวมของผลคูณ
ของหน่วยกิตกับ ค่าระดับ คะแน นของผลการศึกษาแต่ละรายวิชา ที่นักศึกษาได้รับเป็นตัวต้ัง
หารด้วยหนว่ ยกิตสะสม
ข้อ ๓๖ สภาพการเป็นนักศึกษาและการเรียนซ้า
(๑) นักศึกษาที่ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยประจาภาคต่ากว่า ๒.๕๐ เมื่อสิ้นภาค
การศึกษาแรกที่ลงทะเบียนเรียน หรือได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ากว่า ๒.๕๐ ให้พ้นสภาพ
การเป็นนกั ศกึ ษา
(๒) เมื่อส้ินภาคการศึกษาใด ๆ นักศึกษาท่ีได้ค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมตั้งแต่
๒.๕๐ ข้ึนไปแต่ต่ากว่า ๓.๐๐ ต้องทาค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมให้ได้ ๓.๐๐ ภายในระยะเวลาท่ี
กาหนด มิฉะนัน้ ให้พน้ สภาพการเปน็ นักศกึ ษา ดงั ต่อไปน้ี
(ก) สองภาคการศึกษาถัดไป สาหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต และ
ประกาศนยี บตั รบณั ฑติ ช้นั สูง
(ข) หนง่ึ ภาคการศึกษาถดั ไป สาหรับนักศึกษาปริญญาโทและปรญิ ญาเอก ท้ังน้ี
ไมน่ ับภาคการศกึ ษาที่นักศกึ ษาขอลาพักการศึกษา
(๓) ในกรณีท่ีนักศึกษาได้ค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมตั้งแต่ ๒.๕๐ ข้ึนไปแต่ต่ากว่า
๓.๐๐ ให้มสี ถานภาพ “รอพนิ ิจ” การรอพนิ จิ นัน้ ให้นบั ทกุ ภาคการศกึ ษา
(๔) นักศึกษาที่ได้รับค่าระดับคะแนนรายวิชาต่ากว่า C + หรือได้รับผลการประเมิน
การศกึ ษาเปน็ ระดับคะแนน U ในรายวิชาบังคบั ตามหลกั สูตรระดบั บณั ฑติ ศึกษา จะต้องลงทะเบียนเรยี น
รายวชิ านนั้ ซา้
(๕) นักศึกษาท่ีได้รับระดับคะแนนรายวิชาต่ากว่า C +หรือได้รับผลการประเมิน
การศึกษาเป็นระดับคะแนน U ในรายวิชาเลือกตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา อาจจะลงทะเบียน
เรียนวิชาอ่ืนแทนได้ โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ท่ีปรึกษา และคณะกรรมการบริหาร
หลกั สตู ร
(๖) นักศึกษาลงทะเบียนเรียนซ้ารายวิชาท่ีเคยลงทะเบียนเรียนไปแล้วมิได้ ยกเว้น
การเรียนซา้ ตามความใน (๔) หรอื (๕)
(๒๐๘) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ข้อ ๓๗ การเทียบโอนหน่วยกิต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การเทียบโอนผลการ
เรยี นในระดับบณั ฑติ ศึกษาของมหาวทิ ยาลยั ดังต่อไปนี้
(๑) การเทียบโอนหน่วยกิตที่ได้จากรายวชิ าในระดับบัณฑิตศึกษา ท่ีได้ศกึ ษามาแล้วไม่
เกิน ๕ ปีการศึกษา นบั จากปีการศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียนรายวิชาน้ัน กระทาได้โดยความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร และได้รับอนมุ ัตจิ ากคณบดี โดยแต่ละรายวิชาท่ีขอเทียบโอนต้อง
ไดค้ ่าระดับคะแนนไม่ต่ากว่า ๓.๐๐
(๒) รายวิชาท่ีศึกษาในมหาวิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัยอ่ืน เทียบโอนได้ไม่เกินหนึ่ง
ในสามของจานวนหน่วยกิตของรายวิชาทั้งหมดในหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ ไม่นับรวม
หนว่ ยกติ ของวทิ ยานพิ นธ์และการคน้ คว้าอสิ ระ
(๓) รายวิชาท่ีเทียบโอนหน่วยกิต ให้แสดงชื่อรายวิชา และจานวนหน่วยกิต
ในใบแสดงผลการศึกษาทห่ี ลกั สตู รรับโอน โดยไมน่ ามาคิดแตม้ ระดบั คะแนนเฉลี่ย
(๔) หน่วยกิตที่ได้จากการเข้าร่วมศึกษาขณะเป็นนักศึกษาพิเศษ ไม่สามารถ
เทยี บโอนได้
ข้อ ๓๘ การลงโทษนักศึกษาที่ทุจริตในการสอบรายวชิ า หรือการคัดลอกวิทยานิพนธ์
หรอื ผลงานการค้นควา้ อสิ ระของผอู้ ่ืน
(๑) การลงโทษนักศึกษาที่ทุจริตในการสอบรายวิชา ให้เป็นไปตามข้อบังคับ
มหาวทิ ยาลยั วา่ ดว้ ยการสอบของนกั ศกึ ษา
(๒) การลงโทษนักศึกษาท่ีคัดลอกวิทยานพิ นธห์ รอื ผลงานการค้นคว้าอิสระของผู้อื่น
หรือให้ผู้อื่นจัดทา ให้เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการสอบในการเสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
เพือ่ แตง่ ต้ังกรรมการตรวจสอบและพิจารณาตามสมควรแก่กรณดี งั ต่อไปน้ี
(ก) กรณีที่ตรวจสอบพบในขณะท่ียังไม่สาเร็จการศกึ ษา ให้ถือวา่ เป็นการกระทา
ผิดวินัยนักศึกษาและมีโทษสูงสุดให้พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา
(ข) กรณีท่ีตรวจสอบพบเม่ือได้มีการอนุมัติปริญญาไปแล้ว ให้เสนอต่อ
คณะกรรมการบริหารหลักสตู รและคณบดี เพอื่ นาเสนอสภามหาวิทยาลยั พจิ ารณาเพิกถอนปริญญา
ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๒๐๙)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
หมวด ๘
การทาและการสอบวทิ ยานิพนธ์
ข้อ ๓๙ วิทยานิพนธ์ หมายถึง เร่ืองที่เขียนเรียบเรียงขึ้นจากผลที่ได้จาก
การศกึ ษาค้นควา้ วจิ ัย หรือสารวจ อันเป็นส่วนหนึ่งของงานที่ผู้ศึกษาต้องทาเพอื่ สิทธิในการรับปริญญา
ตามท่ีมหาวิทยาลัยได้กาหนดไว้ นักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก และนักศึกษา
หลักสตู รปริญญาดุษฎีบณั ฑิตตอ้ งทาวิทยานิพนธ์
ขอ้ ๔๐ อาจารย์ท่ปี รึกษาวทิ ยานิพนธ์ ตอ้ งมีองคป์ ระกอบ ดงั ต่อไปนี้
(๑) วิทยานิพนธร์ ะดับปริญญาโท ให้มีอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก ๑ คน ใน
กรณีทีม่ คี วามจาเปน็ อาจเสนออาจารยท์ ีป่ รึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมได้อกี ๑ คน
(๒) วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก ให้มีอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก ๑ คน
ในกรณีที่มีความจาเปน็ อาจเสนออาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธร์ ่วมได้อกี ไมเ่ กนิ ๒ คน
ข้อ ๔๑ คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ หมายถึง คณะกรรมการท่ีคณะแต่งต้ัง
ขึ้นเพ่ือทาการสอบวิทยานิพนธ์ โดยมีกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานกรรมการสอบ และ
คณะกรรมการ ดังกล่าวต้องมีคุณวุฒิ คุณสมบัติ และผลงานทางวิชาการ ตามข้อ ๑๘ (๓) (ง) หรือ
(๔) (ง) แลว้ แตก่ รณี
(๑) วิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิตให้มีคณะกรรมการสอบ จานวนไม่เกิน ๔ คน
แต่ไม่ต่ากว่า ๓ คน ประกอบด้วย อาจารย์ประจา อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ
ภายนอกมหาวิทยาลัย ในสาขาท่ีสัมพันธ์กันอย่างน้อย ๑ คน เพื่อทาหน้าที่เป็นกรรมการสอบใน
นามผแู้ ทนคณะ และอาจารย์ท่ปี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์ต้องไม่เปน็ ประธานกรรมการสอบ
(๒) วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตให้มีคณะกรรมการสอบ จานวน ๕
คน ประกอบด้วย อาจารย์ประจา อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาที่
สัมพันธ์กันอย่างน้อย ๑ คน และผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย ๑ คน เพ่ือทาหน้าท่ีเป็น
กรรมการสอบในนามผู้แทนคณะ และอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ต้องไม่เป็นประธานกรรมการ
สอบ
(๒๑๐) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ข้อ ๔๒ การเสนอหัวขอ้ และเคา้ โครงวิทยานิพนธ์ นกั ศึกษาจะเสนอหวั ข้อและเค้า
โครงวิทยานิพนธ์ได้ต้องลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า ๓ หน่วยกิต ในภาคการศึกษานั้น และ
ดาเนนิ การ ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) นกั ศึกษาหลกั สูตรปริญญามหาบัณฑติ แผน ก ๑ ทาเฉพาะวิทยานิพนธ์ ต้อง
สอบวดั คุณสมบัติผ่านหรือเป็นทพี่ อใจแลว้
(๒) นักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก ๒ ต้องศึกษารายวิชาตามแผนการ
เรียนมาแล้วไมน่ อ้ ยกวา่ ๙ หนว่ ยกติ และตอ้ งไดค้ า่ ระดบั คะแนนเฉลีย่ สะสมไม่ต่ากว่า ๓.๐๐
(๓) นักศึกษาหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ต้องสอบวัดคุณสมบัติผ่านหรือเป็นที่พอใจ
แล้ว
(๔) การพิจารณาหัวข้อและเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ให้เป็นไปตามขั้นตอนท่ี
คณะกรรมการบริหารหลักสตู รกาหนด
(๕) หัวข้อและเค้าโครงวิทยานิพนธ์ที่จะเสนอขออนุมัติ ต้องได้รับความเห็นชอบ
จากอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์แล้วจึงเสนอต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพ่ือพิจารณา และ
ให้นาผลการพิจารณาเสนอต่อคณะ
(๖) การเปล่ียนแปลงใด ๆ เก่ียวกับหัวข้อและเค้าโครงวิทยานิพนธ์ที่ได้รับอนุมัติแล้ว
หากเป็นการเปลี่ยนแปลงหัวข้อวิทยานิพนธ์ หรือสาระสาคัญของวิทยานิพนธ์ ให้การประเมินผล
วิทยานิพนธ์ท่ีลงทะเบียนผ่านมาท้ังหมดเป็นระดับคะแนน U นักศึกษาต้องลงทะเบียนและย่ืนขอ
อนุมัติหัวข้อและเค้าโครงวิทยานิพนธ์ใหม่ โดยให้นับเวลาจากวันท่ีได้รับอนุมัติหัวข้อและเค้าโครง
วทิ ยานิพนธ์ครั้งสดุ ทา้ ย
กรณีการเปล่ียนแปลงหัวข้อวิทยานิพนธ์เพียงเล็กน้อย ซ่ึงมีวัตถุประสงค์เพื่อความ
ถูกต้องของสานวนภาษา ความสั้นกระชับ และความชัดเจน โดยมิได้เปลี่ยนแปลงสาระสาคัญของ
วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ให้ อ ยู่ ใน ดุ ล พิ นิ จ ข อ ง อ า จ า ร ย์ ที่ ป รึ ก ษ า วิ ท ย า นิ พ น ธ์ แ ล ะ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส อ บ
วทิ ยานพิ นธ์
ขอ้ ๔๓ การสอบหัวข้อและเคา้ โครงวิทยานิพนธ์ และการสอบความกา้ วหน้า
วิทยานิพนธ์
นกั ศึกษาปริญญาโท ให้มีการสอบหวั ข้อและเค้าโครงวทิ ยานิพนธ์
นักศึกษาปริญญาเอก ให้มีการสอบหัวข้อและเค้าโครงวิทยานิพนธ์ และมีการ
สอบความกา้ วหน้าวทิ ยานพิ นธ์ด้วย
คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๒๑๑)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
(๑) นักศึกษาต้องยื่นคาร้องพร้อมหัวข้อและเค้าโครงวิทยานิพนธ์โดยย่อ ตาม
รปู แบบท่ีคณะกาหนด จานวน ๕ ชุด ต่อคณะก่อนวันสอบเป็นเวลาอย่างน้อย ๕ วันทาการ และ
เม่ือได้รับอนมุ ัติให้มีการสอบ ให้คณะประกาศวนั เวลา และสถานทใ่ี ห้ทราบโดยทวั่ กนั
(๒) การสอบหัวข้อและเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐
วันนับแต่วันที่ย่ืนคาร้องขอสอบวิทยานิพนธ์และได้รับอนุมัติหัวข้อและเค้าโครงวิทยานิพนธ์ท่ีเสนอ
มิฉะนั้นจะต้องเสนอหวั ข้อและเค้าโครงวทิ ยานิพนธใ์ หม่
(๓) ให้ประธานการสอบหัวข้อและเค้าโครงวิทยานิพนธ์ รายงานผลการสอบไป
ยังคณะหลังจากเสร็จสิ้นการสอบ ถ้าผลการสอบหัวข้อและเค้าโครงวิทยานิพนธ์ผ่าน ให้คณะ
ประกาศอนุมัติหัวข้อและเค้าโครงวิทยานิพนธ์ให้ทราบทั่วกัน แต่ถ้าต้องมีการปรับปรุงแก้ไขให้
นักศึกษาดาเนินการแก้ไขแล้วเสนอผ่านอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และเสนอต่อคณะภายใน
๓๐ วัน นับแตว่ ันสอบ
(๔) การสอบความก้าวหน้าวทิ ยานิพนธ์ มีวัตถปุ ระสงค์เพื่อให้ทราบความก้าวหน้า
ในการทาวิทยานพิ นธ์ และเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา อนั จะส่งผลใหน้ ักศึกษาประสบความสาเร็จใน
การทาวิทยานิพนธ์มากขึ้น นักศึกษาต้องสอบความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์โดยคณะกรรมการสอบ
วทิ ยานิพนธ์ นักศึกษาจะขอสอบความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ได้ ต้องลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ไม่น้อย
กวา่ ก่งึ หนึ่งของจานวนหน่วยกติ วทิ ยานิพนธใ์ นหลกั สตู รนั้น
(๕) ให้ประธานการสอบวิทยานิพนธ์รายงานผลการสอบความก้าวหน้า
วทิ ยานพิ นธ์ ไปยังคณะทนั ทีหลังจากเสรจ็ ส้ินการสอบ
(๖)อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ต้องแจ้งผลการประเมินความก้าวหน้าในการทา
วิทยานิพนธไ์ ปยังคณะ กอ่ นวนั อนุมตั ผิ ลการศกึ ษาทกุ ภาคการศกึ ษา
ขอ้ ๔๔ การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์
(๑) นักศึกษามีสิทธิขอสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ได้ เมื่อนักศึกษาทาวิทยานิพนธ์
เสร็จเรยี บรอ้ ยแลว้ และอาจารย์ทปี่ รึกษาวทิ ยานพิ นธอ์ นุญาตให้สอบได้
(๒) การยืน่ คาร้องขอสอบปอ้ งกนั วทิ ยานพิ นธ์
(ก) หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต นักศึกษายื่นคาร้องก่อนวันสอบเป็น
เวลา ไม่น้อยกว่า ๑๕ วันทาการ
(ข) หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต นักศึกษายื่นคาร้องก่อนวันสอบเป็น
เวลา ไม่น้อยกว่า ๓๐ วันทาการ
(๒๑๒) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
(ค) ย่ืนคาร้องขอสอบพร้อมสาเนาวิทยานิพนธ์ฉบับสอบ จานวนเท่ากับ
กรรมการสอบ เพือ่ ให้คณะดาเนินการจดั ส่งให้กรรมการสอบและอกี ๑ เลม่ เพ่อื ใหค้ ณะเก็บไวเ้ ป็น
หลักฐาน
(ง) เม่ือได้รับอนุมัติให้สอบป้องกันวิทยานิพนธ์ คณะจะประกาศกาหนดวัน
เวลา และสถานท่สี อบให้ทราบโดยทัว่ กันล่วงหน้าก่อนสอบอยา่ งน้อย ๗ วนั
(๓) การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ให้เป็นการสอบแบบปากเปล่าอย่างเปิดเผย
นักศึกษาและผู้สนใจอื่น ๆ สามารถเข้าร่วมรับฟังได้ตามวัน เวลา และสถานท่ี ตามท่ีคณะกาหนดใน
คาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ โดยผเู้ ข้าร่วมรับฟังไม่มีสิทธิในการสอบถาม เว้น
แตไ่ ด้รบั อนุญาตจากคณะกรรมการสอบวิทยานพิ นธ์
ข้อ ๔๕ การตัดสนิ ผลการสอบปอ้ งกนั วทิ ยานพิ นธ์
(๑) เมื่อการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์เสร็จสิ้น ให้คณะกรรมการสอบป้องกัน
วิทยานิพนธ์อภิปรายแสดงความคิดเห็นและลงมติพร้อมตัดสินผลการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์
ตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้
(ก) “ผ่าน” หมายถึง การที่นักศึกษาแสดงผลงานวิทยานิพนธ์ และตอบข้อ
ซักถามได้เป็นที่น่าพอใจของคณะกรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ไม่ต้องมีการแก้ไขหรือเพ่ิมเติม
สาระสาคัญ นกั ศกึ ษาสามารถจัดพิมพ์รูปเล่มวิทยานพิ นธฉ์ บบั สมบูรณ์ส่งคณะไดท้ ันที
(ข) “ผ่านโดยมีเงื่อนไข” หมายถึง การที่นักศึกษายังไม่สามารถแสดงผลงาน
วิทยานิพนธ์ หรือตอบข้อซักถามให้เป็นที่พอใจของคณะกรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ได้
อย่างสมบูรณ์ คณะกรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์พิจารณาเห็นสมควรให้แก้ไขหรือเพิ่มเติม
สาระสาคัญ หรือเรียบเรียงวิทยานิพนธ์ตามที่คณะกรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์เสนอแนะ
ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ทั้งน้ี ให้คณะกรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์กาหนดระยะเวลาให้
นักศึกษาดาเนินการแก้ไขปรับปรุงวทิ ยานิพนธ์ ในระดับปริญญามหาบัณฑิต ต้องไม่เกิน ๖๐ วัน และ
ในระดับดษุ ฎีบัณฑติ ตอ้ งไมเ่ กนิ ๙๐ วัน นบั จากวันสอบปอ้ งกันวทิ ยานิพนธ์
(ค) “ไม่ผา่ น” หมายถึง การท่ีนักศึกษาไม่สามารถแสดงผลงานวิทยานิพนธ์
ให้เป็นที่พอใจของคณะกรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ หรือไม่สามารถตอบข้อซักถามของ
คณะกรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ได้ ซ่ึงแสดงว่านักศึกษาผู้น้ันไม่มีความเข้าใจอย่างถ่องแท้
ถึงสาระของวิทยานพิ นธท์ ต่ี นได้ทา
ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒ (๒๑๓)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
กรณที น่ี ักศกึ ษาสอบครงั้ แรกไม่ผ่าน ให้นกั ศึกษายืน่ คาร้องขอสอบใหมไ่ ด้อีก ๑
ครั้ง
(๒) กรณีนักศึกษาไม่สามารถปฏิบัติตามการตัดสิน ผลการสอบป้องกัน
วิทยานิพนธ์ของคณะกรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ภายในระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ ไม่ว่าจะเป็น
กรณีสอบ “ผ่านโดยมีเง่ือนไข” หรือสอบ “ไม่ผ่าน” ผลการสอบให้ถูกปรับระดับคะแนนเป็น U
นกั ศึกษาต้องดาเนินการลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ และจัดทาวิทยานิพนธภ์ ายใต้หัวข้อใหม่ พร้อมทั้ง
เร่ิมขัน้ ตอนการทาวทิ ยานิพนธใ์ หมท่ ั้งหมด
(๓) ให้ประธานกรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ รายงานผลการสอบไปยัง
คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตร และคณะ ภายใน ๑ สปั ดาห์ นับจากวนั สอบ
ขอ้ ๔๖ การเรียบเรยี งวิทยานพิ นธ์
(๑) ภาษาที่ใช้ในการเขียนวิทยานิพนธ์ ให้เป็นไปตามที่กาหนดในหลักสูตร
ใน กรณีที่ไม่ได้กาหนดไว้ในหลักสูตร ให้นักศึกษาแจ้งความประสงค์เป็นกรณีพิเศษผ่าน
คณะกรรมการบริหารหลักสตู ร
(๒) รูปแบบการจัดทารูปเล่ม ให้เป็นไปตามคู่มือการจัดทาวิทยานิพนธ์ที่
มหาวทิ ยาลัยกาหนด
ข้อ ๔๗ นักศึกษาต้องส่งวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ท่ีมีลายมือช่ือคณะกรรมการสอบ
ป้องกันวิทยานิพนธ์ครบถ้วนทุกคน จานวน ๕ เล่ม พร้อมด้วยแผ่นบันทึกข้อมูลวิทยานิพนธ์และ
บทคัดย่อตามรูปแบบท่ีกาหนดให้คณะภายในวันอนุมัติผลประจาภาคการศึกษา ในกรณีท่ีนักศึกษามี
ขอ้ ผูกพันตอ้ งมอบวทิ ยานิพนธ์ใหแ้ ก่หน่วยงานใด ให้นกั ศกึ ษาจดั สง่ ไปยงั หนว่ ยงานน้นั ดว้ ย
ข้อ ๔๘ การยกเลิกผลการสอบวิทยานิพนธ์ ในกรณีท่ีคณะไม่ได้รับเล่ม
วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์พร้อมแผ่นบันทึกข้อมูลวิทยานิพนธ์ครบถ้วนภายในกาหนดเวลา ๖๐ วัน
สาหรบั ปริญญาโท และ ๙๐ วัน สาหรับปรญิ ญาเอกหลังจากผลสอบผ่านวิทยานิพนธ์ ให้คณะยกเลิก
ผลการสอบและประเมินผลวิทยานิพนธ์ท่ีลงทะเบียนผ่านมาท้ังหมดเป็นระดับคะแนน U หาก
นักศึกษายังต้องการรับปริญญานั้นอีก นักศึกษาต้องลงทะเบียนและเร่ิมขั้นตอนการทาวิทยานิพนธ์
ใหมท่ ง้ั หมด
ข้อ ๔๙ ในกรณีท่ีนักศึกษาสอบป้องกันวิทยานิพนธ์แล้ว แต่ยังไม่ส่งวิทยานิพนธ์
ฉบับสมบูรณ์ต่อคณะภายในวันอนุมัติผลประจาภาคการศึกษา ให้ถือว่านักศึกษาผู้นั้นยังไม่สาเร็จ
(๒๑๔) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
การศกึ ษา นักศึกษาต้องลงทะเบยี นรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา ท้ังน้ี ต้องไมข่ ัดแย้งกบั ระยะเวลา
ในข้อ ๔๘
ข้อ ๕๐ วิทยานิพนธ์ท่ีได้รับอนุมัติจากคณะ จึงจะถือว่าเป็นวิทยานิพนธ์ฉบับ
สมบรู ณ์และใหน้ ับเปน็ ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพือ่ รับปริญญา
ลิขสิทธิ์หรอื สิทธิบตั รในวิทยานิพนธ์เป็นของมหาวิทยาลัย นักศึกษาและอาจารย์ท่ี
ปรึกษาวิทยานิพนธ์เร่ืองนั้น ๆ สามารถนาไปเผยแพร่ในเชิงวิชาการได้ แต่การนาเน้ือหาหรือผล
การศึกษาไปใช้เพ่ือประโยชน์อื่น ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีมหาวิทยาลัยกาหนด กรณีท่ี
การทาวิทยานิพนธ์ได้รับทุนวิจัยท่ีมีข้อผูกพันเก่ียวกับลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรโดยได้รับความเห็นชอบ
จากมหาวทิ ยาลยั ใหด้ าเนินการตามข้อผูกพนั นน้ั ๆ
หมวด ๙
การทาและการสอบการคน้ คว้าอสิ ระ
ข้อ ๕๑ การค้นคว้าอิสระ หมายถึง การค้นคว้าอิสระของนักศึกษาภายใต้การ
กากับดูแลของอาจารย์ท่ีปรึกษา การค้นคว้าอิสระอาจทาในรูปของวิจัย การประยุกต์ทฤษฎี วิจัย
ปฏิบัติการ วิจัยในชั้นเรียน ชุดการสอน ชุดฝึกอบรม กรณีศึกษา สิ่งประดิษฐ์ การรวบรวมและ
วิเคราะห์งานวิชาการ หรือการสร้างผลงานวิชาการในลักษณะอ่ืน ๆ ท่ีอาจารย์ที่ปรึกษาการ
ค้นควา้ อสิ ระเห็นสมควร
ข้อ ๕๒ อาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ ให้มีอาจารย์ท่ีประจาหลักสูตร จานวน
๑ คน ในกรณที ี่มีความจาเป็นอาจเสนออาจารย์ท่ีปรึกษาการค้นคว้าอิสระร่วมได้อีก ๑ คน
ข้อ ๕๓ คณะกรรมการสอบการค้นคว้าอิสระ หมายถึง คณะกรรมการที่คณะ
แต่งตั้งข้ึนเพ่ือทาการสอบการค้นคว้าอิสระ มีจานวนไม่เกิน ๔ คน แต่ไม่ต่ากว่า ๓ คน ประกอบด้วย
อาจารย์ประจา อาจารย์ท่ีปรึกษาการค้นคว้าอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวทิ ยาลัย ในสาขาที่
สัมพันธ์กันอย่างน้อย ๑ คน เพ่ือทาหน้าท่ีเป็นกรรมการสอบ โดยให้มีกรรมการคนหน่ึงเป็น
ประธานกรรมการสอบท้ังนี้ อาจารยท์ ่ีปรกึ ษาการค้นคว้าอิสระต้องไม่เป็นประธานกรรมการสอบ
คุณวุฒิ คุณสมบัติ และผลงานทางวิชาการของคณะกรรมการตามวรรคหน่ึง
ให้เปน็ ไปตามขอ้ ๑๘ (๓) (ง) โดยอนโุ ลม
ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๒๑๕)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
ข้อ ๕๔ การเสนอหัวข้อและเคา้ โครงการค้นคว้าอิสระ นักศกึ ษาท่ีเสนอหัวข้อและ
เค้าโครงการค้นคว้าอิสระได้ ต้องลงทะเบียนการค้นคว้าอิสระในภาคการศึกษานั้น และ
ดาเนินการดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) ต้องศกึ ษารายวชิ ามาแลว้ ไมน่ อ้ ยกว่า ๑๘ หนว่ ยกติ และตอ้ งมีคา่ ระดับคะแนน
เฉล่ยี สะสมไมต่ ่ากวา่ ๓.๐๐
(๒) การพิจารณาหัวข้อและเค้าโครงการค้นคว้าอิสระ ให้เป็นไปตามข้ันตอนท่ี
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกาหนด
(๓) หัวข้อและเค้าโครงการค้นคว้าอิสระที่เสนอขออนุมัติ ต้องได้รับความ
เห็นชอบจากอาจารย์ท่ีปรึกษาการค้นคว้าอิสระแล้วจึงเสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพื่อ
พิจารณา และให้นาผลการพจิ ารณาเสนอต่อคณะ
(๔) การเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกี่ยวกับหัวข้อและเค้าโครงการค้นคว้าอิสระท่ีได้รับ
อนุมัติแล้ว หากเป็นการเปล่ียนแปลงหัวข้อและเค้าโครงการค้นคว้าอิสระ หรือสาระสาคัญของ
หัวข้อและเค้าโครงการค้นคว้าอิสระ ให้การประเมินผลการค้นคว้าอิสระที่ลงทะเบียนผ่านมาท้ังหมด
เป็นระดับคะแนน U นักศึกษาต้องลงทะเบียนและยื่นขออนุมัติหัวข้อและเค้าโครงการค้นคว้าอิสระใหม่
โดยให้นับเวลาจากวันท่ีได้รับอนุมัตหิ วั ข้อและเคา้ โครงการค้นคว้าอสิ ระครง้ั สุดท้าย
กรณีการเปลี่ยนแปลงหัวข้อการค้นคว้าอิสระเพียงเล็กน้อย ซึ่งมีวัตถุประสงค์
เพื่อความถูกต้องของสานวนภาษา ความส้ันกระชับ และความชัดเจน โดยมิได้เปลี่ยนแปลง
สาระสาคัญของการค้นคว้าอิสระ ให้อยู่ในดุลพินิจของอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระและ
คณะกรรมการสอบการคน้ ควา้ อสิ ระ
ข้อ ๕๕ การสอบหัวข้อและเค้าโครงการคน้ คว้าอสิ ระ
(๑) การสอบหัวข้อและเค้าโครงการค้นคว้าอิสระ ต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จ
ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับอนุมัติการสอบหัวข้อและเค้าโครงการค้นคว้าอิสระ มิฉะนั้นต้อง
ดาเนินการเสนอหัวข้อและเค้าโครงการคน้ ควา้ อิสระใหม่
(๒) ให้ประธานการสอบหัวข้อและเค้าโครงการค้นคว้าอิสระ รายงานผลการ
สอบไปยังคณะหลังจากเสร็จส้ินการสอบ ถ้าผลการสอบหัวข้อและเค้าโครงการค้นคว้าอิสระผ่าน
ให้คณะประกาศอนุมัติหัวข้อและเค้าโครงการค้นคว้าอิสระให้ทราบทั่วกัน แต่ถ้าต้องมีการปรบั ปรุง
แก้ไขให้นักศึกษาดาเนินการแก้ไข แล้วเสนอผ่านอาจารย์ท่ีปรึกษาการค้นคว้าอิสระ และเสนอต่อ
(๒๑๖) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
คณะภายใน ๓๐ วันนับแต่วันสอบ เมื่อดาเนินการเสร็จสิ้นแล้ว ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรแจ้ง
คณะ
ข้อ ๕๖ การเรียบเรียงการค้นคว้าอิสระ ให้เป็นไปตามคู่มือการจัดทาผลงาน
การค้นคว้าอิสระของคณะ
ข้อ ๕๗ การสอบการค้นควา้ อสิ ระ
(๑) นักศึกษามีสิทธิขอสอบการค้นคว้าอิสระได้ เมื่อนักศึกษาทาการค้นคว้าอิสระ
เรียบร้อยแล้ว และอาจารยท์ ่ปี รกึ ษาการค้นควา้ อสิ ระอนุญาตให้สอบได้
(๒ ) ในการสอบค้นคว้าอิสระ นักศึกษาต้องย่ืนคาร้องขอสอบต่อคณะ
กรรมการบริหารหลักสูตร โดยผ่านความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ ก่อนวัน
สอบเป็นเวลาอย่างน้อย ๑๐ วันทาการ พร้อมสาเนาบทคัดย่อตามรูปแบบท่ีคณะกาหนด จานวน
๕ ชุด เมื่อได้รบั อนมุ ัติให้มีการสอบ คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรจะประกาศกาหนดวัน เวลา และ
สถานท่ีสอบให้ทราบโดยทั่วกัน
(๓) นักศึกษาต้องเสนอผลงานการค้นคว้าอิสระที่มีรูปแบบสมบูรณ์ตามข้อ ๕๖
ให้คณะกรรมการสอบได้อา่ นลว่ งหน้าก่อนวันสอบ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๐ วนั ทาการ
(๔) การสอบการค้นคว้าอิสระ ให้เป็นการสอบแบบปากเปล่าอย่างเปิดเผย
ซึ่งนักศึกษาและผู้สนใจอ่ืน ๆ สามารถเข้าร่วมรับฟังได้ตามกาหนดวัน เวลา และสถานที่ตามท่ี
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรระบุในคาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบการค้นคว้าอิสระโดย
ผเู้ ขา้ รว่ มรบั ฟังไมม่ ีสิทธใิ นการสอบถาม เวน้ แตไ่ ดร้ ับอนญุ าตจากคณะกรรมการสอบ
(๕) ในการสอบจะต้องมีคณะกรรมการสอบครบทุกคน และในกรณีที่กรรมการ
สอบไม่สามารถมาทาการสอบตามกาหนดได้ ให้นักศึกษายื่นคาร้องต่อคณะกรรมการบริหาร
หลกั สูตร
ขอ้ ๕๘ การตดั สนิ ผลการสอบการค้นคว้าอิสระ
(๑) เมื่อการสอบการค้นคว้าอิสระเสร็จสิ้น ให้คณะกรรมการสอบการค้นคว้าอิสระ
อภิปรายแสดงความคดิ เห็นและลงมตพิ ร้อมตดั สนิ การสอบการคน้ คว้าอสิ ระตามเกณฑ์ ดังต่อไปน้ี
(ก) “ผ่าน” หมายถึง การที่นักศึกษาแสดงผลงานการค้นคว้าอิสระ
และตอบข้อซักถามได้เป็นที่น่าพอใจของคณะกรรมการสอบการค้นคว้าอิสระ ไม่ต้องมีการ
แก้ไขหรือเพิ่มเติมสาระสาคัญ นักศึกษาสามารถจัดพิมพ์รูปเล่มการค้นคว้าอิสระฉบับสมบูรณ์ส่ง
คณะได้ทนั ที
คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๒๑๗)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
(ข) “ผ่านโดยมีเงื่อนไข” หมายถึง การท่ีนักศึกษายังไม่สามารถแสดง
ผลงานการค้นคว้าอิสระ หรือตอบข้อซักถามให้เป็นท่ีพอใจของคณะกรรมการสอบการค้นคว้า
อิสระได้อย่างสมบูรณ์ คณะกรรมการสอบการค้นคว้าอิสระพิจารณาเห็นสมควรให้แก้ไขหรือเพ่ิมเติม
สาระสาคัญหรือเรียบเรียงการค้นคว้าอิสระ ตามที่คณะกรรมการสอบการค้นคว้าอิสระ
เสนอแนะไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการสอบการค้นคว้าอิสระกาหนด
ระยะเวลาให้นักศึกษาดาเนินการแก้ไขปรับปรุงการค้นคว้าอิสระโดยต้องไม่เกิน ๔๕ วัน นับ
จากวันสอบการค้นควา้ อสิ ระ
(ค) “ไม่ผ่าน” หมายถึง การท่ีนักศึกษาไม่สามารถแสดงผลงานการค้นคว้า
อิสระให้เป็นที่พอใจของคณะกรรมการสอบการค้นคว้าอิสระ หรือไม่สามารถตอบข้อซักถามของ
คณะกรรมการสอบการค้นคว้าอิสระได้ ซึ่งแสดงว่านักศึกษาผู้นั้นไม่มีความเข้าใจอยา่ งถ่องแท้ถึงสาระ
ของการค้นคว้าอิสระทีต่ นไดท้ า
กรณีทนี่ ักศึกษาสอบครั้งแรกไม่ผ่าน ให้นกั ศึกษายื่นคาร้องขอสอบใหมไ่ ดอ้ ีก ๑
ครัง้ ภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการสอบการค้นคว้าอิสระกาหนด
ยกเว้นกรณีสอบผ่านแบบมีเง่ือนไข ให้คณะกรรมการสอบการค้นคว้าอิสระ
กาหนดระยะเวลาที่นักศึกษา จะต้องดาเนินการแก้ไขปรับปรุงการค้นคว้าอิสระ ตามความเหมาะสม
แต่ต้องไม่เกิน ๖๐ วัน
(๒) กรณีนักศึกษาไม่ปฏิบัติตามการตัดสินผลการสอบของคณะกรรมการสอบการ
ค้นคว้าอิสระภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้ ไม่ว่าจะเป็นกรณีสอบ “ผ่านโดยมีเงื่อนไข” หรือสอบ
“ไม่ผ่าน” ผลการสอบให้ถูกปรับเป็นระดับคะแนน U นักศึกษาต้องดาเนินการลงทะเบียนการ
ค้นคว้าอิสระและจัดทาการค้นคว้าอิสระภายใต้หัวข้อใหม่ พร้อมท้ังเร่ิมต้นข้ันตอนการ
ทาการค้นคว้าอสิ ระใหม่ทัง้ หมด
(๓) ให้ ประธานการสอบการค้นคว้าอิสระ รายงานผลการสอบไปยังคณะ
กรรมการบรหิ ารหลักสูตร และคณะ ภายใน ๑ สปั ดาห์ นับจากวันสอบ
ข้อ ๕๙ นักศึกษาต้องส่งผลงานการค้นคว้าอิสระฉบับสมบูรณ์ ที่มีลายมือช่ือ
คณะกรรมการสอบการค้นคว้าอิสระครบถ้วนทุกคน จานวน ๕ เล่ม พร้อมด้วยแผ่นบันทึกข้อมูลการ
ค้นคว้าอิสระและบทคัดย่อตามรูปแบบท่ีกาหนดให้คณะภายในวันอนุมัติผลประจาภาคการศึกษา ใน
กรณีที่นักศึกษามีข้อผูกพันต้องมอบรายงานการค้นควา้ อิสระให้แก่หน่วยงานใด ให้นักศึกษาจัดส่งไป
ยงั หน่วยงานนน้ั ดว้ ย
(๒๑๘) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ข้อ ๖๐ การยกเลิกผลการสอบการค้นคว้าอิสระ ในกรณีที่คณะไม่ได้รับเล่ม
ผลงานการค้นคว้าอิสระฉบับสมบูรณ์พร้อมแผ่นบันทึกข้อมูลการค้นคว้าอิสระครบถ้วนภายใน
กาหนดเวลา ๖๐ วัน หลังจากผลสอบการค้นคว้าอิสระผ่าน ให้คณะยกเลิกผลการสอบและ
ประเมินผลการค้นคว้าอิสระท่ีลงทะเบียนผ่านมาทั้งหมดเป็นระดับคะแนน U หากนักศึกษายัง
ต้องการรับปริญญาน้ันอีก นักศึกษาต้องลงทะเบียนและเร่ิมข้ันตอนการทาการค้นคว้าอิสระใหม่
ท้ังหมด
ข้อ ๖๑ นักศึกษาท่ีสอบการค้นคว้าอิสระแล้ว แต่ยังไม่ส่งผลงานการค้นคว้าอิสระ
ฉบับสมบูรณ์ต่อคณะภายในวันอนุมัติผลประจาภาคการศึกษา ให้ถือว่านักศึกษาผู้น้ันยังไม่สาเร็จ
การศกึ ษา นักศึกษาตอ้ งลงทะเบยี นรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา ท้งั น้ี ต้องไม่ขัดแย้งกับระยะเวลา
ในข้อ ๖๐
ข้อ ๖๒ ผลงานการค้นคว้าอิสระที่ได้รับอนุมัติจากคณะแล้ว จึงจะถือว่าเป็นผลงาน
การคน้ ควา้ อสิ ระฉบับสมบูรณ์และใหน้ บั เปน็ ส่วนหนึง่ ของการศึกษาเพ่ือขอรับปริญญา
ลิขสิทธ์ิหรือสิทธิบัตรในผลงานการค้นคว้าอิสระเป็นของมหาวิทยาลัย นักศึกษา
และอาจารย์ ที่ปรกึ ษาการค้นคว้าอิสระเรื่องน้ัน ๆ สามารถนาไปเผยแพร่ในเชิงวิชาการได้ แต่การ
นาเน้ือหาหรือผลการศึกษาไปใช้เพ่ือประโยชน์อ่ืน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี
มหาวิทยาลัยกาหนดกรณีที่การทาการค้นคว้าอิสระได้รับทุนวิจัยที่มีข้อผูกพันเกี่ยวกับลิขสิทธิ์
หรือสิทธิบัตรโดยได้รับความเห็นชอบจากมหาวิทยาลัย ใหด้ าเนนิ การตามข้อผูกพันน้ัน ๆ
หมวด ๑๐
การสาเรจ็ การศึกษาและขออนมุ ัติปริญญาหรือประกาศนยี บัตรบัณฑิต
ขอ้ ๖๓ การสาเร็จการศึกษา นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่จะสาเร็จการศึกษาได้
ตอ้ งมีคุณสมบัติทั่วไปและปฏิบตั ติ ามเง่ือนไขครบถ้วน ดังตอ่ ไปนี้
(๑) ศึกษารายวิชาครบตามทีก่ าหนดในหลักสูตร และสอบผ่านตามเกณฑท์ ่ีกาหนด
ในหมวดการวดั ผลและประเมินผลการศึกษา
(๒) นักศึกษาระดับปริญญาโทต้องสอบผา่ นความรู้ภาษาต่างประเทศอย่างน้อย ๑
ภาษา การสอบภาษาต่างประเทศให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒ (๒๑๙)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
(๓) มีค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมของวิชาท่ีกาหนดตามหลักสตู รระดับ
บัณฑิตศึกษา ดังตอ่ ไปน้ี
(ก) ประกาศนียบัตรบัณฑิต และประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ต้องเรียนครบ
ตามจานวนหน่วยกิตที่กาหนดไว้ในหลักสูตร และต้องได้รับระดับคะแนนเฉล่ียสะสมไม่ต่ากว่า
๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทยี บเท่า
(ข) ปริญญาโท
แผน ก แบบ ก ๑ เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้น
สุดท้ายโดยคณะกรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ และผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของ
วิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ
หรือระดับนานาชาติท่ีมีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เร่ือง หลักเกณฑ์การ
พจิ ารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
แผน ก แบบ ก ๒ ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กาหนดในหลักสูตร โดย
จะต้องได้ระดับคะแนนเฉล่ียสะสมไม่ต่ากว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า พร้อมท้ัง
เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าข้ันสุดท้ายโดยคณะกรรมการสอบป้องกัน
วิทยานิพนธ์ และผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรือ
อย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติท่ีมีคุณภาพตาม
ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เร่ือง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการ
เผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ หรือนาเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นาเสนอฉบับสมบูรณ์
(Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings)
ดงั กลา่ ว
แผน ข ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กาหนดในหลักสูตร โดยต้องได้
ระดับคะแนนเฉล่ียสะสมไม่ต่ากว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า และสอบผ่านการ
สอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) ด้วยข้อเขียนหรือปากเปล่าในสาขาวิชานั้น
พร้อมท้ังเสนอรายงานการค้นคว้าอิสระและสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดย
คณะกรรมการสอบการคน้ คว้าอิสระ และรายงานการค้นควา้ อิสระหรือส่วนหน่ึงของรายงานการ
ค้นควา้ อสิ ระต้องได้รบั การเผยแพร่ในลักษณะใดลกั ษณะหนง่ึ ทสี่ ืบคน้ ได้
(๒๒๐) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
(ค) ปริญญาเอก
แบบ ๑ สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)
เพ่ือเป็นผู้มีสิทธิขอทาวิทยานิพนธ์ เสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย
โดยคณะกรรมการสอบป้องกันวทิ ยานพิ นธ์ และผลงานวิทยานิพนธห์ รือสว่ นหน่ึงของวิทยานิพนธ์
ตอ้ งได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยไดร้ ับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ
ทีม่ ีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทาง
วิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ อย่างน้อย ๒ เรอ่ื ง
แบบ ๒ ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กาหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้
ระดับคะแนนเฉล่ียสะสมไม่ต่ากว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า สอบผ่านการ
สอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอทาวิทยานิพนธ์ เสนอ
วิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการสอบป้องกัน
วทิ ยานพิ นธ์ และผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนง่ึ ของวทิ ยานิพนธ์ต้องไดร้ ับการตีพิมพ์ หรืออย่าง
น้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศ
คณะกรรมการการอุดมศึกษา เร่ือง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการ
เผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ
(๔) ส่งรูปเล่มวิทยานิพนธ์ หรือการค้นคว้าอิสระฉบับสมบูรณ์ที่จัดพิมพ์ตาม
ขอ้ กาหนดของคณะพร้อมแผน่ บนั ทกึ ข้อมูลตามรูปแบบท่ีคณะกาหนด
(๕) มีระยะเวลาการศึกษาไม่เกนิ ตามท่ีกาหนดไว้ในข้อ ๑๒
(๖) ปฏิบัตติ ามข้อกาหนดอืน่ ๆ ตามทรี่ ะบุไวใ้ นหลกั สูตร
ข้อ ๖๔ การขออนุมัติประกาศนียบัตรหรือปริญญา นักศึกษาที่ได้รับการ
พิจารณาเสนอชื่อขออนุมัติประกาศนียบัตรหรือปริญญาต่อสภามหาวิทยาลัยต้องมีคุณสมบัติ
ดังต่อไปนี้
(๑) เปน็ ผู้สาเรจ็ การศกึ ษาตามขอ้ ๖๓
(๒) ปฏบิ ตั ติ ามข้อกาหนดต่าง ๆ ของคณะและมหาวิทยาลัยครบถว้ น
(๓) ชาระหนี้สินท้ังหมดที่มตี อ่ มหาวิทยาลยั หรอื หนว่ ยงานใด ๆ ในมหาวทิ ยาลัย
(๔) เป็นผู้ไม่อยู่ระหว่างถูกลงโทษทางวินัยนักศึกษาหรือระหว่างการพิจารณา
ความผิด
(๕) มคี วามประพฤตเิ หมาะสม
คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๒๒๑)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
หมวด ๑๑
การประกนั คุณภาพของหลักสูตร
ข้อ ๖๕ ให้ทุกหลักสูตรกาหนดระบบการประกันคุณภาพของหลักสูตร โดยมี
องคป์ ระกอบในการประกนั คุณภาพอย่างน้อย ๖ ด้าน คอื
(๑) การกากับมาตรฐาน
(๒) บัณฑติ
(๓) นกั ศึกษา
(๔) คณาจารย์
(๕) หลกั สตู ร การเรียนการสอน การประเมินผ้เู รียน
(๖) ส่ิงสนับสนนุ การเรียนรู้
ข้อ ๖๖ การพัฒนาหลักสูตร ให้ทุกหลักสูตรพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัยโดยมี
การประเมินและรายงานผลการดาเนินการของหลักสูตรทุกปีการศึกษาเพ่ือนาข้อมูลที่ได้ไป
ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรเป็นระยะ ๆ อย่างน้อยตามรอบระยะเวลาของหลักสูตร หรือทุกรอบ ๕
ปี
ประกาศ ณ วันท่ี ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
ศกั ด์ทิ พิ ย์ ไกรฤกษ์
(นายศกั ดิ์ทิพย์ ไกรฤกษ์)
นายกสภามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
(๒๒๒) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรอ่ื ง อตั ราการเก็บคา่ เลา่ เรียนแบบเหมาจา่ ย และคา่ ธรรมเนยี มการศึกษา
ในการจดั การศึกษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษา
พ.ศ. ๒๕๕๘
----------------------------------------------------------------
โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงการจัดเก็บค่าเล่าเรียน ค่าบารุงการศึกษา และ
ค่าธรรมเนียมการศึกษาในการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา อาศัยอานาจตามความในข้อ ๖
แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ว่าด้วยการรับ – จ่ายเงิน เพ่ือจัด
การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ปริญญาโท (ภาคสมทบ) พ.ศ. ๒๕๔๙ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลกรุงเทพ จึงกาหนดอตั ราการเก็บค่าเล่าเรียนแบบเหมาจ่าย และค่าธรรมเนียมการศึกษา ใน
การจัดการศึกษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา ภาคปกติ และภาคสมทบ ดังต่อไปนี้
ขอ้ ๑ ประกาศนี้ เรยี กวา่ “ประกาศมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เร่ือง อัตรา
การเก็บค่าเล่าเรียนแบบเหมาจ่าย และค่าธรรมเนียมการศึกษา ในการจัดการศึกษาระดับ
บัณฑติ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘”
ข้อ ๒ ให้กาหนดอตั ราการเกบ็ ค่าเลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ย ดงั นี้
ลาดบั ท่ี คณะ ภาคปกติ ภาคสมทบ
๑ คณะศลิ ปศาสตร์ ๒๐,๐๐๐ ๓๙,๐๐๐
๒ คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒๕,๐๐๐ ๔๕,๐๐๐
๓ คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม ๒๕,๐๐๐ ๕๐,๐๐๐
๔ คณะวิศวกรรมศาสตร์
- หลักสตู รวศิ วกรรมการผลติ ๒๗,๐๐๐ ๓๘,๐๐๐
- หลกั สูตรการจัดการคุณภาพ ๔๕,๐๐๐ ๕๕,๐๐๐
๕ คณะบริหารธรุ กิจ ๑๗,๕๐๐ ๔๓,๐๐๐
๖ คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์
- หลักสตู รศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ ๒๐,๐๐๐ ๓๙,๐๐๐
- หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ๒๕,๐๐๐ ๔๕,๐๐๐
๗ คณะอุตสาหกรรมส่งิ ทอ ๔๕,๐๐๐ ๕๕,๐๐๐
ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๒๒๓)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
อตั ราคา่ เล่าเรยี นแบบเหมาจา่ ยนไ้ี ด้รวมค่าใชจ้ า่ ยท่ีมหาวิทยาลัยกาหนดไว้ ดังน้ี
๑. ค่าบารงุ การศกึ ษา
๒. ค่าหนว่ ยกิต
๓. ค่าบารงุ ห้องสมดุ
๔. ค่าบริการสารสนเทศ
ข้อ ๓ กรณีท่ีนักศึกษาลงทะเบียนในภาคการศกึ ษาฤดูร้อน ให้จ่ายครึ่งหน่ึงของอัตรา
การเก็บค่าเล่าเรียนแบบเหมาจา่ ย ตามขอ้ ๒ ยกเวน้ คณะบรหิ ารธุรกิจ ใหเ้ รียกเกบ็ เงิน ดงั นี้
ภาคปกติ ภาคการศึกษาละ ๑๐,๐๐๐ บาท
ภาคสมทบ ภาคการศกึ ษาละ ๒๓,๐๐๐ บาท
ข้อ ๔ การเรียกเก็บเงินตามข้อ ๒ และข้อ ๓ ให้มีผลบังคับใช้สาหรับนักศึกษาที่
รับเข้าศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๘ สาหรับนักศึกษาที่รับเข้าก่อนปีการศึกษา ๒๕๕๘
ให้ใชอ้ ตั ราการเรยี กเกบ็ เงนิ เดิมทีเ่ ก่ียวขอ้ งจนกวา่ จะสาเรจ็ การศกึ ษาโดยอนุโลม
ข้อ ๕ กรณีที่นักศึกษาจากสถาบันการศึกษาอ่ืนเข้าศึกษาโดยไม่รับปริญญา หรือ
บุคคลภายนอกเขา้ รว่ มฟังกาหนดใหช้ าระเงินค่าเลา่ เรียน ดังนี้
รายวชิ าบรรยาย หน่วยกิตละ ๒,๐๐๐ บาท
รายวิชาปฏบิ ัติ หน่วยกิตละ ๒,๔๐๐ บาท
รายวิชาสาระนพิ นธ/์ วทิ ยานิพนธ์ หน่วยกติ ละ ๓,๐๐๐ บาท
ขอ้ ๖ คา่ ธรรมเนียมการศึกษา
๖.๑ คา่ ระเบียบการและใบสมคั รสอบคดั เลือก ๒๐๐ บาท
๖.๒ ค่าสมคั รสอบคัดเลอื กเข้าเปน็ นักศกึ ษา ๕๐๐ บาท
๖.๓ คา่ ขน้ึ ทะเบียนเปน็ นกั ศกึ ษา (ชาระแรกเขา้ ) ๑,๐๐๐ บาท
๖.๔ ค่าประกันของเสียหาย ๓,๕๐๐ บาท
(ชาระแรกเข้าและคนื ให้เมอ่ื ออกจากมหาวทิ ยาลัย)
๖.๕ ค่าประกันอุบัติเหตุ ปกี ารศึกษาละ ๒๐๐ บาท
๖.๖ คา่ ใบรายงานผลการศกึ ษา ฉบับละ ๑๐๐ บาท
๖.๗ คา่ หนงั สือรับรอง ฉบับละ ๑๐๐ บาท
(๒๒๔) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
๖.๘ คา่ ลงทะเบยี นเรยี นล่าช้ากว่ากาหนด วนั ละ ๑๐๐ บาท
ไมเ่ กิน ๑,๐๐๐ บาท (ไมน่ บั วันหยดุ ราชการ)
๖.๙ ค่าเทยี บโอนรายวชิ า รายวิชา ๓๐๐ บาท
๖.๑๐ คา่ คนื สภาพกลับเขา้ เปน็ นักศกึ ษาใหม่ ภาคการศึกษาละ ๕,๐๐๐ บาท
๖.๑๑ คา่ รักษาสภาพการเป็นนักศกึ ษา
- กรณีลาพักการศึกษา ภาคการศึกษาละ ๓,๐๐๐ บาท
- กรณีลงทะเบียนเรียนครบรายวิชาและอยู่ระหว่างทาวิทยานิพนธ์/
การค้นคว้าอิสระ ภาคการศกึ ษาละ ๓,๐๐๐ บาท
๖.๑๒ ค่าขึน้ ทะเบยี นบณั ฑติ ๒,๔๐๐ บาท
(อัตราค่าธรรมเนียมนี้ รวมใบรายงานผลการศึกษา และหนังสือรับรอง
อยา่ งละ ๒ ฉบบั เม่อื สภามหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพอนมุ ตั ิปริญญาแล้ว)
ข้อ ๗ ค่าใช้จ่ายสาหรับการเดินทางไปศึกษาและดูงานต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับหลักเกณฑ์
ของแต่ละหลกั สตู รเปน็ ผู้กาหนด
ข้อ ๘ การเรียกเก็บเงินตามข้อ ๕ และข้อ ๖ ให้มีผลบังคับใช้ ต้ังแต่วันประกาศ
เป็นตน้ ไป
ประกาศ ณ วันท่ี ๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘
สาธติ พทุ ธชยั ยงค์
(นายสาธติ พุทธชัยยงค)์
อธกิ ารบดมี หาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๒๒๕)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรือ่ ง อตั ราการเกบ็ คา่ เล่าเรยี นแบบเหมาจ่าย และค่าธรรมเนยี มการศึกษา
ในการจัดการศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา คณะอุตสาหกรรมส่ิงทอ ภาคสมทบ
พ.ศ. ๒๕๖๑
--------------------------
ด้วย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เห็นสมควรปรับปรุงการจัดเก็บ
ค่าเล่าเรียน ค่าบารุงการศึกษา และค่าธรรมเนียมการศึกษาในการจัดการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ ภาคสมทบ อาศัยอานาจตามความในข้อ ๖ แห่ง
ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ว่าด้วยการรับ - จ่ายเงิน เพื่อจัดการศึกษา
ระดับบัณฑิตศึกษา ปริญญาโท (ภาคสมทบ) พ.ศ. ๒๕๔๙ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ จึงกาหนดอัตราการเก็บค่าเล่าเรียนแบบเหมาจ่าย และค่าธรรมเนียมการศึกษา ในการจัด
การศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา คณะอตุ สาหกรรมส่ิงทอ ภาคสมทบ ดังตอ่ ไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศน้ี เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เร่ือง
อัตราการเก็บค่าเล่าเรียนแบบเหมาจ่าย และค่าธรรมเนียมการศึกษา ในการจัดการศึกษาระดับ
บณั ฑติ ศึกษา คณะอุตสาหกรรมสง่ิ ทอ ภาคสมทบ พ.ศ. ๒๕๖๑”
ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๒ แห่งประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เร่ือง อัตราการเก็บค่าเล่าเรียนแบบเหมาจ่าย และค่าธรรมเนียมการศึกษา ในการจัดการศึกษา
ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘ ลงวนั ท่ี ๓ กันยายน ๒๕๕๘ และใหใ้ ชข้ ้อความตอ่ ไปน้ีแทน
ให้กาหนดอตั ราการเกบ็ คา่ เล่าเรยี นแบบเหมาจา่ ย ดงั นี้
คณะอุตสาหกรรมสง่ิ ทอ ภาคสมทบ ภาคการศึกษาละ ๓๕,๐๐๐ บาท
อัตราคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยนี้ไดร้ วมคา่ ใช้จา่ ยทม่ี หาวิทยาลัยกาหนดไว้ ดังน้ี
๑. ค่าบารงุ การศึกษา
๒. คา่ หนว่ ยกิต
๓. คา่ บารุงหอ้ งสมดุ
๔. คา่ บริการสารสนเทศ
(๒๒๖) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ข้อ ๓ กรณีท่นี ักศึกษาลงทะเบียนในภาคการศึกษาฤดูรอ้ น ให้จ่ายคร่ึงหน่งึ ของอัตราการ
เกบ็ คา่ เล่าเรยี นแบบเหมาจา่ ย ตามขอ้ ๒
ข้อ ๔ การเรียกเก็บเงินตามข้อ ๒ และข้อ ๓ ให้มีผลบังคับใช้สาหรับนักศึกษาที่รบั เข้า
ศึกษา ต้ังแต่ภาคการศึกษาท่ี ๒/๒๕๖๐ สาหรบั นักศึกษาที่รับเข้าก่อนภาคการศึกษาท่ี ๒/๒๕๖๐
ให้ใช้อัตราการเรียกเก็บเงนิ เดิมทีเ่ กีย่ วขอ้ งจนกว่าจะสาเรจ็ การศึกษาโดยอนุโลม
ข้อ ๕ กรณีที่นักศึกษาจากสถาบันการศึกษาอื่นเข้าศึกษาโดยไม่รับปริญญา หรือ
บุคคลภายนอกเขา้ รว่ มฟัง กาหนดให้ชาระเงนิ คา่ เลา่ เรยี น ดงั นี้
รายวิชาบรรยาย หนว่ ยกติ ละ ๒,๐๐๐ บาท
รายวชิ าปฏบิ ตั ิ หน่วยกิตละ ๒,๔๐๐ บาท
รายวิชาสาระนิพนธ์/วิทยานิพนธ์ หนว่ ยกิตละ ๓,๐๐๐ บาท
ข้อ ๖ คา่ ธรรมเนยี มการศึกษา
๖.๑ คา่ ระเบียบการและใบสมคั รสอบคัดเลือก ๒๐๐ บาท
๖.๒ คา่ สมคั รสอบคัดเลือกเขา้ เปน็ นักศึกษา ๕๐๐ บาท
๖.๓ คา่ ขน้ึ ทะเบยี นเปน็ นกั ศึกษา (ชาระแรกเข้า) ๑,๐๐๐ บาท
๖.๔ ค่าประกันของเสยี หาย ๓,๕๐๐ บาท
(ชาระแรกเข้าและคืนใหเ้ มือ่ ออกจากมหาวทิ ยาลัย)
๖.๕ ค่าประกนั อบุ ัตเิ หตุ ปีการศึกษาละ ๒๐๐ บาท
๖.๖ คา่ ใบรายงานผลการศึกษา ฉบบั ละ ๑๐๐ บาท
๖.๗ คา่ หนงั สือรบั รอง ฉบบั ละ ๑๐๐ บาท
๖.๘ ค่าลงทะเบยี นเรียนล่าช้ากว่ากาหนด วันละ ๑๐๐ บาท
ไม่เกิน ๑,๐๐๐ บาท (ไม่นบั วันหยดุ ราชการ)
๖.๘ คา่ เทียบโอนรายวิชา รายวชิ าละ ๓๐๐ บาท
๖.๙ ค่าคนื สภาพกลับเขา้ เป็นนักศึกษาใหม่ ภาคการศกึ ษาละ ๕,๐๐๐ บาท
๖.๑๐ คา่ รักษาสภาพการเป็นนกั ศกึ ษา
- กรณลี าพักการศึกษา ภาคการศกึ ษาละ ๓,๐๐๐ บาท
- กรณีลงทะเบียนเรียนครบรายวิชา และอยู่ระหว่างทาวิทยานิพนธ์/การ
คน้ คว้าอสิ ระ ภาคการศกึ ษาละ ๓,๐๐๐ บาท
ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒ (๒๒๗)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
๖.๑๑ คา่ ขึ้นทะเบียนบัณฑิต ๒,๔๐๐ บาท
(อัตราค่าธรรมเนียมนี้ รวมใบรายงานผลการศึกษา และหนังสือรับรอง
อยา่ งละ ๒ ฉบบั เมื่อสภามหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพอนุมตั ปิ ริญญาแล้ว)
ข้อ ๗ ค่าใช้จ่ายสาหรับการเดินทางไปศึกษาและดูงานต่างประเทศ ข้ึนอยู่กับ
หลกั เกณฑ์ของแต่ละหลกั สูตรเป็นผ้กู าหนด
ประกาศ ณ วันท่ี ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
(นายสกุ ิจ นติ นิ ยั )
อธิการบดมี หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
(๒๒๘) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เร่อื ง อัตราการเก็บค่าเลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ย และคา่ ธรรมเนียมการศึกษา
ในการจดั การศกึ ษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคสมทบ
พ.ศ. ๒๕๖๑
--------------------------
ด้วย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เห็นสมควรปรับปรุงการจัดเก็บ
ค่าเล่าเรียน ค่าบารุงการศึกษา และค่าธรรมเนียมการศึกษาในการจัดการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคสมทบ อาศัยอานาจตามความในข้อ ๖
แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ว่าด้วยการรับ - จ่ายเงิน เพื่อจัด
การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ปริญญาโท (ภาคสมทบ) พ.ศ. ๒๕๔๙ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ จึงกาหนดอัตราการเก็บค่าเล่าเรียนแบบเหมาจ่าย และค่าธรรมเนียมการศึกษา
ในการจดั การศึกษาระดับบณั ฑติ ศกึ ษา คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคสมทบ ดงั ต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้ เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เรื่อง
อัตราการเก็บ ค่าเล่าเรียนแบบเหมาจ่าย และค่าธรรมเนียมการศึกษา ในการจัดการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคสมทบ พ.ศ. ๒๕๖๑”
ข้อ ๒ ประกาศน้ี ให้ใช้บงั คบั กบั นกั ศกึ ษาทเี่ ข้าศึกษาตั้งแต่ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๒ แห่งประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เร่ือง อัตราการเก็บค่าเล่าเรียนแบบเหมาจ่าย และค่าธรรมเนียมการศึกษา ในการจัดการศึกษา
ระดับบัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๓ กนั ยายน ๒๕๕๘ และให้ใช้ขอ้ ความต่อไปนีแ้ ทน
ให้กาหนดอตั ราการเกบ็ ค่าเลา่ เรียนแบบเหมาจ่าย ดังน้ี
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีภาคสมทบภาคการศึกษาละ ๓๕,๐๐๐ บาท
อตั ราค่าเล่าเรียนแบบเหมาจา่ ยนี้ไดร้ วมคา่ ใชจ้ ่ายที่มหาวทิ ยาลัยกาหนดไว้ ดงั น้ี
๑. ค่าบารุงการศกึ ษา
๒. คา่ หนว่ ยกติ
๓. คา่ บารุงหอ้ งสมดุ
๔. ค่าบรกิ ารสารสนเทศ
คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๒๒๙)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ข้อ ๔ กรณีทน่ี ักศึกษาลงทะเบียนในภาคการศึกษาฤดูร้อน ให้จา่ ยคร่ึงหนึ่งของอัตราการ
เก็บคา่ เล่าเรยี นแบบเหมาจ่าย ตามขอ้ ๓
ข้อ ๕ การเรียกเก็บเงินตามข้อ ๓ และข้อ ๔ ให้มีผลบังคับใช้สาหรับนักศึกษาท่ีรบั เข้า
ศึกษา ต้ังแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ สาหรับนักศึกษาที่รับเข้าก่อนปีการศึกษา ๒๕๖๑ ให้ใช้อัตรา
การเรยี กเก็บเงินเดมิ ที่เก่ียวข้องจนกวา่ จะสาเร็จการศึกษาโดยอนโุ ลม
ข้อ ๖ ค่าใช้จ่ายสาหรับการเดินทางไปศึกษาและดูงานต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับ
หลกั เกณฑ์ของแต่ละหลักสตู รเป็นผกู้ าหนด
ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๙ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๑
(นายสกุ ิจ นิตินยั )
อธกิ ารบดีมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
(๒๓๐) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๒๓๑)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคบั และประกาศของนกั ศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี
ของสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
ท่ี เรอ่ื ง กฎเกณฑท์ ่ีกาหนด
๑ การ ๑. ภาคการศึกษาปกติ หรือภาคการศึกษาฤดูร้อน นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนในรายวิชาท่ี
ลงทะเบยี น กาหนดให้เสรจ็ สน้ิ ก่อนวนั เปิดภาคการศึกษาน้ัน หรือตามระยะเวลาท่ีมหาวิทยาลยั กาหนด
เรยี น และต้องชาระเงินตามระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ในปฏิทินการศึกษาของมหาวิทยาลัย กรณีท่ี
นักศึกษาลงทะเบียนเรียนแล้วไม่ชาระเงิน หรือไม่ลงทะเบียน โดยไม่แจ้งเหตุใด ๆ เช่น ไม่
ขออนุญาตลาพัก รักษาสภาพ มหาวิทยาลัย จะถอนชื่อนักศึกษาผู้น้ันออกจากทะเบียน
นกั ศึกษา
๒. การลงทะเบียนเรียนทุกรายวิชา ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา และต้อง
เป็นไปตามขอ้ กาหนดของหลักสูตร และข้อกาหนดของคณะท่ีนักศึกษาสังกัด หาก่าา่นนจะ
ถือวา่ การลงทะเบียนเรียนดังกล่าวเป็นโมฆะ
๓. การลงทะเบียนเรียนในภาคการศกึ ษาปกติ นักศกึ ษาภาคปกติ จะลงทะเบียนเรยี นไม่ต่ากว่า
๙ หน่วยกิต และไม่เกิน ๒๒ หน่วยกิต สาหรับภาคสมทบ จะลงทะเบียนเรียนไม่ต่ากว่า ๙
หนว่ ยกติ และไม่เกนิ ๑๖ หนว่ ยกิต
๔. การลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาฤดูร้อน นักศึกษาจะลงทะเบียนได้ไม่เกิน ๙ หน่วยกิต
ยกเว้นในกรณีที่แผนการเรียนของหลักสูตรได้กาหนดไว้เป็นอย่างอื่น ให้นักศึกษาปฏิบัติตาม
แผนการเรียนทกี่ าหนดไวใ้ นหลกั สูตรน้ัน
ในภาคการศกึ ษาปกติ หากนักศึกษาต้องการลงทะเบียนเรยี นเกิน ๒๒ หนว่ ยกติ แต่ไมเ่ กนิ ๒๕
หน่วยกิต หรือน้อยกว่า ๙ หน่วยกิต ต้องขออนุมัติคณบดี และสามารถกระทาได้เพียงหน่ึง
ภาคการศึกษาเท่าน้ัน ยกเว้นภาคการศึกษาสุดท้ายท่ีนักศึกษาจะสาเร็จการศึกษาตาม
หลกั สูตร และมีหนว่ ยกติ เหลอื อย่ไู ม่เกนิ ๒๕ หนว่ ยกิต หรอื นอ้ ยกว่า ๙ หน่วยกิต
๕. นกั ศึกษากลุ่มสหกจิ ศึกษา นักศึกษา่ึกงานในสถานประกอบการ ท่่ี ึกประสบการณ์การสอน
ในสถานศึกษา อนุญาตให้ลงทะเบียน ๖ หน่วยกิต ในภาคการศึกษาน้ันได้ แต่จะลงทะเบียน
เรียนวิชาอนื่ ร่วมด้วยไม่ได้
๖. นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนก่อนวันเปิดภาคการศึกษาแล้ว แต่มีประกาศภายหลังว่าพ้นสภาพ
เนื่องจากผลการเรียนในภาคการศึกษาท่ีผ่านมา ให้ถือว่าผลการลงทะเบียนเรียนในภาค
การศึกษาถัดมาที่ลงทะเบียนเรียนเป็นโมฆะ และไม่มีผลผูกพันมหาวิทยาลัย โดยนักศึกษามี
สิทธ์ิขอคืนเงินค่าบารุงการศึกษา ค่าลงทะเบียน ค่าธรรมเนียมการศึกษา ซึ่งได้ชาระในภาค
การศกึ ษา ท่ีเปน็ โมฆะได้ ทัง้ น้ี นักศกึ ษาที่มสี ภานภาพ หรือ GPA เกือบจะพ้นสภาพการเปน็
(๒๓๒) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
ที่ เรือ่ ง กฎเกณฑท์ กี่ าหนด
๑ การ นักศึกษาอยู่นั้นหรอื ไมแ่ นใ่ จในผลการเรยี นในภาคท่ีผา่ นมา ขอใหช้ ลอการลงทะเบยี นใน
ภาคตอ่ ไปหรอื ภาคฤดรู ้อนเพอ่ื คอยดูผลการศึกษาทผี่ า่ นมาให้แนใ่ จกอ่ นลงทะเบยี น
ลงทะเบียน เม่ือทราบผลการศึกษาแล้วนักศึกษาสามารถลงทะเบยี นในช่วงของการลงทะเบยี นล่าชา้ ได้
เรียน ตามปฏิทินการศกึ ษาเพือ่ จะไดไ้ มม่ ีปญั หาในการขอคนื เงนิ ค่าลงทะเบยี นดงั กล่าว
(ตอ่ )
๗. ในภาคการศกึ ษาใด หากนักศกึ ษาไม่ลงทะเบยี นเรียนในภาคการศกึ ษาน้นั และประสงค์จะ
ขอรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา ต้องทาคาร้องขอลาพักการศึกษาต่อคณบดี ภายใน
สามสบิ วันนบั จากวนั เปดิ ภาคการศึกษาน้นั และตอ้ งชาระเงนิ ค่าธรรมเนยี มเพอื่ รกั ษา
สภาพเป็นนักศึกษา หากไมป่ ฏบิ ัตดิ งั กลา่ ว มหาวิทยาลัยจะถอนชือ่ นักศึกษาผู้นน้ั ออกจาก
ทะเบียนนกั ศึกษา
๘. อธกิ ารบดีมอี านาจอนมุ ตั ิใหน้ ักศึกษาท่ีถกู ถอนชอ่ื ออกจากทะเบยี นนกั ศกึ ษาตาม ขอ้ ๑
และ ข้อ ๖ กลบั เข้าเปน็ นกั ศึกษาใหม่ไดเ้ ป็นกรณพี ิเศษ เม่ือมเี หตุผลอนั สมควร โดยใหถ้ อื
ระยะเวลาท่ีถกู ถอนช่อื ออกจากทะเบียนนักศกึ ษา เปน็ ระยะเวลาพกั การศกึ ษา ทง้ั น้ตี ้องไม่
พน้ กาหนดระยะเวลาหนึ่งปี นบั จากวันทนี่ ักศกึ ษาผูน้ น้ั ถูกถอนชอื่ จากทะเบยี นนกั ศึกษา
โดยนกั ศกึ ษาตอ้ งชาระเงนิ คา่ ธรรมเนยี มเสมือนเป็นผลู้ าพกั การศกึ ษารวมทัง้ ค่าคืนสภาพ
เปน็ นกั ศึกษาและคา่ ธรรมเนยี มอน่ื ใดท่คี า้ งชาระตามประกาศมหาวทิ ยาลัย
๒ การงด กรณที ่มี หาวทิ ยาลยั มีเหตอุ นั ควร อาจประกาศงดการสอนรายวชิ าใด รายวชิ าหนงึ่
หรอื จากัดจานวนนักศกึ ษาท่ลี งทะเบยี นเรียนในรายวชิ าใดก็ได้
การสอน
รายวิชาใด
วิชาหน่ึง
๓ การ ๑. การลงทะเบียนเรยี นรายวชิ า ทม่ี รี ายวชิ าบงั คบั ก่อน นกั ศกึ ษาจะตอ้ งสอบผา่ นวชิ า
ลงทะเบียน บงั คบั ก่อน จงึ จะลงรายวิชาตอ่ เนอื่ งได้ หาก่าา ่นน จะถอื ว่าการลงทะเบยี นเรยี น
เรียนใน
รายวิชาท่ี รายวิชาน้ันเปน็ โมฆะ เว้นแต่จะไดร้ บั อนมุ ัติจากคณบดีก่อนการลงทะเบยี นเรียน และ
จะตอ้ งเป็นนักศึกษาปีสุดทา้ ยของหลกั สูตรทจี่ ะสาเรจ็ การศึกษาในปีการศกึ ษาน้นั
มีวชิ า
บงั คบั ก่อน ๒. นกั ศกึ ษาท่ีลงทะเบียนเรียนรายวิชาตอ่ เนอื่ งควบคู่กับรายวิชาบงั คับกอ่ นหากงดเรียน
รายวิชาบังคบั ก่อน จะต้องงดเรียนรายวิชาต่อเนอ่ื งคราวเดยี วกันด้วย หากไม่งดเรียน
รายวชิ าต่อเนอ่ื ง จะถือว่าการลงทะเบียนเรียนรายวชิ าตอ่ เนอื่ งนน้ั เปน็ โมฆะ เช่น
รายวิชาต่อเนอ่ื งเปน็ วชิ า Lab เมื่อตอ้ งการถอนรายวิชาบงั คับกอ่ น (W) นกั ศกึ ษาตอ้ ง
ถอน (W) รายวชิ าต่อเนือ่ งหรือรายวิชาบงั คบั รว่ มด้วย
คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๒๓๓)
ที่ เรอ่ื ง มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
กฎเกณฑท์ ก่ี าหนด
๔ การ ๑. นักศกึ ษาสามารถลงทะเบียนเรยี นขา้ มสถานศกึ ษาได้ ในแตล่ ะภาคการศกึ ษาหากเป็น
ลงทะเบยี น การลงทะเบียนเพื่อเพิ่มพนู ความรปู้ ระเภทไมน่ บั หน่วยกติ
เรียนขา้ ม
สถานศึกษา ๒. นักศกึ ษาท่ปี ระสงคจ์ ะลงทะเบียนเรยี นขา้ มสถานศึกษาเพอ่ื นบั หนว่ ยกิตในหลักสตู ร
จะตอ้ งเปน็ ไปตามเงื่อนไข ดังน้ี
๒.๑ เป็นนกั ศกึ ษาภาคการศึกษาสดุ ทา้ ยท่จี ะสาเร็จการศกึ ษา และรายวิชาท่ีจะเรยี นไม่เปิด
สอนในภาคการศึกษานนั้
๒.๒ รายวชิ าทจี่ ะลงทะเบยี นเรยี นในสถานศึกษาอืน่ ต้องเป็นรายวชิ าที่เทยี บไดก้ ับรายวิชา
ตามหลักสตู รของมหาวทิ ยาลัย การเทยี บให้อยใู่ นดลุ ยพินิจของภาควชิ าและคณะ
เจ้าของรายวิชาโดยถือเกณฑ์เน้ือหาและจานวนหน่วยกิตเปน็ หลัก
๒.๓ การเรียนขา้ มสถานศึกษา ใหน้ กั ศึกษายน่ื คาร้องขอเรยี นข้ามสถานศกึ ษาตอ่ คณบดที ี่
นักศึกษาสังกัดเพ่อื พิจารณา และนักศึกษาต้องชาระเงินค่าลงทะเบียนหรือค่าบารุง
การศึกษาแก่มหาวิทยาลัยในสังกัด ตามประกาศท่ีมหาวิทยาลัยกาหนดไว้ให้
เรียบร้อย จากน้ันจึงไปดาเนินการชาระคา่ หนว่ ยกติ ทีเ่ รยี นขา้ มสถานศึกษา ที่
นักศึกษาตอ้ งการลงทะเบยี นเรยี น
๒.๔ กรณนี ักศกึ ษาจากสถาบันการศึกษาอ่ืนมีความประสงคจ์ ะขอเรยี นขา้ ม สถานศกึ ษาให้
ปฏิบัตติ ามประกาศมหาวทิ ยาลัย
๕ การเพมิ่ ๑. การขอเพ่ิมรายวิชา ต้องกระทาภายในสัปดาห์ท่ีสองของภาคการศึกษาปกติ และภายใน
หรือถอน สัปดาห์แรกของภาคการศึกษาฤดูร้อน
รายวิชา ๒. การถอนรายวิชา
๒.๑ ถา้ ถอนรายวิชาภายในสปั ดาห์ทส่ี องของภาคการศึกษาปกติ และภายในสัปดาห์
แรกของภาคการศกึ ษาฤดรู ้อน รายวิชาน้ันจะไม่ปรากฏในใบแสดงผลการศึกษา
๒.๒ ถ้าถอนรายวชิ าเมื่อพน้ กาหนดสปั ดาห์ที่สอง แต่ยังอยภู่ ายในสบิ สอง
สปั ดาหข์ องภาคการศึกษาปกติ หรือเม่อื พน้ กาหนดสัปดาหแ์ รกของภาคการศกึ ษาฤดรู ้อน
แต่ยงั อยภู่ ายในหา้ สปั ดาห์แรกของภาคการศึกษาฤดูร้อน จะตอ้ งไดร้ บั ความเหน็ ชอบจาก
อาจารยท์ ปี่ รึกษาโดยรายวชิ าน้นั จะปรากฏในใบแสดงผลการศึกษา ซง่ึ จะไดร้ ับคะแนนถอน
รายวชิ า หรอื ถ (W) เมื่อพน้ กาหนดการถอนรายวชิ าแล้วนกั ศกึ ษาจะถอนการลงทะเบยี น
เฉพาะ รายวชิ าไม่ได้
๒.๓ การลงทะเบยี นเรียนรายวชิ าเพ่ิมจนมจี านวนหนว่ ยกติ สูงกวา่ หรือการถอน
รายวชิ าจนเหลือจานวนหนว่ ยกติ ตา่ กว่าที่มหาวิทยาลยั ฯระบไุ ว้มไิ ด้ หากฝา่ ฝืนจะถอื ว่าการ
ลงทะเบยี นเรียนดงั กลา่ วเปน็ โมฆะ เวน้ แตจ่ ะมเี หตผุ ลอันควรและไดร้ บั อนมุ ตั ิจากคณบดี
(๒๓๔) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
ท่ี เรอ่ื ง กฎเกณฑ์ทีก่ าหนด
๖ การลาพัก ๑. การลาพกั การศึกษาเปน็ การลาพักทงั้ ภาคการศกึ ษา และถา้ ได้ลงทะเบยี นไปแล้วให้ ยกเลกิ
การศึกษา การลงทะเบยี นเรยี นรายวชิ าท่ีไดล้ งทะเบยี นเรยี นทัง้ หมดในภาคการศึกษาน้ัน รายวชิ า
ดงั กล่าวจะไมป่ รากฏในใบแสดงผลการศึกษาแต่การลาพักการศกึ ษา หลังจากสปั ดาหท์ ีส่ บิ สอง
ในระหวา่ งภาคการศึกษาปกตหิ รอื หลังสัปดาห์ทห่ี กในระหวา่ ง ภาคการศกึ ษาฤดรู ้อน จะต้อง
บนั ทึกค่าระดบั คะแนนเปน็ ถอนรายวชิ า หรอื ถ (W)
๒. การขอลาพกั การศกึ ษา ใหแ้ สดงเหตุผลความจาเปน็ พร้อมกับมีหนงั สอื ยื่นตอ่ คณบดแี ละจะลา
พกั การศกึ ษาได้ไม่เกนิ สองภาคการศึกษาปกตติ ิดตอ่ กนั และชาระคา่ รกั ษาสภาพการเป็น
นักศึกษาภาคการศกึ ษาละ ๓๐๐ บาท ตามประกาศของมหาวทิ ยาลัยทุกภาคการศึกษาที่
ไดร้ บั อนมุ ตั ิให้ลาพกั การศกึ ษา หากไม่ปฏิบตั จิ ะถูกถอนช่ือออกจากทะเบียนนักศกึ ษา
ยกเวน้ ภาคการศกึ ษาที่นักศึกษาได้ชาระเงินคา่ บารุงการศึกษา ค่าลงทะเบียนเรียน
ค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าอืน่ ใดตามประกาศของมหาวิทยาลยั โดยมหาวิทยาลยั จะไม่
คืนเงนิ ดังกลา่ วให้
๓. ในภาคการศกึ ษาแรกทขี่ นึ้ ทะเบียนเปน็ นักศกึ ษาของมหาวิทยาลยั นกั ศึกษาจะ
ลาพกั การศกึ ษามไิ ด้ เว้นแตจ่ ะได้รบั อนุมัตจิ ากอธิการบดเี ปน็ กรณพี ิเศษ
๔. การขอลาพักการศกึ ษาเกนิ กว่าสองภาคการศึกษาปกตติ ดิ ต่อกนั จะต้องได้รบั อนมุ ตั จิ าก
อธกิ ารบดีเปน็ กรณีพเิ ศษ ในกรณตี ่อไปนี้
๔.๑ ถกู เกณฑห์ รอื ระดมเขา้ รบั ราชการทหารกองประจาการ
๔.๒ ไดร้ ับทนุ แลกเปลยี่ นนักศกึ ษาระหว่างประเทศหรือทนุ อนื่ ใด ซึ่งมหาวทิ ยาลยั เห็นสมควร
สนบั สนุน
๔.๓ ประสบอบุ ตั ิเหตุ ภยนั ตราย หรอื เจบ็ ปวา ย จนต้องพกั รักษาตัวตามคาสง่ั แพทยเ์ ป็น
เวลานานเกนิ กวา่ รอ้ ยละยสี่ บิ ของเวลาศึกษาทงั้ หมดโดยมีใบรับรองแพทย์
๕. การลาพักการศึกษาไม่ว่าด้วยเหตุใดหรือการถูกให้พักการศกึ ษา หรอื การกลบั เข้าศึกษาใหม่
แล้วแตก่ รณี ไมเ่ ปน็ เหตใุ หข้ ยายระยะเวลาการศกึ ษาเกนิ กวา่ สองเทา่ ของแผนการเรยี นตาม
หลกั สตู ร นับแตว่ นั ขึ้นทะเบียนเปน็ นักศึกษาของมหาวิทยาลยั ยกเวน้ ภาคการศกึ ษาฤดรู ้อน
๗ การขาด นักศึกษาท่ีปาวยหรือมเี หตสุ ดุ วสิ ยั ทาให้ไม่สามารถเขา้ สอบปลายภาคได้ นกั ศกึ ษาต้องขอผอ่ น
สอบ ผันการสอบตอ่ อาจารย์ผสู้ อนรายวชิ านัน้ ภายในวนั ถัดไป หลงั จากที่มีการสอบปลายภาค
ปลายภาค รายวิชานั้น เวน้ แต่จะมเี หตอุ นั สมควร นักศกึ ษาตอ้ งทาคารอ้ งต่อคณะกรรมการประจา
คณะใหพ้ ิจารณาการขอผ่อนผนั ดังกลา่ ว โดยอาจอนมุ ตั ิให้ไดร้ ะดบั คะแนนไมส่ มบรู ณห์ รือ
ม.ส. (I) หรอื ให้ยกเลกิ การลงทะเบยี น เรียนรายวชิ านัน้ เปน็ กรณีพเิ ศษ โดยให้ได้ระดับ
คะแนน ถอนรายวิชา หรือ ถ (W) หรอื ไม่อนมุ ัติ การขอผอ่ นผนั โดยให้ถอื ว่าขาดสอบมคี ่าระดับ
คะแนน (F)
คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๒๓๕)
ท่ี เร่อื ง มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
กฎเกณฑ์ท่ีกาหนด
๘ การลาออก นักศกึ ษาอาจลาออกจากการเป็นนักศึกษาไดโ้ ดยย่นื คารอ้ งขอลาออกตอ่ คณะท่ีนกั ศึกษาสังกัด
จากการ และต้องไม่มหี น้ีสินกบั มหาวทิ ยาลัย ท้ังนต้ี อ้ งได้รบั อนุมตั จิ ากคณบดี
เป็น
นักศกึ ษา
๙ การย้าย ๑. นกั ศกึ ษาท่ปี ระสงคจ์ ะย้ายคณะ ตอ้ งได้รบั อนุมตั จิ ากคณบดขี องคณะท่ีนกั ศกึ ษาสงั กัดอยู่
คณะ และคณบดขี องคณะท่นี ักศกึ ษาประสงคจ์ ะยา้ ยเข้าศกึ ษา
หรอื ๒. นกั ศึกษาทปี่ ระสงค์จะเปล่ยี นสาขาวชิ าในคณะเดยี วกัน จะกระทาไดก้ ต็ อ่ เมอ่ื ได้รับความ
เปล่ียน เห็นชอบจากคณบดีของคณะท่ีนักศกึ ษาสังกดั อยู่
สาขาวิชา ๓. การยา้ ยคณะ จะต้องมผี ลการศึกษาเฉลีย่ สะสมอย่างน้อย ๒.๐๐ ผลการลงทะเบียนรวมไม่
นอ้ ยกวา่ ๑๘ หนว่ ยกติ มีหมวดรายวชิ าชพี ไมน่ ้อยกวา่ ๒ รายวิชา เสียค่าธรรมเนยี มคร้ังละ
๒,๐๐๐ บาท การย้ายสาขาวชิ า ตอ้ งมีผลการศึกษา อยา่ งน้อย ๑ ภาคการศกึ ษา ผลการ
ลงทะเบยี นรวม ไม่นอ้ ยกว่า ๑๘ หนว่ ยกติ มหี มวดรายวชิ าชีพไมน่ อ้ ยกว่า ๒ รายวชิ า เสยี
คา่ ธรรมเนยี ม คร้งั ละ ๕๐๐ บาท
๔. การย้ายสาขา/คณะ ไม่เปน็ เหตใุ หข้ ยายระยะเวลาการศกึ ษาเกินกว่าสองเทา่ ของแผนการ
เรยี นตามหลักสตู ร นบั แต่วันข้นึ ทะเบียนเปน็ นักศึกษาของมหาวทิ ยาลยั ยกเวน้ ภาค
การศึกษาฤดรู ้อน
๕. นักศกึ ษาภาคสมทบจะขอย้ายรอบเป็นภาคปกติไมไ่ ด้
๑๐ การให้ ๑. นกั ศึกษาเขา้ สอบและหรอื มีผลงานทปี่ ระเมินผลการศึกษาได้ ต (F)
ระดับ ๒. นกั ศึกษามีเวลาศึกษาไม่ครบร้อยละ ๘๐ ของเวลาศึกษาตลอดภาคการศกึ ษา
คะแนน ต ๓. นักศกึ ษาทาผดิ ระเบียบการสอบในภาคการศกึ ษานั้น และได้รบั การตัดสนิ ใหไ้ ด้
(F) ระดบั คะแนน ต (F)
๑๑ การให้ ๑. นกั ศึกษาปาวยกอ่ นสอบ และไมส่ ามารถเข้าสอบในบางรายวชิ าหรอื ท้ังหมดได้ โดยต้องยน่ื
ระดับ ใบลาปาวยพรอ้ มใบรบั รองแพทย์ให้คณบดี พจิ ารณารว่ มกับอาจารยผ์ สู้ อน หากเห็นวา่
คะแนน ถ การศึกษาของนักศกึ ษาผู้น้นั ขาดเนื้อหาส่วนทส่ี าคญั สมควรให้ระดบั คะแนน ถ (W) ในบาง
(W) วชิ าหรือทง้ั หมด
๒. นกั ศกึ ษาลาพกั การศกึ ษาหลงั จากสัปดาหท์ ี่ ๑๒ ในระหวา่ งภาคการศกึ ษาปกติ หรือสปั ดาห์
ท่ี ๖ ในระหวา่ งภาคการศึกษาฤดรู อ้ น
๓. คณบดอี นญุ าตใหเ้ ปล่ียนระดบั คะแนนจาก ม.ส. (I) เน่ืองจากปวา ย หรอื เหตสุ ดุ วสิ ยั
๔. ในรายวชิ าทีน่ กั ศกึ ษาไดร้ ับอนุญาตใหล้ งทะเบียนเรยี นโดยไมน่ บั หนว่ ยกติ (AU) และมีเวลา
ศกึ ษาไม่ครบร้อยละ ๘๐ ของเวลาศึกษาตลอดภาคการศกึ ษา
(๒๓๖) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
ที่ เร่อื ง กฎเกณฑท์ กี่ าหนด
๑๒ การให้ รายวชิ าท่ีผลการศึกษายงั ไมส่ มบรู ณโ์ ดยอาจารย์ผสู้ อนจะต้องระบุสาเหตทุ ่ีใหค้ ะแนน ม.ส. (I)
ระดบั ประกอบไวด้ ้วย ในกรณตี ่อไปนี้
คะแนน ๑. กรณีนักศึกษามเี หตเุ จบ็ ปวา ยหรอื เหตุสุดวสิ ัย และมเี วลาศึกษาครบรอ้ ยละ ๘๐
ม.ส. (I) โดยได้รับอนมุ ัตจิ ากคณบดี
๒. กรณนี ักศึกษาทางานที่เป็นสว่ นประกอบการศกึ ษายังไม่สมบูรณ์ และอาจารยผ์ ูส้ อน
รายวิชานน้ั เหน็ สมควรใหร้ อผลการศึกษาไว้โดยได้รบั ความเหน็ ชอบจากหวั หน้าภาควชิ า
๑๓ การขอแก้ ๑. นักศกึ ษาจะตอ้ งยน่ื คาร้องตอ่ อาจารย์ผสู้ อนรายวชิ านนั้ ๆ ภายใน ๑๐ วนั ทาการหลงั จากวนั
ระดบั เปิดภาคการศกึ ษาถัดไป เพอ่ื ขอใหอ้ าจารยผ์ ู้สอนกาหนดระยะเวลาสาหรับการวัดผล
คะแนน การศึกษาท่สี มบรู ณ์ในรายวชิ านน้ั เพ่อื เปล่ยี นระดบั คะแนน ม.ส. (I) ให้แลว้ เสร็จภายใน
ม.ส. (I) กาหนด ๓๐ วัน นับแต่วันเปดิ ภาคการศึกษาถัดไปและอาจารยผ์ สู้ อนต้องสง่ ผลการศกึ ษาให้
สานักส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบียนภายใน ๓๐ วัน
๒. การเปลยี่ นระดบั คะแนน ม.ส. (I) ของรายวชิ าท่เี ปน็ โครงการใหน้ ักศกึ ษาขออนมุ ตั จิ าก
คณบดี เพอื่ เปล่ยี นระดับคะแนน ม.ส. (I) เมื่อนักศกึ ษาดาเนนิ การเปลีย่ นค่าระดับคะแนน
ม.ส. (I) เสรจ็ ส้นิ แลว้ ให้คณะสง่ ระดับคะแนนถงึ สานักส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบียนกอ่ น
วันส้ินภาคการศึกษาถดั ไป
๓. การสง่ ผลการเปลยี่ นระดบั คะแนน ม.ส. (I)
๓.๑ ตามขอ้ ๑ อาจารย์ผสู้ อนสง่ ผลการเปลยี่ นระดับคะแนน ม.ส. (I) ภายใน ๓๐ วัน
เมือ่ พน้ กาหนด ๓๐ วัน นบั แตว่ นั เปิดภาคการศกึ ษาถัดไป จะถกู ปรบั คา่ ระดบั
คะแนนเป็น (F) โดยอตั โนมตั ิ
๓.๒ ตามข้อ ๒ หากคณะไม่ส่งระดับคะแนนถึงสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน
ก่อนวันส้ินภาคการศึกษาถัดไป รายวิชาที่ ม.ส. (I) จะถูกเปลี่ยนเป็นระดับคะแนน
ต (F) โดยอตั โนมตั ิ
๔. ก่อนวันสิ้นภาคการศึกษาถัดไป หมายถึง ก่อนวันที่มหาวิทยาลัยกาหนดไว้ให้เป็นวันสิ้น
ภาคการศึกษาใด ๆ ถัดไปจากภาคการศึกษาท่ีนักศึกษาได้ระดับคะแนน ม.ส. (I) เป็น
ระยะเวลา ๑ ภาคการศึกษา ยกเว้นภาคการศึกษาฤดูรอ้ นซ่ึงเปน็ ภาคการศกึ ษาที่ไม่บังคับ
แตห่ ากนกั ศึกษาลงทะเบียนเรียนในภาคการศกึ ษาฤดูรอ้ น นักศกึ ษาจะต้องดาเนินการวัดผล
การศึกษาที่ไม่สมบูรณ์ให้เสร็จส้ินก่อนวันส้ินภาคในภาคการศึกษาฤดูร้อนน้ัน มิฉะนั้น
ระดบั คะแนน ม.ส. (I) จะถกู เปลีย่ นเปน็ ระดับคะแนน ต (F) โดยอัตโนมตั ิ
นกั ศึกษาทไี่ ดร้ ะดับคะแนน ม.ส. (I) ในภาคการศึกษาที่ไมใ่ ชภ่ าคสุดทา้ ยไม่จาเป็นต้อง
ลงทะเบียนเรียนรายวิชาท่ีได้คา่ ระดับคะแนนม.ส.(I) เพือ่ ขอปรบั ระดบั คะแนน ม.ส. (I)
คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๒๓๗)
ท่ี เร่ือง มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
กฎเกณฑท์ ก่ี าหนด
๑๓ การขอแก้ ในภาคการศึกษาตอ่ ไป แต่การขอเปล่ยี นระดบั คะแนน ม.ส.(I) ในภาคการศกึ ษาสดุ ทา้ ยของ
ระดับ นกั ศกึ ษา นกั ศึกษาจะต้องขอรกั ษาสภาพการเป็นนกั ศกึ ษาเพอ่ื แก้ ม.ส.(I) และชาระเงนิ
คะแนน คา่ ธรรมเนียมตามประกาศของมหาวิทยาลัย
ม.ส. (I)
(ตอ่ )
๑๔ การเปลี่ยน ๑. นกั ศึกษาท่มี ีเวลาศกึ ษาครบรอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาศกึ ษาตลอดภาคการศึกษา แต่ไม่ได้สอบ
ระดบั เพราะเจบ็ ปวา ยหรอื มเี หตสุ ุดวสิ ยั และได้รบั อนุมตั จิ ากคณบดี ในกรณเี ชน่ น้กี ารเปล่ยี นระดบั
คะแนน คะแนน ม.ส. (I) ใหไ้ ดร้ ะดับคะแนนปกติ หรอื ตามผลการพจิ ารณาของคณะกรรมการประจา
ม.ส. (I)
คณะ
๒. อาจารยผ์ สู้ อนและหัวหน้าภาควชิ าเหน็ สมควรใหร้ อผลการศึกษา เพราะนักศึกษาต้องทางาน
ซง่ึ เป็นส่วนประกอบการศกึ ษาในรายวิชานั้นโดยมิใช่ความผดิ ของ นกั ศึกษา ในกรณีเชน่ นี้
การเปลยี่ นระดบั คะแนน ม.ส. (I) ใหส้ งู กวา่ ระดับคะแนน ค (C) ข้ึนไปได้ แต่ถ้าเป็นกรณี
ความผิดของนักศกึ ษาแล้วการเปล่ยี นระดับคะแนน ม.ส. (I) ไม่สามารถไดส้ งู กว่าระดับ
คะแนน ค (C)
๑๕ การให้ การใหร้ ะดับคะแนน พ.จ. (S) และ ม.จ. (U) จะกระทาได้ในรายวิชาทผี่ ลการประเมนิ ผล
ระดบั การศกึ ษาเป็นท่พี อใจ และไมพ่ อใจ ดงั กรณีตอ่ ไปนี้
คะแนน ๑. ในรายวชิ าท่หี ลกั สตู รกาหนดไว้วา่ มีการประเมินผลการศกึ ษาอย่างไมเ่ ปน็ ระดบั คะแนน
พ.จ. (S)
และ ก (A) ข+ (B+) ข (B) ค+ (C+) ค (C) ง+( D+) ง (D) และ ต (F)
๒. ในรายวชิ าท่ีนักศกึ ษาลงทะเบียนเรียนนอกเหนอื ไปจากหลกั สตู รและขอรับการประเมินผล
ม.จ. (U)
การศกึ ษาระดับคะแนน พ.จ. (S) และ ม.จ. (U) จะไมม่ คี า่ ระดบั คะแนนตอ่ หนว่ ยกติ และ
หน่วยกิตท่ีไดไ้ มน่ ามาคานวณหาคา่ ระดับคะแนนเฉล่ยี ประจาภาคและค่าระดบั คะแนน
เฉลยี่ สะสม แต่ให้นบั รวมเข้าเปน็ หน่วยกิตสะสม
๑๖ การให้ การให้ระดับคะแนน ม.น. (AU) จะกระทาได้ในรายวิชาใดวิชาหน่ึง ท่ีอาจารย์ที่ปรึกษา
อาจจะแนะนาให้นกั ศกึ ษาลงทะเบยี นเรียน เพอ่ื เปน็ การเสรมิ ความร้โู ดยไมน่ ับหน่วยกติ ใน
ระดบั รายวิชาน้นั ก็ได้ แต่ตอ้ งไดร้ ับอนุญาตจากอาจารย์ผสู้ อนรายวชิ านั้น
คะแนน
ม.น. (AU)
๑๗ การ ๑. ค่าระดับคะแนนเฉลยี่ ประจาภาค คอื ผลรวมของคะแนนโดยคานวณหาจากค่าระดับ
คานวณหา คะแนนตอ่ หน่วยกติ คณู ดว้ ยจานวนหนว่ ยกติ แตล่ ะวชิ า หารด้วยจานวนหน่วยกติ ท่ี
ค่าระดับ ลงทะเบยี นเรยี นแตล่ ะภาคการศึกษา ให้มที ศนยิ มสองตาแหนง่ เศษของทศนยิ มให้ปัดทิง้
คะแนน
เฉล่ยี
(๒๓๘) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
ที่ เรอื่ ง กฎเกณฑ์ทก่ี าหนด
๑๗ การ ๒.ค่าระดบั คะแนนเฉลย่ี สะสมประจาภาค ใหค้ านวณจากผลรวมของคะแนนทกุ ภาค
การศึกษาหารดว้ ยจานวนหนว่ ยกติ ทล่ี งทะเบียนเรียนทกุ ภาคการศกึ ษาตั้งแต่ภาคการศึกษา
คานวณหา ท่ี ๑ เปน็ ตน้ ไปจนถงึ ภาคการศึกษาปจั จบุ นั ให้มีทศนิยมสองตาแหน่ง เศษของทศนยิ มให้
คา่ ระดบั ปดั ทง้ิ
คะแนน
เฉล่ีย
(ต่อ)
๑๘ การ ๓. ๑. นักศึกษาลงทะเบียนเรียนซ้าหรือแทนและการนับหน่วยกิตตลอดหลักสูตร ตามประกาศ
ลงทะเบยี น มหาวิทยาลัยฯ ปี พ.ศ.๒๕๕๔ จะต้องมีเกณฑ์การลงทะเบียนรวมต้ังแต่ ๓๐ – ๕๙
เรียนซา้ หน่วยกิต และมีค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมระหว่าง ๑.๕๐ – ๑.๗๔ และการลงทะเบียน
หรอื แทน รวมต้ังแต่ ๖๐ หน่วยกิตขึ้นไป ถึงจานวนหน่วยกิตก่อนครบหลักสูตร มีค่าระดับคะแนน
เฉล่ียสะสมระหว่าง ๑.๗๕ – ๑.๘๙ ให้มีสิทธิลงทะเบียนรายวิชาได้รับคะแนน ง (D) หรือ
ง+ ( D+) น้ันซ้าไดอ้ ีก
๒. รายวชิ าใดทน่ี ักศกึ ษาได้ระดับคะแนน ต (F) หรอื ม.จ. (U) หรอื ถ (W) หากเป็นรายวิช
บังคบั ในหลกั สูตรแล้ว นกั ศกึ ษาจะต้องลงทะเบยี นเรียนรายวิชานัน้ ซ้าอีก จนกว่าจะไดร้ ะดับ
คะแนนตามทีห่ ลกั สตู รกาหนดไว้
๓. รายวชิ าใดทนี่ ักศึกษาได้ระดบั คะแนนตามข้อ ๒เปน็ รายวิชาเลือกในหลกั สตู ร
นกั ศกึ ษาจะลงทะเบยี นเรยี นรายวชิ าอ่ืนแทนกไ็ ด้
๔. ๔. รายวชิ าใดทีน่ กั ศึกษาได้ระดบั คะแนน ต (F) หรอื ม.จ. (U) เมอื่ มกี ารลงทะเบียนเรยี น
รายวิชาซา้ หรือแทนกันแลว้ ให้นบั หน่วยกิตสะสมเพียงครงั้ เดยี ว ในการคานวณหาคา่ ระดบั
คะแนนเฉลยี่ สะสม
๑๙ การนบั ๑. การนบั หนว่ ยกติ รวมตลอดหลกั สตู ร ให้นบั รวมเฉพาะหน่วยกติ ของรายวชิ าทีไ่ ดร้ บั คะแนน
หน่วยกติ ต้ังแต่ ง (D) ข้ึนไป หรอื ได้คะแนน พ.จ. (S) เทา่ น้นั
รวมตลอด ๒. ในกรณที ่ีนกั ศึกษาลงทะเบยี นเรียนรายวิชาใดซ้าหรอื แทนกัน ใหน้ ับหนว่ ยกิตของรายวิชาท่ี
หลักสูตร ได้ระดบั คะแนนดีที่สดุ เพียงครงั้ เดยี ว
๒๐ การขอ นักศกึ ษาจะมสี ทิ ธิขอสาเรจ็ การศึกษาตอ้ งมีคณุ สมบตั ดิ งั นี้
สาเรจ็ ๑. ตอ้ งศกึ ษารายวิชาใหค้ รบตามหลักสตู รและขอ้ กาหนดของสาขาวชิ านัน้
การศกึ ษา ๒. มหี นว่ ยกติ สะสมไม่ต่ากว่าทหี่ ลกั สตู รกาหนดไว้ และไดค้ า่ ระดบั คะแนนเฉล่ยี สะสมไมต่ า่
กว่า ๒.๐๐
๓. เป็นผู้มคี ณุ สมบัตเิ หมาะสมกับการเปน็ บณั ฑติ และไมม่ หี นสี้ ินผูกพนั ตอ่ มหาวทิ ยาลัย
๔. การยน่ื คาร้องขอสาเร็จการศกึ ษาต้องยืน่ ต่อสานกั ส่งเสริมวิชาการและงานทะเบยี นทกุ ภาค
คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๒๓๙)
ที่ เร่ือง มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
กฎเกณฑท์ กี่ าหนด
๒๐ การขอ การศกึ ษา ทีน่ ักศกึ ษาคาดว่าจะสาเร็จการศกึ ษา ภายในสามสบิ วนั นบั แตว่ นั เปดิ ภาค
สาเร็จ การศึกษาน้นั จนกวา่ นักศกึ ษาจะสาเรจ็ การศกึ ษา
การศกึ ษา ตามประกาศสภามหาวทิ ยาลยั
(ตอ่ ) ๕. นกั ศึกษาท่ีไม่ดาเนนิ การตาม ข้อ ๔ จะไมไ่ ด้รับการพิจารณาเสนอช่ือเพื่อรับปริญญาในภาค
การศกึ ษาน้ัน และจะต้องชาระคา่ รักษาสภาพเปน็ นักศึกษาทกุ ภาคการศึกษา จนถงึ ภาค
การศกึ ษาทนี่ กั ศกึ ษายืน่ คารอ้ งขอสาเรจ็ การศกึ ษา
๒๑ การพน้ นักศึกษาจะพน้ สภาพการเป็นนกั ศกึ ษาเม่ือ
สภาพ ๑. ตาย
การเปน็ ๒. ลาออก
นักศกึ ษา ๓. ไดศ้ กึ ษาสาเรจ็ ครบหลกั สูตรตามทมี่ หาวิทยาลยั กาหนดและไดร้ บั การอนมุ ตั ปิ ริญญา
๔. พ้นสภาพเนอื่ งจากถกู ถอนชื่อออกจากการเป็นนักศึกษาเนื่องจากไมล่ งทะเบียนและไม่ชาระเงิน
๕. ไม่ผา่ นเกณฑ์การวดั ผลและประเมนิ ผลตามประกาศของมหาวิทยาลยั
๖. ใชร้ ะยะเวลาการศึกษาเกนิ กวา่ สองเท่าของแผนการเรยี นตามหลักสตู ร นบั แตว่ นั ขน้ึ
ทะเบียนเป็นนกั ศึกษาของมหาวทิ ยาลยั ยกเวน้ ภาคการศกึ ษาฤดูรอ้ น ท้ังนีส้ าหรับนกั ศกึ ษา
ทเี่ ทียบโอนผลการเรยี นยา้ ยคณะหรือสาขาวชิ า ใหน้ บั เวลาที่เคยศึกษาอยู่ในสถานศึกษาเดมิ
รวมเข้าด้วยกนั
๗. ถูกคาส่งั ลงโทษให้ออก
๒๒ เกณฑ์การพน้ ๑. มคี า่ คะแนนเฉล่ียสะสมตา่ กว่า ๑.๕๐ เมอ่ื ลงทะเบยี นเรยี น มหี นว่ ยกิตสะสมระหว่าง
สภาพ เนือ่ งจาก ๓๐ – ๕๙ หนว่ ยกติ
ผลการศกึ ษา ๒. มีค่าคะแนนเฉลยี่ สะสมตา่ กวา่ ๑.๗๕ เมอ่ื ลงทะเบยี นเรยี น มีหนว่ ยกติ สะสม
ตง้ั แต่ ๖๐ หนว่ ยกิตขนึ้ ไป
๒๓ เกณฑก์ าร นักศกึ ษาทีล่ งทะเบยี นเรียนครบหลกั สตู ร มีค่าระดับคะแนนตง้ั แต่ ๑.๙๐ ขึน้ แตไ่ มถ่ งึ ๒.๐๐
ซึง่ ผลการศึกษาไมเ่ พยี งพอท่จี ะรับการเสนอชือ่ เพ่ือรับปรญิ ญา ให้นกั ศกึ ษาขอลงทะเบียน
ผ่อนผนั เรยี นซา้ ในรายวิชาท่ีไดร้ ะดับคะแนนต่ากวา่ ก (A) เพือ่ ปรบั ค่าระดบั คะแนนเฉลย่ี สะสมให้ถึง
การพ้น ๒.๐๐ ภายในกาหนดระยะเวลา ๓ ภาคการศึกษา รวมภาคการศกึ ษาฤดรู ้อนแตไ่ มเ่ กินสอง
สภาพการ เทา่ ของระยะเวลาแผนการเรียนตามหลกั สตู ร
เปน็
นกั ศึกษา
๒๔ การขอขึน้ ๑. นกั ศึกษาทีส่ าเร็จการศกึ ษาต้องขอขึ้นทะเบียนบัณฑติ โดยยน่ื คาร้องข้นึ ทะเบยี นบณั ฑติ ต่อ
ทะเบียน
บณั ฑติ สานักส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น พรอ้ มชาระเงินค่าข้ึนทะเบียนบัณฑิต ทัง้ นี้จะตอ้ ง
ดาเนนิ การตามขัน้ ตอนของมหาวทิ ยาลยั
๒. การเสนอช่อื เพือ่ รับปริญญาใหเ้ ป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย
(๒๔๐) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ที่ เรื่อง กฎเกณฑ์ทกี่ าหนด
๒๕ ปรญิ ญา นักศึกษาที่จะได้รบั การเสนอช่ือเพ่ือรับปริญญาเกยี รตินิยมตอ้ งเป็นไปตามหลักเกณฑ์
เกยี รตนิ ิยม ๑. ลงทะเบยี นรายวชิ าในมหาวิทยาลยั ไมต่ า่ กวา่ ๗๒ หนว่ ยกติ สาหรบั หลักสตู ร ๒ – ๓ ปี
การศกึ ษา หรอื ไม่ตา่ กวา่ ๑๒๐ หนว่ ยกิต สาหรับหลกั สูตร ๔ ปีการศึกษา หรือไมต่ า่ กว่า
๑๕๐ หน่วยกิต สาหรับหลกั สตู ร ๕ ปกี ารศกึ ษา
๒. สาเรจ็ การศกึ ษาภายในระยะเวลาที่หลักสตู รกาหนด ท้ังน้ีไมน่ ับระยะเวลาทน่ี กั ศึกษาขอ
ลาพกั การศกึ ษาตามข้อบงั คับนี้
๓. ต้องไมม่ ผี ลการศกึ ษาทอ่ี ย่ใู นเกณฑ์ข้ันไม่พอใจ หรอื ม.จ. (U) หรือตา่ กว่าระดับคะแนน
ขั้นพอใช้หรือ ค (C) ในรายวชิ าใดวิชาหนึ่ง
๔. นักศกึ ษาผู้สาเร็จการศกึ ษาท่มี ีคณุ สมบัติครบถว้ นตาม ขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ทมี่ คี า่ ระดบั
คะแนนเฉลย่ี สะสมไมต่ า่ กวา่ ๓.๗๕ จะได้รบั การเสนอชอื่ เพ่ือรบั ปรญิ ญาเกยี รตินยิ ม
อันดบั ๑
๕. นักศึกษาผู้สาเรจ็ การศกึ ษาทมี่ คี ณุ สมบตั ิครบถ้วนตาม ขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ทีม่ ี ค่าระดบั
คะแนนเฉลย่ี ไมต่ า่ กว่า ๓.๕๐ จะได้รบั การเสนอชอื่ เพื่อรบั ปรญิ ญาเกียรตินิยมอนั ดับ ๒
๖. การเสนอช่ือเพอ่ื รับปรญิ ญาเกยี รตนิ ยิ ม ใหม้ หาวิทยาลยั นาเสนอต่อสภามหาวทิ ยาลยั ใน
คราวเดยี วกนั กบั ท่เี สนอขออนมุ ัตปิ ริญญา ประจาภาคการศกึ ษานั้น
๒๖ เหรยี ญ การให้เกียรตนิ ิยมเหรยี ญทองหรือเกยี รตินยิ มเหรยี ญเงนิ
เกียรตนิ ยิ ม ๑. ใหม้ หาวิทยาลัยจดั ใหม้ เี หรยี ญเกยี รตินยิ ม แก่ผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาที่มผี ลการศกึ ษาดีเดน่ โดย
แยกเป็นคณะ
๒. เกียรตนิ ยิ มเหรียญทองใหแ้ กผ่ ู้สาเร็จการศึกษาทไ่ี ด้ปริญญาเกยี รตินยิ มอนั ดับ ๑ ทไ่ี ดค้ ่า
ระดบั คะแนนเฉลีย่ สะสมสงู สดุ ในแตล่ ะคณะ
๓. เกยี รตินยิ มเหรียญเงนิ ใหแ้ ก่ผสู้ าเรจ็ การศึกษา ท่ไี ดค้ า่ ระดบั คะแนนเฉลีย่ สะสม เป็นท่สี อง
และจะต้องได้ปริญญาเกยี รตนิ ิยมอันดับ ๑ หรือ ๒ ในแตล่ ะคณะ กรณผี ้สู าเร็จการศกึ ษาได้
ค่าระดบั คะแนนเฉลย่ี สะสมสงู สดุ แตไ่ ด้ปริญญาเกียรตินิยมอันดับ ๒ ในแต่ละคณะ ให้
เกียรตินยิ มเหรียญเงิน
๔. การเสนอช่ือเพื่อรบั เหรยี ญเกยี รตินิยมใหส้ านกั ส่งเสริมวิชาการและงานทะเบยี นดาเนินการ
ปกี ารศกึ ษาละหนึ่งครง้ั และใหอ้ ธกิ ารบดีนาเสนอตอ่ สภามหาวทิ ยาลัยเพอื่ พจิ ารณาอนุมตั ิ
ในคราวเดียวกันกบั ที่เสนอขออนมุ ตั ปิ ริญญาประจาภาคการศกึ ษาสดุ ท้ายของปกี ารศึกษา
คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๒๔๑)
ท่ี เรือ่ ง มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
กฎเกณฑ์ทก่ี าหนด
๒๗ การเทียบ หลกั เกณฑก์ ารเทยี บโอนผลการเรยี น โดยการเทียบวชิ าเรยี นและโอนหน่วยกติ ระหว่าง
โอน การศกึ ษาในระบบ มดี งั น้ี
ผลการ ๑. ใหเ้ ทยี บโอนรายวชิ า หรอื กลุม่ วชิ า ซง่ึ มีเนื้อหาสาระการเรยี นรู้ และจุดประสงค์ครอบคลมุ
เรียน ไม่นอ้ ยกว่าสามในส่ีของรายวิชา หรือกลุ่มวิชาในสาขาวชิ าทน่ี กั ศึกษาผู้ขอเทียบโอน
ศึกษาอยู่
๒. รายวิชา/กลุ่มวชิ า ท่ีจะนามาเทียบโอนตอ้ งมีระดับคะแนนไม่ตา่ กว่า ค หรือ C
๓. รายวชิ าหรือกลุม่ วชิ า ที่เทียบโอนหน่วยกิตให้ เมื่อรวมกนั แลว้ ต้องมจี านวนหน่วยกติ ไม่เกนิ
สามในส่ีของจานวนหน่วยกติ ตลอดหลักสตู ร
๔. ในกรณีทมี่ หาวทิ ยาลัยเปิดหลกั สตู รใหม่ จะเทยี บโอนนักศึกษาได้ไมเ่ กินกวา่ ช้ันปีและภาค
การศกึ ษาทีไ่ ดร้ บั อนุญาตใหม้ นี ักศกึ ษาเรียนอยู่ตามหลกั สตู รทไ่ี ด้รบั ความเหน็ ชอบแล้ว ผขู้ อ
เทยี บโอนจะไมส่ ามารถจบกอ่ นนกั ศึกษารนุ่ แรกของหลักสตู รน้ัน
๕. ให้สถานศกึ ษาดาเนินการเทียบโอนผลการเรยี นภายใน ๒ สัปดาห์แรก ของภาคการศกึ ษา
แรกทข่ี ึน้ ทะเบียนเป็นนักศึกษา ทงั้ นี้เพอื่ ผู้ขอเทียบโอนจะไดร้ บั ทราบจานวนรายวิชาและ
จานวนหน่วยกิต ทจี่ ะตอ้ งศกึ ษาเพม่ิ เติมตามหลักสตู รได้อกี
๖. กรณเี หตุผลจาเปน็ ไมส่ ามารถดาเนนิ การเทยี บโอนผลการเรียน ภายในกาหนดเวลาตาม
วรรคหนึ่งให้อยู่ในดลุ พนิ ิจของหัวหนา้ สถานศกึ ษาจะพิจารณาใหข้ อเทยี บโอน แต่ตอ้ งไม่
เกนิ ภาคการศึกษาท่ี ๒ ในปกี ารศกึ ษานั้น
๗. ให้มีการบันทกึ ผลการเทียบโอน และการประเมินผลดงั นี้
๗.๑ รายวิชาหรือกลมุ่ วชิ าทีเ่ ทียบโอนให้ จะไม่นามาคดิ คา่ ระดับคะแนนเฉลย่ี
ประจาภาคและคา่ ระดบั คะแนนเฉลย่ี สะสม โดยให้บนั ทึก Transfer Credits ไวส้ ่วนบน
ของรายวิชาท่ีเทียบโอนใหใ้ นใบแสดงผลการเรยี น
๗.๒ รายวิชาหรอื กลุ่มวชิ าทเี่ ทยี บโอนให้ หากเป็นหลกั สตู รทม่ี อี งคก์ รวิชาชพี
ควบคุมตอ้ งใชผ้ ลการเรียนประกอบ ให้กาหนดระดบั คะแนนในรายวิชาหรือกลมุ่ วิชาที่
เทยี บโอน เพอื่ นามาคดิ คา่ ระดบั คะแนนเฉลี่ยประจาภาคและคา่ ระดบั คะแนนเฉลย่ี สะสม
โดยบันทกึ อกั ษร “TC” (Transfer Credits) ไวส้ ่วนทา้ ยรายวิชา หรอื กลมุ่ วชิ าท่เี ทียบโอน
ให้ในใบแสดงผลการเรยี น
(๒๔๒) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๒
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ท่ี เรือ่ ง กฎเกณฑท์ กี่ าหนด
๒๘ การเทยี บ หลักเกณฑ์การเทยี บโอนผลการเรยี น โดยการเทียบโอนความรู้และใหห้ นว่ ยกติ จาก
โอนผล การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย เข้าสกู่ ารศึกษาในระบบดังนี้
การเรียน ๑. วิธกี ารประเมินเพอ่ื การเทยี บโอนความรู้ กระทาโดยการทดสอบมาตรฐาน การทดสอบที่
จากการ
ศกึ ษานอก ไมใ่ ช่การทดสอบมาตรฐาน การประเมนิ การจดั การศึกษา / อบรมทจี่ ดั โดยหน่วยงานตา่ ง ๆ
และการประเมินแฟม้ สะสมงาน
ระบบ ๒. การเทยี บโอนความร้จู ะเทยี บเป็นรายวชิ า หรอื กลมุ่ วิชาตามหลักสตู รท่เี ปดิ สอนใน
และ
การศกึ ษา มหาวิทยาลยั โดยรายวิชาหรอื กลมุ่ วิชาทเ่ี ทยี บโอนให้ เมือ่ รวมกนั แล้วตอ้ งมีจานวนหนว่ ยกติ
ตามอธั ยาศยั ไม่เกนิ สามในสข่ี องจานวนหนว่ ยกติ ตลอดหลักสตู ร
เขา้ สู่ ๓. การขอเทียบโอนความรเู้ ปน็ รายวชิ าหรือกลมุ่ วิชา ทอ่ี ยู่ในสังกัดภาควชิ าหรือสาขาวิชาใด ให้
การศึกษา ภาควิชาหรือสาขาวชิ าน้ันเปน็ ผ้กู าหนดวธิ กี ารและการดาเนนิ การเทยี บโอนโดยการเทียบ
ในระบบ โอนความรนู้ ั้นตอ้ งไดร้ บั ผลการประเมินเทยี บไดไ้ มต่ า่ กวา่ ค หรอื C จึงจะให้นบั จานวน
หนว่ ยกิต รายวิชาหรือกลมุ่ วิชานนั้
๔. รายวิชาทเ่ี ทียบโอนให้ จะไมน่ ามาคดิ คา่ ระดับคะแนนเฉลยี่ ประจาภาค และคา่ ระดบั คะแนน
เฉลีย่ สะสม โดยบันทึก Prior Learning Credits ไวส้ ่วนบนของรายวชิ าที่เทียบโอนใหใ้ นใบ
แสดงผลการเรียนเว้นแตห่ ลักสตู รท่มี ีองคก์ รวชิ าชีพควบคมุ ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑแ์ ละ
ข้อกาหนดขององค์กรวิชาชพี นน้ั
๕. ในกรณมี ีเหตจุ าเป็น มหาวทิ ยาลยั มีเอกสิทธ์ิทีจ่ ะใหภ้ าควชิ าหรอื สาขาวชิ าทาการประเมิน
ความรู้ของผทู้ จ่ี ะขอเทียบโอนความรู้
๖. ให้มีการบนั ทึกผลการเรยี นตามวธิ กี ารประเมนิ ดงั นี้
๖.๑ หน่วยกติ ท่ไี ดจ้ ากการทดสอบมาตรฐาน ใหบ้ ันทึก “CS” (Credits from
Standardized Tests)
๖.๒ หน่วยกติ ทไ่ี ดจ้ ากการทดสอบทไ่ี มใ่ ช่การทดสอบมาตรฐาน ใหบ้ นั ทึก “CE” (Credits
from Examination)
๖.๓ หน่วยกติ ที่ไดจ้ ากการประเมนิ การจดั การศกึ ษา/อบรมท่ีจัด โดยหนว่ ยงานต่าง ๆ ให้
บันทกึ “CT” (Credits from Training)
๖.๔ หน่วยกิตท่ีไดจ้ ากการประเมินแฟ้มสะสมงาน ใหบ้ นั ทกึ “CP” (Credits from
Portfolio)
ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๒ (๒๔๓)
ที่ เรอ่ื ง มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
กฎเกณฑ์ทกี่ าหนด
๒๘ การเทียบ ๖.๕ การบันทึกผลการเทยี บโอนตามวิธกี ารประเมนิ ในข้อ ๖.๑ ถงึ ๖.๔ ให้ บนั ทกึ ไว้
โอนผล ส่วนท้ายของรายวิชา หรือกลมุ่ วชิ าที่ไดร้ ับการเทียบโอน เวน้ แต่หลกั สูตรท่ีมอี งค์กร
การเรยี น
วชิ าชีพควบคุม และต้องใชผ้ ลการเรยี นประกอบการขอใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพ ให้
จากการ
ศกึ ษานอก กาหนดระดบั คะแนนในรายวิชา หรือกล่มุ วชิ าเพื่อนามาคดิ คา่ ระดับคะแนนเฉลย่ี ประจา
ภาค และคา่ ระดับคะแนนเฉลยี่ สะสม โดยบันทกึ อกั ษร “PL” (Prior Learning) ไว้
ระบบ ส่วนท้ายรายวชิ าที่เทยี บโอนให้ในใบแสดงผลการเรียน
และ ๖.๖ ให้มหาวิทยาลยั จัดทาประกาศเก่ยี วกับแนวปฏบิ ตั ใิ นการดาเนนิ การเทียบโอนผลการ
การศกึ ษา เรยี นจากการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั เขา้ ส่กู ารศึกษาในระบบ
ตามอัธยาศัย ๖.๗ การเทียบโอนผลการเรยี นไม่ใช้บงั คบั กบั การจัดการศกึ ษาระดับปรญิ ญา ภาคสมทบ
เขา้ สู่
พเิ ศษ
การศกึ ษา
ในระบบ
(ต่อ)