The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา2561

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ASCAR.RMUTK, 2020-09-30 23:41:09

คู่มือนักศึกษา2561

คู่มือนักศึกษา2561

(๑(๔๒๒)) คูมือนกั ศึกษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ขอบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
วาดว ยการศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๐

โดยท่ีเปนการสมควรปรับปรุงหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข เกี่ยวกับการศึกษา
ระดับบณั ฑิตศึกษาใหสอดคลอ งกับประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับ
บัณฑติ ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๗ (๒) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยรี าชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกอบกบั มติสภามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ใน
การประชมุ ครั้งท่ี ๕/๒๕๖๐ เมอ่ื วนั ที่ ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ จึงออกขอบงั คับไว ดังตอไปนี้

ขอ ๑ ขอบังคับนี้เรียกวา “ขอบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
วา ดวยการศึกษาระดบั บัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐”

ขอ ๒ ขอบังคบั นใ้ี หใ ชบ งั คบั ต้งั แตวันถดั จากวนั ประกาศเปน ตน ไป
ขอ ๓ ใหยกเลกิ ขอ บังคับมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ วาดวยการศึกษา
ระดบั บัณฑติ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๙
ขอ ๔ ในขอ บังคับน้ี
“มหาวิทยาลัย” หมายความวา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
“สภามหาวทิ ยาลัย” หมายความวา สภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ
“สภาวชิ าการ” หมายความวา สภาวิชาการมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
“อธิการบดี” หมายความวา อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ
“คณบดี” หมายความวา คณบดีคณะท่ีเปดสอนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
“บัณฑิตศึกษา” หมายความวา การศึกษาระดับสูงกวาปริญญาตรีข้ึนไปของ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
“หลักสูตร” หมายความวา หลักสูตรสาขาวิชาตาง ๆ ในระดับบัณฑิตศึกษา
ท่ีสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพใหค วามเห็นชอบ
“คณะ” หมายความวา คณะหรือหนวยงานที่เรียกชื่ออยางอื่นที่มีฐานะ
เทียบเทาคณะที่ไดรับอนุมัติจัดตั้งโดยสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ที่เปดสอน
หลักสตู รระดับบัณฑติ ศกึ ษา

คูมือนักศกึ ษา ๒๕๖๑ ((๑๓๔)๓)

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

“บัณฑิตวิทยาลัย” หมายความวา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรงุ เทพ

“คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย” หมายความวา คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

“คณะกรรมการบริหารหลักสูตร” หมายความวา คณะกรรมการบริหาร
หลักสตู รของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

“อาจารยประจํา” หมายความวา บุคคลท่ีดํารงตําแหนงอาจารย ผูชวย
ศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
และปฏบิ ัตหิ นาทีเ่ ต็มเวลา

“อาจารยประจําหลักสูตร” หมายความวา อาจารยประจําที่มีคุณวุฒิตรงหรือ
สัมพันธกับสาขาวิชาของหลักสูตรที่เปดสอน ซึ่งมีหนาที่สอนและคนควาวิจัยในสาขาวิชา
ดังกลาว ทั้งนี้ สามารถเปนอาจารยประจําหลักสูตรหลายหลักสูตรไดในเวลาเดียวกัน แตตอง
เปนหลักสูตรท่ีอาจารยผูนั้นมีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธกับสาขาวิชาของหลักสูตร

“อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร” หมายความวา อาจารยประจําหลักสูตรที่มี
ภาระหนาที่ในการบริหารและพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ตั้งแตการวางแผน การ
ควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผลและการพัฒนาหลักสูตร อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร
ตองอยูประจําหลักสูตรนั้นตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา โดยจะเปนอาจารยผูรับผิดชอบ
หลักสูตรเกินกวา ๑ หลักสูตรในเวลาเดียวกันไมได ยกเวนพหุวิทยาการ หรือสหวิทยาการ ให
เปนอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรไดอีกหน่ึงหลักสูตรและอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรสามารถ
ซ้าํ ไดไมเกิน ๒ คน

“อาจารยพิเศษ” หมายความวา ผูสอนท่ีไมใชอาจารยประจํา
“นักศึกษา” หมายความวา ผูเขารับการศึกษาในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
“ผูทรงคุณวุฒิ” หมายความวา บุคคลซึ่งมีคุณวุฒิหรือตําแหนงทางวิชาการตาม
เกณฑและขอกําหนดของแตละหลกั สูตรที่เปดสอน
“ผูเช่ียวชาญเฉพาะ” หมายความวา บุคคลซึ่งมีความรูและความเชี่ยวชาญใน
สาขาวิชาท่ีเปดสอนเปนอยางดี หรือเปนผูเชี่ยวชาญภายนอกมหาวิทยาลัย โดยไมตองพิจารณาดาน
คณุ วฒุ ิและตาํ แหนงทางวชิ าการ
ขอ ๕ ใหอธิการบดีรักษาการตามขอบังคับน้ี และมีอํานาจวินิจฉัยตีความในกรณีท่ีมี
ปญหาเกยี่ วกับการปฏบิ ัตติ ามขอบงั คับน้ี

(๑(๔๒๔)) คูมือนกั ศึกษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

หมวด ๑
บททัว่ ไป

ขอ ๖ ในกรณีที่มีการจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัยแลว ใหบัณฑิตวิทยาลัยมีหนาท่ีใน
การกําหนดนโยบาย การจัดการศึกษา การประสานงาน และสนับสนุนการดําเนินการระดับ
บัณฑิตศกึ ษา ในสาขาวิชาทเ่ี กย่ี วขอ งกับคณะตาง ๆ ภายในมหาวทิ ยาลยั

กรณีที่ยังไมมีการจัดต้ังบัณฑิตวิทยาลัย ใหคณะดําเนินการในดานตาง ๆ ท่ี
เก่ยี วขอ งกบั การจัดการศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษาไปจนกวา จะมีการจดั ตั้งบัณฑติ วทิ ยาลยั

ขอ ๗ ใหคณบดีแตงต้ังคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพ่ือบริหารและจัด
การศึกษาในหลักสตู รตาง ๆ ของคณะ

หมวด ๒
ระบบการศึกษา

ขอ ๘ ระบบการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ใหจัดการศึกษาเปน ๓ ประเภท
ดังตอไปน้ี

(๑) การศึกษาภาคปกติ จัดเปน ๓ แบบ ดังตอไปน้ี
(ก) ระบบทวิภาค โดย ๑ ปการศึกษา แบงออกเปน ๒ ภาคการศึกษาปกติ ๑ ภาค

การศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา ๑๕ สัปดาห และอาจเปดสอนภาคการศึกษาฤดูรอนได
ซงึ่ มีระยะเวลาไมนอยกวา ๗ สัปดาห โดยมชี ั่วโมงการเรียนในแตละรายวิชาเทากับภาคการศึกษา
ปกติ ในกรณีท่ีมีการเปดภาคการศกึ ษาฤดรู อ น ใหถอื วาเปน สว นหน่งึ ของปการศกึ ษาเดยี วกัน

(ข) ระบบไตรภาค โดย ๑ ปการศึกษา แบงออกเปน ๓ ภาคการศึกษาปกติ
๑ ภาคการศกึ ษาปกติมีระยะเวลาศกึ ษาไมนอยกวา ๑๒ สัปดาห โดย ๑ หนวยกิตระบบไตรภาคเทียบ
ไดกับ ๑๒/๑๕ หนวยกิตระบบทวิภาค หรือ ๔ หนวยกิตระบบทวิภาคเทียบไดกับ ๕ หนวยกิต
ระบบไตรภาค

(ค) ระบบจตุรภาค โดย ๑ ปการศึกษา แบงออกเปน ๔ ภาคการศึกษาปกติ
๑ ภาคการศกึ ษาปกติมรี ะยะเวลาศึกษาไมนอ ยกวา ๑๐ สัปดาห โดย ๑ หนวยกิตระบบจตุรภาคเทียบ
ไดกบั ๑๐/๑๕ หนวยกติ ระบบทวิภาค หรือ ๒ หนวยกิตระบบทวิภาคเทียบไดกับ ๓ หนวยกิตระบบ
จตรุ ภาค

คูมอื นักศึกษา ๒๕๖๑ ((๑๓๔)๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๒) การศึกษาภาคสมทบ เปนการจัดการศึกษาในชวงเวลาวันหยุดสุดสัปดาห
หรือนอกเวลาราชการในภาคการศกึ ษาปกติ

(๓) การศึกษาภาคพิเศษ เปนการจัดการศึกษาในภาคการศึกษาปกติ หรือรูปแบบ
ใดรปู แบบหนึ่ง หรือแบบผสมผสาน ดงั ตอไปน้ี

(ก) การศึกษาเฉพาะชวงเวลาของป จัดเฉพาะชวงของภาคการศึกษาปกติ
หรือจัดเฉพาะในภาคฤดูรอน

(ข) การศึกษาแบบนานาชาติ เปนการจัดการศึกษาโดยความรวมมือของ
สถาบันอุดมศึกษาในตางประเทศ หรือเปนหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ท่ีมีการจัดการและมาตรฐาน
เดียวกันกับหลักสูตรนานาชาติ โดยอาจจัดในระยะเวลาท่ีสอดคลองกับชวงเวลาในตางประเทศ ตาม
โครงการความรว มมือทางวิชาการ

การจัดการเรียนการสอนแตละรูปแบบ ใหพิจารณาตามความเหมาะสมกับแต
ละหลักสูตร ทั้งนี้ ตองจัดใหไดเนื้อหาโดยรวมที่มีนํ้าหนักสมดุลกับจํานวนหนวยกิตรวมของ
หลักสูตร โดยการคิดเทียบนํ้าหนักหนวยกิตตามขอ ๙ และใหจัดทําโครงการของหลักสูตรนั้น
เสนอตอสภามหาวิทยาลัย และจัดทําเปนประกาศมหาวิทยาลัย

ขอ ๙ การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา เปนการศึกษาแบบสะสมหนวยกิต
การกําหนดหนวยกิตแตล ะรายวิชา มหี ลักเกณฑดงั ตอไปนี้

(๑) รายวิชาภาคทฤษฎี ท่ีใชเวลาบรรยายหรืออภิปรายปญหาไมนอยกวา ๑๕ ช่ัวโมง
ตอ ภาคการศึกษาปกติ ใหมคี า เทา กบั ๑ หนวยกติ ระบบทวภิ าค

(๒) รายวิชาภาคปฏิบัติ ท่ีใชเวลาฝกหรือทดลองไมนอยกวา ๓๐ ช่ัวโมงตอภาค
การศึกษาปกติ ใหมคี าเทา กบั ๑ หนว ยกิตระบบทวิภาค

(๓) การฝกงานหรือฝกภาคสนาม ที่ใชเวลาฝกไมนอยกวา ๔๕ ชั่วโมงตอภาค
การศึกษาปกติ ใหมคี า เทา กับ ๑ หนวยกติ ระบบทวภิ าค

(๔) การทําโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอ่ืนใดตามที่ไดรับมอบหมาย ท่ีใชเวลาทํา
โครงงาน หรอื กิจกรรมนน้ั ไมนอยกวา ๔๕ ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติใหมีคาเทากับ ๑ หนวยกิต
ระบบทวิภาค

(๕) การคนควาอิสระ หรือวิทยานิพนธ ที่ใชเวลาศึกษาคนควาไมนอยกวา ๔๕ ชั่วโมง
ตอภาคการศกึ ษาปกติ ใหมีคา เทา กับ ๑ หนวยกิตระบบทวภิ าค

(๑(๔๒๖)) คมู ือนักศึกษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

หมวด ๓
หลกั สตู รการศกึ ษา

ขอ ๑๐ หลกั สตู รทีเ่ ปด สอนในระดับบณั ฑิตศึกษา มีดงั ตอ ไปนี้
(๑) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต เปนหลักสูตรการศึกษาที่สรางเสริมความ
เชี่ยวชาญหรือประสทิ ธิภาพในทางวิชาชีพ และเปนหลักสูตรท่ีมีลักษณะสิ้นสุดในตัวเอง สําหรับผูสําเร็จ
การศึกษาในระดบั ปรญิ ญาตรหี รอื เทียบเทา มาแลว
(๒) หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต เปนหลักสูตรการศึกษาที่สงเสริม
ความกา วหนาทางวชิ าการหรือวิชาชพี ในสาขาวิชาตาง ๆ ในระดับท่สี งู กวาขน้ั ปรญิ ญาตรี
(๓) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง เปนหลักสูตรการศึกษาที่สรางเสริม
ความเชี่ยวชาญหรือประสิทธิภาพในทางวิชาชีพ และเปนหลักสูตรท่ีมีลักษณะส้ินสุดในตัวเอง
สําหรับผูสาํ เร็จการศกึ ษาในระดบั ปริญญาโทหรอื เทียบเทา มาแลว
(๔) หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต เปนหลักสูตรการศึกษาท่ีสงเสริม
ความกา วหนา ทางวิชาการและการวจิ ัยในสาขาวชิ าตาง ๆ ในระดบั ทส่ี งู กวาขน้ั ปริญญาโท
ขอ ๑๑ โครงสรางหลักสตู ร ระบบทวภิ าค
(๑) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต และประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ใหมี
จาํ นวนหนว ยกติ รวมตลอดหลกั สูตรไมน อยกวา ๒๔ หนวยกิต
(๒) หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ใหมีจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา
๓๖ หนว ยกติ โดยแบง การศกึ ษาเปน ๒ แผน ดังตอไปน้ี

(ก) แผน ก เปนแผนการศึกษาที่เนนการวิจัย โดยมีการทําวิทยานิพนธ
ดังตอไปนี้

แบบ ก ๑ ทําเฉพาะวทิ ยานพิ นธ ซง่ึ มคี า เทียบไดไมนอยกวา ๓๖ หนวยกิต
หลักสูตรอาจกําหนดใหเรียนรายวิชาเพิ่มเติม หรือทํากิจกรรมทางวิชาการอื่นเพ่ิมข้ึนก็ได โดยไมนับ
หนว ยกติ แตจะตองมผี ลสมั ฤทธติ์ ามทีห่ ลกั สูตรกําหนด

แบบ ก ๒ ทําวิทยานิพนธ ซึ่งมีคาเทียบไดไมนอยกวา ๑๒ หนวยกิต
และศึกษารายวิชาในระดบั บัณฑิตศึกษาอีกไมนอ ยกวา ๑๒ หนว ยกติ

(ข) แผน ข เปนแผนการศึกษาที่เนนการศึกษารายวิชา โดยไมตองทํา
วิทยานิพนธแตต อ งมีการคน ควา อิสระไมน อยกวา ๓ หนวยกติ และไมเกนิ ๖ หนว ยกติ

(๓) หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบงการศึกษาเปน ๒ แบบ โดยเนนการวิจัย
เพ่อื พัฒนานกั วชิ าการ และนักวิชาชีพช้ันสงู คือ

คูม ือนกั ศึกษา ๒๕๖๑ ((๑๓๔)๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(ก) แบบ ๑ เปนแผนการศึกษาท่ีเนนการวิจัย โดยมีการทําวิทยานิพนธท่ี
กอใหเ กดิ ความรูใหม หลักสูตรอาจกาํ หนดใหเรยี นรายวชิ าเพ่มิ เติม หรือทาํ กิจกรรมทางวิชาการอื่น
เพิ่มขึ้นกไ็ ดโดยไมน บั หนว ยกิต แตจ ะตองมผี ลสัมฤทธ์ติ ามที่หลักสตู รกาํ หนด ดังตอ ไปน้ี

แบบ ๑.๑ ผูเขาศึกษาที่สําเร็จปริญญาตรี ตองทําวิทยานิพนธไม
นอยกวา ๗๒ หนวยกิต

แบบ ๑.๒ ผูเขาศึกษาที่สําเร็จปริญญาโท ตองทําวิทยานิพนธไม
นอยกวา ๔๘ หนวยกิต

ทั้งนี้ วิทยานิพนธตามแบบ ๑.๑ และแบบ ๑.๒ ตองมีมาตรฐานและ
คุณภาพเดียวกนั

(ข) แบบ ๒ เปนแผนการศึกษาที่เนนการวิจัย โดยมีการทําวิทยานิพนธ
ที่มีคุณภาพสูง และกอใหเกิดความกาวหนาทางวิชาการและวิชาชีพ และศึกษารายวิชาเพิ่มเติม
ดังตอไปนี้

แบบ ๒.๑ ผูเขาศึกษาท่ีสําเร็จปริญญาตรี ตองทําวิทยานิพนธไมนอย
กวา ๔๘ หนว ยกติ และศกึ ษารายวิชาอีกไมนอยกวา ๒๔ หนว ยกิต

แบบ ๒.๒ ผูเขาศึกษาที่สําเร็จปริญญาโท ตองทําวิทยานิพนธไมนอย
กวา ๓๖ หนวยกติ และศกึ ษารายวชิ าอีกไมน อยกวา ๑๒ หนวยกติ

ทั้งนี้ วิทยานิพนธตามแบบ ๒.๑ และแบบ ๒.๒ ตองมีมาตรฐานและ
คุณภาพเดียวกนั

ขอ ๑๒ ระยะเวลาการศกึ ษา
(๑) หลกั สตู รประกาศนียบัตรบัณฑิต และประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ใหใชระยะเวลา
การศึกษาตามหลกั สตู รไมเกิน ๓ ปการศกึ ษา
(๒) หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ใหใชระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตรไมเกิน ๕ ป
การศกึ ษา
(๓) หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ใหใชระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตรไมนอย
กวา ๓ ปการศกึ ษา และอยา งมากสําหรับนกั ศึกษาที่เขาศึกษาดวยคุณวุฒทิ ่แี ตกตางกันดังตอไปนี้

(ก) สําหรับผูที่เขาศึกษาดวยวุฒิปริญญาตรี ใหใชเวลาศึกษาไมเกิน ๘ ป
การศกึ ษา

(ข) สําหรับผูท่ีเขาศึกษาดวยวุฒิปริญญาโท ใหใชเวลาศึกษาไมเกิน ๖ ป
การศึกษา

(๔) การนบั ระยะเวลาการศึกษา ใหนับจากวันเปดภาคการศึกษาแรกท่ีนักศึกษา
เขาศกึ ษาในหลกั สูตร โดยที่มสี ภาพการเปนนกั ศกึ ษาตามขอ ๑๖ (๓)

(๑(๔๒๘)) คมู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๕) ในกรณีที่นักศึกษาไมสามารถสําเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่กําหนด
ใหนักศึกษายื่นคํารองขอขยายเวลาตอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพื่อพิจารณาและเสนอ
คณบดีเพ่ืออนุมัติ ทั้งน้ี การขยายเวลาใหสามารถขอขยายไดคราวละหน่ึงภาคการศึกษา แตไม
เกนิ สองภาคการศึกษา

หมวด ๔
การรบั เขาเปนนักศึกษา ประเภท และสภาพนักศึกษา

ขอ ๑๓ คณุ สมบตั ิของผูเ ขา ศึกษา
(๑) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต และปริญญามหาบัณฑิต ผูเขาศึกษา
ตองสําเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรีหรือเทียบเทาจากสถาบันการศึกษาท่ีสํานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา หรือสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือนรับรอง และมีคุณสมบัติอ่ืนตาม
เกณฑกาํ หนดของหลกั สูตร
(๒) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ผูเขาศึกษาตองสําเร็จการศึกษาระดับ
ปริญญาโทหรือเทียบเทาจากสถาบันการศึกษาที่สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ
สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือนรับรอง และมีคุณสมบัติอื่นตามเกณฑกําหนดของ
หลักสูตร
(๓) หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ผูเขาศึกษาตองสําเร็จการศึกษา โดยมีคุณสมบัติ
ดงั ตอ ไปน้ี

(ก) สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเทา หรือสําเร็จการศึกษา
ระดบั ปริญญาตรีหรือเทียบเทาที่มีผลการเรียนดีมาก ในสาขาวิชาเดียวกันกับหลักสูตรปริญญา
ดุษฎีบัณฑิตที่ประสงคจะศึกษา โดยสําเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาท่ีสํานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือนรับรอง และมีผล
การสอบภาษาองั กฤษไดต ามเกณฑท ่ีคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษากําหนด

(ข) มีคุณสมบตั ิอื่นตามทีก่ ําหนดไวในหลักสตู ร
(ค) ไมเคยพนสภาพจากการเปนนักศึกษาเน่ืองจากการสอบวัดคุณสมบัติไมผาน
ตามขอ ๓๒ ในการศึกษาระดับบณั ฑิตศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั ในหลกั สตู รท่ีจะเขาศึกษา
ขอ ๑๔ การรบั เขาศึกษา
(๑) วธิ กี ารสมัครเขาเปน นักศึกษา ใชวธิ ีการตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด โดยอาจมี
การทดสอบความรู การสอบคัดเลือก การพิจารณาคัดเลือก หรือโดยวิธีอ่ืนใดที่คณะ
กรรมการบริหารหลักสูตรเหน็ สมควร และคณะใหความเหน็ ชอบ

คูมือนักศึกษา ๒๕๖๑ ((๑๓๔)๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๒) ในกรณีที่ผูสมัครกําลังรอผลการศึกษาระดับปริญญาขั้นใดขั้นหนึ่งอยู
การรับเขาศึกษาจะมีผลสมบูรณเมื่อผูสมัครไดแสดงหลักฐานวาสําเร็จการศึกษาแลวกอนวัน
รายงานตัวเปนนักศกึ ษาตามวันและเวลาที่มหาวิทยาลัยกาํ หนด

(๓) คณะอาจพจิ ารณาอนุมัติใหรบั นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจากมหาวทิ ยาลัยหรือ
สถาบันอุดมศึกษาอื่นลงทะเบียนเรียนรายวิชาตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร
หลักสูตร และปฏบิ ัตติ ามระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลยั ทเ่ี ก่ียวของ

(๔) คณะอาจพิจารณาอนุมัติใหรับบุคคลภายนอกท่ีไมใชนักศึกษาระดับ
บณั ฑติ ศกึ ษาเขาเปนนักศกึ ษาพิเศษตามความเหน็ ชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร แตบุคคล
นน้ั ตอ งมคี ณุ วฒุ ิและคุณสมบตั ิตามขอ ๑๓

ขอ ๑๕ การขนึ้ ทะเบียนเปน นักศึกษา
(๑) ผูที่ไดรับการคัดเลือกเขาเปนนักศึกษา มีสภาพเปนนักศึกษาตอเม่ือไดข้ึน
ทะเบียนเปน นักศกึ ษาแลว
(๒) ผูที่ไดรับการคัดเลือกเขาเปนนักศึกษา ตองขึ้นทะเบียนนักศึกษาดวย
ตนเองโดยนําหลักฐานตามท่ีมหาวิทยาลัยกําหนดมารายงานตัวตอแผนกทะเบียนนักศึกษาของคณะ
หรอื มหาวิทยาลัย พรอ มท้ังชาํ ระเงนิ ตามระเบยี บทมี่ หาวิทยาลัยกาํ หนด
(๓) ผทู ่ไี ดร ับการคดั เลือกเขาเปนนกั ศึกษาท่ีไมอาจมาข้ึนทะเบียนตามวัน เวลา และ
สถานที่ที่มหาวิทยาลัยกําหนด ใหหมดสิทธิ์ข้ึนทะเบียนเปนนักศึกษา เวนแตไดแจงเหตุขัดของให
มหาวิทยาลัยทราบเปนลายลักษณอักษรภายในวันที่กําหนดใหมารายงานตัว และเมื่อไดรับอนุมัติ
แลว ตอ งมารายงานตวั ภายใน ๗ วนั นับจากวนั สดุ ทายท่ีมหาวทิ ยาลัยกําหนดใหม ารายงานตวั
(๔) ผูที่ไดรับการคัดเลือกใหเขาเปนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของ
มหาวิทยาลัยจะขึ้นทะเบยี นเปนนกั ศึกษาเกนิ กวา ๑ สาขาวิชาในขณะเดียวกันไมได
ขอ ๑๖ ประเภทนักศึกษา สถานภาพการเปนนักศึกษา และการเปลี่ยน
ประเภทและสถานภาพการเปนนักศกึ ษา
(๑) นกั ศึกษา มี ๓ ประเภท ดงั ตอไปน้ี

(ก) นกั ศกึ ษาภาคปกติ ไดแ ก นักศกึ ษาท่ศี ึกษาในระบบการศึกษาตาม
ขอ ๘ (๑)

(ข) นักศึกษาภาคสมทบ ไดแก นกั ศึกษาที่ศกึ ษาในระบบการศึกษาตาม
ขอ ๘ (๒)

(ค) นักศึกษาภาคพเิ ศษ ไดแ ก นกั ศึกษาท่ีศกึ ษาในระบบการศกึ ษาตาม
ขอ ๘ (๓)

(๒) การเปล่ียนประเภทนกั ศึกษา
(ก) ในกรณีที่มีเหตุผลและความจําเปนอยางย่ิง คณะอาจอนุมัติใหนักศึกษาภาค

ปกติเปล่ียนประเภทเปนนักศึกษาภาคสมทบหรือนักศึกษาภาคพิเศษได ท้ังนี้ นักศึกษาตองปฏิบัติ

(๑(๕๒๐)) คมู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ตามขอบงั คับและระเบียบตาง ๆ รวมทั้งชําระคา ธรรมเนียมการศึกษาสําหรับการเปนนักศึกษาภาค
สมทบหรอื ภาคพเิ ศษ ตามจาํ นวนทก่ี ําหนดไวในแตล ะหลกั สตู ร

(ข) นักศึกษาภาคสมทบหรือนักศึกษาภาคพิเศษไมสามารถเปล่ียนประเภท
เปนนักศึกษาภาคปกติได

(ค) นักศึกษาภาคสมทบไมสามารถเปลี่ยนประเภทเปนนักศึกษาภาคพิเศษ
ได

(๓) สถานภาพการเปน นักศกึ ษา มดี ังตอไปน้ี
(ก) นักศึกษาสามัญ หมายถึง ผูท่ีคณะรับเขาเปนนักศึกษาโดยสมบูรณเพื่อเขา

ศกึ ษาในหลักสูตรใดหลักสูตรหนง่ึ
(ข) นักศึกษาทดลองเรียน หมายถึง ผูท่ีคณะรับเขาเปนนักศึกษาทดลองเรียน

ในภาคการศึกษาแรกตามเงื่อนไขที่กําหนด ยกเวนหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แบบ ก ๑ และ
หลกั สตู รปริญญาดุษฎบี ัณฑิต แบบ ๑ มใิ หมนี กั ศึกษาทดลองเรยี น

(ค) นักศึกษาพิเศษ หมายถึง ผูที่คณะรับเขารวมศึกษาหรือทําการวิจัย
โดยไมขอรับปริญญาของมหาวิทยาลัย คณะอาจพิจารณารับบุคคลเขาเปนนักศึกษาพิเศษได โดย
อยใู นดลุ พินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและไดรับอนุมัติจากคณบดีใหเขาศึกษาหรือทําการ
วิจัยได โดยตองชําระเงินตามระเบียบหรือประกาศของมหาวทิ ยาลัยทเ่ี กย่ี วขอ ง

(๔) การเปลี่ยนสถานภาพการเปนนักศึกษา นักศึกษาทดลองเรียนที่เขาศึกษา
ในภาคการศึกษาแรกและลงทะเบียนเรียนวิชาในระดับบัณฑิตศึกษาตามเกณฑที่กําหนด และสอบ
ไดคะแนนเฉล่ียสะสมไมต่ํากวา ๓.๐๐ สามารถเปล่ียนสถานภาพการเปนนักศึกษาสามัญไดเม่ือส้ินสุด
ภาคการศกึ ษาแรก โดยย่นื คํารอ งตอ คณะ มิฉะน้ันใหพ น สภาพการเปน นกั ศึกษา

หมวด ๕
การบรหิ ารหลกั สตู ร

ขอ ๑๗ คณะกรรมการบริหารหลกั สตู ร
(๑) ในแตละหลักสูตร ใหคณบดีแตงต้ัง “คณะกรรมการบริหารหลักสูตร
(ชือ่ หลกั สตู ร)” จํานวนไมนอยกวา ๓ คน ประกอบดว ย

(ก) คณบดหี รอื ผซู ึง่ คณบดมี อบหมาย เปนประธานกรรมการ
(ข) อาจารยผ ูรบั ผดิ ชอบหลกั สตู ร เปน กรรมการ
(ค) อาจารยประจําหลักสูตร หรืออาจารยประจํา หรือผูทรงคุณวุฒิ
ภายนอกมหาวทิ ยาลัยในสาขาวิชาที่เกีย่ วของ เปนกรรมการ
(๒) ใหคณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีวาระการดํารงตาํ แหนงคราวละ ๓ ป
และอาจไดร บั แตง ต้งั ใหมอีกได

คมู อื นักศึกษา ๒๕๖๑ ((๑๓๕)๑)

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๓) คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รมีอํานาจและหนา ที่ ดงั ตอไปนี้
(ก) บริหารจัดการหลักสูตรใหสอดคลองกับนโยบายของคณะและ

มหาวทิ ยาลยั
(ข) ควบคุมมาตรฐานของหลักสูตรสาขาวิชาที่รับผิดชอบใหเปนไปตาม

ขอ บังคับน้ี และตามมาตรฐานวชิ าชพี (ถา มี)
(ค) กาํ กบั และดูแลการสอนและการสอบของหลักสตู ร
(ง) กําหนดระบบประกันคุณภาพสําหรับหลักสูตรใหชัดเจน โดยใหการ

ดําเนนิ งานของหลกั สตู รเปน ไปตามระบบการประกนั คณุ ภาพหลกั สตู รของมหาวิทยาลยั
(จ) จัดใหมกี ารประเมนิ และปรบั ปรงุ มาตรฐานคณุ ภาพการศึกษาอยา งนอ ยทุก ๆ

๕ ป
(ฉ) ปฏบิ ตั หิ นา ทีอ่ ื่นตามทค่ี ณบดมี อบหมาย

ขอ ๑๘ จาํ นวน คุณวฒุ ิ และคณุ สมบตั ิของอาจารย
(๑) ประกาศนยี บตั รบัณฑิต

(ก) อาจารยป ระจาํ หลักสูตร มีคุณวุฒิข้ันต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทา และมี
ผลงานทางวิชาการท่ีไมใชสวนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่
ไดรับการเผยแพร ตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทาง
วิชาการ อยางนอย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปยอนหลัง โดยอยางนอย ๑ รายการตองเปน
ผลงานวิจัย

สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิชาชีพ อาจารยประจํา
หลักสตู รตองมีคุณสมบัติเปน ไปตามมาตรฐานวิชาชีพน้ัน ๆ

(ข) อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร จํานวนอยางนอย ๕ คน มีคุณวุฒิ
ปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือข้นั ต่าํ ปริญญาโทหรอื เทียบเทาท่ีมีตําแหนงรองศาสตราจารย และ
มผี ลงานทางวิชาการท่ีไมใชสวนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการท่ี
ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑ ท่ีกําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทาง
วิชาการอยางนอย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปยอนหลัง โดยอยางนอย ๑ รายการตองเปน
ผลงานวิจัย

กรณีที่มีความจําเปนอยางย่ิงสําหรับสาขาวิชาที่ไมสามารถสรรหา
อาจารยผ ูรบั ผดิ ชอบหลักสูตรครบตามจํานวน หรือมีจํานวนนักศึกษานอยกวา ๑๐ คน ทางคณะ
ตองเสนอจํานวนและคุณวุฒิของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรท่ีมีน้ันใหมหาวิทยาลัยทราบเพ่ือ
เสนอคณะกรรมการการอดุ มศึกษาพิจารณาเปนรายกรณี

(ค) อาจารยผสู อน ตอ งเปนอาจารยประจาํ หรืออาจารยพิเศษ ท่ีมีคุณวุฒิข้ัน
ต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทา ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธกัน หรือในสาขาวิชาของ

(๑(๕๒๒)) คูมอื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

รายวิชาทส่ี อนและตองมีประสบการณดานการสอนและมีผลงานทางวิชาการท่ีไมใชสวนหนึ่งของ
การศกึ ษาเพอื่ รบั ปริญญาและเปนผลงานทางวชิ าการท่ไี ดรบั การเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนด
ในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย ๑ รายการ ในรอบ ๕ ป
ยอ นหลัง

ในกรณีของอาจารยพิเศษ อาจไดรับการยกเวนคุณวุฒิปริญญาโท แต
ท้ังน้ีตองมีคุณวุฒิขั้นต่ําปริญญาตรีหรือเทียบเทา และมีประสบการณการทํางานที่เกี่ยวของกับ
วิชาที่สอนมาแลวไมนอยกวา ๖ ป ท้ังนี้ อาจารยพิเศษตองมีช่ัวโมงสอนไมเกินรอยละ ๕๐ ของ
รายวชิ า โดยมอี าจารยป ระจาํ เปนผูรบั ผิดชอบรายวิชานัน้

สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิชาชีพ อาจารยผูสอนตอง
มคี ุณสมบตั เิ ปน ไปตามมาตรฐานวชิ าชีพนัน้ ๆ

(๒) ประกาศนยี บัตรบัณฑิตช้ันสูง
(ก) อาจารยประจําหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือข้ันตํ่า

ปรญิ ญาโทหรอื เทยี บเทาท่ีมีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการท่ีไมใชสวนหนึ่ง
ของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่
กําหนดในการพิจารณาแตง ต้งั ใหบคุ คลดาํ รงตาํ แหนงทางวิชาการอยางนอ ย ๓ รายการ ในรอบ ๕
ปย อ นหลัง โดยอยางนอ ย ๑ รายการตองเปนผลงานวิจัย

สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูงทางวิชาชีพ อาจารย
ประจําหลักสตู รตองมีคุณสมบัตเิ ปนไปตามมาตรฐานวิชาชพี นัน้ ๆ

(ข) อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร จํานวนอยางนอย ๕ คน มีคุณวุฒิ
ปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือขั้นตํ่าปริญญาโทหรือเทียบเทาท่ีมีตําแหนงศาสตราจารย และมี
ผลงานทางวิชาการท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการท่ี
ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทาง
วิชาการอยางนอย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปยอนหลัง โดยอยางนอย ๑ รายการตองเปน
ผลงานวจิ ยั

กรณีท่ีมีความจําเปนอยางย่ิงสําหรับสาขาวิชา ที่ไมสามารถสรรหา
อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรครบตามจํานวนหรือมีจํานวนนักศึกษานอยกวา ๑๐ คน ทางคณะ
ตองเสนอจํานวนและคุณวุฒิของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรที่มีน้ันใหมหาวิทยาลัยทราบเพ่ือ
เสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเปนรายกรณี

(ค) อาจารยผูสอน ตองเปนอาจารยประจําหรืออาจารยพิเศษ ท่ีมีคุณวุฒิ
ปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือข้ันต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทาท่ีมีตําแหนงรองศาสตราจารย
ในสาขาวิชาน้ันหรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธกัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาท่ีสอน และตองมี
ประสบการณดา นการสอนและมผี ลงานทางวชิ าการทไ่ี มใ ชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา

คมู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๑ ((๑๓๕)๓)

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงต้ัง
ใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวชิ าการอยางนอย ๑ รายการ ในรอบ ๕ ปยอนหลงั

ในกรณีของอาจารยพิเศษ อาจไดรับการยกเวนคุณวุฒิปริญญาเอก แต
ทั้งน้ีตองมีคุณวุฒิข้ันตํ่าปริญญาโทหรือเทียบเทา และมีประสบการณการทํางานที่เก่ียวของกับ
วิชาท่ีสอนมาแลวไมนอยกวา ๔ ป ท้ังน้ี อาจารยพิเศษตองมีช่ัวโมงสอนไมเกินรอยละ ๕๐ ของ
รายวชิ า โดยมีอาจารยประจาํ เปน ผูร บั ผิดชอบรายวิชานั้น

สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูงทางวิชาชีพ อาจารย
ผสู อนตอ งมคี ุณสมบัตเิ ปน ไปตามมาตรฐานวชิ าชพี น้นั ๆ

(๓) ปริญญาโท
(ก) อาจารยประจําหลกั สูตร มคี ุณวุฒิข้ันตํ่าปริญญาโทหรือเทียบเทา และมี

ผลงานทางวิชาการท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการท่ี
ไดรับการเผยแพร ตามหลักเกณฑท่ีกําหนดในการพิจารณาแตงต้ังใหบุคคลดํารงตําแหนงทาง
วิชาการอยางนอย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปยอนหลัง โดยอยางนอย ๑ รายการตองเปน
ผลงานวจิ ัย

(ข) อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร จํานวนอยางนอย ๓ คน มีคุณวุฒิ
ปริญญาเอกหรือเทยี บเทา หรอื ข้ันตาํ่ ปรญิ ญาโทหรอื เทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย และ
มผี ลงานทางวชิ าการที่ไมใชสวนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่
ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑท่ีกําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทาง
วิชาการอยางนอย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปยอนหลัง โดยอยางนอย ๑ รายการตองเปน
ผลงานวจิ ยั

กรณีท่ีมีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับสาขาวิชาที่ไมสามารถสรรหา
อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรครบตามจํานวน หรือมีจํานวนนักศึกษานอยกวา ๑๐ คน ทางคณะ
ตองเสนอจํานวนและคุณวุฒิของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรท่ีมีนั้นใหมหาวิทยาลัยทราบเพ่ือ
เสนอคณะกรรมการการอดุ มศึกษาพจิ ารณาเปน รายกรณี

(ค) อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธและการคนควาอิสระ แบงออกเปน
๒ ประเภท คือ

๑) อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลักและการคนควาอิสระ ตองเปน
อาจารยประจําหลักสูตร มีคณุ วุฒิปรญิ ญาเอกหรอื เทียบเทา หรอื ขนั้ ต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทาท่ี
มีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับ
ปรญิ ญา และเปน ผลงานทางวชิ าการทไี่ ดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑท่ีกําหนดในการพิจารณา
แตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปยอนหลัง โดยอยาง
นอย ๑ รายการตอ งเปน ผลงานวิจัย

(๑(๕๒๔)) คมู ือนกั ศกึ ษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

๒) อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม (ถามี) ตองมีคุณวุฒิและ
คุณสมบัติ ดงั ตอไปนี้

อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวมที่เปนอาจารยประจํา ตองมี
คุณวฒุ แิ ละผลงานทางวชิ าการเชน เดยี วกับอาจารยท ี่ปรึกษาวทิ ยานพิ นธห ลัก

สําหรับอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวมที่เปนผูทรงคุณวุฒิ
ภายนอกมหาวิทยาลัยตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และมีผลงานทางวิชาการที่ไดรับ
การตีพิมพเผยแพรในวารสารท่ีมีชื่ออยูในฐานขอมูลที่เปนท่ียอมรับในระดับชาติ ซ่ึงตรงหรือ
สัมพนั ธกับหัวขอวิทยานพิ นธหรือการคนควา อิสระไมนอยกวา ๑๐ เร่อื ง

กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยท่ีไมมีคุณวุฒิและผลงาน
ทางวิชาการตามที่กําหนดขางตน ผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยจะตองเปนผูมีความรูความ
เชี่ยวชาญและประสบการณสูงเปนท่ียอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธหรือการ
คนควาอิสระ โดยผานความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย และแจงคณะกรรมการการ
อดุ มศกึ ษารับทราบ

(ง) อาจารยผูสอบวิทยานิพนธ ตองประกอบดวยอาจารยประจําหลักสูตร
และผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย รวมไมนอยกวา ๓ คน ทั้งนี้ ประธานกรรมการสอบตอง
ไมเปนอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลักหรืออาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธรวม โดยอาจารย
ผสู อบวทิ ยานพิ นธตอ งมคี ณุ วฒุ ิ คณุ สมบตั ิ และผลงานทางวิชาการ ดังตอ ไปน้ี

๑) กรณีอาจารยประจําหลักสูตร ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ
เทียบเทา หรือขั้นต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงานทาง
วิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการ
เผยแพรตามหลักเกณฑท่ีกําหนดในการพิจารณาแตงต้ังใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิ ชาการอยาง
นอย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปย อนหลงั โดยอยา งนอย ๑ รายการตอ งเปนผลงานวิจยั

๒) กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอก
หรือเทียบเทา และมีผลงานทางวิชาการที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรในวารสารท่ีมีชื่ออยูใน
ฐานขอมูลท่ีเปนท่ียอมรับในระดับชาติ ซ่ึงตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธหรือการคนควา
อสิ ระ ไมนอ ยกวา ๑๐ เร่อื ง

กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยท่ีไมมีคุณวุฒิและผลงาน
ทางวิชาการตามท่ีกําหนดขางตน ผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยจะตองเปนผูมีความรูความ
เช่ียวชาญและประสบการณสูงเปนที่ยอมรับ ซ่ึงตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ หรือการ
คน ควาอสิ ระ โดยผานความเหน็ ชอบจากสภามหาวทิ ยาลยั และแจงคณะกรรมการการอุดมศึกษา
รับทราบ

คมู อื นักศกึ ษา ๒๕๖๑ ((๑๓๕)๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(จ) อาจารยผูสอน ตอ งเปนอาจารยป ระจําหรอื อาจารยพิเศษ ที่มีคุณวุฒิขั้น
ต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทา ในสาขาวิชาน้ันหรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธกัน หรือในสาขาวิชาของ
รายวชิ าท่ีสอนและตอ งมีประสบการณดานการสอนและมีผลงานทางวิชาการท่ีไมใชสวนหน่ึงของ
การศกึ ษาเพือ่ รับปริญญาและเปนผลงานทางวิชาการท่ไี ดร บั การเผยแพรตามหลักเกณฑท่ีกําหนด
ในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย ๑ รายการ ในรอบ ๕ ป
ยอนหลัง

ทั้งนี้ อาจารยพิเศษตองมีช่ัวโมงสอนไมเกินรอยละ ๕๐ ของรายวิชา
โดยมอี าจารยประจาํ เปน ผรู ับผิดชอบรายวิชาน้นั

(๔) ปรญิ ญาเอก
(ก) อาจารยประจําหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือข้ันตํ่า

ปริญญาโทหรือเทียบเทาท่ีมีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหน่ึง
ของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการท่ีไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่
กาํ หนดในการพิจารณาแตงต้งั ใหบุคคลดํารงตาํ แหนงทางวชิ าการอยางนอ ย ๓ รายการ ในรอบ ๕
ปยอ นหลัง โดยอยา งนอ ย ๑ รายการตอ งเปน ผลงานวิจัย

(ข) อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร จํานวนอยางนอย ๓ คน มีคุณวุฒิ
ปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือข้ันตํ่าปริญญาโทหรือเทียบเทาท่ีมีตําแหนงศาสตราจารย และมี
ผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการท่ี
ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑท่ีกําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทาง
วิชาการอยางนอย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปยอนหลัง โดยอยางนอย ๑ รายการตองเปน
ผลงานวิจยั

กรณีที่มีความจําเปนอยางย่ิงสําหรับสาขาวิชาท่ีไมสามารถสรรหา
อาจารยผรู ับผิดชอบหลักสูตรครบตามจํานวน หรือมีจํานวนนักศึกษานอยกวา ๑๐ คน ทางคณะ
ตองเสนอจํานวนและคุณวุฒิของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรที่มีนั้นใหมหาวิทยาลัยทราบเพ่ือ
เสนอคณะกรรมการการอดุ มศึกษาพิจารณาเปนรายกรณี

(ค) อาจารยทป่ี รึกษาวทิ ยานพิ นธ แบงออกเปน ๒ ประเภท คือ
๑) อาจารยทีป่ รึกษาวทิ ยานพิ นธห ลัก ตองเปนอาจารยประจําหลักสูตร

มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือข้ันต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทาท่ีมีตําแหนงรอง
ศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปน
ผลงานทางวิชาการท่ีไดรับการเผยแพร ตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคล
ดาํ รงตาํ แหนง ทางวชิ าการอยางนอย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปยอนหลัง โดยอยางนอย ๑ รายการ
ตองเปน ผลงานวจิ ัย

(๑(๕๒๖)) คมู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

๒) อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม (ถามี) ตองมีคุณวุฒิและ
คุณสมบตั ิดังตอไปน้ี

อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวมที่เปนอาจารยประจํา ตองมี
คุณวุฒแิ ละผลงานทางวชิ าการเชนเดยี วกับอาจารยท ี่ปรึกษาวทิ ยานพิ นธหลัก

สําหรับอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธรวมที่เปนผูทรงคุณวุฒิ
ภายนอก มหาวิทยาลัยตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และมีผลงานทางวิชาการที่ไดรับ
การตีพิมพเ ผยแพรใ นวารสารทม่ี ชี ่ืออยใู นฐานขอ มลู ทีเ่ ปน ท่ียอมรับในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือ
สมั พนั ธกบั หัวขอวทิ ยานิพนธไมน อ ยกวา ๕ เรอื่ ง

กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยที่ไมมีคุณวุฒิและผลงาน
ทางวิชาการตามท่ีกําหนดขางตน ผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยจะตองเปนผูมีความรูความ
เชี่ยวชาญและประสบการณสูงมากเปนท่ียอมรับ ซ่ึงตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ โดย
ผานความเหน็ ชอบจากสภามหาวิทยาลัย และแจง คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษารับทราบ

(ง) อาจารยผูสอบวิทยานิพนธ ตองประกอบดวยอาจารยประจําหลักสูตร
และผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย รวมไมนอยกวา ๕ คน ทั้งน้ี ประธานกรรมการสอบตอง
เปนผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย โดยอาจารยผูสอบวิทยานิพนธตองมีคุณวุฒิ คุณสมบัติ
และผลงานทางวชิ าการ ดังตอ ไปน้ี

๑) กรณีอาจารยประจาํ หลกั สตู ร ตอ งมีคุณวุฒปิ รญิ ญาเอกหรือเทียบเทา
หรือขน้ั ตํา่ ปริญญาโทหรือเทียบเทาทีม่ ตี าํ แหนง รองศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการท่ีไมใช
สวนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตาม
หลักเกณฑท่ีกําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย ๓
รายการ ในรอบ ๕ ปย อนหลัง โดยอยางนอ ย ๑ รายการตองเปน ผลงานวจิ ัย

๒) กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอก
หรือเทียบเทา และมีผลงานทางวิชาการที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรในวารสารท่ีมีชื่ออยูใน
ฐานขอ มลู ที่เปน ทย่ี อมรบั ในระดบั นานาชาติ ซ่ึงตรงหรอื สัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ ไมนอยกวา
๕ เร่อื ง

กรณผี ูทรงคุณวฒุ ภิ ายนอกมหาวิทยาลัยท่ีไมมีคุณวุฒิและผลงานทาง
วิชาการตามท่ีกําหนดขางตน ผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยจะตองเปนผูมีความรูความ
เชี่ยวชาญและประสบการณสูงมากเปนท่ียอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ โดย
ผานความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลยั และแจง คณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบ

(จ) อาจารยผูสอน ตองเปนอาจารยประจําหรืออาจารยพิเศษ ที่มีคุณวุฒิ
ปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือข้ันตํ่าปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย ใน
สาขาวิชาน้ันหรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธกัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาท่ีสอน และตองมี

คูมอื นกั ศึกษา ๒๕๖๑ ((๑๓๕)๗)

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ประสบการณดา นการสอนและมผี ลงานทางวชิ าการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา
และเปนผลงานทางวชิ าการทไี่ ดร บั การเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งให
บคุ คลดาํ รงตาํ แหนง ทางวิชาการอยางนอย ๑ รายการ ในรอบ ๕ ปยอนหลงั

ในกรณีรายวชิ าท่สี อนไมใชว ชิ าในสาขาวิชาของหลักสูตร อนุโลมใหอาจารย
ท่ีมีคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเทาท่ีมีตําแหนงทางวิชาการต่ํากวารองศาสตราจารย ทํา
หนาทอ่ี าจารยผูสอนได

ทั้งนี้ อาจารยพิเศษตองมีชั่วโมงสอนไมเกินรอยละ ๕๐ ของรายวิชา โดยมี
อาจารยประจําเปนผรู บั ผิดชอบรายวิชานนั้

ขอ ๑๙ ภาระงานท่ปี รึกษาวทิ ยานพิ นธแ ละการคน ควา อิสระ
(๑) อาจารยประจําหลักสูตร ๑ คน ใหเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลักของ
นักศกึ ษาปรญิ ญาโทและปริญญาเอกตามหลกั เกณฑ ดังตอ ไปน้ี

(ก) กรณีอาจารยประจําหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และมี
ผลงานทางวชิ าการตามเกณฑ ใหเปนอาจารยท ีป่ รกึ ษาวิทยานิพนธของนักศึกษาระดับปริญญาโท
และเอกรวมไดไ มเ กนิ ๕ คน ตอภาคการศึกษา

(ข) กรณีอาจารยประจําหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และ
ดํารงตําแหนงระดับผูชวยศาสตราจารยข้ึนไป หรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนง
รองศาสตราจารยขึน้ ไป และมผี ลงานทางวิชาการตามเกณฑ ใหเ ปน อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ
ของนักศึกษาระดับปรญิ ญาโทและเอกรวมไดไมเกนิ ๑๐ คนตอภาคการศึกษา

(ค) กรณีอาจารยประจําหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และ
ดํารงตําแหนงศาสตราจารยและมคี วามจาํ เปนตอ งดูแลนักศึกษาเกินกวาจํานวนที่กําหนดใหเสนอ
ตอสภามหาวิทยาลัยพิจารณา แตทั้งน้ีตองไมเกิน ๑๕ คนตอภาคการศึกษา หากมีความ
จําเปนตองดูแลนักศึกษามากกวา ๑๕ คน ใหมหาวิทยาลัยขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
การอดุ มศกึ ษาเปน รายกรณี

(๒) อาจารยประจําหลักสูตร ๑ คน ใหเปนอาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระของ
นกั ศึกษาปริญญาโทไดไ มเกิน ๑๕ คน

หากเปนอาจารยท่ีปรึกษาท้ังวิทยานิพนธและการคนควาอิสระ ใหคิดสัดสวน
จํานวนนักศึกษาท่ีทําวิทยานิพนธ ๑ คน เทียบไดกับจํานวนนักศึกษาท่ีคนควาอิสระ ๓ คน แต
ทงั้ นร้ี วมแลว ตองไมเกิน ๑๕ คนตอภาคการศกึ ษา

(๓) อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร ตองทําหนาท่ีอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหรือ
อาจารยผูส อบวทิ ยานิพนธ หรอื อาจารยผ ูส อนในหลักสตู รนั้นดว ย

(๑(๕๒๘)) คูมือนกั ศึกษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ขอ ๒๐ อาจารยที่ปรึกษา อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ และอาจารยที่
ปรึกษาการคนควาอิสระ ใหคณบดีแตงต้ังตามที่คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรเสนอ

หมวด ๖
การจัดการศึกษา

ขอ ๒๑ แผนการเรียน หมายถึง รายวิชา ปญหาพิเศษ และวิทยานิพนธ หรือการ
คนควาอิสระ ท่ีนักศึกษาจะตองเรียนหรือดําเนินการใหแลวเสร็จและครบตามหลักสูตรของแตละ
สาขาวิชา

ขอ ๒๒ การลงทะเบยี นเรยี น
(๑) ใหนักศึกษาลงทะเบียนเรียนในแตละภาคการศึกษาตามประกาศของ
มหาวทิ ยาลยั
(๒) ในภาคการศึกษาปกติ นักศึกษาตองลงทะเบียนเรียนรายวิชาในระดับ
บัณฑิตศึกษาไมนอยกวา ๖ หนวยกิต และตองไมเกิน ๑๕ หนวยกิต ยกเวนในกรณีท่ีนักศึกษามี
หนวยกิตคงเหลือตามหลักสูตรนอยกวา ๔ หนวยกิต หรือเหลือเฉพาะวิทยานิพนธ หรือการ
คนควาอิสระ หรือไดรับความเห็นชอบจากคณบดี
(๓) ในภาคการศกึ ษาฤดรู อน ลงทะเบยี นรายวิชาไดไ มเ กิน ๖ หนวยกติ
(๔) ในภาคการศึกษาแรกที่เขาศึกษาในมหาวิทยาลัย นักศึกษาลงทะเบียนเรียน
รายวิชาตํา่ กวา ๖ หนว ยกติ ไมได มิฉะน้นั ถอื วาพน สภาพการเปนนกั ศึกษา
(๕) การลงทะเบยี นเรยี นรายวชิ าเพอ่ื เขา รวมฟง การบรรยาย

(ก) การลงทะเบียนเรียนรายวิชาเพื่อเขารวมฟงการบรรยาย หมายถึง
การลงทะเบียนรายวิชาเปนพิเศษ โดยไมนับหนวยกิตรวมเขาในจํานวนหนวยกิตในภาคการศึกษา
และจาํ นวนหนว ยกติ ตามหลักสูตร

(ข) ใหบันทึกผลการประเมินรายวิชาลงในระเบียนเปน AU เฉพาะผูท่ีมีเวลา
เรียนไมนอ ยกวา รอ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนท้งั หมดของรายวิชาน้ัน

(๖) การลงทะเบียนเรียนรายวิชาไมนับหนวยกิต โดย “รายวิชาไมนับหนวย
กิต” หมายถึง รายวิชาที่กําหนดในหลักสูตรหรือรายวิชาท่ีคณะกรรมการบริหารหลักสูตรกําหนดให
ศึกษาเพ่ิมเติม โดยนักศึกษาตองศึกษาและสอบผานไดระดับคะแนน S โดยไมนํามาคิดแตมระดับ
คะแนนเฉลีย่

(ก) นักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก ๑ และนักศึกษา
หลกั สตู รปรญิ ญาดุษฎบี ัณฑติ แบบ ๑ หลักสูตรอาจกําหนดใหเรยี นรายวิชาไมน บั หนวยกิต

คูม อื นักศกึ ษา ๒๕๖๑ ((๑๓๕)๙)

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(ข) นักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ท่ีไมมีพื้นฐานพอเพียงสําหรับ
การศึกษาในหลักสูตรที่เขาศึกษา คณะกรรมการบริหารหลักสูตรอาจกําหนดใหเรียนรายวิชา
นอกเหนือจากหลักสูตร เพ่ือเปนพ้ืนฐานและตองสอบผานโดยไดรับผลการประเมินระดับคะแนน
เปน S

(ค) ใหบันทึกผลการประเมินรายวิชาลงในใบแสดงผลการศึกษาเปน S หรือ
U

(๗) นักศกึ ษาที่ไมม าลงทะเบียนภายใน ๑๕ วัน หลังจากวันเปดภาคการศึกษา ถือ
วาพนสภาพการเปน นกั ศกึ ษา

(๘) การลงทะเบยี นเพ่อื รักษาสภาพการเปนนกั ศกึ ษา
(ก) นักศึกษาที่ลงทะเบียนและเรียนครบตามแผนการเรียนแลว แตยังไม

สามารถปฏิบัติตามเกณฑการสําเร็จการศึกษาไดอยางครบถวนสมบูรณ ตองชําระ
คาธรรมเนียมรักษาสภาพนักศึกษา คาธรรมเนียม และคาบํารุง ตามระเบียบที่มหาวิทยาลัย
กาํ หนดไวทุกภาคการศึกษา จนกวาจะสาํ เรจ็ การศึกษาหรือพนสภาพการเปนนักศึกษา

(ข) การลงทะเบียนเพื่อรักษาสภาพการเปนนักศึกษาตองดําเนินการใหแลว
เสร็จภายใน ๓๐ วนั นบั จากวันเปด ภาคการศกึ ษา มิฉะน้นั ถอื วา พนสภาพการเปนนักศกึ ษา

(๙) ในกรณีท่ีมีเหตุอันควร คณะอาจประกาศงดการเรียนการสอนรายวิชาใด หรือ
จาํ กดั จาํ นวนนักศึกษาทีล่ งทะเบยี นเรียนในรายวิชาใดกไ็ ด

ขอ ๒๓ การขอเพ่ิมและถอนรายวิชา
(๑) การขอเพิ่มรายวิชาจะกระทําไดภายใน ๒ สัปดาห นับจากวันเปดภาค
การศึกษาสําหรับภาคการศึกษาปกติ หรือภายในสัปดาหแรกนับจากวันเปดภาคการศึกษา
สาํ หรับภาคการศกึ ษาฤดรู อ น
(๒) การขอถอนรายวชิ า

(ก) ในกรณีท่ีขอถอนรายวิชาภายใน ๒ สัปดาห นับจากวันเปดภาคการศึกษา
สําหรับภาคการศึกษาปกติ และภายในสัปดาหแรกนับจากวันเปดภาคการศึกษาสําหรับภาค
การศกึ ษาฤดรู อน รายวชิ าที่ขอถอนไมปรากฏในระเบยี น และใหไดรบั เงินลงทะเบียนคนื

(ข) ในกรณีที่ขอถอนรายวิชาหลังจาก ๒ สัปดาห นับจากวันเปดภาค
การศึกษาสําหรับภาคการศึกษาปกติ และหลังจากสัปดาหแรกนับจากวันเปดภาคการศึกษา
สาํ หรบั ภาคการศกึ ษาฤดูรอน ใหบ นั ทึกระดับคะแนน W ในรายวิชาที่ขอถอน และจะไมไดรับเงิน
ลงทะเบียนคืน

(ค) การขอถอนรายวิชาจะตองกระทํากอนสอบปลายภาคไมนอยกวา ๒
สัปดาห หากขอถอนรายวิชาหลังจากระยะเวลาดังกลาว ใหไดระดับคะแนน F และจะไมไดรับเงิน
ลงทะเบียนคืน

(๑(๖๒๐)) คูม ือนักศกึ ษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๓) การขอเพิ่มและถอนรายวิชาใน (๑) และ (๒) ตองไมขัดตอการลงทะเบียน
เรียนในขอ ๒๒ (๒) และ (๓)

(๔) การขอเพ่ิมและถอนรายวิชาที่ไมสามารถดําเนินการตาม (๑) (๒) และ (๓)
ใหอ ยูใ นดลุ พินจิ ของคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร และไดรับอนุมัติจากคณบดี

ขอ ๒๔ การลาพักการศึกษา หมายถึง การที่นักศึกษายังเรียนไมครบตามแผนการ
เรียน แตมคี วามประสงคขอหยุดเรียนชั่วคราว โดยขอรักษาสภาพการเปน นกั ศึกษาไวเปนคราว ๆ
ไป

(๑) นักศึกษามีสิทธิลาพักการศึกษาได ตองไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่
ปรึกษาและไดรับอนุมัติจากคณบดี ภายในชวงเวลาถอนรายวิชาเรียน หรือตามประกาศของ
มหาวิทยาลัย โดยถอื เกณฑการพิจารณาอนมุ ัตดิ งั ตอ ไปน้ี

(ก) ถูกเกณฑหรือระดมเขารับรับราชการทหารกองประจําการ
(ข) ไดรับทุนแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหวางประเทศ หรือทุนอื่นใดที่เปน
ประโยชนตอการศกึ ษาหรือการวิจัยในหลักสูตรซงึ่ มหาวิทยาลยั เหน็ สมควรสนบั สนนุ
(ค) เจ็บปวยตองพักรักษาตัวเปนระยะเวลานานเกินรอยละ ๒๐ ของเวลาเรียน
ทั้งหมด และตองมีใบรับรองแพทยมาแสดง
(ง) มีความจําเปนสวนตัว ทั้งนี้ ตองศึกษามาแลวไมนอยกวา ๑ ภาค
การศกึ ษา
(๒) การลาพักการศึกษาตาม (๑) (ก) ใหเปนไปตามความตองการของราชการ
ทหาร และการลาพักการศึกษาตาม (๑) (ข) ใหเปนไปตามเง่ือนไขของทุนที่ไดรับ การลาพัก
การศึกษาตาม (๑) (ค) และ (ง) กระทําไดครั้งละไมเกิน ๒ ภาคการศึกษาติดตอกัน ถามีความ
จาํ เปนตองลาพักการศึกษาตอไปอีก ใหย่ืนคาํ รองขอลาพักการศึกษาไดอีกไมเกิน ๑ ภาคการศึกษา
ทัง้ นี้ ตองไดรับ ความเหน็ ชอบจากอาจารยท่ีปรึกษาและไดรับอนุมัตจิ ากคณบดี
(๓) ในกรณที ีน่ ักศกึ ษาไดร บั อนุญาตใหลาพักการศึกษา ใหนับระยะเวลาที่ลาพักอยู
ในระยะเวลาของการศึกษาดวย ยกเวน นกั ศกึ ษาท่ีไดรับอนุญาตใหล าพกั ตาม (๑) (ก)
(๔) นักศึกษาตองรักษาสภาพการเปนนักศึกษาระหวางที่ไดรับอนุญาตใหลาพัก
การศึกษา โดยชําระคาธรรมเนียมคารักษาสภาพการเปนนักศึกษาตามระเบียบมหาวิทยาลัย
และใหนักศึกษามาดําเนินการรักษาสภาพการเปนนักศึกษาใหแลวเสร็จภายใน ๑๕ วัน หลังเปดภาค
การศึกษา มฉิ ะนน้ั ใหพ นสภาพการเปนนักศึกษา ยกเวนการลาพกั การศึกษาตาม (๑) (ก)
(๕) นักศึกษาที่ไดรับอนุญาตใหลาพักการศึกษา เมื่อจะกลับเขาศึกษาตองย่ืนคํา
รองขอกลบั เขา ศึกษาตอ คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร และตองไดรับอนุมัติจากคณบดี กอนกําหนด
การลงทะเบียนไมนอยกวา ๑ สัปดาห

คูมือนกั ศึกษา ๒๕๖๑ ((๑๓๖)๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๖) การลาพักการศึกษาท่ีไมเปนไปตาม (๑) (ก) (ข) (ค) และ (ง) ใหอยูในดุลพินิจ
ของอธิการบดี

(๗) การลาพกั การศกึ ษาในระหวา งภาคการศกึ ษา ใหม ใี นกรณดี งั ตอไปน้ี
(ก) ถาวันที่ขอลาพักการศึกษาอยูในระหวาง ๒ สัปดาหนับจากวันเปดภาค

การศึกษาสําหรับภาคการศึกษาปกติ และภายในสัปดาหแรกนับจากวันเปดภาคการศึกษาสําหรับ
ภาคการศกึ ษาฤดูรอ น รายวิชาทน่ี ักศึกษาลงทะเบยี นทัง้ หมดจะไมปรากฏในระเบียน

(ข) ถาวันที่ขอลาพักการศึกษาพนกําหนด ๒ สัปดาหนับจากวันเปดภาค
การศึกษาสําหรับภาคการศึกษาปกติ และหลังจากสัปดาหแรกนับจากวันเปดภาคการศึกษาสําหรับ
ภาคการศึกษาฤดูรอน ใหบันทึกระดับคะแนน W ในระเบียนทุกรายวิชาท่ีนักศึกษาลงทะเบียนใน
ภาคการศึกษานัน้

ขอ ๒๕ การพนสภาพการเปนนักศึกษา นักศกึ ษาจะพนสภาพการเปนนักศึกษา
ในกรณีดงั ตอไปนี้

(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ขาดคุณสมบัติในการเขาเปนนกั ศึกษามหาวิทยาลยั ตามขอ ๑๓
(๔) ศกึ ษาครบถวนตามหลักสูตร และไดร บั อนุมตั ิใหสาํ เรจ็ การศึกษา
(๕) คณบดสี งั่ ใหพน สภาพการเปนนักศกึ ษา ในกรณีดังตอ ไปนี้

(ก) ไมสามารถสาํ เร็จการศกึ ษาตามระยะเวลาการศึกษาตามขอ ๑๒
(ข) ไมลงทะเบียนเรียนหรือไมชําระคาธรรมเนียมการศึกษา คาลงทะเบียนเรียน หรือ
คา บาํ รุงการศึกษาในเวลาทีก่ ําหนด
(ค) ไมปฏิบตั ติ ามเงื่อนไขของการลาพักการศึกษา
(ง) ไมส ามารถปฏิบตั ิไดตามเกณฑท่กี ําหนดไวในหมวด ๗
(๖) การพนสภาพการเปนนกั ศกึ ษา เนื่องจากความผิดทางวินัยตามความเห็นชอบ
ของสภามหาวทิ ยาลัย
ขอ ๒๖ การคืนสภาพการเปนนกั ศกึ ษา
(๑) นักศึกษาที่ถูกถอนช่ือออกเนื่องจากไมมาลงทะเบียน กลับเขาเปนนักศึกษาได
หากมีเหตุอนั สมควร ท้งั นี้ ตอ งไมพ น กาํ หนด ๑ ป
(๒) การคืนสภาพการเปนนักศึกษา ตองไดรับความเห็นชอบจากคณบดีและ
ไดรบั อนุมตั ิจากอธกิ ารบดี
(๓) นักศึกษาตองชําระคาธรรมเนียมการคืนสภาพการเปนนักศึกษา คาบํารุงการศึกษา
และคา ลงทะเบยี นเรียน ตามระเบียบมหาวทิ ยาลัย

(๑(๖๒๒)) คูมือนกั ศึกษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๔) นักศึกษาที่ไดรับอนุมัติใหคืนสภาพการเปนนักศึกษา จะมีสภาพการเปน
นกั ศึกษาเชนเดยี วกับสภาพเดมิ กอนพน สภาพ ท้ังน้ี การนับระยะเวลาการศึกษาใหเปนไปตามขอ
๑๒

ขอ ๒๗ การลาออก นักศึกษาที่ประสงคจะลาออกจากการเปนนักศึกษา
ใหย ่นื คํารอ งตอคณบดีผา นอาจารยที่ปรึกษา และคณะกรรมการบริหารหลักสูตร การลาออกจะมี
ผลสมบรู ณเ มือ่ คณบดอี นุมตั ิใหล าออก

ขอ ๒๘ การเปลี่ยนสาขาวิชาและแผนการศึกษา นักศึกษาอาจขอเปล่ียนสาขาวิชา
หรือเปลี่ยนแผนการศึกษาในคณะเดียวกันได เมื่อไดศึกษามาแลวไมนอยกวา ๑ ภาคการศึกษา ทั้งน้ี
ตอ งไดร บั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและไดร บั อนมุ ตั จิ ากคณบดี

ขอ ๒๙ การลงทะเบียนรายวิชาในมหาวทิ ยาลยั หรอื มหาวทิ ยาลัยอ่ืน
(๑) นักศึกษาอาจขอลงทะเบียนรายวิชาในมหาวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัยอ่ืนได
โดยไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษา และคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และไดรับ
อนุมัติจากคณบดีโดยถอื เกณฑ ดงั ตอไปนี้

(ก) รายวิชาท่ีหลักสูตรกําหนด มิไดเปดสอนในมหาวิทยาลัยในภาคการศึกษา
และปก ารศกึ ษานนั้

(ข) รายวิชาท่ีมหาวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัยอ่ืนเปดสอน ตองมีเน้ือหาท่ี
เทยี บเคียงกันได หรือมีเน้อื หาสาระครอบคลุมไมนอยกวา สามในสีข่ องรายวชิ าในหลกั สตู ร

(ค) รายวิชาที่เปนประโยชนตอการศึกษา หรือการทําวิทยานิพนธ หรือการ
คนควา อสิ ระของนักศึกษา

(๒) ใหนําหนวยกิตและผลการศึกษาของรายวิชาท่ีนักศึกษาลงทะเบียนเรียน
ในมหาวิทยาลัยหรือตางมหาวิทยาลัย ไปเปนสวนหนึ่งของการประเมินผลการศึกษาตามหลักสูตร
ท่นี กั ศกึ ษากําลังศกึ ษาอยู

(๓) นักศึกษาตองเปนผูรับผิดชอบคาลงทะเบียน และคาธรรมเนียมอ่ืน ๆ ตามท่ี
มหาวิทยาลัยหรือมหาวทิ ยาลยั อ่ืนท่ีนกั ศกึ ษาไปเรียนนั้นกาํ หนด

หมวด ๗
การวัดผลและประเมนิ ผลการศึกษา

ขอ ๓๐ การสอบรายวชิ า เปนการสอบเพ่ือวัดวานักศึกษามีความรูในวิชานั้น ๆ
ซง่ึ อาจเปนการสอบขอเขียนหรือการประเมินผลการศึกษาโดยวิธีอ่ืน ทั้งนี้ ตองประกาศถึงวิธีการ

คูม อื นักศกึ ษา ๒๕๖๑ ((๑๓๖)๓)

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

สอบและเกณฑการพิจารณาผลการสอบใหนักศึกษาทราบลวงหนาต้ังแตตนภาคการศึกษา การ
วดั ผลและประเมินผลรายวิชาใหคณบดีเปนผูอนุมตั ิ

ขอ ๓๑ การสอบประมวลความรู (Comprehensive Examination)
(๑) การสอบประมวลความรู ใชสําหรับนักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต
แผน ข
(๒) การสอบประมวลความรู ประกอบดวย การสอบขอเขียน และการสอบปาก
เปลา เพื่อวัดความสามารถและศักยภาพในการนําหลักวิชาการและประสบการณการเรียนไป
ประยกุ ตใช
(๓) ใหคณะกรรมการบริหารหลักสูตรรับผิดชอบในการจัดสอบประมวลความรู
อยางนอยภาคการศึกษาละ ๑ ครง้ั เม่อื มนี กั ศึกษายน่ื คาํ รองขอสอบ
(๔) นักศึกษาจะมีสิทธิขอสอบประมวลความรูได เมื่อสอบผานรายวิชาท่ีกําหนด
ในหลักสูตรใหเปนสวนหนึ่งของการสอบประมวลความรูครบถวน โดยไดแตมระดับคะแนนเฉล่ีย
สะสมไมต ํ่ากวา ๓.๐๐
(๕) นกั ศึกษาที่ประสงคจ ะขอสอบ ตองยื่นคาํ รองขอสอบผา นอาจารยท่ปี รึกษา
(๖) ใหคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เสนอรายชื่อคณะกรรมการสอบประมวล
ความรูจ ํานวน ๓ – ๕ คน ตอ คณบดเี พื่อพจิ ารณาแตงต้ัง โดยกรรมการคนหน่ึงเปนประธานกรรมการ
สอบ คณะกรรมการสอบเปนผูรับผิดชอบในการดําเนินการสอบ และใหรายงานผลการสอบตอ
คณบดีโดยผา นคณะกรรมการบริหารหลกั สตู ร ภายใน ๔ สปั ดาห หลังจากเสรจ็ ส้ินการสอบ
(๗) เมือ่ นักศกึ ษาไดร ับอนุมัตใิ หสอบในภาคการศึกษาใด ๆ แลว ถาขาดสอบโดย
ไมมีเหตุผลอันสมควร ใหถือวาสอบไมผานในการสอบคราวน้ัน ท้ังนี้ ใหอยูในดุลพินิจของประธาน
กรรมการสอบ
(๘) ผทู ี่สอบไมผานหรือไมเปนท่ีพอใจ มีสิทธิขอสอบแกตัวไดอีก ๑ ครั้ง ภายใน ๑
ป นบั จากการสอบคร้งั แรก มฉิ ะน้ันใหพน สภาพการเปน นักศกึ ษา
ขอ ๓๒ การสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)
(๑) การสอบวดั คณุ สมบตั เิ ปนการสอบเพ่ือประเมินความพรอมสําหรับนักศึกษา
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แบบ ก ๑ และนักศึกษาหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบบ ๑ และ
แบบ ๒ เพ่ือวัดวานักศึกษามีความรูพ้ืนฐาน และมีความพรอมในการทําวิทยานิพนธ และเพื่อมี
สิทธเิ สนอเคา โครงวทิ ยานิพนธ
(๒) การสอบวดั คุณสมบัติประกอบดว ยการสอบขอเขยี นและการสอบปากเปลา
(๓) ใหคณะกรรมการบริหารหลักสูตร จัดสอบวัดคุณสมบัติสําหรับการสอบ
ขอเขียนอยางนอยภาคการศึกษาละ ๑ คร้ัง เม่ือมีนักศึกษาย่ืนคํารองขอสอบ สวนการสอบปาก
เปลา ใหอ ยใู นดุลพนิ จิ ของคณะกรรมการบริหารหลักสตู ร

(๑(๖๒๔)) คูมือนักศกึ ษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๔) ใหคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเสนอรายชื่อคณะกรรมการสอบวัด
คณุ สมบัตจิ าํ นวน ๓-๕ คน ตอ คณบดีเพือ่ พิจารณาแตงตง้ั โดยกรรมการคนหนงึ่ เปนประธานกรรมการ
สอบ คณะกรรมการสอบเปนผูรับผิดชอบในการดําเนินการสอบ และใหรายงานผลการสอบตอ
คณบดีโดยผานคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รภายใน ๒ สัปดาห หลงั จากเสรจ็ ส้ินการสอบ

(๕) นักศึกษาจะมีสิทธิสอบวัดคุณสมบัติเมื่อไดรับความเห็นชอบจากอาจารยท่ี
ปรกึ ษาและคณะกรรมการบริหารหลกั สตู ร วา มีความรพู ืน้ ฐานพรอมทจี่ ะสอบได

(๖) นักศึกษาท่ีขอสอบวัดคุณสมบัติ ตองย่ืนคํารองขอสอบผานอาจารยท่ีปรึกษา
คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร ไปยังคณะ และชาํ ระคาธรรมเนยี มตามระเบยี บมหาวิทยาลยั

(๗) เมื่อนกั ศกึ ษาไดรบั อนมุ ัติใหสอบในภาคการศึกษาใด ๆ แลวถาขาดสอบโดย
ไมมีเหตุผลอันสมควร ใหถือวาสอบไมผานในการสอบคราวน้ัน ทั้งน้ี ใหอยูในดุลพินิจของประธาน
กรรมการสอบ

(๘) นักศึกษาทีส่ อบคร้ังแรกไมผานหรือไมเปนท่ีพอใจ มีสิทธิสอบแกตัวได ๑ คร้ัง
ทัง้ น้ี ไมก อน ๖๐ วนั นบั จากวันสอบคร้ังแรก นักศึกษาที่สอบครั้งที่สองไมผานหรือไมเปนท่ีพอใจ
ใหพ น สภาพการเปน นักศกึ ษา

(๙) นักศึกษาตองสอบวดั คุณสมบตั ใิ หผาน โดยไดผลการประเมินระดับคะแนน
เปน S ภายในระยะเวลาตามหลกั สตู รตาง ๆ ดังตอไปน้ี โดยนบั ต้ังแตภ าคการศึกษาแรกท่เี ขา ศึกษา
มฉิ ะนน้ั ใหพ นสภาพการเปนนักศึกษา

(ก) หลักสตู รปริญญามหาบัณฑติ แบบ ก ๑ ภายใน ๓ ภาคการศึกษา
ปกติ

(ข) หลกั สูตรปริญญาดุษฎีบัณฑติ แบบ ๑.๑ ภายใน ๔ ภาคการศึกษา
ปกติ

(ค) หลกั สูตรปรญิ ญาดุษฎีบัณฑติ แบบ ๑.๒ ภายใน ๔ ภาคการศึกษา
ปกติ

(ง) หลักสูตรปรญิ ญาดุษฎบี ัณฑิต แบบ ๒.๑ ภายใน ๖ ภาคการศึกษา
ปกติ

(จ) หลักสูตรปรญิ ญาดุษฎบี ัณฑิต แบบ ๒.๒ ภายใน ๔ ภาคการศึกษา
ปกติ

ขอ ๓๓ การประเมินผลการศึกษา จะตองกระทําเมอื่ สิ้นภาคการศึกษาแตละ
ภาคการศึกษา โดยใหผลการประเมินเปน ระดบั คะแนน (Grade) ซึ่งระดับคะแนน คาระดับ
คะแนน และผลการศึกษาเปน ดังตอไปนี้

คูมือนักศกึ ษา ๒๕๖๑ ((๑๓๖)๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ระดับ คาระดบั ผลการศกึ ษา
คะแนน คะแนน
๔.๐๐ ดีเลิศ (Excellent)
A ๓.๕๐ ดีมาก (Very Good)
B ๓.๐๐ ดี (Good)
B ๒.๕๐ คอนขางดี (Fairly Good)
C ๒.๐๐ พอใช (Fair)
C ๑.๕๐ คอนขางพอใช (Poor)
D ๑.๐๐ ออ น (Very Poor)
D ๐ ตก (Fail)
F - สอบผา น/เปนท่ีพอใจ (Satisfactory)
S - สอบไมผาน/ไมเ ปนที่ (Unsatisfactory)
U พอใจ
การวดั ผลรายวิชายังไม (Incomplete)
I- สมบูรณ
ขอถอนวชิ าเรยี นหลงั (Withdrawal)
W- กาํ หนด
เขา รวมฟงการบรรยาย
AU -

ขอ ๓๔ การประเมินผลการสอบประมวลความรู การสอบวัดคุณสมบัติ การสอบ
ภาษาตางประเทศ การสอบวิทยานพิ นธ และการคน ควา อิสระ

(๑) การประเมินผลการสอบประมวลความรู การสอบวัดคุณสมบัติ และการสอบ
ภาษาตา งประเทศ ใหผ ลการประเมนิ เปนระดบั คะแนน ดังตอไปนี้

ระดับคะแนน ผลการศกึ ษา (Satisfactory)
S สอบผาน/เปนที่พอใจ (Unsatisfactory)
U สอบไมผา น/ไมเปน ที่พอใจ

(๑(๖๒๖)) คูม อื นกั ศึกษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๒) การประเมินผลวิทยานิพนธ และการคนควาอิสระ ใหผลการประเมินเปนระดับคะแนน
ดังตอไปนี้

ระดับคะแนน ผลการศกึ ษา (Pass)
P ผาน (Fail)
F ตก (In Progress)
IP การทําวิทยานิพนธ/ การคน ควาอสิ ระ
ยังไมส ้นิ สุด

การใหระดับคะแนน IP อาจแบงจํานวนหนวยกิตตามความกาวหนาในการทํา
วิทยานพิ นธห รอื การคน ควาอสิ ระ

ขอ ๓๕ การคาํ นวณหนวยกิตสะสม และคาระดบั คะแนนเฉล่ีย
(๑) การคํานวณหนวยกิตสะสม และคาระดับคะแนนเฉลี่ย ใหกระทําเมื่อสิ้น
แตละภาคการศกึ ษา
(๒) หนวยกิตสะสม คือ จํานวนหนวยกิตของรายวิชาในระดับบัณฑิตศึกษาท่ี
ลงทะเบียนเรยี นท้ังหมดทีไ่ ดรบั คา ระดับคะแนนตามขอ ๓๓
(๓) คาระดับคะแนนเฉล่ีย มี ๒ ประเภท คือ คาระดับคะแนนเฉลี่ยประจําภาค
และคา ระดบั คะแนนเฉลย่ี สะสม การคาํ นวณคา ระดับคะแนนเฉล่ยี ใหทําดังตอ ไปนี้

(ก) คาระดับคะแนนเฉล่ียประจําภาค คํานวณจากผลการศึกษาของนักศึกษาใน
ภาคการศึกษานั้น โดยเอาผลรวมของผลคูณของหนวยกิตกับคาระดับคะแนนของผลการศึกษาในแต
ละรายวิชาในภาคการศึกษาน้ัน ๆ ที่นักศึกษาไดรับเปนตัวต้ัง หารดวยผลรวมของหนวยกิต
รายวชิ าในระดบั บัณฑติ ศึกษาในภาคการศึกษานนั้ ๆ

(ข) คาระดับคะแนนเฉล่ียสะสม ใหคํานวณจากผลการศึกษาของนักศึกษา
ตั้งแตเริ่มเขาศึกษาในมหาวิทยาลัย จนถึงการประเมินผลคร้ังสุดทาย โดยเอาผลรวมของผลคูณ
ของหนวยกิตกับคาระดับคะแนนของผลการศึกษาแตละรายวิชา ที่นักศึกษาไดรับเปนตัวต้ัง
หารดวยหนวยกติ สะสม

ขอ ๓๖ สภาพการเปนนักศึกษาและการเรียนซ้ํา
(๑) นักศึกษาที่คาระดับคะแนนเฉลี่ยประจําภาคต่ํากวา ๒.๕๐ เมื่อสิ้นภาค
การศึกษาแรกท่ีลงทะเบียนเรียน หรือไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ํากวา ๒.๕๐ ใหพนสภาพ
การเปนนักศึกษา
(๒) เม่ือส้ินภาคการศึกษาใด ๆ นักศึกษาท่ีไดคาระดับคะแนนเฉล่ียสะสมต้ังแต
๒.๕๐ ขึ้นไปแตตํ่ากวา ๓.๐๐ ตองทําคาระดับคะแนนเฉล่ียสะสมใหได ๓.๐๐ ภายในระยะเวลาที่
กาํ หนด มิฉะน้ันใหพ นสภาพการเปนนักศกึ ษา ดังตอไปน้ี

คูม ือนกั ศกึ ษา ๒๕๖๑ ((๑๓๖)๗)

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(ก) สองภาคการศึกษาถัดไป สําหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต และ
ประกาศนียบตั รบัณฑติ ชน้ั สูง

(ข) หนึง่ ภาคการศึกษาถดั ไป สาํ หรับนักศึกษาปริญญาโทและปริญญาเอก ทั้งน้ี
ไมนับภาคการศกึ ษาที่นกั ศึกษาขอลาพักการศึกษา

(๓) ในกรณีที่นักศึกษาไดคาระดับคะแนนเฉล่ียสะสมต้ังแต ๒.๕๐ ข้ึนไปแตตํ่ากวา
๓.๐๐ ใหม สี ถานภาพ “รอพินิจ” การรอพนิ จิ นน้ั ใหนับทุกภาคการศึกษา

(๔) นักศึกษาท่ีไดรับคาระดับคะแนนรายวิชาตํ่ากวา C + หรือไดรับผลการประเมิน
การศกึ ษาเปน ระดบั คะแนน U ในรายวชิ าบังคับตามหลกั สตู รระดับบัณฑติ ศึกษา จะตอ งลงทะเบยี นเรียน
รายวิชานั้นซ้ํา

(๕) นักศึกษาที่ไดรับระดับคะแนนรายวิชาตํ่ากวา C + หรือไดรับผลการประเมิน
การศึกษาเปนระดับคะแนน U ในรายวิชาเลือกตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา อาจจะลงทะเบียน
เรียนวิชาอื่นแทนได โดยไดรับความเห็นชอบจากอาจารยท่ีปรึกษา และคณะกรรมการบริหาร
หลกั สูตร

(๖) นักศึกษาลงทะเบียนเรียนซํ้ารายวิชาท่ีเคยลงทะเบียนเรียนไปแลวมิได ยกเวน
การเรียนซา้ํ ตามความใน (๔) หรือ (๕)

ขอ ๓๗ การเทียบโอนหนวยกิต ใหเปนไปตามหลักเกณฑการเทียบโอนผลการ
เรียนในระดับบัณฑติ ศึกษาของมหาวทิ ยาลยั ดังตอไปนี้

(๑) การเทยี บโอนหนวยกิตท่ีไดจากรายวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา ท่ีไดศึกษามาแลวไม
เกิน ๕ ปก ารศึกษา นบั จากปก ารศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียนรายวิชานั้น กระทําไดโดยความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร และไดร ับอนุมตั ิจากคณบดี โดยแตละรายวิชาที่ขอเทียบโอนตอง
ไดค า ระดับคะแนนไมต า่ํ กวา ๓.๐๐

(๒) รายวิชาที่ศึกษาในมหาวิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัยอ่ืน เทียบโอนไดไมเกินหนึ่ง
ในสามของจํานวนหนวยกิตของรายวิชาทั้งหมดในหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ ไมนับรวม
หนวยกติ ของวิทยานพิ นธและการคนควา อสิ ระ

(๓) รายวิชาท่ีเทียบโอนหนวยกิต ใหแสดงช่ือรายวิชา และจํานวนหนวยกิต
ในใบแสดงผลการศกึ ษาทห่ี ลักสตู รรับโอน โดยไมน าํ มาคดิ แตม ระดับคะแนนเฉลีย่

(๔) หนวยกิตที่ไดจากการเขารวมศึกษาขณะเปนนักศึกษาพิเศษ ไมสามารถ
เทยี บโอนได

ขอ ๓๘ การลงโทษนกั ศึกษาท่ที จุ รติ ในการสอบรายวิชา หรือการคัดลอกวิทยานิพนธ
หรือผลงานการคนควา อิสระของผอู ่ืน

(๑) การลงโทษนักศึกษาที่ทุจริตในการสอบรายวิชา ใหเปนไปตามขอบังคับ
มหาวิทยาลัย วา ดว ยการสอบของนกั ศกึ ษา

(๑(๖๒๘)) คูม ือนกั ศึกษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๒) การลงโทษนักศึกษาท่ีคดั ลอกวิทยานิพนธหรือผลงานการคนควาอิสระของผูอื่น
หรือใหผูอ่ืนจัดทํา ใหเปนหนาท่ีของคณะกรรมการสอบในการเสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
เพ่อื แตงตั้งกรรมการตรวจสอบและพจิ ารณาตามสมควรแกก รณีดังตอไปนี้

(ก) กรณที ต่ี รวจสอบพบในขณะท่ียงั ไมสําเร็จการศึกษา ใหถือวาเปนการกระทํา
ผิดวินัยนักศึกษาและมีโทษสูงสุดใหพนสภาพการเปนนักศึกษา

(ข) กรณีที่ตรวจสอบพบเมื่อไดมีการอนุมัติปริญญาไปแลว ใหเสนอตอ
คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและคณบดี เพื่อนาํ เสนอสภามหาวทิ ยาลัยพิจารณาเพกิ ถอนปรญิ ญา

หมวด ๘
การทาํ และการสอบวิทยานพิ นธ

ขอ ๓๙ วิทยานิพนธ หมายถึง เรื่องที่เขียนเรียบเรียงขึ้นจากผลที่ไดจาก
การศกึ ษาคน ควา วิจัย หรอื สาํ รวจ อันเปน สวนหน่งึ ของงานท่ีผูศึกษาตองทําเพื่อสิทธิในการรับปริญญา
ตามท่ีมหาวิทยาลัยไดกําหนดไว นักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก และนักศึกษา
หลกั สตู รปริญญาดุษฎบี ณั ฑิตตอ งทําวทิ ยานิพนธ

ขอ ๔๐ อาจารยท ่ีปรึกษาวิทยานพิ นธ ตอ งมีองคประกอบ ดงั ตอ ไปน้ี
(๑) วิทยานิพนธร ะดับปริญญาโท ใหมีอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก ๑ คน ใน
กรณีทีม่ คี วามจาํ เปนอาจเสนออาจารยท ป่ี รึกษาวทิ ยานิพนธร ว มไดอีก ๑ คน
(๒) วิทยานิพนธระดับปริญญาเอก ใหมีอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลัก ๑ คน
ในกรณีท่มี คี วามจําเปนอาจเสนออาจารยท่ปี รึกษาวทิ ยานิพนธร ว มไดอกี ไมเกิน ๒ คน
ขอ ๔๑ คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ หมายถึง คณะกรรมการที่คณะแตงต้ัง
ขึ้นเพ่ือทําการสอบวิทยานิพนธ โดยมีกรรมการคนหน่ึงเปนประธานกรรมการสอบ และ
คณะกรรมการ ดังกลาวตองมีคุณวุฒิ คุณสมบัติ และผลงานทางวิชาการ ตามขอ ๑๘ (๓) (ง) หรือ
(๔) (ง) แลว แตก รณี
(๑) วิทยานิพนธระดับมหาบัณฑิตใหมีคณะกรรมการสอบ จํานวนไมเกิน ๔ คน
แตไมต่ํากวา ๓ คน ประกอบดวย อาจารยประจํา อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ผูทรงคุณวุฒิ
ภายนอกมหาวิทยาลัย ในสาขาท่ีสัมพันธกันอยางนอย ๑ คน เพื่อทําหนาท่ีเปนกรรมการสอบใน
นามผแู ทนคณะ และอาจารยท ปี่ รกึ ษาวิทยานพิ นธต องไมเปน ประธานกรรมการสอบ
(๒) วิทยานิพนธระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตใหมีคณะกรรมการสอบ จํานวน ๕
คน ประกอบดวย อาจารยประจํา อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ ผูทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาท่ี
สัมพันธกันอยางนอย ๑ คน และผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย ๑ คน เพื่อทําหนาท่ีเปน

คมู ือนักศกึ ษา ๒๕๖๑ ((๑๓๖)๙)

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

กรรมการสอบในนามผแู ทนคณะ และอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธตองไมเปนประธานกรรมการ
สอบ

ขอ ๔๒ การเสนอหัวขอ และเคาโครงวิทยานพิ นธ นักศึกษาจะเสนอหัวขอและเคา
โครงวิทยานิพนธไดตองลงทะเบียนวิทยานิพนธไมนอยกวา ๓ หนวยกิต ในภาคการศึกษานั้น และ
ดาํ เนินการ ดังตอ ไปน้ี

(๑) นักศึกษาหลกั สูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก ๑ ทําเฉพาะวิทยานิพนธ ตอง
สอบวัดคุณสมบตั ผิ า นหรือเปน ที่พอใจแลว

(๒) นักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก ๒ ตองศึกษารายวิชาตามแผนการ
เรยี นมาแลวไมน อ ยกวา ๙ หนว ยกิต และตอ งไดคา ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมตา่ํ กวา ๓.๐๐

(๓) นักศึกษาหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ตองสอบวัดคุณสมบัติผานหรือเปนท่ีพอใจ
แลว

(๔) การพิจารณาหัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธ ใหเปนไปตามขั้นตอนที่
คณะกรรมการบริหารหลักสตู รกําหนด

(๕) หัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธท่ีจะเสนอขออนุมัติ ตองไดรับความเห็นชอบ
จากอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธแลวจึงเสนอตอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพ่ือพิจารณา และ
ใหน าํ ผลการพิจารณาเสนอตอคณะ

(๖) การเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกี่ยวกับหัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธที่ไดรับอนุมัติแลว
หากเปนการเปลี่ยนแปลงหัวขอวิทยานิพนธ หรือสาระสําคัญของวิทยานิพนธ ใหการประเมินผล
วิทยานิพนธท่ีลงทะเบียนผานมาทั้งหมดเปนระดับคะแนน U นักศึกษาตองลงทะเบียนและยื่นขอ
อนุมัติหัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธใหม โดยใหนับเวลาจากวันท่ีไดรับอนุมัติหัวขอและเคาโครง
วิทยานิพนธค รั้งสุดทาย

กรณีการเปลี่ยนแปลงหัวขอวิทยานิพนธเพียงเล็กนอย ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อความ
ถกู ตอ งของสํานวนภาษา ความสนั้ กระชบั และความชัดเจน โดยมิไดเปล่ียนแปลงสาระสําคัญของ
วิทยานิพนธใหอยูในดุลพินิจของอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธและคณะกรรมการสอบ
วทิ ยานิพนธ

ขอ ๔๓ การสอบหวั ขอและเคา โครงวิทยานิพนธ และการสอบความกา วหนา
วทิ ยานิพนธ

นักศกึ ษาปรญิ ญาโท ใหมกี ารสอบหวั ขอ และเคาโครงวิทยานิพนธ
นักศึกษาปริญญาเอก ใหมีการสอบหัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธ และมีการ
สอบความกาวหนา วิทยานพิ นธดว ย
(๑) นักศึกษาตองยื่นคํารองพรอมหัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธโดยยอ ตาม
รปู แบบท่ีคณะกําหนด จํานวน ๕ ชุด ตอคณะกอนวันสอบเปนเวลาอยางนอย ๕ วันทําการ และ
เมอื่ ไดร บั อนมุ ตั ใิ หม กี ารสอบ ใหค ณะประกาศวนั เวลา และสถานทีใ่ หทราบโดยทวั่ กัน

(๑(๗๒๐)) คูมอื นักศึกษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๒) การสอบหัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธ ตองดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน ๓๐
วันนับแตวันท่ียื่นคํารองขอสอบวิทยานิพนธและไดรับอนุมัติหัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธท่ีเสนอ
มฉิ ะนั้นจะตอ งเสนอหัวขอ และเคา โครงวทิ ยานิพนธใหม

(๓) ใหป ระธานการสอบหัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธ รายงานผลการสอบไป
ยังคณะหลังจากเสร็จสิ้นการสอบ ถาผลการสอบหัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธผาน ใหคณะ
ประกาศอนุมัติหัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธใหทราบทั่วกัน แตถาตองมีการปรับปรุงแกไขให
นักศึกษาดําเนินการแกไขแลวเสนอผานอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ และเสนอตอคณะภายใน
๓๐ วนั นบั แตวนั สอบ

(๔) การสอบความกาวหนาวิทยานิพนธ มีวัตถุประสงคเพื่อใหทราบความกาวหนา
ในการทาํ วทิ ยานิพนธ และเสนอแนวทางการแกไ ขปญ หา อันจะสงผลใหนักศึกษาประสบความสําเร็จใน
การทําวิทยานิพนธมากข้ึน นักศึกษาตองสอบความกาวหนาวิทยานิพนธโดยคณะกรรมการสอบ
วิทยานิพนธ นักศึกษาจะขอสอบความกาวหนาวิทยานิพนธได ตองลงทะเบียนวิทยานิพนธไมนอย
กวากึ่งหนึ่งของจํานวนหนว ยกิตวิทยานิพนธใ นหลกั สตู รนั้น

(๕) ใหประธานการสอบวิทยานิพนธรายงานผลการสอบความกาวหนา
วทิ ยานิพนธ ไปยังคณะทนั ทีหลังจากเสร็จสิน้ การสอบ

(๖) อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ ตองแจงผลการประเมินความกาวหนาในการทํา
วิทยานิพนธไ ปยังคณะ กอ นวนั อนุมตั ผิ ลการศึกษาทุกภาคการศึกษา

ขอ ๔๔ การสอบปองกันวิทยานพิ นธ
(๑) นักศึกษามีสิทธิขอสอบปองกันวิทยานิพนธได เม่ือนักศึกษาทําวิทยานิพนธ
เสรจ็ เรยี บรอยแลว และอาจารยท่ีปรกึ ษาวทิ ยานิพนธอ นญุ าตใหสอบได
(๒) การย่ืนคํารองขอสอบปองกนั วทิ ยานพิ นธ

(ก) หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต นักศึกษายื่นคํารองกอนวันสอบเปน
เวลา ไมนอยกวา ๑๕ วันทาํ การ

(ข) หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต นักศึกษายื่นคํารองกอนวันสอบเปน
เวลา ไมนอยกวา ๓๐ วนั ทาํ การ

(ค) ยื่นคํารองขอสอบพรอมสําเนาวิทยานิพนธฉบับสอบ จํานวนเทากับ
กรรมการสอบ เพ่อื ใหค ณะดาํ เนนิ การจดั สง ใหกรรมการสอบและอกี ๑ เลมเพอ่ื ใหคณะเก็บไวเปน
หลกั ฐาน

(ง) เม่ือไดรับอนุมัติใหสอบปองกันวิทยานิพนธ คณะจะประกาศกําหนดวัน
เวลา และสถานที่สอบใหทราบโดยทว่ั กนั ลวงหนากอนสอบอยา งนอย ๗ วนั

(๓) การสอบปองกันวิทยานิพนธ ใหเปนการสอบแบบปากเปลาอยางเปดเผย
นักศึกษาและผูสนใจอ่ืน ๆ สามารถเขารวมรับฟงไดตามวัน เวลา และสถานท่ี ตามที่คณะกําหนดใน

คูมอื นักศกึ ษา ๒๕๖๑ ((๑๓๗)๑)

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

คาํ สงั่ แตง ต้ังคณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธ โดยผูเขารวมรับฟงไมมีสิทธิในการสอบถาม เวน
แตไ ดร บั อนญุ าตจากคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ

ขอ ๔๕ การตัดสินผลการสอบปองกันวทิ ยานพิ นธ
(๑) เมื่อการสอบปองกันวิทยานิพนธเสร็จสิ้น ใหคณะกรรมการสอบปองกัน
วิทยานิพนธอภิปรายแสดงความคิดเห็นและลงมติพรอมตัดสินผลการสอบปองกันวิทยานิพนธ
ตามเกณฑดังตอ ไปน้ี

(ก) “ผาน” หมายถึง การท่ีนักศึกษาแสดงผลงานวิทยานิพนธ และตอบขอ
ซักถามไดเปนที่นาพอใจของคณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธ ไมตองมีการแกไขหรือเพ่ิมเติม
สาระสําคญั นักศึกษาสามารถจดั พิมพร ูปเลมวทิ ยานพิ นธฉบบั สมบรู ณสง คณะไดท ันที

(ข) “ผานโดยมีเงื่อนไข” หมายถึง การที่นักศึกษายังไมสามารถแสดงผลงาน
วทิ ยานิพนธ หรือตอบขอซักถามใหเปนที่พอใจของคณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธได
อยางสมบูรณ คณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธพิจารณาเห็นสมควรใหแกไขหรือเพิ่มเติม
สาระสําคัญ หรือเรียบเรียงวิทยานิพนธตามที่คณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธเสนอแนะ
ไวเปนลายลักษณอักษร ทั้งน้ี ใหคณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธกําหนดระยะเวลาให
นกั ศึกษาดําเนนิ การแกไขปรับปรุงวิทยานิพนธ ในระดับปริญญามหาบัณฑิต ตองไมเกิน ๖๐ วัน และ
ในระดบั ดุษฎบี ณั ฑิต ตองไมเกิน ๙๐ วนั นับจากวันสอบปอ งกนั วิทยานิพนธ

(ค) “ไมผาน” หมายถงึ การที่นักศึกษาไมสามารถแสดงผลงานวิทยานิพนธ
ใหเปนที่พอใจของคณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธ หรือไมสามารถตอบขอซักถามของ
คณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธได ซ่ึงแสดงวานักศึกษาผูนั้นไมมีความเขาใจอยางถองแท
ถงึ สาระของวทิ ยานพิ นธท่ตี นไดทํา

กรณีท่นี ักศกึ ษาสอบครัง้ แรกไมผา น ใหน ักศึกษายืน่ คํารองขอสอบใหมไ ดอีก ๑
ครั้ง

(๒) กรณีนักศึกษาไมสามารถปฏิบัติตามการตัดสิน ผลการสอบปองกัน
วิทยานิพนธของคณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธภายในระยะเวลาที่กําหนดไว ไมวาจะเปน
กรณีสอบ “ผานโดยมีเงื่อนไข” หรือสอบ “ไมผาน” ผลการสอบใหถูกปรับระดับคะแนนเปน U
นักศึกษาตองดาํ เนินการลงทะเบียนวิทยานิพนธ และจัดทําวิทยานิพนธภายใตหัวขอใหม พรอมท้ัง
เร่มิ ขัน้ ตอนการทําวทิ ยานพิ นธใ หมท้งั หมด

(๓) ใหประธานกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธ รายงานผลการสอบไปยัง
คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร และคณะ ภายใน ๑ สปั ดาห นบั จากวนั สอบ

(๑(๗๒๒)) คูม อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ขอ ๔๖ การเรยี บเรียงวทิ ยานิพนธ
(๑) ภาษาที่ใชในการเขียนวิทยานิพนธ ใหเปนไปตามที่กําหนดในหลักสูตร
ในกรณีท่ีไมไดกําหนดไวในหลักสูตร ใหนักศึกษาแจงความประสงคเปนกรณีพิเศษผาน
คณะกรรมการบริหารหลักสตู ร
(๒) รูปแบบการจัดทํารูปเลม ใหเปนไปตามคูมือการจัดทําวิทยานิพนธท่ี
มหาวทิ ยาลัยกําหนด
ขอ ๔๗ นักศึกษาตองสงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณที่มีลายมือช่ือคณะกรรมการสอบ
ปองกันวิทยานิพนธครบถวนทุกคน จํานวน ๕ เลม พรอมดวยแผนบันทึกขอมูลวิทยานิพนธและ
บทคัดยอตามรูปแบบที่กําหนดใหคณะภายในวันอนุมัติผลประจําภาคการศึกษา ในกรณีท่ีนักศึกษามี
ขอ ผกู พันตองมอบวิทยานพิ นธใหแ กห นว ยงานใด ใหน กั ศกึ ษาจัดสงไปยงั หนว ยงานน้นั ดว ย
ขอ ๔๘ การยกเลิกผลการสอบวิทยานิพนธ ในกรณีที่คณะไมไดรับเลม
วิทยานิพนธฉบับสมบูรณพรอมแผนบันทึกขอมูลวิทยานิพนธครบถวนภายในกําหนดเวลา ๖๐ วัน
สําหรบั ปริญญาโท และ ๙๐ วัน สาํ หรับปริญญาเอกหลังจากผลสอบผานวิทยานิพนธ ใหคณะยกเลิก
ผลการสอบและประเมินผลวิทยานิพนธท่ีลงทะเบียนผานมาท้ังหมดเปนระดับคะแนน U หาก
นักศึกษายังตองการรับปริญญาน้ันอีก นักศึกษาตองลงทะเบียนและเริ่มข้ันตอนการทําวิทยานิพนธ
ใหมท ั้งหมด
ขอ ๔๙ ในกรณีที่นักศึกษาสอบปองกันวิทยานิพนธแลว แตยังไมสงวิทยานิพนธ
ฉบับสมบูรณตอคณะภายในวันอนุมัติผลประจําภาคการศึกษา ใหถือวานักศึกษาผูน้ันยังไมสําเร็จ
การศึกษา นักศกึ ษาตอ งลงทะเบียนรักษาสภาพการเปนนักศึกษา ทั้งนี้ ตองไมขัดแยงกับระยะเวลา
ในขอ ๔๘
ขอ ๕๐ วิทยานิพนธท่ีไดรับอนุมัติจากคณะ จึงจะถือวาเปนวิทยานิพนธฉบับ
สมบูรณและใหน บั เปน สว นหน่งึ ของการศึกษาเพื่อรบั ปรญิ ญา
ลิขสิทธหิ์ รือสทิ ธิบตั รในวิทยานิพนธเปนของมหาวิทยาลัย นักศึกษาและอาจารยที่
ปรึกษาวิทยานิพนธเรื่องนั้น ๆ สามารถนําไปเผยแพรในเชิงวิชาการได แตการนําเนื้อหาหรือผล
การศึกษาไปใชเพื่อประโยชนอ่ืน ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด กรณีท่ี
การทําวิทยานิพนธไดรับทุนวิจัยท่ีมีขอผูกพันเก่ียวกับลิขสิทธ์ิหรือสิทธิบัตรโดยไดรับความเห็นชอบ
จากมหาวทิ ยาลัย ใหดาํ เนนิ การตามขอผกู พันน้นั ๆ

คมู ือนักศึกษา ๒๕๖๑ ((๑๓๗)๓)

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

หมวด ๙
การทําและการสอบการคน ควาอิสระ

ขอ ๕๑ การคนควาอิสระ หมายถึง การคนควาอิสระของนักศึกษาภายใตการ
กํากับดูแลของอาจารยที่ปรึกษา การคนควาอิสระอาจทําในรูปของวิจัย การประยุกตทฤษฎี วิจัย
ปฏิบัติการ วิจัยในช้ันเรียน ชุดการสอน ชุดฝกอบรม กรณีศึกษา สิ่งประดิษฐ การรวบรวมและ
วิเคราะหงานวิชาการ หรือการสรางผลงานวิชาการในลักษณะอ่ืน ๆ ที่อาจารยที่ปรึกษาการ
คน ควา อสิ ระเหน็ สมควร

ขอ ๕๒ อาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ ใหมีอาจารยท่ีประจําหลักสูตร จํานวน
๑ คน ในกรณที ่ีมีความจําเปนอาจเสนออาจารยท่ีปรึกษาการคนควาอิสระรวมไดอีก ๑ คน

ขอ ๕๓ คณะกรรมการสอบการคนควาอิสระ หมายถึง คณะกรรมการท่ีคณะ
แตงตั้งขึ้นเพื่อทําการสอบการคนควาอิสระ มีจํานวนไมเกิน ๔ คน แตไมตํ่ากวา ๓ คน ประกอบดวย
อาจารยประจาํ อาจารยท่ีปรึกษาการคนควาอิสระ ผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย ในสาขาที่
สัมพันธกันอยางนอย ๑ คน เพ่ือทําหนาที่เปนกรรมการสอบ โดยใหมีกรรมการคนหน่ึงเปน
ประธานกรรมการสอบทั้งนี้ อาจารยท่ปี รกึ ษาการคน ควาอิสระตองไมเปน ประธานกรรมการสอบ

คุณวุฒิ คุณสมบัติ และผลงานทางวิชาการของคณะกรรมการตามวรรคหน่ึง
ใหเปนไปตามขอ ๑๘ (๓) (ง) โดยอนุโลม

ขอ ๕๔ การเสนอหวั ขอและเคา โครงการคนควาอิสระ นักศึกษาท่ีเสนอหัวขอและ
เคาโครงการคนควาอิสระได ตองลงทะเบียนการคนควาอิสระในภาคการศึกษาน้ัน และ
ดาํ เนนิ การดงั ตอ ไปน้ี

(๑) ตองศึกษารายวชิ ามาแลวไมน อ ยกวา ๑๘ หนว ยกติ และตองมีคา ระดับคะแนน
เฉลยี่ สะสมไมต ่ํากวา ๓.๐๐

(๒) การพิจารณาหัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระ ใหเปนไปตามข้ันตอนที่
คณะกรรมการบริหารหลกั สตู รกาํ หนด

(๓) หัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระที่เสนอขออนุมัติ ตองไดรับความ
เห็นชอบจากอาจารยท่ีปรึกษาการคนควาอิสระแลวจึงเสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพ่ือ
พิจารณา และใหน ําผลการพจิ ารณาเสนอตอคณะ

(๔) การเปล่ียนแปลงใด ๆ เกี่ยวกับหัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระที่ไดรับ
อนุมัติแลว หากเปนการเปลี่ยนแปลงหัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระ หรือสาระสําคัญของ
หัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระ ใหการประเมินผลการคนควาอิสระท่ีลงทะเบียนผานมาทั้งหมด

(๑(๗๒๔)) คมู ือนกั ศกึ ษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

เปนระดับคะแนน U นักศึกษาตองลงทะเบียนและยื่นขออนุมัติหัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระใหม
โดยใหนับเวลาจากวันที่ไดรับอนุมัตหิ วั ขอ และเคาโครงการคน ควาอสิ ระคร้ังสดุ ทาย

กรณีการเปล่ียนแปลงหัวขอการคนควาอิสระเพียงเล็กนอย ซ่ึงมีวัตถุประสงค
เพื่อความถูกตองของสํานวนภาษา ความส้ันกระชับ และความชัดเจน โดยมิไดเปล่ียนแปลง
สาระสําคัญของการคนควาอิสระ ใหอยูในดุลพินิจของอาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระและ
คณะกรรมการสอบการคนควาอสิ ระ

ขอ ๕๕ การสอบหัวขอและเคา โครงการคนควาอิสระ
(๑) การสอบหัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระ ตองดําเนินการใหแลวเสร็จ
ภายใน ๓๐ วัน นับแตวันที่ไดรับอนุมัติการสอบหัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระ มิฉะน้ันตอง
ดําเนนิ การเสนอหัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระใหม
(๒) ใหประธานการสอบหัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระ รายงานผลการ
สอบไปยังคณะหลังจากเสร็จส้ินการสอบ ถาผลการสอบหัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระผาน
ใหคณะประกาศอนุมัติหัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระใหทราบท่ัวกัน แตถาตองมีการปรับปรุง
แกไขใหนักศึกษาดําเนินการแกไข แลวเสนอผานอาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ และเสนอตอ
คณะภายใน ๓๐ วันนับแตวันสอบ เมื่อดําเนินการเสร็จส้ินแลว ใหคณะกรรมการบริหารหลักสูตรแจง
คณะ
ขอ ๕๖ การเรียบเรียงการคนควาอิสระ ใหเปนไปตามคูมือการจัดทําผลงาน
การคน ควา อสิ ระของคณะ
ขอ ๕๗ การสอบการคนควา อสิ ระ
(๑) นักศึกษามีสิทธิขอสอบการคนควาอิสระได เม่ือนักศึกษาทําการคนควาอิสระ
เรยี บรอ ยแลว และอาจารยท่ปี รึกษาการคนควาอสิ ระอนุญาตใหสอบได
(๒) ในการสอบคนควาอิสระ นักศึกษาตองยื่นคํารองขอสอบตอคณะ
กรรมการบริหารหลักสูตร โดยผานความเห็นชอบของอาจารยท่ีปรึกษาการคนควาอิสระ กอนวัน
สอบเปนเวลาอยางนอย ๑๐ วันทําการ พรอมสําเนาบทคัดยอตามรูปแบบที่คณะกําหนด จํานวน
๕ ชุด เม่อื ไดร บั อนมุ ัติใหมีการสอบ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรจะประกาศกําหนดวัน เวลา และ
สถานทส่ี อบใหท ราบโดยท่วั กัน
(๓) นักศึกษาตองเสนอผลงานการคนควาอิสระท่ีมีรูปแบบสมบูรณตามขอ ๕๖
ใหค ณะกรรมการสอบไดอานลวงหนา กอนวนั สอบ ไมน อยกวา ๑๐ วันทาํ การ
(๔) การสอบการคนควาอิสระ ใหเปนการสอบแบบปากเปลาอยางเปดเผย
ซึ่งนักศึกษาและผูสนใจอื่น ๆ สามารถเขารวมรับฟงไดตามกําหนดวัน เวลา และสถานที่ตามท่ี
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรระบุในคําส่ังแตงต้ังคณะกรรมการสอบการคนควาอิสระโดย
ผูเขารว มรับฟงไมมสี ิทธใิ นการสอบถาม เวนแตไ ดร ับอนุญาตจากคณะกรรมการสอบ

คูมือนกั ศึกษา ๒๕๖๑ ((๑๓๗)๕)

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๕) ในการสอบจะตองมีคณะกรรมการสอบครบทุกคน และในกรณีที่กรรมการ
สอบไมสามารถมาทําการสอบตามกําหนดได ใหนักศึกษายื่นคํารองตอคณะกรรมการบริหาร
หลักสูตร

ขอ ๕๘ การตัดสินผลการสอบการคนควาอสิ ระ
(๑) เม่อื การสอบการคนควาอิสระเสร็จส้ิน ใหคณะกรรมการสอบการคนควาอิสระ
อภปิ รายแสดงความคิดเห็นและลงมติพรอมตดั สินการสอบการคนควาอสิ ระตามเกณฑ ดังตอ ไปนี้

(ก) “ผาน” หมายถึง การที่นักศึกษาแสดงผลงานการคนควาอิสระ
และตอบขอซักถามไดเปนที่นาพอใจของคณะกรรมการสอบการคนควาอิสระ ไมตองมีการ
แกไขหรือเพิ่มเติมสาระสําคัญ นักศึกษาสามารถจัดพิมพรูปเลมการคนควาอิสระฉบับสมบูรณสง
คณะไดท นั ที

(ข) “ผานโดยมีเง่ือนไข” หมายถึง การที่นักศึกษายังไมสามารถแสดง
ผลงานการคนควาอิสระ หรือตอบขอซักถามใหเปนท่ีพอใจของคณะกรรมการสอบการคนควา
อิสระไดอยางสมบูรณ คณะกรรมการสอบการคนควาอิสระพิจารณาเห็นสมควรใหแกไขหรือเพ่ิมเติม
สาระสําคัญหรือเรียบเรียงการคนควาอิสระ ตามที่คณะกรรมการสอบการคนควาอิสระ
เสนอแนะไวเปนลายลักษณอักษร ทั้งนี้ ใหคณะกรรมการสอบการคนควาอิสระกําหนด
ระยะเวลาใหนักศึกษาดําเนินการแกไขปรับปรุงการคนควาอิสระโดยตองไมเกิน ๔๕ วัน นับ
จากวนั สอบการคน ควาอสิ ระ

(ค) “ไมผาน” หมายถึง การท่ีนักศึกษาไมสามารถแสดงผลงานการคนควา
อิสระใหเปนท่ีพอใจของคณะกรรมการสอบการคนควาอิสระ หรือไมสามารถตอบขอซักถามของ
คณะกรรมการสอบการคนควาอิสระได ซึ่งแสดงวานักศึกษาผูนั้นไมมีความเขาใจอยางถองแทถึงสาระ
ของการคนควาอิสระทตี่ นไดท ํา

กรณีทน่ี ักศึกษาสอบคร้ังแรกไมผา น ใหนักศึกษายืน่ คํารองขอสอบใหมไดอ ีก ๑
ครัง้ ภายในระยะเวลาท่ีคณะกรรมการสอบการคนควาอิสระกําหนด

ยกเวนกรณีสอบผานแบบมีเง่ือนไข ใหคณะกรรมการสอบการคนควาอิสระ
กําหนดระยะเวลาที่นักศึกษา จะตองดําเนินการแกไขปรับปรุงการคนควาอิสระ ตามความเหมาะสม
แตต อ งไมเกิน ๖๐ วัน

(๒) กรณีนักศึกษาไมปฏิบัติตามการตัดสินผลการสอบของคณะกรรมการสอบการ
คนควาอิสระภายในระยะเวลาท่ีกําหนดไว ไมวาจะเปนกรณีสอบ “ผานโดยมีเง่ือนไข” หรือสอบ
“ไมผาน” ผลการสอบใหถูกปรับเปนระดับคะแนน U นักศึกษาตองดําเนินการลงทะเบียนการ
คนควาอิสระและจัดทําการคนควาอิสระภายใตหัวขอใหม พรอมท้ังเร่ิมตนข้ันตอนการ
ทาํ การคนควาอิสระใหมท ้ังหมด

(๓) ใหประธานการสอบการคนควาอิสระ รายงานผลการสอบไปยั งคณะ
กรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร และคณะ ภายใน ๑ สปั ดาห นับจากวนั สอบ

(๑(๗๒๖)) คมู ือนกั ศึกษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ขอ ๕๙ นักศึกษาตองสงผลงานการคนควาอิสระฉบับสมบูรณ ที่มีลายมือช่ือ
คณะกรรมการสอบการคนควาอิสระครบถวนทุกคน จํานวน ๕ เลม พรอมดวยแผนบันทึกขอมูลการ
คนควาอิสระและบทคัดยอตามรูปแบบท่ีกําหนดใหคณะภายในวันอนุมัติผลประจําภาคการศึกษา ใน
กรณที ี่นกั ศกึ ษามีขอผูกพนั ตองมอบรายงานการคนควาอิสระใหแกหนวยงานใด ใหนักศึกษาจัดสงไป
ยงั หนว ยงานน้นั ดว ย

ขอ ๖๐ การยกเลิกผลการสอบการคนควาอิสระ ในกรณีที่คณะไมไดรับเลม
ผลงานการคนควาอิสระฉบับสมบูรณพรอมแผนบันทึกขอมูลการคนควาอิสระครบถวนภายใน
กําหนดเวลา ๖๐ วัน หลังจากผลสอบการคนควาอิสระผาน ใหคณะยกเลิกผลการสอบและ
ประเมินผลการคนควาอิสระที่ลงทะเบียนผานมาทั้งหมดเปนระดับคะแนน U หากนักศึกษายัง
ตองการรับปริญญานั้นอีก นักศึกษาตองลงทะเบียนและเร่ิมข้ันตอนการทําการคนควาอิสระใหม
ท้ังหมด

ขอ ๖๑ นักศึกษาท่ีสอบการคนควาอิสระแลว แตยังไมสงผลงานการคนควาอิสระ
ฉบับสมบูรณตอคณะภายในวันอนุมัติผลประจําภาคการศึกษา ใหถือวานักศึกษาผูน้ันยังไมสําเร็จ
การศกึ ษา นกั ศึกษาตอ งลงทะเบียนรกั ษาสภาพการเปน นักศึกษา ท้ังนี้ ตองไมขัดแยงกับระยะเวลา
ในขอ ๖๐

ขอ ๖๒ ผลงานการคนควาอิสระที่ไดรับอนุมัติจากคณะแลว จึงจะถือวาเปนผลงาน
การคน ควาอิสระฉบับสมบูรณและใหน บั เปน สว นหนึง่ ของการศึกษาเพื่อขอรบั ปรญิ ญา

ลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรในผลงานการคนควาอิสระเปนของมหาวิทยาลัย นักศึกษา
และอาจารย ที่ปรึกษาการคนควาอิสระเร่ืองนั้น ๆ สามารถนําไปเผยแพรในเชิงวิชาการได แตการ
นําเน้ือหาหรือผลการศึกษาไปใชเพ่ือประโยชนอ่ืน ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการท่ี
มหาวิทยาลัยกําหนดกรณีที่การทําการคนควาอิสระไดรับทุนวิจั ยที่มีขอผูกพันเกี่ยวกับลิขสิทธ์ิ
หรือสิทธิบัตรโดยไดรับความเห็นชอบจากมหาวิทยาลัย ใหดําเนินการตามขอผกู พันน้ัน ๆ

หมวด ๑๐
การสําเรจ็ การศึกษาและขออนมุ ัติปรญิ ญาหรือประกาศนยี บตั รบณั ฑติ

ขอ ๖๓ การสําเร็จการศึกษา นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่จะสําเร็จการศึกษาได
ตอ งมีคณุ สมบัตทิ วั่ ไปและปฏิบัตติ ามเง่ือนไขครบถว น ดังตอ ไปนี้

(๑) ศกึ ษารายวิชาครบตามท่ีกาํ หนดในหลกั สูตร และสอบผานตามเกณฑที่กําหนด
ในหมวดการวดั ผลและประเมินผลการศกึ ษา

(๒) นักศึกษาระดับปริญญาโทตอ งสอบผา นความรูภาษาตางประเทศอยา งนอย ๑
ภาษา การสอบภาษาตางประเทศใหอยูในดุลพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

คูม ือนกั ศึกษา ๒๕๖๑ ((๑๓๗)๗)

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๓) มีคา ระดับคะแนนเฉลีย่ สะสมของวชิ าทีก่ ําหนดตามหลักสตู รระดบั
บณั ฑิตศึกษา ดังตอ ไปน้ี

(ก) ประกาศนียบัตรบัณฑิต และประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ตองเรียนครบ
ตามจํานวนหนวยกิตท่ีกําหนดไวในหลักสูตร และตองไดรับระดับคะแนนเฉล่ียสะสมไมตํ่ากวา
๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดบั คะแนนหรือเทยี บเทา

(ข) ปริญญาโท
แผน ก แบบ ก ๑ เสนอวิทยานิพนธและสอบผานการสอบปากเปลาขั้น

สุดทายโดยคณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธ และผลงานวิทยานิพนธหรือสวนหนึ่งของ
วิทยานิพนธตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอยไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสารระดับชาติ
หรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เร่ือง หลักเกณฑการ
พิจารณาวารสารทางวชิ าการสําหรับการเผยแพรผ ลงานทางวชิ าการ

แผน ก แบบ ก ๒ ศึกษารายวิชาครบถวนตามที่กําหนดในหลักสูตร โดย
จะตอ งไดระดับคะแนนเฉล่ยี สะสมไมตํ่ากวา ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเทา พรอมทั้ง
เสนอวิทยานิพนธและสอบผานการสอบปากเปลาขั้นสุดทายโดยคณะกรรมการสอบปองกัน
วิทยานิพนธ และผลงานวิทยานิพนธหรือสวนหนึ่งของวิทยานิพนธตองไดรับการตีพิมพ หรือ
อยางนอยไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติท่ีมีคุณภาพตาม
ประกาศคณะกรรมการการอดุ มศึกษา เร่อื ง หลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการ
เผยแพรผลงานทางวชิ าการ หรอื นาํ เสนอตอ ท่ปี ระชุมวิชาการโดยบทความท่ีนําเสนอฉบับสมบูรณ
(Full Paper) ไดรับการตีพิมพในรายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการ (Proceedings)
ดังกลา ว

แผน ข ศึกษารายวิชาครบถวนตามที่กําหนดในหลักสูตร โดยตองได
ระดับคะแนนเฉล่ียสะสมไมตํ่ากวา ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเทา และสอบผานการ
สอบประมวลความรู (Comprehensive Examination) ดวยขอเขียนหรือปากเปลาในสาขาวิชานั้น
พรอมทั้งเสนอรายงานการคนควาอิสระและสอบผานการสอบปากเปลาข้ันสุดทายโดย
คณะกรรมการสอบการคน ควาอิสระ และรายงานการคนควาอิสระหรือสวนหนึ่งของรายงานการ
คน ควา อสิ ระตอ งไดรับการเผยแพรใ นลกั ษณะใดลักษณะหนึ่งทสี่ บื คนได

(ค) ปรญิ ญาเอก
แบบ ๑ สอบผานการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)

เพ่ือเปนผูมีสิทธิขอทําวิทยานิพนธ เสนอวิทยานิพนธ และสอบผานการสอบปากเปลาข้ันสุดทาย
โดยคณะกรรมการสอบปอ งกันวทิ ยานิพนธ และผลงานวิทยานพิ นธหรือสวนหนึ่งของวิทยานิพนธ
ตอ งไดรบั การตีพิมพ หรืออยา งนอ ยไดรบั การยอมรบั ใหต พี มิ พในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ

(๑(๗๒๘)) คมู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๑

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ทมี่ คี ุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑการพิจารณาวารสารทาง
วิชาการสําหรับการเผยแพรผ ลงานทางวชิ าการ อยางนอ ย ๒ เรอ่ื ง

แบบ ๒ ศึกษารายวิชาครบถวนตามที่กําหนดในหลักสูตร โดยจะตองได
ระดับคะแนนเฉล่ียสะสมไมตํ่ากวา ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเทา สอบผานการ
สอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเปนผูมีสิทธิขอทําวิทยานิพนธ เสนอ
วิทยานิพนธ และสอบผานการสอบปากเปลาข้ันสุดทายโดยคณะกรรมการสอบปองกัน
วิทยานิพนธ และผลงานวทิ ยานิพนธห รือสว นหนึ่งของวทิ ยานิพนธต อ งไดรับการตีพิมพ หรืออยาง
นอยไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศ
คณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการ
เผยแพรผลงานทางวชิ าการ

(๔) สงรูปเลมวิทยานิพนธ หรือการคนควาอิสระฉบับสมบูรณท่ีจัดพิมพตาม
ขอกําหนดของคณะพรอมแผนบันทึกขอมลู ตามรูปแบบที่คณะกาํ หนด

(๕) มีระยะเวลาการศึกษาไมเ กินตามที่กาํ หนดไวในขอ ๑๒
(๖) ปฏบิ ตั ิตามขอกําหนดอื่น ๆ ตามที่ระบไุ วในหลักสูตร
ขอ ๖๔ การขออนุมัติประกาศนียบัตรหรือปริญญา นักศึกษาท่ีไดรับการ
พิจารณาเสนอช่ือขออนุมัติประกาศนียบัตรหรือปริญญาตอสภามหาวิทยาลัยตองมีคุณสมบัติ
ดังตอไปน้ี
(๑) เปน ผูสําเรจ็ การศกึ ษาตามขอ ๖๓
(๒) ปฏิบตั ิตามขอกาํ หนดตาง ๆ ของคณะและมหาวทิ ยาลยั ครบถว น
(๓) ชําระหน้ีสนิ ทง้ั หมดท่มี ตี อ มหาวทิ ยาลยั หรอื หนวยงานใด ๆ ในมหาวิทยาลัย
(๔) เปนผูไมอยูระหวางถูกลงโทษทางวินัยนักศึกษาหรือระหวางการพิจารณา
ความผดิ
(๕) มคี วามประพฤติเหมาะสม

หมวด ๑๑
การประกันคุณภาพของหลกั สูตร

ขอ ๖๕ ใหทุกหลักสูตรกําหนดระบบการประกันคุณภาพของหลักสูตร โดยมี
องคประกอบในการประกนั คุณภาพอยา งนอย ๖ ดา น คือ

(๑) การกาํ กบั มาตรฐาน
(๒) บณั ฑิต
(๓) นกั ศึกษา

คมู อื นักศกึ ษา ๒๕๖๑ ((๑๓๗)๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๔) คณาจารย
(๕) หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมนิ ผเู รยี น
(๖) สงิ่ สนบั สนุนการเรยี นรู
ขอ ๖๖ การพัฒนาหลักสูตร ใหทุกหลักสูตรพัฒนาหลักสูตรใหทันสมัยโดยมี
การประเมินและรายงานผลการดําเนินการของหลักสูตรทุกปการศึกษาเพ่ือนําขอมูลที่ไดไป
ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรเปนระยะ ๆ อยางนอยตามรอบระยะเวลาของหลักสูตร หรือทุกรอบ ๕
ป

ประกาศ ณ วนั ที่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

ศกั ดิ์ทพิ ย ไกรฤกษ
(นายศกั ด์ิทพิ ย ไกรฤกษ)
นายกสภามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๑(๘๒๐)) คูมอื นกั ศึกษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

เรื่อง อัตราการเก็บคาเลาเรยี นแบบเหมาจา ย และคา ธรรมเนียมการศกึ ษา

ในการจดั การศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา

พ.ศ. ๒๕๕๘

----------------------------------------------------------------

โดยท่ีเปนการสมควรปรับปรุงการจัดเก็บคาเลาเรียน คาบํารุงการศึกษา และ

คาธรรมเนียมการศึกษาในการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา อาศัยอํานาจตามความในขอ ๖

แหงระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ วาดวยการรับ – จายเงิน เพื่อจัด

การศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา ปริญญาโท (ภาคสมทบ) พ.ศ. ๒๕๔๙ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช

มงคลกรุงเทพ จึงกาํ หนดอัตราการเกบ็ คา เลา เรียนแบบเหมาจาย และคาธรรมเนียมการศึกษา ใน

การจดั การศึกษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ภาคปกติ และภาคสมทบ ดงั ตอ ไปน้ี

ขอ ๑ ประกาศน้ี เรยี กวา “ประกาศมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เร่ือง อัตรา

การเก็บคาเลาเรียนแบบเหมาจาย และคาธรรมเนียมการศึกษา ในการจัดการศึกษาระดับ

บณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘”

ขอ ๒ ใหก าํ หนดอตั ราการเกบ็ คา เลาเรยี นแบบเหมาจา ย ดงั นี้

ลําดับท่ี คณะ ภาคปกติ ภาคสมทบ

๑ คณะศลิ ปศาสตร ๒๐,๐๐๐ ๓๙,๐๐๐

๒ คณะวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๒๕,๐๐๐ ๔๕,๐๐๐

๓ คณะครุศาสตรอตุ สาหกรรม ๒๕,๐๐๐ ๕๐,๐๐๐

๔ คณะวศิ วกรรมศาสตร

- หลกั สตู รวิศวกรรมการผลิต ๒๗,๐๐๐ ๓๘,๐๐๐

- หลักสตู รการจดั การคุณภาพ ๔๕,๐๐๐ ๕๕,๐๐๐

๕ คณะบรหิ ารธุรกิจ ๑๗,๕๐๐ ๔๓,๐๐๐

๖ คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร

- หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ ๒๐,๐๐๐ ๓๙,๐๐๐

- หลักสตู รวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต ๒๕,๐๐๐ ๔๕,๐๐๐

๗ คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอ ๔๕,๐๐๐ ๕๕,๐๐๐

อัตราคา เลา เรยี นแบบเหมาจายนไี้ ดรวมคาใชจายทมี่ หาวทิ ยาลัยกําหนดไว ดังน้ี
๑. คาบํารงุ การศกึ ษา

๒. คาหนวยกติ

๓. คา บาํ รุงหอ งสมดุ

คูมือนักศึกษา ๒๕๖๑ ((๑๓๘)๑)

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

๔. คา บรกิ ารสารสนเทศ

ขอ ๓ กรณที น่ี ักศึกษาลงทะเบียนในภาคการศึกษาฤดูรอน ใหจายคร่ึงหนึ่งของอัตรา

การเกบ็ คา เลา เรยี นแบบเหมาจาย ตามขอ ๒ ยกเวน คณะบริหารธรุ กจิ ใหเ รียกเก็บเงนิ ดงั นี้

ภาคปกติ ภาคการศกึ ษาละ ๑๐,๐๐๐ บาท

ภาคสมทบ ภาคการศกึ ษาละ ๒๓,๐๐๐ บาท

ขอ ๔ การเรียกเก็บเงินตามขอ ๒ และขอ ๓ ใหมีผลบังคับใชสําหรับนักศึกษาท่ี

รับเขาศึกษา ตั้งแตปการศึกษา ๒๕๕๘ สําหรับนักศึกษาท่ีรับเขากอนปการศึกษา ๒๕๕๘

ใหใ ชอตั ราการเรยี กเก็บเงนิ เดิมทเ่ี ก่ยี วของจนกวา จะสาํ เร็จการศกึ ษาโดยอนโุ ลม
ขอ ๕ กรณีที่นักศึกษาจากสถาบันการศึกษาอ่ืนเขาศึกษาโดยไมรับปริญญา หรือ

บุคคลภายนอกเขารวมฟง กาํ หนดใหช าํ ระเงินคาเลา เรยี น ดังนี้

รายวิชาบรรยาย หนว ยกติ ละ ๒,๐๐๐ บาท
รายวิชาปฏิบัติ หนว ยกติ ละ ๒,๔๐๐ บาท
รายวชิ าสาระนิพนธ/ วทิ ยานิพนธ หนวยกิตละ ๓,๐๐๐ บาท

ขอ ๖ คาธรรมเนียมการศกึ ษา ๒๐๐ บาท
๖.๑ คา ระเบียบการและใบสมคั รสอบคัดเลือก ๕๐๐ บาท
๖.๒ คา สมคั รสอบคดั เลือกเขาเปนนักศึกษา

๖.๓ คา ขนึ้ ทะเบยี นเปนนักศึกษา (ชาํ ระแรกเขา ) ๑,๐๐๐ บาท

๖.๔ คาประกันของเสียหาย ๓,๕๐๐ บาท

(ชําระแรกเขาและคืนใหเ มือ่ ออกจากมหาวทิ ยาลัย)

๖.๕ คาประกันอุบตั ิเหตุ ปก ารศกึ ษาละ ๒๐๐ บาท
๑๐๐ บาท
๖.๖ คาใบรายงานผลการศึกษา ฉบบั ละ ๑๐๐ บาท

๖.๗ คาหนังสือรบั รอง ฉบบั ละ

๖.๘ คาลงทะเบียนเรยี นลา ชากวากําหนด วันละ ๑๐๐ บาท

ไมเ กนิ ๑,๐๐๐ บาท (ไมน บั วนั หยดุ ราชการ)

๖.๙ คา เทยี บโอนรายวชิ า รายวิชา ๓๐๐ บาท

๖.๑๐ คา คืนสภาพกลบั เขา เปนนักศึกษาใหม ภาคการศึกษาละ ๕,๐๐๐ บาท

๖.๑๑ คารักษาสภาพการเปนนกั ศึกษา

- กรณีลาพกั การศกึ ษา ภาคการศึกษาละ ๓,๐๐๐ บาท

- กรณีลงทะเบียนเรียนครบรายวิชาและอยูระหวางทําวิทยานิพนธ/

การคน ควาอสิ ระ ภาคการศกึ ษาละ ๓,๐๐๐ บาท

(๑(๘๒๒)) คูมือนกั ศกึ ษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

๖.๑๒ คาขึน้ ทะเบียนบัณฑติ ๒,๔๐๐ บาท

(อัตราคาธรรมเนียมนี้ รวมใบรายงานผลการศึกษา และหนังสือรับรอง

อยา งละ ๒ ฉบบั เมอื่ สภามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพอนมุ ตั ปิ รญิ ญาแลว)

ขอ ๗ คาใชจายสําหรับการเดินทางไปศึกษาและดูงานตางประเทศ ข้ึนอยูกับหลักเกณฑ

ของแตล ะหลกั สูตรเปน ผูกาํ หนด

ขอ ๘ การเรียกเก็บเงินตามขอ ๕ และขอ ๖ ใหมีผลบังคับใช ตั้งแตวันประกาศ

เปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ ๓ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

สาธิต พทุ ธชัยยงค
(นายสาธิต พทุ ธชัยยงค)
อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

คมู อื นักศกึ ษา ๒๕๖๑ ((๑๓๘)๓)

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
เรอ่ื ง อตั ราการเกบ็ คา เลา เรยี นแบบเหมาจาย และคา ธรรมเนียมการศึกษา
ในการจัดการศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษา คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอ ภาคสมทบ

พ.ศ. ๒๕๖๑
--------------------------
ดวย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เห็นสมควรปรับปรุงการจัดเก็บ
คาเลาเรียน คาบํารุงการศึกษา และคาธรรมเนียมการศึกษาในการจัดการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ ภาคสมทบ อาศัยอํานาจตามความในขอ ๖ แหง
ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ วาดวยการรับ - จายเงิน เพื่อจัดการศึกษา
ระดับบัณฑิตศึกษา ปริญญาโท (ภาคสมทบ) พ.ศ. ๒๕๔๙ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ จึงกําหนดอัตราการเก็บคาเลาเรียนแบบเหมาจาย และคาธรรมเนียมการศึกษา ในการจัด
การศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะอุตสาหกรรมส่ิงทอ ภาคสมทบ ดังตอไปนี้

ขอ ๑ ประกาศนี้ เรียกวา “ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เร่ือง
อัตราการเก็บคาเลาเรียนแบบเหมาจาย และคาธรรมเนียมการศึกษา ในการจัดการศึกษาระดับ
บณั ฑิตศึกษา คณะอตุ สาหกรรมสิง่ ทอ ภาคสมทบ พ.ศ. ๒๕๖๑”

ขอ ๒ ใหยกเลิกความในขอ ๒ แหงประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เร่ือง อัตราการเก็บคาเลาเรียนแบบเหมาจาย และคาธรรมเนียมการศึกษา ในการจัดการศึกษา
ระดับบณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘ ลงวนั ท่ี ๓ กันยายน ๒๕๕๘ และใหใ ชขอความตอไปนแี้ ทน

ใหกาํ หนดอัตราการเก็บคาเลาเรียนแบบเหมาจาย ดงั นี้
คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ ภาคสมทบ ภาคการศกึ ษาละ ๓๕,๐๐๐ บาท

อตั ราคาเลาเรยี นแบบเหมาจายน้ีไดร วมคา ใชจายท่ีมหาวิทยาลัยกําหนดไว ดงั นี้
๑. คาบํารงุ การศึกษา
๒. คาหนวยกติ
๓. คาบํารงุ หอ งสมดุ
๔. คาบริการสารสนเทศ

ขอ ๓ กรณีทนี่ ักศึกษาลงทะเบยี นในภาคการศึกษาฤดูรอน ใหจายครึ่งหนึ่งของอัตราการ
เก็บคาเลา เรียนแบบเหมาจาย ตามขอ ๒

ขอ ๔ การเรียกเก็บเงินตามขอ ๒ และขอ ๓ ใหมีผลบังคับใชสําหรับนักศึกษาที่รับเขา
ศึกษา ตั้งแตภ าคการศกึ ษาที่ ๒/๒๕๖๐ สาํ หรับนักศึกษาท่ีรับเขากอนภาคการศึกษาท่ี ๒/๒๕๖๐
ใหใชอ ตั ราการเรียกเกบ็ เงินเดมิ ทเี่ กย่ี วของจนกวาจะสําเร็จการศึกษาโดยอนุโลม

(๑(๘๒๔)) คมู ือนักศกึ ษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ขอ ๕ กรณีที่นักศึกษาจากสถาบันการศึกษาอื่นเขาศึกษาโดยไมรับปริญญา หรือ

บุคคลภายนอกเขารวมฟง กาํ หนดใหชําระเงินคาเลาเรยี น ดังน้ี

รายวชิ าบรรยาย หนว ยกิตละ ๒,๐๐๐ บาท

รายวิชาปฏิบัติ หนวยกติ ละ ๒,๔๐๐ บาท

รายวชิ าสาระนิพนธ/ วทิ ยานิพนธ หนว ยกติ ละ ๓,๐๐๐ บาท

ขอ ๖ คาธรรมเนยี มการศกึ ษา

๖.๑ คา ระเบียบการและใบสมัครสอบคัดเลือก ๒๐๐ บาท

๖.๒ คาสมคั รสอบคดั เลือกเขาเปนนกั ศกึ ษา ๕๐๐ บาท

๖.๓ คาขึน้ ทะเบียนเปน นักศึกษา (ชําระแรกเขา) ๑,๐๐๐ บาท

๖.๔ คา ประกนั ของเสยี หาย ๓,๕๐๐ บาท

(ชําระแรกเขาและคืนใหเ ม่อื ออกจากมหาวิทยาลัย)

๖.๕ คาประกันอบุ ัตเิ หตุ ปการศกึ ษาละ ๒๐๐ บาท

๖.๖ คา ใบรายงานผลการศึกษา ฉบบั ละ ๑๐๐ บาท

๖.๗ คาหนังสือรบั รอง ฉบับละ ๑๐๐ บาท

๖.๘ คา ลงทะเบยี นเรียนลา ชา กวา กาํ หนด วนั ละ ๑๐๐ บาท

ไมเ กนิ ๑,๐๐๐ บาท (ไมน บั วนั หยดุ ราชการ)

๖.๘ คาเทยี บโอนรายวชิ า รายวิชาละ ๓๐๐ บาท

๖.๙ คาคนื สภาพกลับเขาเปนนกั ศึกษาใหม ภาคการศึกษาละ ๕,๐๐๐ บาท

๖.๑๐ คารกั ษาสภาพการเปน นกั ศึกษา

- กรณีลาพกั การศกึ ษา ภาคการศกึ ษาละ ๓,๐๐๐ บาท

- กรณีลงทะเบียนเรียนครบรายวิชา และอยูระหวางทําวิทยานิพนธ/การ

คน ควาอิสระ ภาคการศึกษาละ ๓,๐๐๐ บาท

๖.๑๑ คา ขึน้ ทะเบยี นบณั ฑิต ๒,๔๐๐ บาท

(อัตราคาธรรมเนียมนี้ รวมใบรายงานผลการศึกษา และหนังสือรับรอง

อยางละ ๒ ฉบบั เม่อื สภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพอนมุ ตั ปิ รญิ ญาแลว)

ขอ ๗ คาใชจายสําหรับการเดินทางไปศึกษาและดูงานตางประเทศ ขึ้นอยูกับ
หลักเกณฑของแตล ะหลักสูตรเปนผูกาํ หนด

ประกาศ ณ วันที่ ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

(นายสกุ ิจ นิตินัย)
อธิการบดมี หาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

คมู อื นักศึกษา ๒๕๖๑ ((๑๓๘)๕)

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรอ่ื ง อัตราการเก็บคาเลา เรยี นแบบเหมาจาย และคาธรรมเนยี มการศกึ ษา
ในการจดั การศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ภาคสมทบ

พ.ศ. ๒๕๖๑
--------------------------
ดวย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เห็นสมควรปรับปรุงการจัดเก็บ
คาเลาเรียน คาบํารุงการศึกษา และคาธรรมเนียมการศึกษาในการจัดการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ภาคสมทบ อาศัยอํานาจตามความในขอ ๖
แหงระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ วาดวยการรับ - จายเงิน เพื่อจัด
การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ปริญญาโท (ภาคสมทบ) พ.ศ. ๒๕๔๙ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ จึงกําหนดอัตราการเก็บคาเลาเรียนแบบเหมาจาย และคาธรรมเนียมการศึกษา
ในการจัดการศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ภาคสมทบ ดงั ตอไปน้ี

ขอ ๑ ประกาศน้ี เรียกวา “ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เรื่อง
อัตราการเก็บ คาเลาเรียนแบบเหมาจาย และคาธรรมเนียมการศึกษา ในการจัดการศึกษาระดับ
บณั ฑิตศึกษา คณะวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ภาคสมทบ พ.ศ. ๒๕๖๑”

ขอ ๒ ประกาศนี้ ใหใ ชบังคับกบั นกั ศกึ ษาท่เี ขา ศึกษาตง้ั แตปการศึกษา ๒๕๖๑

ขอ ๓ ใหยกเลิกความในขอ ๒ แหงประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรื่อง อัตราการเก็บคาเลาเรียนแบบเหมาจาย และคาธรรมเนียมการศึกษา ในการจัดการศึกษา
ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘ ลงวนั ท่ี ๓ กนั ยายน ๒๕๕๘ และใหใ ชข อความตอไปน้ีแทน

ใหก ําหนดอตั ราการเก็บคา เลา เรยี นแบบเหมาจาย ดงั น้ี
คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีภาคสมทบภาคการศึกษาละ ๓๕,๐๐๐ บาท

อตั ราคา เลา เรียนแบบเหมาจายน้ีไดร วมคา ใชจา ยท่มี หาวทิ ยาลยั กาํ หนดไว ดังน้ี
๑. คา บาํ รุงการศกึ ษา
๒. คา หนว ยกิต
๓. คา บาํ รงุ หอ งสมุด
๔. คา บรกิ ารสารสนเทศ

ขอ ๔ กรณที ีน่ ักศึกษาลงทะเบียนในภาคการศึกษาฤดูรอน ใหจายคร่ึงหน่ึงของอัตราการ
เก็บคาเลา เรียนแบบเหมาจา ย ตามขอ ๓

(๑(๘๒๖)) คมู ือนักศกึ ษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ขอ ๕ การเรียกเก็บเงินตามขอ ๓ และขอ ๔ ใหมีผลบังคับใชสําหรับนักศึกษาท่ีรับเขา
ศึกษา ตั้งแตปการศึกษา ๒๕๖๑ สําหรับนักศึกษาท่ีรับเขากอนปการศึกษา ๒๕๖๑ ใหใชอัตรา
การเรยี กเก็บเงินเดมิ ทีเ่ กยี่ วขอ งจนกวาจะสําเรจ็ การศึกษาโดยอนุโลม

ขอ ๖ คาใชจายสําหรับการเดินทางไปศึกษาและดูงานตางประเทศ ขึ้นอยูกับ
หลกั เกณฑข องแตละหลักสตู รเปนผกู ําหนด

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

(นายสกุ จิ นิตนิ ัย)
อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

คมู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๑ ((๑๓๘)๗)

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๑(๘๒๘)) คมู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ขอ ปฏิบัติเก่ียวกับระเบยี บ ขอบงั คับ และประกาศของนักศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี

ของสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

ที่ ที่ เรอื่ ง เรือ่ ง กฎเกกณฎฑเกทณก่ี าํฑหท นกี่ ดาํ หนด

๑ ๑ การ การ ๑.ภาค๑ก.ภาารคศกึ าษราศปึกกษตาิ ปหกรือตภิ หารคือกภาารคศกึ าษราศฤึกดษูราอฤนดนูรอักนศึกนษักาศตึกอษงาลตงทองะลเบงทียนะเบรียนใเนรียนใน

ลงทะลเบงทียนะเบยี น รายวิชราทยว่ีกิชําาหทน่กี ดําใหนเ สดรใจ็หสเสน้ิ รกจ็ อ สนิ้นวกนั อเปนดวันภเาปคด กภาราคศกึ าษราศนึก้ันษหานรื้ันอตหารมือรตะายมะรเวะลยาะทเวี่ ลาที่

เรียนเรียน มหาวมิทหยาาวลิทัยยกาําลหัยนกดําหแนลดะตแอลงะชตําอระงชเงําินรตะาเงมินรตะายมะรเวะลยาะทเว่ีกลําาหทน่ีกดําไหวนในดปไวฏใิทนินปฏิทิน

การศกึ าษราศขึกอษงามขหอางวมิทหยาาวลิทัยยกาลรณัย ีทก่ีนรณักศีทึก่ีนษักาศลึกงษทาะลเบงทียะนเเบรียนแเรลียวนไแมลชวํารไมะชเงําินระเงิน

หรือไหมรลืองทไมะลเบงทียะนเบโดียยนไมโดแยจไงมเหแตจุใงดเหๆตุใเดชนๆ ไเมชขนอไอมนขุญอาอตนลุญาาพตักลารพักษัการสักภษาาพสภาพ

มหาวมิทหยาวลิทยั ยจาะลถยั อจนะชถอื่ อนนกั ชศอื่ ึกนษักาศผึกูนษ้นั าอผอนู กัน้ จอาอกกทจะาเบกทียนะเนบกั ยี ศนึกนษกั าศกึ ษา

๒. กา๒ร.ลกงทาระลเบงทียนะเบรียนทเรุกียรนาทยุกวิชรายตวอิชงาไดตรอับงไคดวราับมคเหว็นามชเอหบ็นจชาอกบอจาาจกาอรยาทจาี่ปรรยึกทษ่ีปารึกษา

และตแอลงะเปตน อไงปเปตนามไปขตอากมําขหอนกดําขหอนงดหขลอักงสหตู ลรกั แสลตู ะรขแอลกะําขหอนกดําขหอนงดคขณอะงทค่ีนณักะศทึก่ีนษักาศึกษา

สงั กัดสหงั กากัดฝหา ฝากนฝจาะฝถน อื จวะา กถือารวลา งกทาระลเบงทียนะเบรยี นดเรงั ียกนลดาวงั กเปลนาโวมเปฆนะโมฆะ

๓. กา๓ร.ลกงทาระลเบงทียะนเบรียนใเรนียภนาใคนกภาารคศกึ าษราศปึกกษตาิ ปนกั ตศิึกนษักาศภึกาษคาปภกาตคิ ปจกะลตงิ จทะะลเบงทียะนเบียน

เรียนไเรมียตน่ําไกมวตาํ่า๙กวาหน๙วยหกนิตวแยลกะิตไมแลเกะินไม๒เก๒ินห๒น๒วยหกนิตวสยํกาหิตรสับําภหารคับสภมาทคบสมจทะบ จะ

ลงทะลเบงทยี นะเบรยี นไเมรยีต น่าํ กไมวตา่ํา๙กวหาน๙ว ยหกนติ วแยลกะติ ไมแเลกะนิ ไม๑เก๖ินห๑น๖ว ยหกนิตว ยกติ

๔. กา๔ร.ลงกทาระลเบงทียนะเบรยี นใเนรียภนาคในกภาราคศกึ าษราศฤึกดษูรอาฤนดนรู ักอ ศนกึ นษักาศจึกะษลงาทจะลเบงียทนะไเบดียไมนเไกดินไม๙เกิน ๙

หนวยหกนิตวยกเิตวนยใกนเวกนรใณนีทก่ีแรผณนีทกี่แาผรนเรกียานรขเรอียงนหขลอักงสหูตลรักไดสกูตํารหไดนกดําไหวนเปดนไวอเยปานงอื่ยนางอ่ืน

ใหน กั ใศหกึ น ษกั าศปกึ ฏษิบาตั ปิตฏาบิ มตัแติผานมกแาผรนเรกียานรทเรี่กียํานหทนี่กดําไหวในนดหไวลใกั นสหูตลรกันส้ันตู รนัน้

ในภาคในกภาราคศกึ าษราศปึกกษตาิ ปหกากตนิ หักาศกกึ นษกั าศตกึ อ ษงกาตารอลงงกทาระลเบงทยี นะเบรียนเกรินียน๒เก๒ินห๒น๒วยหกนิตวยกิต

แตไ มแเ กตินไ ม๒เ ก๕นิ ห๒น๕วยหกนิตวหยกรือิตนหอรยือกนวอาย๙กวหาน๙วยหกนิตวตยกอิตงขตออองนขุมอัตอิคนณุมบัติคดณี แบลดะี และ

สามาสราถมการระถทกํารไะดทเพําไียดงเหพนีย่ึงงภหานค่ึงกภาารคศกึกาษราศเึกทษาานเ้ันทายนก้ันเวยนกภเาวคนกภาารคศกึกาษราศึกษา

สุดทาสยุดทท่ีนาักยศทึกี่นษักาศจึกะษสาํ จเระ็จสกําาเร็จศกึ าษราศตึกาษมาหตลาักมสหูตลรักแสลูตะรมแีหลนะวมยีหกนิตวเยหกลิตือเอหยลู ืออยู

ไมเกนิ ไม๒เ ก๕ินห๒น๕วยหกนติ วหยกรือติ นหอรยอื กนวอา ย๙กวหา น๙ว ยหกนติ ว ยกิต

๕. น๕ัก.ศึกนษักาศกึกลษุมาสกหลุกมิจสศหึกกษิจาศึกนษักาศึกนษักาศฝึกกษงาาฝนกใงนาสนถใานนสปถราะนกปอรบะกาอรบกทา่ีฝรก ที่ฝก

ประสปบรกะาสรบณกกาารรณสอกนารในสอสนถาในสศถึกาษนาศึกอษนาุญาอตนใุญหลาตงทใหะลเบงียทนะเบ๖ียหนน๖วยหกนิตวใยนกภิตาคในภาค

การศกึ ษาราศนกึน้ั ษไดาน แ้ันตไจดะ แลตงทจ ะเลบงยีทนะเรบียียนนวเรชิ ยีาอนนื่วชิรวาอม่นืดรววยมไมดไว ดย ไมไ ด

๖. น๖ัก.ศึกนษักาศทึก่ีลษงาททะี่ลเบงทียะนเเบรียนเกรอียนวกันอเนปวดันภเาปคดกภาารคศกึกาษราศแึกลษวาแแลตวมีปแรตะมกีปารศะกาศ

ภายหภลาังยวหาลพังนวสาภพานพสเภนาื่อพงจเนากื่อผงจลากกาผรเลรกียานรใเนรียภนาคในกภาราศคึกาษราศทึก่ีผษาานทมี่ผาาในหมถาือใวหาถือวา

ผลกาผรลงกทาะรลเบงียทนะเบรยี ยี นนใเนรยีภนาคในกภาราศคกึ ษาราศถึกดั ษมาถทดั ่ลี มงาททะ่ลีเบงียทนะเบรียนเปรียนนโมเปฆนะโมแลฆะ และ

ไมมีผไลมผมูกีผพลันผมูกหพาันวมิทหยาาวลิทัยยโาดลยัยนโักดศยึกนษักาศมึกีสษิทาธม์ิขีสอิทคธืน์ิขเองินคืนคาเงบินําคราุงบกํารุศงกึ าษราศึกษา

คา ลงทคาะลเบงทียนะเบคาียธนรรคมาเธนรียรมกเนาียรมศกึ าษราศซกึ ่งึษไาดชซํา่งึ รไะดใช นําภระาคในกภาารคศกึ าษราศทกึ ่ีเษปาน ท่เี ปน

โมฆะไโดมฆะทไ้งั ดน ้ี นทกัง้ นศึก้ี นษกั าศทึกีม่ ษีสาภทา่มี นีสภภาาพนหภราือพ GหPรAือ เGกPอื Aบจเกะอื พบน จสะภพานพสกภาารพเปกน ารเปน

นกั ศกึ นษักาศอึกยษนู าน้ั อยหนูรือนั้ ไมหแรนอื ไใ มจใแนนผใลจกในาผรเลรกยี านรใเนรยีภนาคในทภี่ผาา คนทมผ่ีาา ขนอมใาหขชอลใอหกชาลรอการ

ลงทะลเบงทียนะเใบนยีภนาคในตภอ าไคปตหอรไอื ปภหารคือฤภดาูรคอฤนดเพูรอื่ นคเอพย่ือดคผู อลยกดาผูรศลึกษาราศทึกผ่ี ษา านทมผี่าาใหนมาให

แนใจกแอนนใจลกงอทนะลเบงทยี นะเบียน

คมู ือนกั ศึกษา ๒๕๖๑ ((๑๓๘)๙)

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ท่ี เรื่อง กฎเกณฑท ีก่ ําหนด

๑ การ เม่ือทราบผลการศกึ ษาแลว นกั ศกึ ษาสามารถลงทะเบยี นในชว งของการ

ลงทะเบียน ลงทะเบยี นลา ชา ไดต ามปฏทิ นิ การศกึ ษาเพ่อื จะไดไ มม ีปญ หาในการขอคนื เงิน

เรยี น คา ลงทะเบียนดังกลาว

(ตอ ) ๗. ในภาคการศึกษาใด หากนักศึกษาไมลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาน้นั และ

ประสงคจ ะขอรักษาสภาพการเปนนักศึกษา ตองทําคํารองขอลาพกั การศึกษา

ตอคณบดี ภายในสามสิบวันนับจากวันเปด ภาคการศกึ ษาน้นั และตอ งชาํ ระ

เงนิ คาธรรมเนยี มเพ่อื รักษาสภาพเปนนกั ศกึ ษา หากไมป ฏิบัตดิ ังกลาว

มหาวทิ ยาลยั จะถอนชือ่ นักศึกษาผนู ้ันออกจากทะเบยี นนกั ศกึ ษา

๘. อธกิ ารบดมี ีอํานาจอนมุ ัติใหน กั ศกึ ษาทีถ่ กู ถอนชื่อออกจากทะเบยี นนักศกึ ษา

ตาม ขอ ๑ และ ขอ ๖ กลับเขาเปน นกั ศกึ ษาใหมไ ดเ ปน กรณีพเิ ศษ เม่อื มเี หตผุ ล

อันสมควร โดยใหถ อื ระยะเวลาท่ีถกู ถอนชอื่ ออกจากทะเบยี นนกั ศกึ ษา เปน

ระยะเวลาพกั การศกึ ษา ทง้ั นตี้ อ งไมพ น กาํ หนดระยะเวลาหน่งึ ป นบั จากวันที่

นกั ศึกษาผนู นั้ ถูกถอนชื่อจากทะเบยี นนกั ศกึ ษา โดยนักศกึ ษาตอ งชาํ ระเงนิ

คาธรรมเนยี มเสมือนเปน ผลู าพักการศกึ ษารวมท้งั คา คืนสภาพเปนนกั ศกึ ษาและ

คา ธรรมเนียมอืน่ ใดท่คี า งชาํ ระตามประกาศมหาวทิ ยาลยั

๒ การงด กรณที ่ีมหาวิทยาลัยมเี หตุอนั ควร อาจประกาศงดการสอนรายวชิ าใด

การสอน รายวชิ าหนงึ่ หรือจาํ กดั จํานวนนักศกึ ษาที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาใดก็
รายวิชาใด
วิชาหน่ึง ได

๓ การ ๑. การลงทะเบียนเรียนรายวชิ า ทมี่ ีรายวชิ าบงั คบั กอน นกั ศกึ ษาจะตอ งสอบ
ลงทะเบยี น ผานวชิ าบังคบั กอ น จงึ จะลงรายวิชาตอ เนอ่ื งได หากฝาฝนจะถือวาการ
เรยี นใน ลงทะเบยี นเรียนรายวชิ าน้นั เปน โมฆะ เวน แตจ ะไดรับอนุมตั ิจากคณบดี
รายวชิ าท่ีมี กอนการลงทะเบยี นเรียน และจะตอ งเปน นักศึกษาปสุดทา ยของหลกั สูตรท่ี
วิชาบงั คับ
กอ น จะสําเรจ็ การศึกษาในปก ารศกึ ษาน้ัน
๒. นกั ศึกษาทีล่ งทะเบียนเรียนรายวิชาตอ เนอื่ งควบคูก บั รายวชิ าบงั คับกอ น

หากงดเรยี นรายวชิ าบังคับกอ น จะตอ งงดเรยี นรายวชิ าตอ เน่อื งคราว

เดยี วกนั ดว ย หากไมง ดเรยี นรายวิชาตอเนือ่ ง จะถือวา การลงทะเบยี นเรยี น

รายวชิ าตอ เนือ่ งน้นั เปน โมฆะ เชน รายวชิ าตอ เน่อื งเปนวชิ า Lab เมอื่

ตองการถอนรายวิชาบังคบั กอน (W) นักศกึ ษาตองถอน (W) รายวชิ า

ตอ เน่ืองหรอื รายวชิ าบังคบั รวมดวย

๔ การ ๑. นักศึกษาสามารถลงทะเบยี นเรยี นขามสถานศกึ ษาได ในแตล ะภาค
ลงทะเบียน การศึกษาหากเปนการลงทะเบยี นเพอ่ื เพ่มิ พนู ความรูประเภทไมนับ
เรียนขาม หนวยกติ
สถานศึกษา

(๑(๙๒๐)) คูมอื นักศกึ ษา ๒๕๖๑

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ท่ี เรื่อง กฎเกณฑทีก่ าํ หนด

๔ การ ๒. นักศึกษาทป่ี ระสงคจ ะลงทะเบยี นเรียนขา มสถานศกึ ษาเพอื่ นบั หนวยกิต
ลงทะเบยี น ในหลักสูตรจะตอ งเปน ไปตามเงอ่ื นไข ดังน้ี
เรียนขา ม ๒.๑ เปน นกั ศกึ ษาภาคการศกึ ษาสุดทายท่จี ะสําเร็จการศกึ ษา และรายวชิ าทจ่ี ะ
สถานศกึ ษา
เรยี นไมเ ปด สอนในภาคการศกึ ษานน้ั
(ตอ ) ๒.๒ รายวิชาทีจ่ ะลงทะเบยี นเรยี นในสถานศึกษาอ่ืน ตอ งเปนรายวชิ าทเ่ี ทียบได

กับรายวชิ าตามหลักสตู รของมหาวิทยาลยั การเทยี บใหอ ยใู นดุลยพนิ จิ ของ

ภาควชิ าและคณะเจาของรายวชิ าโดยถือเกณฑเนือ้ หาและจาํ นวนหนวยกติ

เปนหลกั

๒.๓ การเรียนขามสถานศึกษา ใหน กั ศึกษายน่ื คาํ รอ งขอเรยี นขา มสถานศึกษา

ตอคณบดีที่นักศกึ ษาสงั กัดเพือ่ พิจารณา และนักศึกษาตองชาํ ระเงิน

คาลงทะเบียนหรือคาบาํ รุงการศึกษาแกมหาวิทยาลัยในสังกัด ตาม

ประกาศที่มหาวิทยาลัยกําหนดไวใหเรียบรอย จากน้ันจึงไปดาํ เนินการ

ชาํ ระคา หนว ยกติ ที่เรียนขา มสถานศึกษา ทน่ี กั ศกึ ษาตอ งการลงทะเบยี น

เรียน

๒.๔ กรณีนักศึกษาจากสถาบนั การศึกษาอื่นมีความประสงคจะขอเรียนขาม

สถานศึกษาใหป ฏบิ ตั ิตามประกาศมหาวทิ ยาลยั

๕ การเพิ่ม ๑. การขอเพิ่มรายวิชา ตองกระทาํ ภายในสัปดาหที่สองของภาคการศึกษาปกติ

หรอื ถอน และภายในสัปดาหแรกของภาคการศึกษาฤดูรอน

รายวชิ า ๒. การถอนรายวิชา

๒.๑ ถา ถอนรายวิชาภายในสปั ดาหทส่ี องของภาคการศึกษาปกติ และ

ภายในสัปดาหแรกของภาคการศกึ ษาฤดรู อน รายวิชาน้ันจะไมปรากฏในใบ

แสดงผลการศึกษา

๒.๒ ถาถอนรายวชิ าเมื่อพนกาํ หนดสัปดาหท่สี อง แตยงั อยภู ายในสบิ สอง

สปั ดาหของภาคการศึกษาปกติ หรือเมื่อพน กําหนดสปั ดาหแ รกของภาค

การศึกษาฤดูรอ น แตย ังอยภู ายในหาสปั ดาหแรกของภาคการศึกษาฤดูรอ น

จะตอ งไดร ับความเหน็ ชอบจากอาจารยท่ปี รึกษาโดยรายวชิ าน้นั จะปรากฏในใบ

แสดงผลการศึกษา ซ่ึงจะไดร ับคะแนนถอนรายวชิ า หรือ ถ (W)

เม่อื พน กําหนดการถอนรายวชิ าแลว นกั ศึกษาจะถอนการลงทะเบยี นเฉพาะ

รายวิชาไมไ ด

๒.๓ การลงทะเบียนเรียนรายวิชาเพมิ่ จนมจี ํานวนหนวยกิตสงู กวา หรือการ

ถอนรายวิชาจนเหลอื จํานวนหนวยกติ ตํา่ กวา ทม่ี หาวทิ ยาลยั ฯระบไุ วม ไิ ด หาก

ฝาฝน จะถอื วา การลงทะเบียนเรียนดังกลาวเปนโมฆะ เวนแตจ ะมีเหตผุ ลอันควร

และไดรบั อนุมตั ิจากคณบดี

คมู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๑ ((๑๓๙)๑)

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ท่ี เร่ือง กฎเกณฑท ีก่ ําหนด

๖ การลาพัก ๑. การลาพกั การศกึ ษาเปนการลาพกั ทัง้ ภาคการศึกษา และถาไดลงทะเบยี นไปแลว

การศึกษา ให ยกเลกิ การลงทะเบียนเรยี นรายวชิ าท่ไี ดลงทะเบยี นเรยี นทั้งหมดในภาค

การศึกษาน้นั รายวิชาดังกลา วจะไมปรากฏในใบแสดงผลการศกึ ษาแตก ารลาพัก

การศึกษา หลังจากสปั ดาหท ส่ี บิ สองในระหวา งภาคการศกึ ษาปกตหิ รอื หลงั สัปดาห

ที่หกในระหวา ง ภาคการศึกษาฤดรู อน จะตองบันทกึ คาระดบั คะแนนเปน ถอน

รายวิชา หรอื ถ (W)

๒. การขอลาพกั การศกึ ษา ใหแสดงเหตุผลความจาํ เปน พรอ มกับมหี นังสือย่นื ตอ

คณบดีและจะลาพกั การศึกษาไดไมเ กนิ สองภาคการศึกษาปกติตดิ ตอกัน และ

ชําระคารกั ษาสภาพการเปนนกั ศกึ ษาภาคการศกึ ษาละ ๓๐๐ บาท ตามประกาศ

ของมหาวทิ ยาลัยทกุ ภาคการศึกษาทไ่ี ดร บั อนมุ ัตใิ หลาพักการศึกษา หากไมป ฏบิ ตั ิ

จะถูกถอนชอื่ ออกจากทะเบียนนกั ศกึ ษา ยกเวน ภาคการศึกษาท่ีนักศึกษาได

ชาํ ระเงินคาบาํ รุงการศึกษา คาลงทะเบียนเรียน คาธรรมเนยี มการศึกษา และคา

อ่ืนใดตามประกาศของมหาวทิ ยาลยั โดยมหาวิทยาลยั จะไมคนื เงินดังกลาวให

๓. ในภาคการศึกษาแรกทีข่ น้ึ ทะเบยี นเปนนักศกึ ษาของมหาวิทยาลัย นกั ศึกษาจะ

ลาพกั การศกึ ษามไิ ด เวนแตจ ะไดรับอนุมตั จิ ากอธกิ ารบดเี ปนกรณพี เิ ศษ

๔. การขอลาพกั การศกึ ษาเกินกวาสองภาคการศกึ ษาปกตติ ิดตอ กนั จะตอ งไดรับ

อนมุ ัติจากอธกิ ารบดเี ปน กรณีพิเศษ ในกรณตี อ ไปน้ี

๔.๑ ถกู เกณฑหรอื ระดมเขารบั ราชการทหารกองประจาํ การ

๔.๒ ไดร บั ทุนแลกเปลย่ี นนักศกึ ษาระหวางประเทศหรือทุนอ่นื ใด ซง่ึ

มหาวทิ ยาลยั เห็นสมควรสนับสนุน

๔.๓ ประสบอบุ ตั เิ หตุ ภยันตราย หรอื เจบ็ ปว ย จนตองพักรกั ษาตัวตามคําส่ัง

แพทยเ ปนเวลานานเกินกวา รอ ยละยสี่ บิ ของเวลาศกึ ษาท้ังหมดโดยมี

ใบรับรองแพทย

๕. การลาพกั การศกึ ษาไมวาดวยเหตุใดหรือการถูกใหพ ักการศึกษา หรอื การกลบั เขา

ศึกษาใหมแลว แตกรณี ไมเ ปนเหตใุ หข ยายระยะเวลาการศกึ ษาเกนิ กวา สองเทา ของ

แผนการเรียนตามหลกั สตู ร นบั แตว ันขึ้นทะเบยี นเปนนักศึกษาของมหาวทิ ยาลยั

ยกเวน ภาคการศึกษาฤดรู อน

๗ การขาด นกั ศกึ ษาทปี่ ว ยหรอื มเี หตสุ ดุ วสิ ยั ทาํ ใหไ มสามารถเขาสอบปลายภาคได นกั ศึกษา

สอบ ตองขอผอนผันการสอบตอ อาจารยผสู อนรายวิชาน้ันภายในวันถดั ไป หลงั จากทมี่ ี

ปลายภาค การสอบปลายภาครายวชิ าน้นั เวน แตจะมีเหตอุ ันสมควร นักศึกษาตองทาํ คํา

รองตอ คณะกรรมการประจาํ คณะใหพิจารณาการขอผอ นผนั ดังกลา ว โดยอาจ

อนมุ ัติใหไดร ะดบั คะแนนไมส มบูรณห รอื ม.ส. (I) หรอื ใหยกเลิกการลงทะเบยี น

เรียนรายวิชานนั้ เปนกรณีพเิ ศษ โดยใหไดระดับคะแนน ถอนรายวชิ า หรอื ถ (W)

หรอื ไมอ นมุ ตั ิ การขอผอ นผัน โดยใหถือวาขาดสอบมีคา ระดับคะแนน (F)


Click to View FlipBook Version