The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา2561

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ASCAR.RMUTK, 2020-09-30 23:41:09

คู่มือนักศึกษา2561

คู่มือนักศึกษา2561

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

Rajamangala University of Technology Krungthep

คูม ือนักศึกษา
๒๕๖๑

คูม อื นี้ มีเจาของช่ือ..................................................................................................................
รหัสนักศึกษา..................................................................................................................................
สาขา............................................................................................................................................................
คณะ.............................................................................................................................................................
อาจารยทป่ี รกึ ษาช่อื .............................................................................................................



หนา

สารจากอธกิ ารบดี

ประวัตคิ วามเปนมาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ๑-๘

สัญลักษณ ๔

สปี ระจาํ มหาวทิ ยาลยั ๔

ตน ไมป ระจาํ มหาวทิ ยาลัย ๕

ผบู รหิ ารมหาวิทยาลยั ๖

วิสัยทศั น อตั ลักษณ และเอกลักษณ ๗

ที่ตง้ั และแผนท่ีการเดนิ ทาง ๘

หมายเลขโทรศพั ทต ดิ ตอ ผบู รหิ ารและหนว ยงานสนับสนุน ๙-๑๒

การใหบ รกิ ารจากสาํ นกั สง เสริมวชิ าการและงานทะเบยี น ๑๓-๑๖

ประเภทการบริการ ๑๔

ส่ิงที่นกั ศึกษาควรปฏบิ ตั ิ ๑๕

ระบบการจัดการศึกษา ๑๕

การลงทะเบยี น เรยี น ๑๕

บทลงโทษสาํ หรบั การปลอมแปลงเอกสาร ๑๖

การพน สภาพ ๑๖

การจัดการศกึ ษา ๑๗-๒๖

คณะ/สาขาวิชาทีเ่ ปด สอนในมหาวทิ ยาลัย ๑๘

ความหมายของเลขรหสั นกั ศึกษา ๒๒

เคร่ืองแบบนักศึกษา ๒๓

บทบาทของอาจารยท ่ีปรึกษา ๒๔

หมวดทว่ั ไป 2๗-๔๐

พระราชบญั ญัติ พระราชกฤษฎกี า ขอบงั คับ ระเบยี บ

ประกาศของมหาวิทยาลยั ท่เี กี่ยวของกับนกั ศึกษา

พระราชบัญญตั มิ หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ ๒๙

พระราชกฤษฎกี าวา ดว ยปรญิ ญาในสาขาวชิ า อักษรยอสาํ หรับสาขาวิชา ๓๓

ครุยวิทยฐานะ เขม็ วิทยฐานะ และครุยประจําตาํ แหนง ของมหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ พ.ศ. ๒๕๕๑

พระราชกฤษฎกี า วา ดว ยปริญญาในสาขาวิชา อักษรยอสาํ หรับสาขาวิชา ๓๘

ครุยวทิ ยฐานะ เขม็ วิทยฐานะ และครุยประจําตําแหนง ของมหาวทิ ยาลยั

เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๕

ระดบั ปรญิ ญาตรี ๔๑-๑๑๗

หมวดวาดว ยการจดั การศึกษา

ขอ บังคับฯ วาดวยการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๐ ๔๒

ระเบียบฯ วา ดว ยการแตงกายของนกั ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘ ๕๓

หนา

ระเบยี บฯ วา ดว ยวินัยนกั ศกึ ษาและผมู ารบั บรกิ ารทางวิชาการ ๕๖

จากมหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๗

ระเบียบฯ วา ดว ยการใชบ รกิ ารสํานักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๖๘

พ.ศ. ๒๕๕๙

ระเบยี บฯ วา ดว ยการสอบของนักศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๓๗ ๗๖

ประกาศฯ เร่ือง ขอ ปฏบิ ตั ใิ นการสอบของนกั ศึกษาระดบั ปริญญา ๗๙

พ.ศ. ๒๕๕๗

ประกาศฯ เร่อื ง ขอปฏิบัติของกรรมการกํากบั หองสอบ ในการสอบประจําภาค ๘๒

ของนกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญา พ.ศ. ๒๕๕๗

ระเบยี บฯ วา ดวยการเทยี บโอนผลการเรียน พ.ศ. ๒๕๕๐ ๘๔

ระเบยี บฯ วา ดวยการศกึ ษาลกั ษณะวิชาเพิ่มเติมสาํ หรับบณั ฑิต พ.ศ. ๒๕๓๗ ๘๘

ประกาศฯ เรื่อง เกณฑการวดั และประเมินผลการศึกษาระดบั ปริญญาตรี ๙๐

ประกาศฯ เร่อื ง เกณฑการวัดและประเมินผลการศกึ ษาระดับปริญญาตรี ๙๕

(ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๕๒

ประกาศฯ เร่ือง การลงทะเบียนเรยี นประจาํ ภาคฤดรู อน ๙๗

ประกาศฯ เรือ่ ง การลงทะเบียนเรยี นขา มภาคการศึกษา ๙๘

ประกาศฯ เร่อื ง การตรวจสอบผลการลงทะเบยี นและกลมุ เรยี น (Section) ๙๙

ประกาศฯ เรื่อง การลงทะเบียนของนักศกึ ษากลมุ สหกิจศกึ ษา นกั ศกึ ษาฝก งาน ๑๐๐

ในสถานประกอบการ หรือนักศึกษาฝก ประสบการณการสอนในสถานศึกษา

ประกาศฯ เรือ่ ง การขอกลับเขา ศกึ ษา และ คืนสภาพการเปน นกั ศึกษา ๑๐๑

ประกาศฯ เรอ่ื ง การลงทะเบยี นประจาํ ภาคการศึกษา ๑๐๒

ประกาศฯ เรื่อง เกณฑการลงทะเบยี นเรยี นซาํ้ หรือแทน ๑๐๓

และการนับหนว ยกิตรวมตลอดหลกั สตู ร พ.ศ. ๒๕๕๔

ประกาศฯ เรอื่ ง การยา ยคณะ หรือเปลย่ี นสาขาวชิ า พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑๐๕

ประกาศฯ เรือ่ ง หลักเกณฑก ารพจิ ารณาเทยี บรายวชิ าหรอื กลุม วิชา ๑๐๗

ประกาศฯ เร่ือง รูปถายที่ใชใ นการตดิ เอกสารทางการศกึ ษา ๑๐๘

ประกาศฯ เรือ่ ง การขอผอ นผนั เลอื่ นรับพระราชทานปริญญาบตั ร ๑๑๑

ระเบยี บฯ วาดวยการปฐมนเิ ทศและปจ ฉมิ นเิ ทศนกั ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๓๙ ๑๑๒

ประกาศฯ เรื่อง มาตรการในการจดั กจิ กรรมตอ นรับนองใหม ๑๑๕

และประชุมเชียรใ นมหาวิทยาลยั

ประกาศฯ เร่ือง บทลงโทษนกั ศึกษาท่ีกระทาํ ผิดตามประกาศมหาวทิ ยาลยั ๑๑๗

เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพเรอื่ งมาตรการในการจัดกิจกรรม

ตอ นรับนองใหมและประชุมเชยี รใ นมหาวทิ ยาลยั

หนา

หมวดการเงิน ๑๑๘-๑๓๐

ประกาศฯ เรือ่ ง การถอนคนื เงินคา บาํ รุงการศึกษา คาลงทะเบียน คาสนับสนนุ ๑๑๙

การจัดการศึกษา และคา ธรรมเนยี มการศกึ ษาในการจดั การศกึ ษา

ระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๙

ประกาศฯ เรอื่ ง อัตราการเก็บเงนิ คาบํารุงการศึกษา คา ลงทะเบยี น คาขน้ึ ทะเบียน ๑๒๑

นักศกึ ษา คาธรรมเนียมการศกึ ษาและคาใชจา ยอ่ืน ในการจดั การศกึ ษา

ระดบั ปริญญาตรี หลกั สูตรนานาชาติ พ.ศ. ๒๕๕๗

ประกาศฯ เรือ่ ง อัตราการเกบ็ เงนิ คา บาํ รงุ การศึกษา และคา ลงทะเบยี น คา สนับสนุน ๑๒๓

การจดั การศึกษา และคาธรรมเนยี มการศกึ ษาในการจดั การศึกษาระดบั

ปรญิ ญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘

ประกาศฯ เรอ่ื ง อตั ราการเกบ็ เงนิ คา ธรรมเนียมการศกึ ษาแรกเขาในการจดั การศึกษา ๑๒๗

ระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๙

ระเบียบฯ วา ดวย การเกบ็ เงินและใชจายเงนิ บาํ รงุ หองพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑๒๙

หมวดวา ดวยการบรกิ ารและสวัสดกิ ารนกั ศึกษา ๑๓๑-๑๔๐

ทุนการศึกษา ๑๓๒

งานแนะแนวการศึกษาและอาชพี ๑๓๕

งานประกนั อุบตั เิ หตุ ๑๓๕

งานสุขภาพอนามยั ๑๓๖

งานวิชาทหาร ๑๓๗

องคการนกั ศกึ ษา ๑๓๙

งานเสรมิ สรา งการเรียนรแู ละประสบการณชุมชน ๑๔๐

หมวดวาดวยการศกึ ษาและการเงนิ ระดับบณั ฑิตศกึ ษา ๑๔๑-๑๘ħ

ขอบงั คับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ ๑๔๒

วา ดว ยการศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศกึ ษาพ.ศ. ๒๕๖๐

ประกาศมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ ๑๘๐

เรือ่ ง อตั ราการเกบ็ คาเลาเรยี นแบบเหมาจา ย และคา ธรรมเนียมการศึกษา

ในการจดั การศึกษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘

ประกาศมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ ๑๘๓

เรื่อง อตั ราการเก็บคา เลา เรียนแบบเหมาจาย และคา ธรรมเนียมการศึกษา

ในการจัดการศกึ ษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา คณะอุตสาหกรรมสง่ิ ทอ ภาคสมทบ

พ.ศ. ๒๕๖๑

ประกาศมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ ๑๘๕

เร่อื ง อัตราการเก็บคา เลา เรียนแบบเหมาจา ย และคา ธรรมเนยี มการศึกษา

ในการจัดการศกึ ษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา คณะวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

ภาคสมทบ พ.ศ. ๒๕๖๑

ขอ ปฏิบัตเิ ก่ยี วกับการเรียนการสอน ๑๘๗-๑๙๙
สาระนา รู ๒๐๐-๒๐๖
คา นิยมหลกั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ (UTK)
การคํานวณระดบั คะแนนเฉล่ียสะสม ๒๐๑
๒๐๔

ขอตอ นรบั นักศึกษาใหมป ระจาํ ปการศึกษา 2561 ทุกคนสูรั้วมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ ในนามของคณะผูบริหาร คณาจารย และเจาหนาท่ีของมหาวิทยาลัย มี
ความยินดียิ่งท่ีไดเห็นนักศึกษากาวเขามาเปนสวนหนึ่งของมหาวิทยาลัย หวังเปนอยางย่ิงวา
นักศึกษาของราชมงคลกรุงเทพจะสามารถเกบ็ เกย่ี วความรู ประสบการณที่ดีผานกระบวนการ
เรยี นรอู ยางสรางสรรค และการเรยี นการสอนแบบบูรณาการ

ในโลกยุค 4.0 น้ี เปนที่ทราบดีวาเทคโนโลยีมีสวนในการนําพาองคกรตางๆ ไปสู
ความสําเร็จไดโดยรวดเร็วย่ิงข้ึน มหาวิทยาลัยตระหนักดีวาการเตรียมความพรอมใหกับ
นักศึกษาเปนส่งิ สําคญั เชนกนั จึงใหองคกรภาคเอกชนเขามาดําเนินการจัดการทดสอบเพื่อให
ไดมาตรฐานสากลท่ัวไป ตัวอยางเชน สถาบัน TOEIC (Test of English for International
Communication) จัดการทดสอบภาษาอังกฤษเพื่อวัดระดับความรูหรือทักษะการใช
ภาษาอังกฤษในชวี ิตประจําวนั สําหรับผทู ี่ไมไดใ ชภาษาอังกฤษเปน ภาษาแม และสถาบัน ICDL
(The International Computer Driving License) จัดการทดสอบทกั ษะความรูพื้นฐานการ
ใชคอมพิวเตอร การส่อื สารทางอนิ เทอรเนต็ และอ่ืนๆ ท่ีจําเปน ซึง่ นักศึกษาสามารถตรวจสอบ
ความพรอมของตนเองจากผลการทดสอบของสองสถาบันนี้ได โดยมหาวิทยาลัยจะสนับสนุน
ดานการจัดอบรมเพื่อเสริมทักษะที่ขาดใหกับนักศึกษา เชื่อเปนอยางยิ่งวา หากนักศึกษามี
ความมงุ มัน่ และใสใจตนเอง จะทําใหนกั ศกึ ษามีแตม ตอ ในการโลกแหง การทาํ งาน

สุดทายนี้ มหาวิทยาลัยขอเปนแรงกําลังใจ ผลักดันใหนักศึกษากาวสูความสําเร็จ
และความภาคภูมใิ จดัง่ ท่ีผูปกครองไดใหความไววางใจใหนักศึกษาเขามาศึกษาในสถาบันแหง
น้ี และขออํานวยพรใหนักศึกษาใหมทุกคน ประสบความสําเร็จในการเรียนรู และมีความสุข
กับการเรียนและกจิ กรรมตางๆ ทมี่ หาวทิ ยาลยั ไดจัดเตรียมเพ่อื นักศกึ ษาทกุ คน

ดวยความปรารถนาดี

สุกจิ นติ ินัย

(ดร.สกุ จิ นติ ินยั )

อธกิ ารบดีมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ



คูมอื นกั ศึกษา ๒๕๖๑ ((๑๓))

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

¾ ประวตั คิ วามเปนมา
¾ สญั ลกั ษณ สี และตน ไมประจํามหาวทิ ยาลยั
¾ ผูบริหารมหาวทิ ยาลยั
¾ วสิ ัยทศั น อตั ลกั ษณแ ละเอกลกั ษณ
¾ ท่ตี ั้งและแผนท่ีการเดนิ ทาง
¾ หมายเลขโทรศัพท

((๒๒)) คูม อื นักศกึ ษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ท ค โ น โ ล ยี ร า ชม ง ค ล กรุ ง เ ท พ
เปนสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘ เมื่อวันท่ี ๑๙
มกราคม ๒๕๔๘ เปนการรวมตัวของ ๓ วิทยาเขต คือ
วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ วิทยาเขตบพิตรพิมุขมหาเมฆ
และวิทยาเขตพระนครใต ภายใตชื่อมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ จัดการเรียนการสอนใน
ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า ห ลั ก สู ต ร ป ริ ญ ญ า ต รี แ ล ะ ป ริ ญ ญ า โ ท
หลากหลายสาขาวิชา ยึดม่นั ในอดุ มการณแ ละปรชั ญา การ
จัดการศึกษาเพ่ือผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ตอบสนองความ
ตองการของสังคม โดยเช่ือม่ันวาเทคโนโลยีและ
อาชีวศึกษาเปนกระบวนการศึกษาที่จําเปนในการ
เสริมสรางมาตรฐานคุณภาพ เพ่ือเปนกําลังสําคัญในการ
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทย

พื้นที่การศกึ ษาทง้ั ๓ แหง ไดแก
x เทคนิคกรุงเทพฯ
ต้ังอยูที่เลขท่ี ๒ ถนนนางลิ้นจ่ี แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐ กอต้ังข้ึน

เมือ่ วนั ที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๔๙๕ บนเนอ้ื ท่ี ๑๔๕ ไร ๑ งาน ๖๒ ตารางวา เร่ิมตน จากวิทยาลัยเทคนิค
กรุงเทพฯ ในรัฐบาลสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดรับการสนับสนุนจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาเปน
สถานศึกษาดานเทคนิคแหงแรกของประเทศไทย เริ่มการเรียนการสอนดานชางอิเล็กทรอนิกส

คูมือนักศึกษา ๒๕๖๑ ((๓๓))

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ชางไฟฟา ชางยนต ชางกอสราง เลขานุการ การบัญชี คหกรรมศาสตร จากวิทยาลัยเทคโนโลยี
และอาชีวศึกษา วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ มาเปนสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทคนิค
กรุงเทพฯ ปจจุบันเปนท่ีตั้งของสํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ และ
เปนสถานที่จัดการเรียนการสอนของคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม
คณะวศิ วกรรมศาสตร คณะบรหิ ารธุรกิจ วิทยาลัยนานาชาติ และคณะอตุ สาหกรรมส่ิงทอ

x บพิตรพมิ ขุ มหาเมฆ
ต้ังอยูเลขท่ี ๘๗๘ ถนนอาคารสงเคราะห แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐

เปนวิทยาเขตทแ่ี ยกการบริหารจัดการมาจากวิทยาเขตบพิตรพิมุขจักรวรรดิ เมื่อป พ.ศ. ๒๕๒๖ โดย
คณะรัฐมนตรีมีมติใหใชที่ดินราชพัสดุ แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ บนเนื้อท่ี ๑๘ ไร ๑ งาน
๙๘ ตารางวา และอนุมัติงบประมาณแผนดินจํานวน ๑๐ ลานบาท เมื่อป พ.ศ. ๒๕๑๙ ใหสรางอาคาร
เรียนจาํ นวน ๑ หลงั เพือ่ จดั การเรยี นการสอนระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี แผนกวิชาธรุ กิจ สาขาวิชา
การเลขานุการและการบัญชี และแผนกธุรกิจ สาขาวิชาภาษาตางประเทศ (ภาษาจีน ภาษาญี่ปุน
ภาษาองั กฤษ) โดยเริ่มเปดเรียนเมื่อ วันจันทรที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๒๑ จัดการเรียนการสอนในระดับ
ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ช้ันสูง (พ.ศ. ๒๕๒๗) และระดบั ปริญญาตรี (พ.ศ. ๒๕๓๖) ปจจุบันเปนสถานที่
จัดการเรยี นการสอนของ คณะบริหารธรุ กจิ

x พระนครใต
ต้ังอยูเลขที่ ๑๔๙ ถนนเจริญกรุง เขตสาทร กรุงเทพฯ วิทยาเขตพระนครใตกอต้ังข้ึน

ภายใตช่ือ โรงเรียนการชางสตรี เปนแหงแรกของประเทศไทย เม่ือวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๔๖๕ และ
พัฒนามาเปน โรงเรียนสตรีบา นทวาย วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาพระนครใต และเปนวิทยาลัยเทคโนโลยีและ
อาชีวศึกษาวิทยาเขตพระนครใต โดยเปดสอนระดับ ปวช. ปวส. และประกาศนียบัตรประโยคครู
มัธยม (ป.ม.) ตอมาเปดสอนระดับปริญญาตรี สายวิชาคหกรรมศาสตร สายวิชาศิลปกรรม สายวิชา
บรหิ ารธรุ กจิ ภายใตชอ่ื สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพระนครใต ปจจุบันเปนสถานท่ีจัดการ
เรียนการสอนของคณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร

((๒๔)) คูมอื นกั ศึกษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ตราสัญลกั ษณมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
เปน ตรารปู วงกลม มดี อกบวั ๘ กลีบลอ มรอบ หมายถึง ทางแหง ความสําเรจ็ มรรค ๘ และความ

สดช่ืนเบิกบาน ที่กอใหเกิดปญญาแผขจรไปท่ัวสารทิศ ภายในดอกบัวเปนตราพระลัญจกรบรรจุอยู
อันเปนสัญลักษณ และเคร่ืองหมายประจําองคพระมหากษัตริย รัชกาลที่ ๙ บนตรารูปวงกลมมีพระ
มหาพิชัยมงกุฎครอบ และมีเลข ๙ บรรจุอยู หมายถึง รัชกาลท่ี ๙ ดานลางของตรารูปวงกลมทําเปน
กรอบโคงรองรับ มีชื่อมหาวิทยาลัยบรรจุอยูภายในวา “มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ”
คั่นปด หัวทายของกรอบดว ยลายดอกไมท พิ ยป ระจาํ ยามทั้งสองขาง
สปี ระจํามหาวทิ ยาลยั “สีเขียว”

ที่มาและความหมาย สีเขียวเปนสีวรรณะเย็น ท่ีแสดงถึงความเจริญงอกงาม ความสดช่ืน
แจมใส เปนสัญลักษณแหงความสงบรมเย็น ซึ่งหมายถึง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เปนแหลงเรียนรูที่มุงสรางบัณฑิตใหมีความเจริญงอกงามในทุกดาน ท้ังรางกาย สติปญญา อารมณ
และสังคม และพรอ มจะเปนสถานศึกษาท่ีเปนบานอันรมเย็นใหนักศึกษาไดพักพิง เรียนรู และใชชีวิต
อยูอยา งมีความสขุ

คูมอื นักศกึ ษา ๒๕๖๑ ((๕๓))

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ตน ไมป ระจํามหาวทิ ยาลยั “ตน สาธร”

สาธร เปน ไมยนื ตนหายากพันธุหน่งึ ท่ีมีชื่อพองกับสถานที่ต้ัง
ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ที่ต้ังอยูบนพื้นที่
เขตสาทร กรงุ เทพมหานคร ตน สาธรเปนไมที่มีเน้ือไมและแกนที่มี
ลักษณะสวยงามดอกมีสีขาวรวมกันเปนชอ เรือนยอดเปนพุมทึบ
ใบออนและยอดออน มขี นยาวออ นนิ่มคลายเสน ไหมปกคลมุ อยู

เปนลักษณะของพันธุไมที่มีความเขมแข็งและออนโยนอยูในตัว ลักษณะของตนสาธรน้ีเหมือนเปน
สัญลักษณแสดงวา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพเปนแหลงเรียนรูท่ีมีความยืนยง ม่ันคง
มีความเขมแข็งทางวิชาการ แตขณะเดียวกันมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ก็มิไดละท้ิง
การทาํ นุบาํ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรมอนั ดงี ามของชาติ และพรอ มจะเปนรมเงาที่ยืนยงเปนที่พึ่งดานวิชาการแก
สงั คมตลอดไป

((๒๖)) คูมือนักศกึ ษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

คมู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๑ ((๗๓))

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

((๒๘)) คมู ือนักศึกษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

การเดินทางโดยรถสาธารณะ
x รถประจําทางและรถปรบั อากาศ สาย ๖๒, ๖๗, ๘๙ (ถนนนางลน้ิ จ)ี่
x รถใตดนิ MRT ลงที่สถานีลมุ พนิ ี ตอ รถประจําทางและรถปรบั อากาศ สาย ๖๒, ๖๗
x รถไฟฟา BTS

- ลงทส่ี ถานศี าลาแดง ตอ รถประจําทาง สาย ๖๗ หนาโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ
- ลงทสี่ ถานชี อ งนนทรี ตอ รถประจาํ ทาง BRT หรือ ลงท่ีสถานีสรุ ศักด ตอ รถประจําทาง
สาย ๗๗ (ถนนนราธวิ าสราชนครินทร)
x รถประจาํ ทาง BRT ลงทสี่ ถานนีเทคนิคกรุงเทพฯ (ถนนนราธวิ าสราชนครนิ ทร)

คมู อื นักศึกษา ๒๕๖๑ ((๙๓))

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

หมายเลขโทรศัพท

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
เลขท่ี ๒ ถนนนางลิน้ จ่ี แขวงทงุ มหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐

โทรศัพท ๐-๒๒๘๗-๙๖๐๐ โทรสาร ๐-๒๒๘๖-๓๕๙๖

หนว ยงาน หมายเลขตดิ ตอ
อธิการบดี
0 228๗ ๙๖๐๐ ตอ ๒๒๘๙
ดร.สุกจิ นติ ินัย 0 2287 9600 ตอ 2120, 2121
เลขานกุ าร 0 2286 4159

รองอธกิ ารบดี 0 2287 9600 ตอ ๗12๘,
ผศ.อาภรณ บางเจริญพรพงค 0 2286 8271
0 2287 96๔๑
ดร.หทัยกร พันธุงาม 0 2287 96๐๐ ตอ ๗๑๐๔
ผศ.สวสั ดิ์ ศรีเมืองธน 0 2287 9600 ตอ 110๖, 1107
นางสาวสุรีรตั น โงววฒั นา 0 2287 9659

ผูชวยอธิการบดี 0 2287 9600 ตอ 710๒
ดร.ปรารถนา ศรสี ุข 0 2287 9600 ตอ 7๖๐๙
นายพิษณวุ ัตร สุจวพิ นั ธ
0 2287 9741
กองกลาง 0 2287 9600 ตอ 2118
ผอู าํ นวยการกองกลาง (นายชนินทร สุวพรหม) 0 2286 3596
สนง.กองกลาง 0 2287 9600 ตอ ๒๑๐๕, ๗๐๐๕
โทรสาร 0 2287 9600 ตอ 7077
ศูนยประชาสัมพนั ธ 0 2287 9600 ตอ ๗๕๔๙
งานอาคารสถานที่ 0 2287 9600 ตอ ๗๑๒๕
งานรักษาความปลอดภยั
ยานพาหนะ

((๑๒๐)) คูมือนักศกึ ษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

หนวยงาน หมายเลขติดตอ
กองบริหารงานบคุ คล
0 2287 968๖
ผูอ าํ นวยการ (นางสดุ ารตั น ผดุง) 0 2287 9600 ตอ 2116, 2117, ๗๑๒๑
สนง.กองบรหิ ารงานบคุ คล 0 2287 9687
โทรสาร
กองคลัง 0 2287 ๗๕๕๐
ผอู าํ นวยการ (นางพรศรี โรจนเ มฆี) 0 2287 ๗๓๓๙
สนง.กองคลัง 0 2287 9692
โทรสาร
กองนโยบายและแผน 0 2287 9691
ผอู าํ นวยการ (ผศ.ดร.วไิ ลพร เลศิ มหาเกยี รต)ิ 0 2287 9600 ตอ 2148, 2149,
สนง.กองนโยบายและแผน 7119, 7120
0 2287 9627
โทรสาร
กองพฒั นานกั ศึกษา 0 2287 9600 ตอ ๗๖๐๕

ผูอ าํ นวยการ (นายบญุ สม ครึกครนื ) 0 2287 9600 ตอ ๗๖๐๑
0 2287 9600 ตอ ๗๖๒๖
สนง.กองพัฒนานกั ศกึ ษา 0 2287 9600 ตอ ๗๖๑๗, ๗๖๑๘,
โทรสาร 7619
งานกองทุนกูย มื เพือ่ การศกึ ษา 0 2287 9600 ตอ ๗๖๒๒
0 2287 9600 ตอ ๗๖๑๕, ๗๖๒๓,
งานวชิ าทหาร 7624
งานพยาบาล 0 2287 9600 ตอ ๗๖๐๓, ๗๖๐๔

งานกิจกรรมนักศึกษา 0 2287 9600 ตอ 7070, 7071
สาํ นักงานสหกจิ ศกึ ษา
0 2287 9๗๑๑
อาคารเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษา R ๒๐๒ 0 2287 9625
สํานกั สงเสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น 0 2287 9600 ตอ 2123, 2124
0 2287 9๖๕๔
ผูอํานวยการ (นางสมคดิ รักษาทรพั ย)
สนง.สาํ นักสงเสริมวชิ าการและงานทะเบยี น
กลมุ งานบริการ
โทรสาร

หนวยงาน คมู อื นักศึกษา ๒๕๖๑ ((๑๓๑))

สํานักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
ผอู ํานวยการ (ดร.ธวัชชัย สารวงษ)
สาํ นกั งานสาํ นักวทิ ยบริการ หมายเลขติดตอ

งานพัฒนาระบบสารสนเทศ 0 2287 9600 ตอ 7001
หอสมุดกลาง 0 2287 9600 ตอ 7034, 70๓๕,
เทคโนโลยกี ารศกึ ษา 70๓๖
สถาบันวจิ ยั และพฒั นา 0 2287 9600 ตอ 7004, 70๔๖
ผูอาํ นวยการ (ผศ.สายชล ชุดเจอื จีน) 0 2287 9600 ตอ 7013, 7042
สนง. สถาบันวจิ ัยและพัฒนา 0 2287 9600 ตอ 7067
โทรสาร
คณะศลิ ปศาสตร 0 2287 9600 ตอ 7016
คณบดี (ผศ.ศริ ิอนงค แสงศร)ี 0 2287 9600 ตอ 1177
สนง. คณะศลิ ปศาสตร ๐ ๒๒๘๗ ๙๖๘๔

(ฝง เทคนิคกรุงเทพ/ฝง บพติ ร) 0 2287 9600 ตอ ๗๓07
โทรสาร 0 2287 9600 ตอ ๗๓๐๘, ๗๓๑๓,
คณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 7315
คณบดี (ผศ.อนรุ ักษ นวพรไพศาล) 0 2287 9600 ตอ ๗๓๑3, 2282
สนง. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 0 2287 9600 ตอ ๒๑๓๒
โทรสาร
คณะครุศาสตรอ ตุ สาหกรรม 0 2287 9600 ตอ 7555, 7556
คณบดี (นายสมพร ปยะพันธ) 0 2287 9600 ตอ 7555, 7556
สนง. ครุศาสตรอ ุตสาหกรรม 0 2287 9681

คณะวิศวกรรมศาสตร 0 2287 9600 ตอ 7059
คณบดี (ผศ.พชิ ัย จันทรม ณี) ๐ 2287 9600 ตอ 7056, 7058
สนง. คณะวิศวกรรมศาสตร
โทรสาร 0 2287 9600 ตอ ๗๐๗๓
0 2287 9600 ตอ ๗๐๗๒
0 2287 9733

((๑๒๒)) คูมือนกั ศึกษา ๒๕๖๑ หมายเลขติดตอ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ 0 2287 9600 ตอ 7027
0 2287 9600 ตอ 7331
หนว ยงาน 0 2286 8962

คณะบริหารธรุ กจิ ๐ ๒๒๘๗ ๙๖๐๐ ตอ ๗๒๑๑
คณบดี (ผศ.ดร.กิง่ แกว เอีย่ มแฉลม ) 0 2287 9600 ตอ 7204, 7207
สนง. คณะบรหิ ารธรุ กิจ 0 2211 2040
โทรสาร
0 2287 9600 ตอ 1252
คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร 0 2287 9600 ตอ 7341, 7342
คณบดี (ผศ.ดร.ดวงฤทยั ธํารงโชติ) 0 2287 9600 ตอ ๑๒๕๔
สนง. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร
โทรสาร 0 2287 9600 ตอ 2288
0 2287 9600 ตอ 7102, 9730
คณะอตุ สาหกรรมสง่ิ ทอ 0 2287 9600 ตอ 7332
คณบดี (ผศ.เขมชาติ สรุ กุล)
สนง. คณะอตุ สาหกรรมสงิ่ ทอ
โทรสาร

วทิ ยาลัยนานาชาติ
ผูอาํ นวยการ (ดร.หทัยกร พนั ธงุ าม)
สนง. วิทยาลยั นานาชาติ (เทคนิคกรงุ เทพ)
สนง. วิทยาลยั นานาชาติ (บพติ รฯ)

คมู อื นักศึกษา ๒๕๖๑ ((๑๓๓))

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

¾ ประเภทการใหบ ริการ
¾ ส่ิงทนี่ ักศกึ ษาควรปฏบิ ัติ
¾ ระบบการจัดการศกึ ษา
¾ การลงทะเบยี นเรียน
¾ บทลงโทษสาํ หรบั การปลอมแปลงเอกสาร
¾ การพนสภาพ

((๑๒๔)) คมู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

สถานท่ที ําการ อาคาร ๓๖ ชัน้ ๑ ปกซาย
เวลาทาํ การ วนั จนั ทร – วันศุกร เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๘.๓๐ น. (เวน วนั หยุดราชการ)
หนาทโ่ี ดยสังเขป สนับสนุนงานทีเ่ กยี่ วขอ งกบั การเรยี นการสอน ปฏิบตั ติ ามระเบยี บ ขอ บงั คับ
และประกาศของมหาวิทยาลัยฯ
ประเภทการบริการ บริการนักศึกษาปจจุบัน นักศึกษาที่สําเร็จการศึกษา ศิษยเกา ประชาชนท่ัวไป
ทงั้ หนวยงานภายในและภายนอก โดยแบง ออกเปน ๓ ชองทาง

๑. บริการผา นระบบเครอื ขาย
- การลงทะเบียน การลงทะเบียนเพิ่ม-ถอน
- การตรวจสอบผลการลงทะเบยี น
- การตรวจสอบโครงสรา งหลกั สตู ร
- การตรวจสอบตารางสอน – ตารางสอบ การใชหองเรยี น / หองสอบ
- การตรวจสอบผลการศกึ ษาประจาํ ภาค
- การตรวจสอบสถานภาพการเปน นกั ศกึ ษา
- ภาระคา ใชจา ย
- การตรวจสอบคางสงหนงั สอื หอ งสมดุ
- การตรวจสอบการลงทะเบียนครบหลกั สตู ร

๒. บริการหนา เคานเ ตอร ใหบ ริการรบั คํารอ ง
- รบั คํารองตา ง ๆ โดย นกั ศึกษาสามารถ Print ใบคํารองไดจ าก www.ascar.rmutk.ac.th
- การออกหนงั สือรับรองการเปนนักศึกษา และใบรายงานผลการศกึ ษา (Transcript )
- ทําบัตรนักศึกษาใหม กรณีเปลยี่ นชอื่ -สกลุ หรือบัตรสูญหาย
- การลงทะเบียน ลงทะเบยี นเพ่มิ /ถอน ลงทะเบียนลา ชา ลงทะเบียนขา มสถานศกึ ษา

๓. บรกิ ารขอ มูลและขา วสารงานทะเบยี น เชน ปฏทิ นิ การศกึ ษา ประกาศตา ง ๆ ผา น
www.ascar.rmutk.ac.th

วธิ ีการติดตอ การตดิ ตอ สาํ นักสง เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น ใหป ฏบิ ตั ดิ ังน้ี
๑. นักศึกษาปจจุบันตองแสดงบัตรประจําตัวนักศึกษา ผูเคยศึกษาแสดงบัตรประจําตัว

ประชาชน หรอื บตั รขาราชการ หรือใบอนญุ าตขับขร่ี ถยนต
๒. แตงกายสภุ าพ
๓. แจงเรื่องท่จี ะตดิ ตอและขอมูลสว นตวั เชน ช่อื -สกุล คณะ/สาขาวิชา รอบ ปท ี่เขา ศกึ ษา

และปท ีส่ ําเร็จการศึกษา เปน ตน

คมู ือนักศึกษา ๒๕๖๑ ((๑๓๕))

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

๔. กรณนี ักศกึ ษาตอ งการเอกสารทางการศึกษาที่ตองติดรูปถาย ใหเตรียมรูปถายขนาด ๑ นิ้ว
มาดว ย เมื่อรับเอกสารแลว นักศึกษาตองตรวจสอบความถูกตองทุกคร้ัง กรณีถาพบเอกสารไมถูกตอง
ใหร บี แจงเพ่อื ดําเนินการแกไข

สง่ิ ท่ีนกั ศึกษาควรปฏิบัติ มีดังนี้
๑. อานคมู อื นกั ศกึ ษานใี้ หเขา ใจ และเก็บรักษาไวอยา งนอ ยตลอดระยะเวลาที่ศกึ ษา
๒. ระเบียบ ขอ บังคบั และประกาศของมหาวทิ ยาลยั นกั ศกึ ษาทกุ คนตองทราบเปนอยางดีเพื่อ

ใชเ ปน แนวทางปฏบิ ตั ไิ ดอยา งถกู ตอง
๓. ตดิ ตามขา วสาร ประกาศตา ง ๆ และดําเนนิ การใหตรงตอ เวลา
๔. รับเอกสารใด ๆ ตองอาน ทําความเขาใจและปฏิบัตติ ามโดยเครงครัด

ระบบการจัดการศกึ ษา
การจัดการศึกษาภายในมหาวิทยาลัยใชระบบทวิภาค โดยใน ๑ ปการศึกษา แบงเปน ๒ ภาค

การศึกษาปกติ ซึ่งภาคการศึกษาท่ี ๑ เริ่มเดือนมิถุนายน เปนตนไป รวม ๑๕ สัปดาห และภาค
การศึกษาที่ ๒ เร่มิ เดือนพฤศจิกายน เปน ตน ไป รวม ๑๕ สปั ดาห

ทั้งน้ี มหาวิทยาลัยอาจเปดภาคการศึกษาฤดูรอน เปนภาคการศึกษาท่ีไมบังคับ ใชระยะเวลา
ศกึ ษา ๗ สปั ดาห โดยใหเพิม่ ช่ัวโมงการศึกษาในแตละรายวชิ าใหเ ทากบั ภาคการศึกษาปกติ

การลงทะเบียนเรยี น
นักศกึ ษาท่ีจะลงทะเบยี นเรียน ควรศกึ ษาและปฏิบัติ ดังน้ี
๑. กอนลงทะเบียนประจําภาค นกั ศกึ ษาตองพบอาจารยที่ปรึกษากรณีที่มีปญหาเก่ียวกับ ผล

การศกึ ษา เพ่อื ทาํ การลงทะเบียนใหถ ูกตอง
๒. นกั ศกึ ษาควรศกึ ษาหลกั สตู ร แผนการเรยี นในหลักสูตร และแผนการเรียนประจําภาค ให

เขา ใจ โดยพจิ ารณาดงั น้ี
๒.๑ ตอ งสอบผา นรายวิชาบงั คบั กอน (PREREQUISITE) ทก่ี าํ หนดไวในหลักสูตร
๒.๒ นักศึกษาที่มสี ถานภาพรอพินจิ จะลงทะเบยี นเรยี นไดต อ งอยใู นดลุ พนิ จิ ของอาจารย

ทป่ี รกึ ษา
๓. นักศึกษาลงทะเบียนผานเครือขายอินเตอรเน็ต โดยนักศึกษาสามารถศึกษาวิธีการ

ลงทะ เบี ยนไ ดจ าก คูมือ วิธี ก ารลง ท ะเบียนออนไลน สําหรั บ นัก ศึก ษา (โ ดย เขาไ ป ที่
www.ascar.rmutk.ac.th หนาหลกั คลกิ เลอื กระบบงานทะเบยี น คลกิ เลือกคูมือ) โดยนักศึกษาตองทํา
ความเขา ใจคูมืออยา งละเอียด และถือปฏิบตั ติ ามคาํ แนะนําในคูมืออยางเครง ครัด ในกรณีท่มี ขี อสงสัยให
ขอคําปรึกษาจากอาจารยท่ีปรึกษา สถานท่ีท่ีนักศึกษาสามารถขอใชคอมพิวเตอรในการลงทะเบียนได
คือ สํานักสง เสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น (สวท.) สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ (สวส.)
และสาํ นักงานคณะ (ทีน่ ักศึกษาศึกษาอยู)

((๑๒๖)) คูม ือนกั ศึกษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

การยืนยนั การลงทะเบียน
เม่ือนักศึกษาตรวจสอบรายวิชาและมน่ั ใจในการเลอื กรายวชิ าที่ตอ งการลงทะเบียนแลว ใหทํา

การยืนยันการลงทะเบียนทุกครั้ง ระบบจะแสดงขอความการยืนยันการลงทะเบียนพรอมท้ังแสดง
ยอดเงนิ สุทธคิ าลงทะเบียนที่ตองชําระท้ังหมด โดยนักศึกษาสามารถพิมพ ใบแจงยอดชําระเงิน (Pay
in) เพอ่ื ไปชําระเงินที่ธนาคารภายในวันที่กําหนด และตรวจสอบผลการลงทะเบียนผานเครือขาย ซ่ึง
จะแสดงรหัสวชิ า รายชอ่ื วิชา และจํานวนหนวยกิต

บทลงโทษสําหรบั การปลอมแปลงเอกสาร
หามนกั ศึกษาเปลย่ี นแปลงขอ มลู ใด ๆ ในเอกสารตา ง ๆ เชน แบบฟอรม คํารอง ใบผลการเรียน

(Transcript) ทีด่ ําเนนิ การแลวเสร็จ (มกี ารลงนามในเอกสารครบถว นแลว ) โดยเดด็ ขาด และการปลอม
แปลงเอกสาร และการลงนามนบั เปน คดีอาญา

การพน สภาพ
การพน สภาพการเปนนักศกึ ษา เนอื่ งจากผลการศึกษาประจาํ ภาค พจิ ารณาจากหนว ยกิตที่

ลงทะเบียนรวมท้งั หมด แสดงดงั ตาราง

การลงทะเบียนเรยี น คา ระดับคะแนนเฉลยี่ สะสม หมายเหตุ
พน สภาพการเปนนกั ศึกษา
หนวยกิตรวม

๓๐ - ๕๙ ตาํ่ กวา ๑.๕๐
ตั้งแต ๖๐ ขนึ้ ไป ตาํ่ กวา ๑.๗๕
เรยี นครบหลกั สตู ร ตา่ํ กวา ๒.๐๐

เรยี นครบหลักสูตร ระหวาง ๑.๙๐ – ๑.๙๙

ตองลงทะเบียนเรียนซ้ํารายวิชาท่ีได
ระดับคะแนนต่ํากวา ก (A) เพ่ือปรับ
คาเฉลี่ยสะสมใหถึง ๒.๐๐ (จบหลักสูตร)
ภายในระยะเวลา ๓ ภาคการศึกษา
รวมภาคการศึกษาฤดูรอน แตไมเกิน
ระยะเวลา ๒ เทาของแผนการเรียนตาม
หลกั สูตร (ขอ ๒๒.๒)

คูมอื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๑ ((๑๓๗))

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

¾ คณะ / สาขาท่ีเปดสอนในมหาวทิ ยาลัย
¾ ความหมายของเลขรหสั นักศึกษา
¾ เคร่ืองแบบนกั ศกึ ษา
¾ บทบาทของอาจารยทป่ี รกึ ษา

((๑๒๘)) คมู ือนกั ศกึ ษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

การจัดการเรยี นการสอนในคณะ/สาขาวิชาท่เี ปดรบั

ปก ารศึกษา ๒๕๖๑

ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท

คณะ/สาขาวิชา เทียบ ชอ่ื ยอ ปริญญา
โอน ภาค
๔ ป ๕ ป รายวิชา ภาค
- ศศ.บ. (การทอ งเทย่ี ว)
๑. คณะศิลปศาสตร - ศศ.บ. (การโรงแรม)

การทองเท่ยี ว 9- - ปกติ - ศศ.บ. (ภาษาองั กฤษเพือ่ การสอ่ื สารสากล)
- ศศ.บ. (ภาษาญ่ีปุน)
การโรงแรม 9- - ปกติ - ศศ.บ. (ภาษาจีนเพ่อื การสื่อสาร)
9- - ปกติ
ภาษาองั กฤษเพอื่ การส่อื สาร - ศศ.บ. (การพัฒนาผลิตภัณฑภ มู ิปญญาไทย)
สากล
สมทบ วท.ม. (วิทยาศาสตรการวิเคราะห)
ภาษาญ่ีปุน 9- - ปกติ - วท.บ. (เคมี)
- ทล.บ. (ออกแบบผลิตภณั ฑอ ตุ สาหกรรม)
ภาษาจนี เพ่ือการส่ือสาร 9- - ปกติ ทล.บ. (เทคโนโลยีการถา ยภาพและ
- ปกติ - ภาพยนตร)
การพัฒนาผลิตภณั ฑภ ูมปิ ญ ญา ทล.บ. (เทคโนโลยีการโทรทัศนและ
- วิทยกุ ระจายเสียง)
ไทย 9 - - ทล.บ. (เทคโนโลยีการพิมพ)
วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร)
๒. คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี - วท.บ (เทคโนโลยีสารสนเทศ)

วทิ ยาศาสตรการวเิ คราะห - - -- - ทล.บ. (เทคโนโลยีเคร่อื งเรือนและการออกแบบ)
วท.บ. (เทคโนโลยีและการจดั การความปลอดภัย
เคมี 9- - ปกติ
- ของอาหาร)
ออกแบบผลติ ภณั ฑอตุ สาหกรรม 9 - - ปกติ
- ปกติ - วท.บ. (วิทยาศาสตรเ พื่อสุขภาพและความงาม)
เทคโนโลยีการถา ยภาพและ 9- - ปกติ

ภาพยนตร

เทคโนโลยีการโทรทศั นและ 9-

วทิ ยุกระจายเสยี ง

เทคโนโลยีการพิมพ 9- - ปกติ
- ปกติ
วิทยาการคอมพวิ เตอร/ 9- - ปกติ
- ปกติ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ - ปกติ

เทคโนโลยีเคร่อื งเรอื นและการ 9-

ออกแบบ

เทคโนโลยีและการจดั การความ 9-

ปลอดภยั ของอาหาร

วิทยาศาสตรเ พอ่ื สขุ ภาพและ 9-

ความงาม

คมู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๑ ((๑๓๙))

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ช่อื ยอ ปรญิ ญา
ภาค
คณะ/สาขาวชิ า เทียบ
โอน
๔ ป ๕ ป รายวชิ า ภาค

๓. คณะครศุ าสตรอ ุตสาหกรรม - 9 - ปกติ - ค.อ.บ. (วศิ วกรรมเคร่อื งกล)
วศิ วกรรมเครอ่ื งกล

วศิ วกรรมอุตสาหการ -9 - ปกติ - ค.อ.บ. (วศิ วกรรมอุตสาหการ)
อส.บ. (เทคโนโลยีวิศวกรรม
เทคโนโลยีวิศวกรรมคอมพิวเตอร 9- - ปกติ
เทคโนโลยอี ตุ สาหการ 9- - ปกติ - คอมพิวเตอร)

- อส.บ. (เทคโนโลยอี ตุ สาหการ)

๔. คณะวิศวกรรมศาสตร

ภาควชิ าวศิ วกรรมโยธา 9 - 9 ปกติ

วิศวกรรมโยธา - - 9 สมทบ - วศ.บ. (วศิ วกรรมโยธา)
วิศวกรรมสํารวจ
9 - - ปกติ - วศ.บ. (วิศวกรรมสํารวจ)

ภาควิชาวศิ วกรรมไฟฟาและโทรคมนาคม

9 - - ปกติ

วศิ วกรรมไฟฟา - - 9 สมทบ - วศ.บ. (วศิ วกรรมไฟฟา)

วิศวกรรมอเิ ลก็ ทรอนิกสแ ละ 9 - 9 ปกติ วศ.บ. (วศิ วกรรมอเิ ลก็ ทรอนกิ ส
โทรคมนาคม
- - 9 สมทบ - และโทรคมนาคม)

ภาควิชาวิศวกรรมเครอ่ื งกลและอุตสาหการ

วิศวกรรมเครื่องกล 9 - 9 ปกติ
- - 9 สมทบ - วศ.บ. (วศิ วกรรมเครอ่ื งกล)

9 - 9 ปกติ

วศิ วกรรมอุตสาหการ - - - สมทบ - วศ.บ. (วิศวกรรมอุตสาหการ)
วศิ วกรรมเคมี
9 - - ปกติ - วศ.บ. (วศิ วกรรมเคมี)

((๒๒๐)) คมู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

คณะ/สาขาวชิ า ๔ ป ปริญญาตรี ภาค ปริญญาโท ชือ่ ยอ ปรญิ ญา

เทียบ ภาค บธ.ม. (บริหารธุรกจิ มหาบัณฑิต)
โอน บธ.บ. (การเงิน)
๕ ป รายวชิ า สมทบ บธ.บ. (ภาษาองั กฤษธรุ กจิ )
- บธ.บ. (การประเมนิ ราคาทรัพยสิน)
๕. คณะบรหิ ารธุรกิจ - -- - -
หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ 9 - บธ.บ. (ระบบสารสนเทศ)
มหาบัณฑิต - - ปกติ
- บช.บ. (การบัญชี)
การเงนิ
- บธ.บ. (การจัดการ)
ภาษาอังกฤษธุรกิจ 9 - - ปกติ บธ.บ. (การจดั การ)
-
การประเมนิ ราคาทรัพยสนิ 9 - - ปกติ - บธ.บ. (การตลาด)
ระบบสารสนเทศ บธ.บ. (การตลาด)
9 - 9 ปกติ - ทล.บ. (เทคโนโลยสี ารสนเทศทางธรุ กิจ)
- - - สมทบ -
- ศษ.บ. (คหกรรมศาสตรศ ึกษา)
9 9 ปกติ
- คศ.บ. (อาหารและโภชนาการ)
การบญั ชี - - - สมทบ คศ.บ. (เทคโนโลยเี ส้อื ผาและแพทเทิรน)
9 9 ปกติ - ทล.บ. (การออกแบบแฟชั่น)
- คศ.บ. (ธรุ กิจอาหาร)
การจดั การทัว่ ไป 9 - 9 สมทบ - วท.บ. (วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยกี าร
การจดั การทรัพยากรมนุษย 9 - - ปกติ - อาหาร)
วท.บ. (การพฒั นาผลิตภณั ฑอาหาร)
การบริหารการตลาด 9 - 9 ปกติ -
- - - สมทบ -

การตลาดระหวางประเทศ 9 - - ปกติ

เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ 9 - 9 ปกติ

๖. คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร

คหกรรมศาสตรศึกษา - 9 9 ปกติ
9 ปกติ
9
- - สมทบ
อาหารและโภชนาการ 9
- - ปกติ
เทคโนโลยีเสอ้ื ผาและแพทเทริ น 9 - - ปกติ
- - ปกติ
การออกแบบแฟชน่ั 9

ธรุ กจิ อาหาร 9

วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีการ

อาหาร 9 - - ปกติ
- - ปกติ
การพัฒนาผลิตภณั ฑอาหาร 9

คมู อื นักศึกษา ๒๕๖๑ ((๒๓๑))

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท

คณะ/สาขาวิชา เทยี บ ชอื่ ยอ ปรญิ ญา
๗. คณะอตุ สาหกรรมส่ิงทอ โอน
นวตั กรรมส่ิงทอ ๔ ป ๕ ป รายวชิ า ภาค ภาค
วิศวกรรมสง่ิ ทอ
วศิ วกรรมเคมสี ิ่งทอ -- -- สมทบ วท.ม. (นวตั กรรมสิง่ ทอ)
ออกแบบส่งิ ทอและแฟช่ัน 9- - ปกติ - วศ.บ. (วศิ วกรรมสิ่งทอ)
๘. วิทยาลัยนานาชาติ 9- - ปกติ - วศ.บ. (วศิ วกรรมเคมีสิ่งทอ)
คณะบริหารธุรกิจ 9- - ปกติ - ทล.บ. (ออกแบบสิ่งทอและแฟช่ัน)
การตลาด
ระบบสารสนเทศ 9- - ปกติ - บธ.บ. (การตลาด)
9- - ปกติ - บธ.บ. (ระบบสารสนเทศ)
การจดั การธรุ กจิ ระหวา งประเทศ
การบัญชี 9- - ปกติ บธ.บ. (การจัดการธรุ กจิ ระหวา ง
9- - ปกติ - ประเทศ)
- บช.บ. (การบญั ชี)

((๒๒๒)) คูมอื นกั ศึกษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

AA – B– CC – DD – E – XXX-X

ลําดบั ท่ี
ภาค

สาขาวิชา
คณะ
หลักสูตร

ปท ีเ่ ขาศึกษา

AA ปท ีเ่ ขาศกึ ษา

B หลักสูตร

๕ หมายถึง ๔ ป

๖ หมายถงึ ตอเนื่อง, เทยี บโอนรายวิชา

๗ หมายถงึ ๕ ป

๘ หมายถงึ ปรญิ ญาโท

๙ หมายถงึ นานาชาติ

CC คณะ

๐๑ ศิลปศาสตร ๐๒ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

๐๓ ครศุ าสตรอ ุตสาหกรรม ๐๔ วิศวกรรมศาสตร

๐๕ บริหารธุรกิจ ๐๖ เทคโนโลยคี หกรรมศาสตร

๐๗ อุตสาหกรรมส่ิงทอ

๙๑ ศลิ ปศาสตรนานาชาติ ๙๕ บรหิ ารธุรกิจนานาชาติ

ตัวอยาง เลขรหสั นักศึกษา คือ ๖๑ ๖ ๐๕ ๑๔ ๐ ๑๐๑ – ๐
หมายถึง นักศึกษาแรกเขาปการศกึ ษา ๒๕๖๑ หลกั สตู รเทยี บโอนรายวชิ า

คณะบรหิ ารธรุ กจิ สาขาวิชาการจัดการ ภาคปกติ ลาํ ดบั ท่ี ๑๐๑

คมู ือนักศกึ ษา ๒๕๖๑ ((๒๓๓))

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

เคร่ืองแตงกายแบบปกติ นกั ศกึ ษาชาย

(๑) เส้ือเช้ิตแขนส้ัน หรือแขนยาวสีขาวทรงสุภาพ กลัดกระดุม สีขาวทุกเม็ด
มกี ระเปา ขนาดเหมาะสมที่อกเบ้ืองซา ย เวลาสวมใหสอดชายเสอ้ื ไวใ นกางเกงใหเรยี บรอย

(๒) กางเกงขายาวแบบสากล ทรงสุภาพ ไมรัดรูปหรือหลวมเกินไป มีหูเข็มขัด
เย็บดวยผาสเี ดยี วกัน ผา พืน้ สีดํา หรือสีกรมทา ไมมีลวดลาย

(๓) สายเขม็ ขดั หนงั สีดํา ไมมลี วดลาย หวั เข็มขัดเครอื่ งหมายมหาวิทยาลยั ตามแบบ
ที่มหาวิทยาลยั กําหนด

(๔) รองเทา หมุ สน สดี ํา ทรงสภุ าพ
(๕) ถุงเทาสีดํา หรือสีท่ีกลมกลืนกับรองเทา ไมมี
ลวดลาย

เคร่ืองแตงกายแบบปกติ นักศึกษาหญิง

(๑) เส้ือเชิ้ตสีขาวแขนสั้นเพียงศอก ปลายแขน
ปลอยตรง ไมผาปลายแขน ไมบางเกินควร ไมรัดรูป
และหลวมเกินไป ไมมีลวดลาย ผาหนาตลอด กระดุม
สีเงินลายดุนนูนตราสัญลักษณมหาวิทยาลัย ตัวเส้ือมี
ความยาวเพียงพอสําหรับใหกระโปรงทับได เวลาสวม
ใหสอดชายเสื้อไวในกระโปรงใหเรยี บรอ ย

(๒) เข็มกลัดเสื้อตราสัญลักษณมหาวิทยาลัย
กลดั อกเส้ือเบอ้ื งซาย

(๓) กระโปรง เอวสูง แบบสุภาพ ไมรัดรูป ไมส้ัน
เกนิ ไป ผาเนอื้ เรยี บ ไมม ีลวดลาย สีดํา หรอื สีกรมทา

(๔) สายเข็มขัดหนังสีดํา หัวเข็มขัดเคร่ืองหมาย
มหาวิทยาลัย ตามแบบที่มหาวิทยาลัยกาํ หนด
(๕) รองเทา หนงั หรอื ผา ใบหุม สนสดี าํ ไมม ลี วดลายทรงสภุ าพ

((๒๒๔)) คูม ือนักศึกษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ดวยวิสัยทัศนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีความเปนเลิศในการจัดการศึกษา
วิชาชีพ บนพ้ืนฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อพัฒนากําลังคนใหเปนนักปฏิบัติที่มีความรูคู
คุณธรรม ในการจัดการศึกษาใหสําเร็จลุลวงไปไดนั้น จําเปนตองไดรับความรวมมือจากบุคลากรและ
หนวยงานภายในมหาวิทยาลัย สวนหนึ่งท่ีสําคัญมากในการจัดการศึกษา คือ “อาจารยท่ีปรึกษา” ซ่ึง
ตองมีหนาที่เก่ียวของและตองรับผิดชอบโดยตรงตอนักศึกษาในงานดานวิชาการ โดยอาจารยที่ปรึกษามี
หนาท่ีเปนผูใหคําปรึกษาตอนักศึกษาในเรื่องท่ีเกี่ยวกับการเรียน และปญหาเร่ืองอ่ืน ๆ ที่นักศึกษา
ตองการปรึกษา และกระตุน ใหนกั ศึกษามีความสนใจในดานการเรียน รวมถึงสงเสริมใหนักศึกษาปฏิบัติ
ตามขอ บงั คบั ระเบียบ ประกาศ ของมหาวิทยาลยั อยา งเครงครัด

คุณลกั ษณะของอาจารยท ่ปี รกึ ษา
อาจารยท ี่ปรึกษาทดี่ ีควรมีคณุ ลักษณะ ดงั นี้
๑) มีมนษุ ยสมั พนั ธท่ดี ี
๒) มคี วามรับผดิ ชอบสงู
๓) ใจกวางและรบั ฟงความคดิ เห็นของนกั ศกึ ษา
๔) มคี วามรูกวางขวางทนั ตอเหตุการณในงานวิชาการและวิชาชีพ
๕) มีความจริงใจและเห็นอกเหน็ ใจผอู ่ืน
๖) มเี หตผุ ลและมคี วามสามารถในการแกปญ หา
๗) มีความเมตตากรุณา
๘) ไวตอ การรับรูและเขา ใจส่ิงตาง ๆ ไดร วดเรว็
๙) มีหลักจติ วิทยาในการใหคาํ ปรกึ ษา และมีจรรยาบรรณอาจารยทป่ี รกึ ษา
๑๐) มีความประพฤตเิ หมาะสมที่จะเปน แบบอยา งที่ดี
๑๑) รูบทบาทและหนา ทข่ี องอาจารยท ป่ี รกึ ษาเปนอยางดี
๑๒) มปี ระสบการณใ นหนา ท่ีของอาจารยที่ปรกึ ษา

จรรยาบรรณของอาจารยท่ปี รกึ ษา
เนื่องจากอาจารยท่ีปรึกษามีหนาที่ใหการปรึกษาแนะนําชวยเหลืออบรมดูแลนักศึกษา จึงมี

ความจําเปนตองยึดมั่นในจรรยาบรรณ โดยตองคํานึงถึงสวัสดิภาพของนักศึกษา ตองเก็บรักษาขอมูล
ตา ง ๆ เร่ืองสวนตัวของนกั ศึกษาใหเปนความลับ ใหความชวยเหลือ (ภายในขอบเขตความสามารถของ
ตน) ไมว ิพากษวจิ ารณบ คุ คลหรือสถาบนั ในทางเสอ่ื มเสยี ใหนักศึกษาฟง และที่สาํ คญั อาจารยท่ีปรึกษา

ตองเปนผูที่มีความประพฤติท่ีเหมาะสมตามจรรยาบรรณแหงวิชาชีพในสาขาท่ีตนสอนและมีศีลธรรม
จรรยาทด่ี งี าม เพ่อื เปน แบบอยางท่ดี แี กน ักศกึ ษา

คมู อื นักศกึ ษา ๒๕๖๑ ((๒๓๕))

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

บทบาทอาจารยท ี่ปรกึ ษา
หนา ทขี่ องอาจารยท่ีปรกึ ษาดานวิชาการ
- ใหการปรกึ ษาแนะนํานักศึกษาเกีย่ วกับหลักสูตร
- ใหการปรึกษานักศึกษาเก่ียวกับวิธีการเรียน การคนควา และติดตามผลการเรียนของ
นกั ศึกษาอยางสม่ําเสมอ
- ใหคาํ ปรึกษาแนะนาํ หรือตักเตอื นเมอื่ ผลการเรียนของนกั ศึกษาตา่ํ ลง
- ใหการปรึกษาและชวยเหลอื นักศกึ ษาเพอ่ื แกไขปญ หาอปุ สรรคในการเรยี นวชิ าตา ง ๆ
- ใหคาํ ปรึกษาแนะนาํ เกีย่ วกับการคดิ คาระดับคะแนนเฉลยี่ ของนกั ศกึ ษา
- ใหค าํ ปรึกษาแนะนําเกี่ยวกบั การศึกษาตอ ในระดบั สงู
หนา ทขี่ องอาจารยท ป่ี รกึ ษาดา นบรกิ ารและพฒั นานักศึกษา
- ใหการปรกึ ษาเกี่ยวกบั ปญหาสว นตัว ไดแก สขุ ภาพอนามยั ทัง้ สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิต
- ใหการปรกึ ษาเก่ียวกบั ปญ หาสังคม เชน การปรบั ตวั ในสังคม และปญหาการคบเพือ่ น
- ใหก ารปรึกษาเก่ยี วกบั การพฒั นาบุคลกิ ภาพ ความประพฤติ และจริยธรรม
- ใหคําแนะนํา ควบคุมและสอดสองนักศึกษา เก่ียวกับการแตงกาย ความประพฤติ และ
มารยาททางสงั คม
หนา ทีข่ องอาจารยท ป่ี รึกษาดานอื่น ๆ
- ประสานงานกับอาจารยผูสอนและหนวยงานตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ ไดแก สํานักสงเสริม
วชิ าการและงานทะเบียน และกองพฒั นานกั ศึกษา เปนตน
- กําหนดเวลาใหน กั ศึกษาเขาพบเพอื่ ขอคาํ ปรึกษาแนะนําอยา งสม่ําเสมอ
- เก็บขอ มลู รายละเอยี ดของนกั ศึกษาทอี่ ยูใ นความรบั ผดิ ชอบเพือ่ เปน ขอมูลพื้นฐานสําหรับ
ใหค าํ ปรึกษาและชว ยเหลอื นกั ศึกษา
- ใหค วามรว มมอื สรา งสัมพันธภาพและความเขาใจอันดรี ะหวางนักศกึ ษากับคณาจารย
- ใหการรับรองนักศึกษาเมื่อตองการนําขอมูลไปแสดงแกผูอื่นในสถานการณตาง ๆ เชน
การศึกษาตอ เปนตน
- ปอนขอมูลยอนกลับ (feed back) มายังผูบริหารเกี่ยวกับปญหาตาง ๆ ของนักศึกษา
เพ่อื ปรบั ปรุงแกไ ข
ภารกจิ ของอาจารยทีป่ รกึ ษา
- อาจารยทีป่ รึกษาตองศึกษากฎระเบยี บ ขอบงั คบั ตาง ๆ ของมหาวทิ ยาลยั
- อาจารยที่ปรึกษาตองแจงตารางเวลา (office hours) เพื่อใหนักศึกษาเขาพบอยางนอย
เดอื นละครั้ง
- อาจารยที่ปรึกษาควรติดตามผลการเรียนของนักศึกษาในความดูแลของตนเองเพื่อ
แนะนําและชวยเหลือนักศึกษา และใหความสนใจกับนักศึกษาในโครงการพิเศษ หรือ
กรณีทีน่ กั ศกึ ษามีปญหาในดา นตา ง ๆ
- อาจารยท ปี่ รกึ ษาควรสนใจทีจ่ ะพัฒนาตนเองทั้งในดา นเทคนิคในการใหคาํ ปรกึ ษาและ
ดานอ่นื ๆ เพื่อใหม ีลักษณะของอาจารยทป่ี รึกษาทดี่ ที ้ัง ๑๒ ประการ

((๒๒๖)) คูมอื นักศึกษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

เทคนิคการใหค าํ ปรกึ ษาเบื้องตน
อาจารยที่ปรึกษาตองมเี ทคนคิ การสรา งสมั พันธภาพท่ีดี เพื่อใหน ักศกึ ษารสู ึกวา อาจารย

ที่ปรึกษาสามารถใหค วามเปนกันเอง ใหความอบอุน และเปน ทพ่ี ่งึ ทางใจของนักศกึ ษาได
เทคนิคการใหการปรกึ ษาเบ้อื งตน ทีส่ ําคญั และจาํ เปน มดี ังนี้
๑. เทคนิคในการสรา งสมั พนั ธภาพ
- สรางบรรยากาศทเี่ ปน มติ ร อบอุน ยมิ้ แยม แจมใส
- เปด เผยไมมลี บั ลมคมใน
- มคี วามสนใจ มเี มตตากรณุ า
- มีความจรงิ ใจและปฏบิ ตั ิตนอยา งเสมอตนเสมอปลาย
- ยอมรบั ทัง้ คุณคา และความแตกตางของบคุ คล
- ใหค วามชวยเหลอื นักศึกษาอยา งจรงิ จงั และจรงิ ใจ
๒. การใหคาํ แนะนาํ และการปรึกษา
- การใหคําแนะนํา (advising) เปนวิธีที่อาจารยที่ปรึกษาใหการชวยเหลือแก นักศึกษา

มากท่ีสุดซง่ึ มักจะเปนเรอื่ งกฎ ระเบียบ หรอื วิธปี ฏบิ ัตทิ ่ใี ชกันอยูเปนประจํา เชน การขาดเรียน การขาด
สอบ หรือปญหาเล็กนอยท่ีอาจารยที่ปรึกษามีประสบการณ เพื่อชวยใหนักศึกษาสามารถหาทาง
แกปญหาได การใหคําแนะนําไมเหมาะสมกับปญหาท่ีเกี่ยวกับอารมณอยางรุนแรง ปญหาบุคลิกภาพ
หรือปญ หาท่ีตอ งตัดสินใจเลอื กทําอยา งใดอยางหนงึ่

- การใหคําปรึกษา (counseling) เปนกระบวนการชวยเหลือใหนักศึกษาเขาใจตนเอง
สภาพแวดลอมและปญหาที่เผชิญอยู สามารถใชความเขาใจดังกลาวมาแกปญหาหรือตัดสินใจเลือก
เปา หมายในการดําเนนิ ชีวิตท่เี หมาะสมกบั ตวั เอง และเพอื่ การปรับตวั ที่ดีในอนาคต

- เทคนิคในการปรึกษาเปนเทคนิคในการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ซ่ึงจะตองมีการศึกษา
อบรมและมกี ารฝกปฏบิ ัติเพ่ือใหเ กดิ ความรู ความชาํ นาญ จงึ จะสามารถแกป ญหาของนักศึกษาไดอยาง
กวางขวาง อาจารยที่ปรึกษาที่ไมไดฝกอบรมมาทางน้ีโดยตรงแตมีหนาที่ตองชวยเหลือนักศึกษา
จงึ จําเปนตองศึกษาและฝกทักษะในเทคนิคตาง ๆ เพ่ือใหมีพ้ืนฐานความรู ความชํานาญพอสมควรในการ
ชวยเหลือนักศึกษา อยา งไรก็ตามปญ หาของนกั ศกึ ษาบางอยา งเปนปญหาทแ่ี กไขไดย ากหรือตอ งใชเ วลา
เชน ปญหาทางเศรษฐกิจ ปญหาครอบครัว เปนตน อาจารยท่ีปรึกษาจําเปนตองใชเทคนิคในการ
ปรกึ ษาอยางระมัดระวังเพือ่ ชว ยใหปญ หาคลค่ี ลาย สิ่งสําคญั ทส่ี ดุ ก็คอื การเปน ผฟู งท่ดี ี ควรใหกําลังใจ
ใหความอบอุน และใหความจริงจังและจริงใจในการชวยเหลือนักศึกษาอยางเต็มความสามารถ และ
หาทางออกเบือ้ งตน อยางดีทีส่ ุดใหกบั นกั ศึกษาในฐานะอาจารยทีป่ รึกษา

บรรณานุกรม

สํานกั งานปลัดทบวงมหาวทิ ยาลยั กองบรกิ ารการศึกษา. ระบบอาจารยท ่ีปรึกษาวิชาการ
ระดับปริญญาตรใี นมหาวิทยาลัย. พมิ พคร้งั ที่ ๒. กรงุ เทพ ฯ: โรงพมิ พจฬุ าลงกรณ
มหาวิทยาลัย : ๒๕๓๖.

http://www.amed.go.th/RTA_Med/MedSchool/insure/req.htm

คมู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๑ ((๒๓๗))

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

((๒๒๘)) คูม อื นักศกึ ษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา
ขอบังคบั ระเบยี บ ประกาศ
ของมหาวิทยาลัย
ท่เี กย่ี วของกับนักศกึ ษา

คมู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๑ ((๒๓๙))

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

พระราชบัญญัติ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล

พ.ศ. ๒๕๔๘
------------------------
ภมู พิ ลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วนั ที่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘
เปนปท่ี ๖๐ ในรชั กาลปจจบุ ัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกลาฯ ใหป ระกาศวา

โดยที่เปนการสมควรจัดตั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลขึ้นแทนสถาบัน
เทคโนโลยีราชมงคล จึงทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนํา
และยนิ ยอมของรัฐสภา ดังตอ ไปน้ี

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘”

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา
นเุ บกษา เปน ตนไป

มาตรา ๓ ใหย กเลกิ
(๑) พระราชบญั ญตั วิ ทิ ยาลัยเทคโนโลยแี ละอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๑๘
(๒) พระราชบัญญัติเปลี่ยนชื่อ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเปน

สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๓๒
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญตั นิ ้ี
“มหาวิทยาลัย” หมายความวา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตาม

พระราชบญั ญตั ิน้ี
“สภามหาวิทยาลัย” หมายความวา สภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลตามพระราชบญั ญตั ิน้ี
“สภาวชิ าการ” หมายความวา สภาวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล

ตามพระราชบัญญัติน้ี
“สภาคณาจารยและขาราชการ” หมายความวา สภาคณาจารยและ

ขา ราชการมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตามพระราชบัญญตั ิน้ี
“วิทยาเขต” หมายความวา เขตการศึกษาของมหาวิทยาลัยท่ีมี คณะ สถาบัน

สํานัก วิทยาลัยหรือสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเทาคณะ ต้ังแตสองสวน
ราชการขึน้ ไปตัง้ อยูในเขตการศกึ ษานัน้ ตามที่สภามหาวทิ ยาลัยกําหนด

((๓๒๐)) คูม อื นกั ศึกษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

“รฐั มนตรี” หมายความวา รัฐมนตรผี ูรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี

มาตรา ๕ ใหสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยี
ราชมงคล พ.ศ. ๒๕๑๘ เปนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตามพระราชบัญญัติน้ี
จํานวน ๙ แหง ดงั นี้

(๑) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี
(๒) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
(๓) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก
(๔) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
(๕) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสินทร
(๖) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา นนา
(๗) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
(๘) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลสุวรรณภูมิ
(๙) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน

ใหมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแตละแหงตามวรรคหนึ่งเปนนิติ
บุคคล และเปนสวนราชการตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ ในสังกัดสํานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

มาตรา ๖ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
และมีอาํ นาจออกกฎกระทรวง และประกาศ เพ่อื ปฏิบตั กิ ารตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี

กฎกระทรวง และประกาศน้ัน เม่ือไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับ
ได

หมวด ๕
ปริญญาและเครอ่ื งหมายวิทยฐานะ

มาตรา ๕๔ ปริญญามีสามชั้น คอื
ปริญญาเอก เรียกวา ดุษฎีบณั ฑิต ใชอกั ษรยอ ด.
ปรญิ ญาโท เรียกวา มหาบัณฑิต ใชอ กั ษรยอ ม.
ปรญิ ญาตรี เรยี กวา บณั ฑติ ใชอ ักษรยอ บ.

มาตรา ๕๕ มหาวิทยาลัยมีอํานาจใหปริญญาในสาขาวิชาที่มีการสอนใน
มหาวิทยาลยั

การกาํ หนดใหสาขาวิชาใดมีปริญญาช้ันใด และจะใชอักษรยอสําหรับ
สาขาวิชานั้นอยางไร ใหตราเปนพระราชกฤษฎกี า

มาตรา ๕๖ สภามหาวิทยาลัยอาจออกขอบังคับใหผูสําเร็จการศึกษาชั้น ปริญญาตรี
ไดร ับปรญิ ญาเกยี รตินิยมอันดบั หน่งึ หรอื ปรญิ ญาเกยี รตินยิ มอันดับสองได

คมู อื นักศกึ ษา ๒๕๖๑ ((๓๓๑))

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มาตรา ๕๗ สภามหาวิทยาลัยอาจออกขอบังคับใหมีประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง
ประกาศนยี บตั รบณั ฑิต อนปุ รญิ ญา และประกาศนยี บัตรสาํ หรบั สาขาวชิ าใดได ดงั น้ี

(๑) ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ออกใหแกผูสําเร็จการศึกษาในสาขาวิชา
หนงึ่ สาขาวชิ าใดภายหลงั ท่ีไดร บั ปรญิ ญาโทแลว

(๒) ประกาศนียบัตรบัณฑิตออกใหแกผูสําเร็จการศึกษา ในสาขาวิชาหนึ่ง
สาขาวิชาใดภายหลังที่ไดรับปริญญาตรแี ลว

(๓) อนุปริญญาหรือประกาศนียบัตร ออกใหแกผูสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
ในสาขาวชิ าหนง่ึ สาขาวิชาใดกอนถึงข้ันไดร ับปรญิ ญาตรี

(๔) ประกาศนียบตั ร ออกใหแกผ ูสําเรจ็ การศกึ ษาเฉพาะวชิ า
มาตรา ๕๘ มหาวิทยาลัยมีอํานาจใหปริญญากิตติมศักด์ิแกบุคคล ซึ่งสภา
มหาวิทยาลัยเห็นวาทรงคุณวุฒิสมควรแกปริญญานั้น ๆ แตจะใหปริญญาดังกลาวแก
คณาจารยประจํา ผูดํารงตําแหนงตาง ๆ ในมหาวิทยาลัย นายกสภามหาวิทยาลัยหรือ
กรรมการสภามหาวิทยาลัยในขณะท่ีดํารงตําแหนงน้ันมิได

ชั้นสาขาของปริญญากิตติมศักดิ์ และหลักเกณฑการใหปริญญา
กิตติมศักดิ์ใหเปนไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลยั

มาตรา ๕๙ มหาวิทยาลัยอาจกําหนดใหมีครุยวิทยฐานะหรือเข็มวิทยฐานะ
เปนเครื่องหมายแสดงวิทยฐานะของผูไดรับปริญญา ประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง
ประกาศนียบัตรบัณฑิต อนุปริญญา และประกาศนียบัตร และอาจกําหนดใหมีครุยประจํา
ตาํ แหนงกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั หรอื คณาจารยของมหาวิทยาลัยได

การกําหนดลักษณะ ชนิด ประเภท และสวนประกอบของครุยวิทยฐานะ
เขม็ วิทยฐานะ และครยุ ประจําตําแหนงใหต ราเปนพระราชกฤษฎกี า

ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจําตําแหนงจะใชในโอกาส
ใด โดยมีเงื่อนไขอยางใดใหเ ปน ไปตามขอ บังคบั ของมหาวทิ ยาลยั

มาตรา ๖๐ สภามหาวิทยาลัยอาจกําหนดใหมีตรา เครื่องหมาย หรือ
สัญลักษณของมหาวิทยาลัย หรือสวนราชการในมหาวิทยาลัยได โดยทําเปนขอบังคับของ
มหาวทิ ยาลัยและประกาศในราชกจิ จานุเบกษา

สภามหาวิทยาลัยอาจกําหนดใหมีเครื่องแบบ เคร่ืองหมาย หรือ
เคร่ืองแตงกายนักศึกษาได โดยทําเปนขอบังคับของมหาวิทยาลัยและประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา

((๓๒๒)) คูมือนักศึกษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

หมวด ๖
บทกําหนดโทษ
มาตรา ๖๑ ผใู ดใชต ราสัญลกั ษณ ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ ครุยประจําตําแหนง
เคร่ืองแบบ เครื่องหมาย หรือเครื่องแตงกายนักศึกษาของมหาวิทยาลัย โดยไมมีสิทธิท่ีจะใช
หรือแสดงดวยประการใด ๆ วาตนมีตําแหนง ปริญญา ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง
ประกาศนียบัตรบัณฑิต อนุปริญญา หรือประกาศนียบัตรของมหาวิทยาลัย โดยท่ีตนไมมี ถา
ไดกระทําเพื่อใหบุคคลอื่น เชื่อวาตนมีสิทธิที่จะใชหรือมีตําแหนง หรือวิทยฐานะเชนนั้น ตอง
ระวางโทษจําคุกไมเ กินหกเดือน หรือปรับไมเกินหา หม่ืนบาท หรอื ทั้งจาํ ทัง้ ปรบั
มาตรา ๖๒ ผูใด
(๑) ปลอม หรือทําเลียนแบบซ่ึงตรา เครื่องหมาย หรือสัญลักษณของ
มหาวิทยาลัย หรือสว นราชการของมหาวทิ ยาลยั ไมว าจะทําเปน สใี ด หรือทําดว ยวิธีใด ๆ
(๒) ใชตรา เคร่ืองหมาย หรือสัญลักษณของมหาวิทยาลัยหรือสวน
ราชการของมหาวิทยาลัยปลอม หรือซง่ึ ทาํ เลียนแบบ หรือ
(๓) ใชหรือทําใหปรากฏซึ่งตรา เครื่องหมาย หรือสัญลักษณของ
มหาวิทยาลัย หรือสวนราชการของมหาวิทยาลัยท่ีวัตถุหรือสินคาใด ๆ โดยไมไดรับอนุญาต
จากมหาวิทยาลัย
ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหน่ึงป หรือปรับไมเกินหน่ึงแสนบาท หรือ
ทัง้ จาํ ทง้ั ปรบั
ถา ผูกระทาํ ความผิดตาม (๑) เปนผูกระทําความผิดตาม (๒) ดวย ใหลงโทษ
ตาม (๒) แตก ระทงเดียว ความผดิ ตาม (๓) เปน ความผดิ อนั ยอมความได ฯลฯ

ผรู ับสนองพระบรมราชโองการ
วษิ ณุ เครืองาม

(นายวิษณุ เครืองาม)
รองนายกรัฐมนตรี

คูมอื นักศึกษา ๒๕๖๑ ((๓๓๓))

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

พระราชกฤษฎีกา
วาดว ยปรญิ ญาในสาขาวิชา อักษรยอสาํ หรับสาขาวิชา ครยุ วิทยฐานะ เขม็ วิทยฐานะ

และครยุ ประจาํ ตาํ แหนง ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
พ.ศ. ๒๕๕๑

---------------------
ภูมิพลอดลุ ยเดช ป.ร.

ใหไว ณ วันที่ ๓๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
เปน ปท ี่ ๖๓ ในรัชกาลปจ จุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกลา ฯ ใหป ระกาศวา

โดยท่ีเปนการสมควรกําหนดปริญญาในสาขาวิชา อักษรยอสําหรับสาขาวิชา
ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจําตําแหนงของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๘๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
กับมาตรา ๕๕ วรรคสอง และมาตรา ๕๙ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยี ราชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ จึงทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชกฤษฎีกาข้ึน
ไว ดังตอไปน้ี

มาตรา ๑ พระราชกฤษฎีกานี้เรียกวา “พระราชกฤษฎีกาวาดวยปริญญาใน
สาขาวิชาอักษรยอสําหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจําตําแหนง
ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พ.ศ. ๒๕๕๑”

มาตรา ๒ พระราชกฤษฎีกานี้ใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศใน
ราชกิจจานเุ บกษา เปน ตนไป

มาตรา ๓ ใหกําหนดปริญญาในสาขาวิชา และอักษรยอสําหรับสาขาวิชาของ
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ดังน้ี

(๑) สาขาวิชาครุศาสตรอตุ สาหกรรม มีปริญญาสามชัน้ คอื
(ก) เอก เรยี กวา “ครุศาสตรอ ุตสาหกรรมดษุ ฎบี ัณฑิต” ใชอ กั ษรยอ

“ค.อ.ด.” และ“ปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑติ ” ใชอกั ษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา “ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑติ ” ใชอ ักษรยอ “ค.อ.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา “ครุศาสตรอ ตุ สาหกรรมบณั ฑติ ” ใชอ ักษรยอ “ค.อ.บ.”

(๒) สาขาวิชาคหกรรมศาสตร มีปรญิ ญาสามชน้ั คือ

((๓๒๔)) คูม ือนักศึกษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(ก) เอก เรียกวา “คหกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “คศ.ด.” และ
“ปรัชญาดุษฎบี ณั ฑติ ” ใชอ ักษรยอ “ปร.ด.”

(ข) โท เรยี กวา “คหกรรมศาสตรมหาบัณฑติ ” ใชอกั ษรยอ “คศ.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา “คหกรรมศาสตรบัณฑติ ” ใชอ ักษรยอ “คศ.บ.”
(๓) สาขาวชิ าเทคโนโลยี มีปริญญาหนึ่งชั้น คือ ตรี เรียกวา “เทคโนโลยีบัณฑิต” ใช
อักษรยอ “ทล.บ.”
(๔) สาขาวชิ าบริหารธรุ กิจ มีปริญญาสามชนั้ คอื
(ก) เอก เรียกวา “บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “บธ.ด.” และ
“ปรชั ญาดุษฎีบณั ฑิต” ใชอ ักษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา “บรหิ ารธุรกิจมหาบัณฑติ ” ใชอ กั ษรยอ “บธ.ม.”
(ค) ตรี เรยี กวา “บรหิ ารธรุ กิจบัณฑิต” ใชอ ักษรยอ “บธ.บ.”
(๕) สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร มปี รญิ ญาสามช้นั คือ
(ก) เอก เรียกวา “วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “วท.ด.” และ
“ปรัชญาดุษฎบี ัณฑิต” ใชอ ักษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา “วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต” ใชอ กั ษรยอ “วท.ม.”
(ค) ตรี เรยี กวา “วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ ” ใชอ ักษรยอ “วท.บ.”
(๖) สาขาวชิ าวศิ วกรรมศาสตร มีปริญญาสามชัน้ คือ
(ก) เอก เรียกวา “วศิ วกรรมศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต” ใชอ กั ษรยอ “วศ.ด.”
และ “ปรชั ญาดุษฎีบัณฑติ ” ใชอักษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา “วศิ วกรรมศาสตรมหาบัณฑิต” ใชอักษรยอ “วศ.ม.”
(ค) ตรี เรยี กวา “วิศวกรรมศาสตรบัณฑติ ” ใชอ ักษรยอ “วศ.บ.”
(๗) สาขาวิชาศิลปศาสตร มปี ริญญาสามช้ัน คอื
(ก) เอก เรียกวา “ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “ศศ.ด.” และ
“ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต” ใชอกั ษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา “ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต” ใชอ ักษรยอ “ศศ.ม.”
(ค) ตรี เรยี กวา “ศิลปศาสตรบัณฑติ ” ใชอ กั ษรยอ “ศศ.บ.”
(๘) สาขาวชิ าอุตสาหกรรมศาสตร มปี รญิ ญาสามช้ัน คือ
(ก) เอก เรียกวา “อุตสาหกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “อส.ด.”
และ “ปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ ” ใชอ ักษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา “อตุ สาหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต” ใชอ กั ษรยอ “อส.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา “อตุ สาหกรรมศาสตรบัณฑิต” ใชอักษรยอ “อส.บ.”
ท้งั นี้ หากมีสาขาหรือวชิ าเอกใหร ะบุชอื่ สาขาหรือวิชาเอกนั้นไวใ นวงเล็บตอทายปริญญาดว ย

คมู ือนกั ศึกษา ๒๕๖๑ ((๓๓๕))

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มาตรา ๔ ครุยวิทยฐานะของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีสามชั้น
ดังตอไปน้ี

(๑) ครุยดุษฎีบัณฑิต เปนเส้ือคลุมแขนยาวทําดวยผาโปรงสีขาว ผาอก
ตลอด ยาวคลุมเขามสี าํ รดรอบขอบ สาํ รดตนแขน และสาํ รดปลายแขน ดงั ตอ ไปนี้

(ก) สํารดรอบขอบ พื้นสํารดทําดวยผาสักหลาดสีเขียว กวาง ๑๐
เซนติเมตร มีแถบทองกวาง ๑ เซนติเมตร ท่ีริมทั้งสองขาง เวนระยะหาง ๒.๓ เซนติเมตร ท้ัง
สองขาง ทาบแถบทองกวาง ๐.๗ เซนติเมตร ตอนกลางสํารดมีแถบผามันตามสีประจําคณะ
กวาง ๑.๓ เซนติเมตร และมีตราสัญลักษณมหาวิทยาลัยทําดวยโลหะสีเงิน สูง ๖ เซนติเมตร
ตดิ บนสํารดรอบขอบดานหนา อกทั้งสองขาง

(ข) สํารดตนแขน แบงเปน ๓ ตอน ระยะหางตอนละ ๑.๕ เซนติเมตร
แตละตอนกวาง ๖.๕ เซนติเมตร พื้นสํารดทําดวยผาสักหลาดสีเขียว มีแถบทอง กวาง ๑
เซนติเมตร ท่ีริมท้ังสองขางตอนกลางสํารดมีแถบผามันตามสีประจําคณะ กวาง ๑.๓
เซนติเมตร

(ค) สํารดปลายแขน พ้ืนสํารดทําดวยผาสักหลาดสีเขียว กวาง ๑๐
เซนติเมตร มีแถบทองกวาง ๑ เซนติเมตร ที่ริมทั้งสองขาง เวนระยะหาง ๒.๓ เซนติเมตร ท้ัง
สองขาง ทาบแถบทองกวาง ๐.๗ เซนติเมตร ตอนกลางสํารดมีแถบผามันตามสีประจําคณะ
กวาง ๑.๓ เซนตเิ มตร

(๒) ครุยมหาบัณฑิต เชนเดียวกับครุยดุษฎีบัณฑิต เวนแตมีสํารดตนแขน
๒ ตอน

(๓) ครุยบณั ฑติ เชน เดยี วกบั ครยุ มหาบัณฑติ เวนแตมีสํารดตนแขน ๑ ตอน
มาตรา ๕ เข็มวิทยฐานะของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีลักษณะเปน
รูปตราสัญลักษณมหาวิทยาลัยทําดวยโลหะดุนนูนสีทอง สวนพ้ืนของพระราชลัญจกรและ
ดอกบวั ลงยาสีนา้ํ เงนิ สว นพื้นของช่อื มหาวิทยาลัยลงยาสีขาว สูง ๖ เซนติเมตร
มาตรา ๖ ครุยประจําตําแหนงและเครื่องหมายประกอบครุยประจําตําแหนงของ
นายกสภามหาวทิ ยาลัย กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั และคณาจารยม หาวทิ ยาลยั มีดงั ตอ ไปนี้

(๑) นายกสภามหาวิทยาลัย ครุยเปนเสื้อคลุมแขนยาวทําดวยผาโปรงสีขาว ผา
อกตลอดยาวคลมุ เขา มสี าํ รดรอบขอบ สํารดตนแขน และสาํ รดปลายแขน ดงั ตอ ไปน้ี

(ก) สํารดรอบขอบ พ้ืนสํารดทําดวยผาสักหลาดสีเขียว กวาง ๑๐
เซนติเมตร โดยทาบแถบทอง กวาง ๑ เซนติเมตร จํานวน ๖ แถบ บนผาสักหลาดสีเขียว มี
ระยะหางระหวางแถบ ๐.๘ เซนติเมตร มีสํารดเฉียงโดยพ้ืนสํารดทําดวยผาสักหลาดสีเขียว
กวาง ๑๐ เซนติเมตร วางเฉียง๓๖ องศา ทาบบนสํารดรอบขอบบริเวณกลางอกเสื้อ มีแถบ
ทอง กวาง ๑ เซนติเมตร ที่ริมท้ังสองขางแบงครึ่งผาสักหลาดสีเขียวที่เหลือ ๘ เซนติเมตร

((๓๒๖)) คมู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ทาบแถบทอง กวาง ๑ เซนติเมตร บนผา สกั หลาดสเี ขยี ว ณ จุดแบงครึ่งขางละ ๑ แถบ รวม ๒
แถบ และใชแ ถบทอง กวา ง ๐.๕ เซนตเิ มตร ทาบบนผาสกั หลาดสีเขียวสวนท่ีเหลือทั้งสองขาง
มีตราสัญลกั ษณมหาวิทยาลยั ทําดว ยโลหะสีทอง สูง ๖ เซนติเมตร ติดกลางสํารดเฉียงท้ังสอง
ขา ง

(ข) สํารดตนแขน แบงเปน ๓ ตอน ระยะหางตอนละ ๒ เซนติเมตร แต
ละตอนกวาง ๓.๕ เซนติเมตร พ้ืนสํารดทําดวยผาสักหลาดสีเขียว มีแถบทอง กวาง ๑
เซนตเิ มตร ท่รี มิ ทั้งสองขา ง

(ค) สํารดปลายแขน แบงเปน ๓ ตอน ระยะหางตอนละ ๒ เซนติเมตร
แตละตอนกวาง ๓.๕ เซนติเมตร พื้นสํารดทําดวยผาสักหลาดสีเขียว มีแถบทอง กวาง ๑
เซนติเมตร ทรี่ ิมทั้งสองขา งใหม สี ายสรอ ยประกอบครุยประจาํ ตาํ แหนงนายกสภามหาวิทยาลัย
ทําดวยโลหะสีทองประกอบดวยรูปดอกไมทิพย ๙ ดอก มีเกสรเปนพลอยสีเขียว กึ่งกลาง
สายสรอ ยประดับตราสญั ลักษณมหาวทิ ยาลยั ดนุ นูนลงยา ยึดตดิ กบั ครุยประมาณรอ งหัวไหล

(๒) กรรมการสภามหาวิทยาลัย เชนเดียวกับนายกสภามหาวิทยาลัย แตไมมี
สายสรอยประดับ

(๓) คณาจารยมหาวิทยาลัย เชนเดียวกับกรรมการสภามหาวิทยาลัย เวนแตสํารด
รอบขอบพ้ืนสํารดทําดวยผาสักหลาดสีเขียว กวาง ๑๐ เซนติเมตร มีแถบทอง กวาง ๑
เซนติเมตร ท่ีริมทั้งสองขางเวนระยะหาง ๐.๕ เซนติเมตร ทั้งสองขาง ทาบแถบทอง กวาง ๐.๗
เซนตเิ มตร เวนระยะหา ง ๐.๕ เซนตเิ มตร ท้ังสองขาง ทาบแถบทอง กวาง ๑ เซนติเมตร บนผา
สักหลาดสีเขียว สวนท่ีเหลือทั้งสองขางมีตราสัญลักษณมหาวิทยาลัยทําดวยโลหะสีทอง สูง ๖
เซนติเมตร ตดิ บนสาํ รดรอบขอบดานหนา อกทั้งสองขาง

มาตรา ๗ สปี ระจําคณะ มดี ังตอ ไปนี้
(๑) คณะครุศาสตรอ ุตสาหกรรม สที ับทิมแดง
(๒) คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร สชี มพู
(๓) คณะบรหิ ารธรุ กิจ สฟี า
(๔) คณะวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สเี หลือง
(๕) คณะวิศวกรรมศาสตร สีเลอื ดหมู
(๖) คณะศลิ ปศาสตร สแี สด
(๗) คณะอุตสาหกรรมส่ิงทอ สีมวง

คูมือนกั ศกึ ษา ๒๕๖๑ ((๓๓๗))

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

มาตรา ๘ ใหม หาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพจดั ทาํ ครยุ วิทยฐานะ
เขม็ วิทยฐานะและครุยประจาํ ตาํ แหนงตามพระราชกฤษฎกี านขี้ ึ้นไวเ ปนตวั อยา ง

มาตรา ๙ ใหร ัฐมนตรวี าการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารรกั ษาการตามพระราชกฤษฎกี าน้ี

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ
สมชาย วงศสวสั ดิ์

(นายสมชาย วงศส วสั ด)ิ์
นายกรัฐมนตรี

((๓๒๘)) คมู ือนกั ศกึ ษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

พระราชกฤษฎีกา
วา ดวยปรญิ ญาในสาขาวิชา อกั ษรยอสาํ หรับสาขาวิชา
ครยุ วทิ ยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจําตาํ แหนง
ของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ (ฉบบั ท่ี ๒)

พ.ศ.๒๕๕๕
---------------------

ภูมพิ ลอดลุ ยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันท่ี ๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

เปนปท ี่ ๖๗ ในรชั กาลปจ จุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกลา ฯ ใหป ระกาศวา

โดยท่ีเปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมพระราชกฤษฎีกาวาดวยปริญญาใน
สาขาวิชา อักษรยอสําหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะและครุยประจํา
ตาํ แหนงของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

อ า ศั ย อํ า น า จ ต า ม ค ว า ม ใ น ม า ต ร า ๑ ๘ ๗ ข อ ง รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห ง
ราชอาณาจักรไทย และมาตรา ๕๕ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ.๒๕๔๘ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราช
กฤษฎีกาข้ึนไว ดังตอ ไปน้ี

มาตรา ๑ พระราชกฤษฎีกาน้ีเรียกวา “พระราชกฤษฎีกาวาดวยปริญญาใน
สาขาวิชา อักษรยอสําหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจํา
ตําแหนง ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๕”

มาตรา ๒ พระราชกฤษฎีกาน้ีใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศใน ราช
กิจจานเุ บกษาเปน ตนไป

มาตรา ๓ ใหยกเลิกความในมาตรา ๓ แหงพระราชกฤษฎีกาวาดวยปริญญาใน
สาขาวชิ า อักษรยอสําหรบั สาขาวชิ า ครยุ วทิ ยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจําตําแหนง
ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ พ.ศ.๒๕๕๑ และใหใ ชค วามตอ ไปนแี้ ทน

“มาตรา ๓ ใหกําหนดปริญญาในสาขาวิชาและอักษรยอสําหรับสาขาวิชาของ
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ ดังตอไปน้ี

(๑) สาขาวชิ าการบญั ชี มีปรญิ ญาสามชนั้ คอื
(ก) เอก เรียกวา “บัญชีดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “บช.ด.” และ “ปรัชญา

ดุษฎบี ัณฑติ ใชอ กั ษรยอ “ปร.ด.”

คูมอื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๑ ((๓๓๙))

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(ข) โท เรียกวา “บญั ชีมหาบณั ฑติ ” ใชอ กั ษรยอ “บช.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา “บัญชบี ญั ฑติ ” ใชอกั ษรยอ “บช.บ.”
(๒) สาขาวชิ าครุศาสตรอ ตุ สาหกรรม มีปริญญาสามช้นั คือ
(ก) เอก เรยี กวา “ครศุ าสตรอ ุตสาหกรรมดุษฎบี ัณฑิต” ใชอกั ษร
“ค.อ.ด.” และ “ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต” ใชอ ักษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา “ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต” ใชอกั ษรยอ
“ค.อ.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา “ครศุ าสตรอ ตุ สาหกรรมบณั ฑติ ” ใชอักษรยอ “ค.อ.บ.”
(๓) สาขาวิชาคหกรรมศาสตร มีปริญญาสามชน้ั คอื
(ก) เอก เรียกวา “คหกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “คศ.ด.” และ
“ปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑติ ” ใชอักษร “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา “คหกรรมศาสตรมหาบัณฑติ ” ใชอักษรยอ “คศ.ม.”
(ค) ตรี เรยี กวา “คหกรรมศาสตรบัณฑติ ” ใชอักษรยอ “คศ.บ.”
(๔) สาขาวิชาเทคโนโลยี มีปริญญาหนึ่งช้ัน คือ ตรี เรียกวา “เทคโนโลยีบัณฑิต”
ใชอ กั ษรยอ “ทล.บ.”
(๕) สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกิจ มีปรญิ ญาสามช้ัน คือ
(ก) เอก เรียกวา “บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “บธ.ด.” และ
“ปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิต” ใชอ กั ษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรยี กวา “บริหารธรุ กิจมหาบณั ฑติ ” ใชอ ักษรยอ “บธ.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา “บรหิ ารธรุ กิจบณั ฑติ ” ใชอ กั ษรยอ “บธ.บ.”
(๖) สาขาวทิ ยาศาสตร มปี รญิ ญาสามช้ัน คือ
(ก) เอก เรียกวา “วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “วท.ด.” และ
“ปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิต” ใชอักษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรยี กวา “วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต” ใชอักษรยอ “วท.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา “วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต” ใชอ ักษรยอ “วท.บ.”
(๗) สาขาวิศวกรรมศาสตร มีปริญญาสามชัน้ คอื
(ก) เอก เรียกวา “วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “วศ.ด.” และ
“ปรัชญาดุษฎีบณั ฑติ ” ใชอ ักษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา “วศิ วกรรมศาสตรมหาบัณฑิต” ใชอ กั ษรยอ “วศ.ม.”
(ค) ตรี เรยี กวา “วศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ ” ใชอ กั ษรยอ “วศ.บ.”

((๔๒๐)) คมู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๘) สาขาวิชาศลิ ปศาสตร มีปรญิ ญาสามช้นั คอื
(ก) เอก เรียกวา “ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “ศศ.ด.” และ

“ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต” ใชอักษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรยี กวา “ศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ ” ใชอกั ษรยอ “ศศ.ม.”
(ค) ตรี เรยี กวา “ศลิ ปศาสตรบณั ฑิต” ใชอ กั ษรยอ “ศศ.บ.”

(๙) สาขาวิชาศึกษาศาสตร มปี รญิ ญาสามช้ัน คือ
(ก) เอก เรียกวา “ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “ศษ.ด.” และ

“ปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑติ ” ใชอกั ษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรยี กวา “ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ ” ใชอ ักษรยอ “ศษ.ม.”
(ค) ตรี เรยี กวา “ศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ ” ใชอ กั ษรยอ “ศษ.บ.”

(๑๐) สาขาวชิ าอุตสาหกรรมศาสตร มปี รญิ ญาสามชั้น คือ
(ก) เอก เรยี กวา “อุตสาหกรรมศาสตรดษุ ฎีบณั ฑติ ” ใชอ กั ษรยอ “อส.ด.”

และ “ปรัชญาดษุ ฎีบัณฑติ ” ใชอ กั ษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรยี กวา “อตุ สาหกรรมศาสตรมหาบัณฑติ ” ใชอ กั ษรยอ “อส.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา “อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑติ ” ใชอ กั ษรยอ “อส.บ.”
ท้ังน้ี หากมีสาขาหรือวิชาเอกใหระบุช่ือสาขาหรือวิชาเอกนั้นไวในวงเล็บ

ตอทา ยปริญญาดว ย”

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ
ยิ่งลกั ษณ ชินวัตร

(นางสาวยง่ิ ลักษณ ชินวตั ร)
นายกรฐั มนตรี

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพไดเปดสอนสาขาวิชาการบัญชีและสาขาวิชาศึกษาศาสตรเพ่ิมข้ึน
สมควรแกไขเพ่ิมเติมการกําหนดปริญญาในสาขาวิชาและอักษรยอสําหรับสาขาวิชาของ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เพ่ือกําหนดปริญญาในสาขาวิชาและ อักษรยอ
สําหรบั สาขาวชิ าของสาขาวชิ าดังกลาว จงึ จําเปนตองตราพระราชกฤษฎกี านี้

คมู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๑ ((๔๓๑))

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ


Click to View FlipBook Version