The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning community PLC) ของนายธัชพงศ์พัชร์ พันธุุ์แก้ว ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thatchapongpat, 2022-09-11 04:14:55

ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning community PLC) ของนายธัชพงศ์พัชร์ พันธุุ์แก้ว ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning community PLC) ของนายธัชพงศ์พัชร์ พันธุุ์แก้ว ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

(PLC : Professional Learning Community)

เรื่อง การจดั การเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ 19
รปู แบบ On Hand

โดยกระบวนการ LS PLC CO-5STEPS

นายธชั พงศ์พัชร์ พันธแุ์ ก้ว

ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ

โรงเรยี นบ้านแม่ตะละเหนือ

สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

ส่วนราชการ บันทึกขอ้ ความ

โรงเรยี นบ้านแม่ตะละเหนือ อาเภอกัลยาณวิ ัฒนา จงั หวดั เชียงใหม่

ทศ่ี ธ............................ วันท่ี 1 พฤศจิกายน 256๔

เรื่อง ขอจัดตัง้ กลุ่มประชมุ ปฏิบัตกิ ารขับเคลื่อนกระบวนการ PLC (ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้)

เรียน ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านแม่ตะละเหนือ

ตามท่ีสานักงาน ก.ค.ศ. ได้กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
สายงานการสอน เพอ่ื ให้การพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นไปอย่างมีระบบ มีความต่อเนื่อง
โดยนาหลักการชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี PLC (Professional Learning Community) มาใชใ้ นการพฒั นาครู
ซึ่งแนวคิดของ PLC คือ การนาคนมาอยู่รวมกัน เกิดการเรียนรู้ แบ่งปันความรู้กันระหว่างผู้เข้าร่วมอบรม เพ่ือ
นาไปสูก่ ารพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ และตอ่ เนื่อง นนั้

ดังนั้นข้าพเจ้า นายธัชพงศ์พัชร์ พันธุ์แก้ว และคณะครูโรงเรียนบ้านแม่ตะละเหนือ ภาคเรียนท่ี 2
ปกี ารศึกษา 256๔ ขอจัดตั้งกลุม่ ประชุมปฏิบัติการขับเคลอ่ื นกระบวนการ PLC (ชุมชนแห่งการเรียนรู้) ดังกล่าว
เพ่ือร่วมกนั คน้ หาปัญหาในการจัดกระบวนการเรียนรู้ อันนาไปสู่การออกแบบการจัดการเรียนรู้ นวัตกรรม วิจัย
เพ่ือการเปล่ียนแปลงเชิงคุณภาพ ท้ังด้านวิชาชีพ และผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนในโรงเรียนบ้านแม่ตะละเหนือ
ตาบลแม่แดด อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีรายชื่อผู้ร่วมประชุมปฏิบัติการกลุ่ม PLC และ
โครงสร้างแผนการดาเนินงาน PLC ดังเอกสารแนบทา้ ยรายช่อื ดงั นี้

จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบและพจิ ารณา

ลงช่อื ..................................................
(นายธชั พงศพ์ ชั ร์ พันธุ์แก้ว)

ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการ
หัวหน้างานวิชาการโรงเรียนบ้านแมต่ ะละเหนือ

 อนุญาตและใหด้ าเนนิ การ  ไม่อนุญาต

ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ..............................................

(นายไพรชั ดวงจันทร์)
ผ้อู านวยการโรงเรียนบ้านแม่ตะละเหนือ

รายช่อื คณะครูโรงเรียนบ้านแมต่ ะละเหนือ

ที่ ช่อื -สกลุ บทบาทหนา้ ที่ ลายมอื ชอ่ื
1. นายไพรชั ดวงจันทร์ ผู้อานวยการโรงเรียน
2. นายธชั พงศพ์ ชั ร์ พนั ธแ์ุ กว้ หวั หนา้ กลุ่มบรหิ ารวิชาการ
3. นายศกั ด์ิชยั แสนพิลมุ
4. นางสาวลดั ดา แซเ่ ฒ่า ผู้เช่ียวชาญ
5. นางสาวมธรุ ส อาชีพบริสทุ ธิ์ ครูร่วมเรียนรู้
6. นางสาววนิดา สภาวนากลุ ครูร่วมเรียนรู้
ครรู ่วมเรยี นรู้

คาส่งั โรงเรยี นบา้ นแม่ตะละเหนือ
ท่ี ๑๘/๒๕6๔

เร่อื ง แต่งตั้งคณะทางานการขบั เคล่ือนกระบวนการ PLC ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้
ทางวิชาชพี สสู่ ถานศึกษา ประจาปกี ารศึกษา 256๔

พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับท่ี 2) พทุ ธศกั ราช 2545
มาตรา 22 ระบุถงึ หลกั การจัดการจดั การศึกษาวา่ ผูเ้ รยี นทกุ คนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ต้องจัดการศึกษาที่
พัฒนาผู้เรียนตามธรรมชาติและศักยภาพ ซึ่งครูทุกคนมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องแสวงหาวิธีการท่ีจะช่วยนักเรียน
ทกุ คนเรยี นรไู้ ด้ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติดังกล่าว ซึ่งนวัตกรรมใหม่ที่ครูต้องทราบคือ Professional Learning
Community (PLC) เป็นการรวมตัวกันทางาน พัฒนาทักษะและการเรียนรู้เพื่อปฏิบัติหน้าที่ครูเพ่ือศิษย์ บนพ้ืนฐาน
วัฒนธรรมความสัมพันธ์และกัลยาณมิตร มีวิสัยทัศน์ คุณค่า เป้าหมายและภารกิจร่วมกัน โดยทางานร่วมกันแบบทีม
เรียนรทู้ ี่ครูเปน็ ผนู้ ารว่ มกัน และผบู้ ริหารแบบผู้ดูแลสนบั สนนุ สกู่ ารเรียนรู้ละพัฒนาวิชาชีพเปลี่ยนแปลงคุณภาพตนเอง
สคู่ ณุ ภาพการจัดการเรยี นร้ทู ี่เนน้ ความสาเร็จหรือประสทิ ธผิ ลของผู้เรียนและความสุขของการทางานร่วมกันของสมาชิก
ในชมุ ชนการเรยี นรู้

เพ่ือพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน รวมถึงพัฒนาศักยภาพครูสู่มืออาชีพ
และสนองต่อจุดเน้นนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และนโยบายของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต ๖ โรงเรียนบ้านแมต่ ะละเหนือ จงึ แตง่ ตั้งคณะกรรมการในการดาเนินงาน ดังนี้

1. ฝ่ายอานวยการ

1.1 นายไพรชั ดวงจันทร์ ผู้อานวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ

1.2 นายศกั ดช์ิ ยั แสนพลิ มุ ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการและเลขานุการ

หนา้ ที่ : สร้างความเขา้ ใจ ความตระหนัก ใหค้ าปรึกษา ช้แี นะ ตดิ ตอ่ ประสานงานและอานวยความสะดวกใน

การดาเนินการ

2. คณะทางานจดั กจิ กรรม PLC ประจาชน้ั อนบุ าล ๓

2.1 นางสาววนดิ า สภาวนากุล ครูประจาชั้นอนุบาล 3 ประธานกรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
2.2 นายธัชพงศพ์ ัชร์ พนั ธแ์ุ ก้ว หวั หนา้ ฝา่ ยวชิ าการ

3. คณะทางานจัดกิจกรรม PLC ประจาชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1-6

3.1 นายธชั พงศพ์ ชั ร์ พันธแ์ุ ก้ว ครปู ระจาช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๕-๖ประธานกรรมการ

3.2 นายศักดชิ์ ยั แสนพิลุม ครูประจาชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๒-๓รองประธานกรรมการ

3.3 นางสาวลดั ดา แซ่เฒา่ ครูประจาชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔ กรรมการ

3.4 นางสาวมธุรส อาชพี บริสทุ ธ์ิ ครปู ระจาชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ กรรมการและเลขานุการ

หนา้ ท่ี : 1. จัดกิจกรรม PLC ตามระดบั ช้ันที่สอนและกล่มุ สาระการเรียนรูท้ ีส่ อน
2. วิเคราะหแ์ ละสะท้อนสภาพปญั หาการเรยี นการสอน หาแนวทางการแก้ปญั หา รว่ มกาหนด

แผนการดาเนินงาน ร่วมออกแบบกิจกรรมและสื่อการเรยี นการสอน และวดั ประเมนิ ผลการใช้สอื่ และนวัตกรรม
3. รายงานผลหลังการจัดกจิ กรรม และบนั ทึกการ PLC รวบรวมในแฟม้ งานของครูแตล่ ะคน
4. ถ่ายภาพ/รวบรวมภาพการจัดกจิ กรรมของตนเอง

๔. คณะทางานจดั กิจกรรมการเรียนการสอน โดยใชก้ ระบวนการ PLC LS Co-5Steps

๔.1 นายธัชพงศ์พชั ร์ พนั ธุ์แก้ว ประธานกรรมการ

๔.2 นายศกั ดิ์ชยั แสนพิลุม รองประธานกรรมการ

๔.3 นางสาวลัดดา แซ่เฒา่ กรรมการ

๔.4 นางสาวมธรุ ส อาชพี บริสทุ ธิ์ กรรมการและเลขานุการ

หนา้ ที่ : 1. นเิ ทศกิจกรามการเรียนการสอน โดยใช้กระบวนการ PLC LS Co-5Steps ตามระดับชั้นทส่ี อน

และกลุ่มสาระการเรยี นรู้ทสี่ อน

2. วิเคราะห์และสะท้อนสภาพปญั หาการเรยี นการสอน หาแนวทางการแก้ปญั หา รว่ มกาหนด

แผนการดาเนินงาน

3. กากบั ตดิ ตาม สนับสนนุ ใหค้ าแนะนาในการจดั กิจกรรมให้เป็นไปตามแผนงานท่ีกาหนดไวแ้ ละ

รายงานต่อผ้บู ริหาร

๕. คณะกรรมการรายงานผลการจัดการกจิ กรรม PLC

5.1 นายธัชพงศพ์ ัชร์ พนั ธแุ์ ก้ว หัวหน้าฝ่ายวิชาการ ประธานกรรมการ

5.2 นายศกั ด์ิชัย แสนพลิ มุ ครปู ระจาชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 2-๓รองประธานกรรมการ

5.3 นางสาววนิดา สภาวนากลุ ครูประจาช้ันอนบุ าล 3 กรรมการ

5.๔ นางสาวมธรุ ส อาชพี บรสิ ทุ ธิ์ ครูประจาช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 กรรมการ

5.๕ นางสาวลัดดา แซเ่ ฒ่า ครูประจาช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 กรรมการและเลขานุการ

หนา้ ที่ : จัดทาคู่มอื สรุปผลและรายงานการจดั กจิ กรรมการ PLC ต่อผู้บริหารละหน่วยงานตน้ สังกดั

ทง้ั น้ีใหผ้ ู้ไดร้ บั การแตง่ ตั้ง ปฏบิ ัตหิ น้าที่ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายให้เกดิ ผลอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ เพ่อื ใหเ้ กดิ ประโยชน์
แกท่ างราชการ และบรรลุตามวัตถปุ ระสงคท์ ต่ี ้งั ไว้

ทง้ั นต้ี ั้งแต่ ๒ พฤศจิกายน พ.ศ. 256๔
สัง่ ณ วนั ท่ี ๒ เดอื น พฤศจกิ ายน พ.ศ. 256๔

(ลงชอ่ื )
(นายไพรชั ดวงจนั ทร์)

ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นแมต่ ะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC) ก

คานา

รายงานผลการดาเนินงานการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning
Community : PLC) จัดทาขึ้นเพ่ือนาเสนอแนวทางในการดาเนินงานของกลุ่ม “พัฒนาคุณภาพเพ่ือยกระดับ
ผลสมั ฤทธ์ิ” ระดบั ชนั้ อนบุ าลปที ี่ ๓ ถงึ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ทุกกลุ่มสาระ เพ่ือแก้ไขปัญหาเร่ือง นักเรียนขาดความ
กระตือรือร้นในการเรียนและทักษะต่าง ๆ ต่อการเรียน โดยความร่วมมือจากครูประจาวิชาและเป็นการสร้างความรู้
ความเข้าใจเร่ืองการปฏิบัติด้วยกระบวนการ PLC เพ่ือแก้ไขปัญหาด้านพฤติกรรมของนักเรียน รวมทั้งแลกเปล่ียน
เรียนรู้ การติดตามและประเมินผลในการดาเนินงานของโรงเรยี นบ้านแม่ตะละเหนือของครผู ูส้ อนในโรงเรียน

หวงั เปน็ อยา่ งย่ิงวา่ เอกสารเล่มนี้ จะเกดิ ประโยชนต์ อ่ ผ้คู รูผสู้ อน ผู้บรหิ ารสถานศึกษาและบุคลากรทางการ
ศึกษา รวมท้ังผู้สนใจท่ัวไป ในการนาไปใช้เพ่ือศึกษาเรียนรู้สร้างความเข้าใจและปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวได้เป็น
อย่างดี

กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ
คณะครูโรงเรยี นบา้ นแมต่ ะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC) ข

สารบญั

เรือ่ ง หนา้

คานา ก
สารบญั ข
ผลการดาเนินกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี 1-4
บันทกึ ชุมชนแห่งการเรยี นรู้วชิ าชพี ครง้ั ท่ี 1 5-๘
บันทกึ ชุมชนแห่งการเรียนรู้วชิ าชีพ ครัง้ ท่ี 2 ๙-1๒
บันทกึ ชุมชนแหง่ การเรียนรู้วชิ าชพี ครัง้ ที่ 3 1๓-16
บันทกึ ชุมชนแห่งการเรยี นรู้วชิ าชพี คร้งั ที่ 4 17-20
บนั ทึกชุมชนแหง่ การเรยี นรู้วชิ าชพี ครั้งที่ 5 21-25
บันทกึ ชุมชนแหง่ การเรียนรู้วิชาชพี ครง้ั ที่ 6 26-28
บันทกึ ชุมชนแหง่ การเรียนรู้วชิ าชพี คร้งั ท่ี 7 29-31
บนั ทกึ ชุมชนแหง่ การเรียนรู้วิชาชพี ครง้ั ท่ี 8 32-๓4
บันทึกชมุ ชนแห่งการเรียนรู้วิชาชพี ครง้ั ที่ 9 ๓5-๓7
บนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรียนรู้วิชาชพี ครัง้ ที่ 10 ๓8-40
บันทกึ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้วิชาชีพ ครั้งท่ี 11 41-43
บันทกึ ชุมชนแห่งการเรยี นรู้วิชาชพี ครั้งที่ 12 44-๔7
บันทกึ ชุมชนแหง่ การเรียนรู้วิชาชีพ คร้ังท่ี 13 ๔8-51

ปฏิทินดาเนนิ งาน PLC ชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (Professional Leaning Community)
โรงเรยี นบ้านแม่ตะละเหนือ อาเภอกัลยาณวิ ัฒนา จังหวดั เชยี งใหม่
สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต ๖
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

เรื่อง ปญั หา “นักเรียนขาดทักษะการคดิ เปน็ ระบบ ขั้นตอน คิดวเิ คราะหแ์ ละแกไ้ ขปญั หาด้วยตนเอง”
ชน้ั อนบุ าลปที ่ี ๓ - ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ปกี ารศึกษา 2564

ชัว่ โมงที่ วันท่ี รายการ ผรู้ บั ผดิ ชอบ หมายเหตุ
1-2 3 พ.ย. 64 - คณะครโู รงเรยี น
ขนั้ ท่ี 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การ บา้ นแมต่ ะละเหนือ
3-4 2 พ.ย. 64 เรียนรู้ (Analyze & Plan) - ผู้บนั ทกึ
5-6 18 พ.ย. 64 - ประชุมสร้างความเขา้ ใจ นางสาวลัดดา แซ่เฒ่า
- กระบวนการกจิ กรรม PLC
7-8 24 พ.ย. 64 - ระดับสถานศึกษา - คณะครูโรงเรียน
- วเิ คราะหค์ ้นหาปญั หา สาเหตปุ ัญหา ทที่ าให้ บ้านแมต่ ะละเหนอื
นกั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทตี่ ่า - ผู้บันทกึ
นางสาวลัดดา แซ่เฒา่
- ร่วมศกึ ษาปญั หา แนวทางแก้ไขปัญหา หรือ
กระบวนการทจ่ี ะใช้ในการแก้ไขปัญหา ดงั น้ี - คณะครโู รงเรียน
ดาเนินการวเิ คราะห์ หลักสูตร 8 กล่มุ สาระการ บ้านแม่ตะละเหนือ
เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดที่นักเรยี น - ผู้บนั ทึก
มผี ลสัมฤทธ์ทิ างเรียนตกต่า นางสาวลัดดา แซ่เฒ่า

- ดาเนนิ การวิเคราะห์ หลักสตู ร 8 กล่มุ สาระการ - คณะครโู รงเรียน
เรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวดั ทีน่ กั เรียน บา้ นแมต่ ะละเหนอื
โดยดผู ลผลสัมฤทธทิ์ างเรียนของนักเรยี นท่ใี นปี - ผบู้ นั ทึก
การศึกษา 2564 เพ่ือปรับพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ นางสาวลัดดา แซ่เฒา่
ปรบั เปล่ียนรปู แบบการสอนใหม่ใหม้ สี ่ือ
เทคโนโลยที ี่สามารถดงึ ดูดความสนใจของ
นักเรียนดว้ ยกระบวนการสอนแบบ Active
learning และการพฒั นารปู แบบการจัดกิจกรรม
การเรยี นการสอน โดยกระบวนการใช้ LS Co-
5steps และมีประเมินนักเรียนท่ีหลากหลาย

- จากการประชุมกลมุ่ ในกิจกรรม PLC ในสปั ดาห์
นไ้ี ด้จับคู่เปน็ เปน็ ครูต้นแบบ (Model
Teacher และ Buddy Teacher ในการให้
คาแนะนาการพฒั นารปู แบบการจัดกิจกรรม
การเรียน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เกิดความเสมอ
ภาค จึงไดม้ ีการร่วมวางแผนและออกแบบ
แผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือจดั ทาและปรบั ปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน

ช่วั โมงที่ วันท่ี รายการ ผรู้ บั ผดิ ชอบ หมายเหตุ
9-10 30 พ.ย. 64
11-12 7 ธ.ค. 64 - ออกแบบแผนการจดั การเรียนรู้พฒั นาการ - คณะครโู รงเรียน

13-14 14 ธ.ค. 64 จัดการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการ Co-5steps บา้ นแมต่ ะละเหนือ
15-16 21 ธ.ค. 65
17-18 11 ม.ค. 65 เพ่ือนักเรียนพฒั นาทักษะการคิดเป็นระบบ - ผู้บนั ทึก

19-20 18 ม.ค. 65 ข้นั ตอนคิดวเิ คราะห์และแก้ไขปัญหาดว้ ยตนเอง นางสาวลดั ดา แซ่เฒา่

จับคู่ Model Teacher Buddy Teacher

ขนั้ ท่ี 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การ - คณะครโู รงเรียน

เรยี นรู้ (Analyze & Plan) บา้ นแมต่ ะละเหนอื

- ประชมุ สรา้ งความเข้าใจ - ผู้บนั ทกึ

- วเิ คราะห์คน้ หาการจัดการเรียนการสอน นางสาวลดั ดา แซเ่ ฒา่

เนอื่ งจากเหตุพิเศษจากสถานการณโ์ รคระบาด

ไวรสั โคโรนา่ 19 เพอื่ สง่ เสริมทักษะอาชพี

ขน้ั ที่ 2 ปฏิบัติและสังเกตการเรยี นรู้ - คณะครูโรงเรียน

(Do & See) บ้านแม่ตะละเหนือ

- จัดการเรียนการสอนเน่ืองจากเหตุพเิ ศษจาก - ผู้บันทกึ

สถานการณ์โรคระบาดไวรัสโคโรน่า 19 นางสาวลัดดา แซเ่ ฒ่า

เพอ่ื ส่งเสริมทักษะอาชีพ

ขน้ั ท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรุงใหม่ - คณะครูโรงเรยี น

(Reflect & Redesign) บ้านแม่ตะละเหนอื

- จดั การเรียนการสอนเน่ืองจากเหตุพเิ ศษจาก - ผูบ้ ันทึก

สถานการณโ์ รคระบาดไวรัสโคโรน่า 19 นางสาวลัดดา แซ่เฒา่

เพอื่ ส่งเสริมทักษะอาชีพ

ขน้ั ที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการ - คณะครโู รงเรยี น

เรยี นรู้ (Analyze & Plan) บา้ นแม่ตะละเหนือ

- ประชมุ สร้างความเข้าใจ - ผบู้ ันทึก

การจัดการเรยี นรเู้ พื่อพัฒนาคุณภาพเพอื่ นางสาวลดั ดา แซเ่ ฒา่

ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิ” เนื่องจากสถานการณ์

โควิด ของเชื้อโอมิครอนระหว่าง วันที่ 4

มกราคม 2565 -25 มกราคม 2565

เพอ่ื สง่ เสริมทักษะชวี ิต

ขน้ั ท่ี 2 ปฏิบตั ิและสังเกตการเรียนรู้ - คณะครโู รงเรียน

(Do & See) บ้านแม่ตะละเหนอื

- การจัดการเรยี นรูเ้ พ่ือพัฒนาคณุ ภาพเพ่ือ - บันทกึ ภาพการจัดการ

ยกระดับผลสัมฤทธ์ิ” เนื่องจากสถานการณ์ เรยี นการสอน

โควิค ของเช้อื โอมคิ รอนระหวา่ ง วนั ที่ 4 - ผบู้ ันทกึ

มกราคม 2565 -25 มกราคม 2565 นางสาวลดั ดา แซ่เฒ่า

เพ่ือส่งเสรมิ ทักษะชีวิต

ช่ัวโมงท่ี วันท่ี รายการ ผรู้ บั ผดิ ชอบ หมายเหตุ
21-22 25 ม.ค. 65
ขน้ั ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรงุ ใหม่ - คณะครูโรงเรยี น
(Reflect & Redesign) บา้ นแม่ตะละเหนอื
- การจัดการเรียนรูเ้ พ่ือพฒั นาคุณภาพเพอ่ื - บันทกึ ภาพการจัดการ
ยกระดับผลสัมฤทธิ์” เนื่องจากสถานการณ์ เรยี นการสอน
โควคิ ของเชือ้ โอมคิ รอนระหว่าง วันท่ี 4 - ผู้บันทึก
มกราคม 2565 -25 มกราคม 2565 นางสาวลดั ดา แซเ่ ฒา่
โดยใชห้ ลุมพอเพียงเป็นฐาน

23-24 2 ก.พ. 65 ขน้ั ท่ี 2 ปฏิบัติและสังเกตการเรยี นรู้ - คณะครูโรงเรยี น
(Do & See) บ้านแม่ตะละเหนือ
- เปิด open class การจัดการเรียนการสอน - บันทกึ ภาพการจัดการ
คุณภาพสู่หอ้ งเรยี น เรยี นการสอน
- ผู้บนั ทึก
25-26 2 ม.ี ค. 65 ขัน้ ท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรับปรุงใหม่ นางสาวลดั ดา แซ่เฒา่
(Reflect & Redesign) - คณะครูโรงเรยี น
- Model Teacher บา้ นแม่ตะละเหนือ
- Buddy Teacher - ผู้บันทกึ
- นาเสนอรายงานผลสรุปการดาเนินการแกไ้ ข นางสาวลัดดา แซ่เฒา่
ปัญหา
26 ชว่ั โมง
สรุปรวม

ลงชอ่ื ..................................... ลงชอ่ื ............................................
(นางสาวลัดดา แซ่เฒา่ ) (นายธชั พงศ์พชั ร์ พันธุ์แก้ว)
ผูบ้ นั ทึก หัวหนา้ กลมุ่ บริหารวิชาการ

ลงชอ่ื ..............................................ผู้รับรอง
(นายไพรัช ดวงจันทร์)

ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านแมต่ ะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC) 1

ผลการดาเนินกิจกรรมชมุ ชนแหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชพี

1. หลักการและเหตผุ ล
ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning community : PLC) หมายถึง การรวมกลุ่ม

กันของครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษา ในลักษณะของชุมชนเชิงวิชาการที่มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา โดยใช้กระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติ การถอดบทเรียน และการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ร่วมกันอย่าง
ตอ่ เนอื่ ง (ราชบัณฑติ ยสถาน, 2558)

จากผลการวิจัยของ สุรพล ธรรมร่มดี (2553) ยืนยันว่าการดาเนินการในรูปแบบ PLC นาไปสู่การ
เปล่ียนแปลงเชงิ คุณภาพทัง้ ด้านวิชาชีพและผลสัมฤทธ์ิของนักเรียน โดย มีผลดีท้ังต่อครูผู้สอนและนักเรียน ในแง่ผลดี
ต่อครูผู้สอน พบว่า PLC ส่งผลต่อครูผู้สอนกล่าวคือลดความรู้สึกโดดเดี่ยวในงานสอนของครู เพิ่มความรู้สึกผูกพันต่อ
พันธกจิ และเป้าหมายของโรงเรียนมากขึ้น โดยเพ่ิมความกระตือรือร้นที่จะปฏิบัติให้บรรลุพันธกิจอย่างแข็งขัน จนเกิด
ความรู้สึกว่า ต้องการร่วมกันเรียนรู้และรับผิดชอบต่อพัฒนาการโดยรวมของนักเรียน ถือเป็นพลังการเรียนรู้ซ่ึงส่งผล
ให้การปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนให้มีผลดียิ่งขึ้น รวมท้ังเข้าใจบทบาทและพฤติกรรมการสอนท่ีจะช่วยให้นักเรียนเกิด
การเรียนรู้ได้ดีที่สุด ซึ่งจะเกิดจากการคอยสังเกตอย่างใส่ใจในแง่ของผลดีต่อผู้เรียนพบว่า PLC สามารถลดอัตราการ
ตกซ้าชน้ั และจานวนช้ันเรียนท่ีต้องเล่ือนหรือชะลอการจัดการเรียนรู้ให้น้อยลง อัตราการขาดเรียนลดลงมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนในวิชาวิทยาศาสตร์ประวัติศาสตร์และวิชาการอ่านที่สูงข้ึนอย่างเด่นชัด สุดท้ายคือมีความแตกต่างด้าน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวา่ งกลุ่มนักเรยี นที่มีภมู หิ ลงั ไม่เหมือนกนั ลดลงอย่างชัดเจน

จากการศึกษาประโยชน์ของกระบวนการดังกล่าว ผู้จัดทาจึงเกิดความคิดที่จะนากระบวนการ PLC
(Professional Learning Community) เพื่อเป็นการปรับปรุงแก้ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน และร่วมกัน
พัฒนานวัตกรรมท่ีใช้ในการแก้ปัญหาเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้แก่นักเรียนในแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้ ตลอดจนพัฒนา
ทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีของนักเรียนให้ดีย่ิงข้ึน โดยได้เริ่มดาเนินกิจกรรมกับนักเรียนระดับช้ันอนุบาล
ปีที่ ๓ ถงึ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ เพื่อแก้ไขปญั หาที่เกิดขึน้ จรงิ ในหอ้ งเรียน คือ ปัญหานักเรียนขาดแรงจูงใจ กระตือรือร้น
ในการเรยี น สง่ ผลให้นักเรยี นไมป่ ระสบผลสาเรจ็ ในการเรยี นและเปน็ อุปสรรคต่อการจดั การเรียนการสอน

2. วตั ถุประสงค์
1. เพอ่ื ให้นกั เรยี นมที ักษะในการในการเรียนรู้ทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
2. เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นเกดิ สมาธจิ ิตใจจดจ่อในการเรียน มีเจตคติทีด่ ีกบั ทุกรายวิชา
3. เพอ่ื ให้นักเรยี นมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนในระดับทสี่ งู ขึ้น
4. เพือ่ ปรับพฤตกิ รรมของนกั เรยี นทีม่ ีปัญหาใหเ้ ปล่ยี นไปในทางที่ดีขึน้
5. มนี วตั กรรมหรอื ค่มู ือการใช้ทีม่ ีความเหมาะสมและเรา้ ความสนใจของผ้เู รียน

3. วธิ กี ารดาเนนิ งาน
 แนวทางการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการสรา้ งชุมชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (PLC)
1. แบ่งกลมุ่ ยอ่ ย ตามความเหมาะสม
2. ให้แตล่ ะกล่มุ คดิ แนวทางแก้ไขปัญหา 1 เรอ่ื งจากประเด็นตอ่ ไปน้ี
2.1 ปัญหาการเรยี นรู้ของนักเรยี น 1 เร่ือง/กลุ่ม
2.2 ปัญหาดา้ นการจัดการเรียนการสอนของครู หรือเทคนิควธิ ีการสอนทีค่ รูควรพฒั นา 1 เรอ่ื ง/
กลุ่ม
3. จัดทาโครงการ/กิจกรรม การสรา้ งชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC)

(Professional Learning Community : PLC) 2

 กระบวนการของ PLC
ขัน้ ตอนที่ 1 Community สร้างทีมครู
ขน้ั ตอนที่ 2 Practice จดั การเรียนรู้ เช่นการวิเคราะห์หน่วยการเรยี นรู้ รว่ มกนั ออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้

ในการจดั ทาแผนการเรยี นรู้ เพอ่ื แก้ปัญหา หรือพัฒนา และนาสู่การปฏิบัติ โดยมีการเปดิ หอ้ งเรยี น
เพื่อการสงั เกตการณส์ อน

เครอ่ื งมือในการประเมนิ
- แบบนิเทศ 01 แบบสงั เกตการณ์จดั กิจกรรมการเรยี นการสอน
ขน้ั ตอนท่ี 3 Reflection สะท้อนคดิ เพ่ือการพัฒนาการปฏิบัติ
ขนั้ ตอนท่ี 4 Evaluation ประเมนิ เพ่ือพฒั นาสมรรถนะครู
ขั้นตอนท่ี 5 Network Development สรา้ งเครือข่ายการพัฒนา

 บทบาทหน้าทขี่ องสมาชิกกลุม่ ตามกระบวนการ PLC
- Model Teacher หมายถึง ครผู ู้รบั การนเิ ทศ หรือครูผสู้ อน
- Buddy Teacher หมายถึง ครูคู่นเิ ทศ หรอื ครูร่วมเรียนรู้
- Mentor หมายถงึ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
- Expert หมายถงึ ผเู้ ชย่ี วชาญ เช่น ครู คศ.3 นกั วิชาการ อาจารย์มหาวทิ ยาลัย ศึกษานเิ ทศก์
- Administrator หมายถึง ผูบ้ รหิ ารโรงเรียน
- Recorder หมายถงึ ผ้บู ันทึกรายงานการประชุม

4. วนั เวลา สถานที่ ในการดาเนนิ งาน
ระยะเวลา : ตง้ั แต่ วนั ท่ี 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 – 9 ตุลาคม พ.ศ. 2564
สถานที่ : โรงเรียนบ้านแม่ตะละเหนือ

5. สรปุ ผลการดาเนินงาน
 ประเด็นดา้ นผู้เรยี น
พฤติกรรมของนักเรียนที่มีปัญหาเปล่ียนไปในทางที่ดีขึ้นตามข้อตกลงท่ีตั้งไว้ นักเรียนมีความกระตือรือร้น

ในการเรียนมากข้ึน มีผลสัมฤทธ์ิแต่ละรายวิชาที่สูงขึ้น ซึ่งดูผลได้จากหลักฐานผลงานต่าง ๆ ท่ีแสดงถึงด้านความรู้
ความเข้าใจ กระบวนการคิด กระบวนการเรยี นรู้ และผลการเรียนต่าง ๆ ของนักเรยี น

 ประเดน็ ด้านกิจกรรม
- ลักษณะ ความเหมาะสม ประสิทธิภาพของกิจกรรม ข้ันตอนของกระบวนการเรียนการสอน วิธีการสอน

เทคนิคการสอนต่าง ๆ มีประสิทธภิ าพ
- กจิ กรรมมีลาดบั ขน้ั ตอนและความต่อเน่ือง
- กจิ กรรมมีความเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์ กจิ กรรมการเรยี นรู้ และการวดั และประเมินผล
- การบริหารจัดการช้นั เรียน การจัดชัน้ เรียน วธิ กี ารคุมชน้ั เรยี น หรือการจดั กล่มุ เพอื่ ทากจิ กรรม
- ครูและผ้เู รยี นมีปฏิสัมพันธ/์ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- กจิ กรรมการเรยี นร้นู าไปสกู่ ารพัฒนาความสามารถของผเู้ รียน
- การกาหนดเวลาและโครงสรา้ งเหมาะสมกับเน้ือหา บทเรยี น ระดบั ความสามารถของผเู้ รียน

 ประเด็นดา้ นครู
- ครมู ีการใช้คาถาม คาสัง่ คาอธบิ าย หรือการใช้สือ่
- ครูมกี ารเรียงลาดบั ข้ันตอนการนาเสนอประเด็นคาถาม คาส่งั หรือคาอธบิ าย
- การเสรมิ แรงของครู

(Professional Learning Community : PLC) 3

 ประเดน็ สื่อการสอน
- สื่อกิจกรรมและแหล่งการเรยี นรูม้ คี วามถูกต้อง เหมาะสม มีประสทิ ธภิ าพ (ด้านคณุ ภาพ)
- สื่อมีความเพียงพอ เหมาะสม (ดา้ นปริมาณ)
 ประเดน็ ดา้ นบรรยากาศ
- สภาพแวดลอ้ มของช้ันเรยี น หรือสถานที่เรียนมีผลต่อประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนและการ
เรียนรขู้ องผูเ้ รยี น
- การยอมรบั ความคิดเหน็ คาถาม และการช่วยเหลอื ของผ้เู รยี น
- บทเรยี นสง่ เสรมิ ให้ผูเ้ รยี นสรา้ งความคดิ คาถาม ขอ้ คาดเดา และ/หรือข้อเสนอ

6. อภปิ รายผลการดาเนินงาน
6.1 ผลลัพธ์ทีเ่ กิดจากกระบวนการ
1) มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเดน็ ความรู้ทนี่ ่าสนใจ ทเ่ี กดิ ข้ึนจากการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ของสมาชิก

เครือข่าย ท่ีเป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนาไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็นรูปธรรม
(สมาชกิ เครือขา่ ยมีการนาไปใช้ได้อย่างชดั เจน)

2) มีร่องรอยการรายงานผลการนาองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ท่ีเกิดขึ้นของ
สมาชิกเครอื ข่ายไปใชต้ ลอดระยะทดี่ าเนินโครงการทกุ ครั้งที่มีการแลกเปลีย่ นเรียนรโู้ ดยสมาชกิ ทกุ คน

6.2 ผลลัพธท์ ่ีเกิดกบั ผูเ้ รียน / ครู / สมาชิกทเี่ ขา้ ร่วมเครือข่าย PLC
1) ผูเ้ รียนได้การเรียนรตู้ ามเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ทุกประการ และมีความชัดเจนทั้งเชิง

ปรมิ าณและคุณภาพ
2) ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของผูเ้ รยี นดีขน้ึ และทาใหผ้ ้เู รียนได้พัฒนาและเกดิ คุณลกั ษณะอย่างชดั เจน
3) กิจกรรมทกุ กิจกรรมของสมาชกิ ในกล่มุ PLC ส่งผลให้ผเู้ รยี นเกิดแรงบนั ดาลใจ เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ มีความ

กระตือรอื ร้นในการเรียน
4) สมาชกิ ท่ีเขา้ ร่วมเครือขา่ ย PLC ทุกคนเกิดการเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมการจดั การเรยี นรู้ และการดแู ลผเู้ รียน

6.3 คณุ คา่ ทเ่ี กดิ ตอ่ วงการศึกษา
1) มีเครอื ข่ายทีช่ ดั เจน และการขยายเครือข่ายแลว้ และมีความชัดเจน เป็นรูปธรรมและมแี นวโน้มการ

เกดิ เครือข่ายเพิ่มข้นึ
2) การร่วมกันรบั ผดิ ชอบต่อการเรียนร้ขู องนักเรยี น ให้ผลการเรียนรทู้ ่ีตอ้ งการให้เกิดข้ึนในตัวนักเรยี น

โดยครูท่ีเป็นสมาชิกในชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี ทุกคนวางเป้าหมายรว่ มกนั

7. ผลที่เกดิ จากการดาเนนิ งาน
๗.1 ไดน้ วัตกรรมในการแกไ้ ขปญั หานกั เรยี นใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพสูงขนึ้
๗.2 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียนดขี ึ้น หรอื เปน็ ไปตามเกณฑ์ทีต่ กลงกันไว้
๗.3 พฤตกิ รรมของนกั เรยี นท่ีมปี ญั หาเปลยี่ นไปในทางที่ดีขึ้นตามขอ้ ตกลงที่ตัง้ ไว้
๗.4 นาไปสกู่ ารอบรมคูปองพัฒนาครู และรวบรวมส่ง เพื่อเก็บเป็นหลักฐานในการรายงานตอ่ ไป
๗.5 นักเรียนได้เรียนรู้ทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ ทักษะกระบวนการ สามารถนาไปปรับประยุกต์ใช้ใน

ชีวิตประจาวันได้

8. รอ่ งรอย/หลกั ฐาน
๘.1 แผนการจัดการเรียนรู้ พร้อมบนั ทึกหลังสอน
๘.2 แบบสังเกตการณ์จัดกิจกรรมการเรียนการสอนของ Buddy Teacher
๘.3 ภาพการพดู คุย ปรึกษากับสมาชิกกลุม่ PLC, ภาพกจิ กรรมการเรียนการสอน, ภาพการนิเทศการสอน

(Professional Learning Community : PLC) 4

9. บทเรียนทีไ่ ด้จากการดาเนนิ งาน
ครูผู้สอนได้เล็งเห็นถึงปัญหาท่ีหลากหลายในห้องเรียน และพฤติกรรมของนักเรียนท่ีแตกต่างกันในแต่ละ

บคุ คล รวมไปถงึ เรยี นร้ทู จี่ ะหาแนวทางในการแก้ปญั หาและสง่ เสริมพฤตกิ รรมนักเรียนในเชิงสร้างสรรค์ สามารถนาไป
ปรบั ประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ ในสถานการณ์ทแี่ ตกตา่ งกนั ผ่านการอภิปรายร่วมกันกบั เพ่อื นครูและนักเรียน

10. สง่ิ ทจ่ี ะดาเนนิ การตอ่ ไป
จากการแก้ปัญหาเบ้ืองต้นด้านนักเรียนขาดความกระตือรือร้นและแรงจูงใจในการเรียน พบว่านักเรียน

ตระหนักถึงความสาคัญในการเรียนและตั้งใจเรียนมากข้ึน จึงต้องการเผยแพร่เทคนิคในการดูแลและบริหารชั้นเรียน
ใหก้ ับเพอ่ื นครใู นช้ันเรียนอ่นื ๆ และผ้ทู สี่ นใจตอ่ ไป

11. ปญั หา / อุปสรรค
11.1 ด้านครูผูส้ อน
1. การพบปะพดู คุยระหวา่ งครผู ูส้ อนประจาวิชาไม่ค่อยต่อเน่ืองเท่าท่ีควร เนื่องด้วยคาบสอนตรงกัน

และในบางครัง้ ครผู ้สู อนมีภาระนอกเหนืองานสอนมาก จงึ ไม่สะดวกในการแลกเปล่ียนเรียนรู้
2. แลกเปล่ียนเรียนรู้ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้เทคนิควิธีการสอน การสร้างสื่อ

นวัตกรรม เพือ่ ใชใ้ นการเรยี นการสอน
11.2 ดา้ นนักเรยี น
1. นกั เรยี นบางคนมีการเรียนรทู้ ่แี ตกต่างกัน เวลาจัดกิจกรรมมีความสนใจและกระตือรือร้นสามารถ

โต้ตอบคาถามกบั ครไู ด้อย่างดี และเมอ่ื ทาการทดสอบผลสมั ฤทธ์ิท่ไี ด้ไม่ดีเท่าท่คี วร
2. นกั เรียนไดม้ สี ่วนรว่ มในกิจกรมสง่ เสรมิ พฤติกรรมของนักเรียน และสามารถนาไปปรับประยุกต์ใช้

ในชวี ิตประจาวนั ได้

12. ข้อเสนอแนะ
1. ควรมเี ครอื ข่ายออนไลน์เปน็ สอื่ กลางในการตดิ ต่อแลกเปลีย่ นประสบการณ์ระหวา่ งครูทท่ี างานรว่ มกนั
2. เพ่ิมช่ัวโมงแลกเปลย่ี นเรียนรู้ในแต่ละระดับช้ันนอกเหนือจากชั่วโมงแลกเปลี่ยนเรียนรู้ท่ีทางวิชาการจัดให้

ในแต่ละกลมุ่ สาร

(Professional Learning Community : PLC ) 5

บนั ทึกชุมชนแห่งการเรยี นรวู้ ิชาชพี
(Professional Learning Community : PLC)

โรงเรียนบา้ นแมต่ ะละเหนือ สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต ๖

ชอ่ื กลุ่ม “การจดั การเรียนรู้เพอื่ พัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS”

เรอ่ื ง : การจัดการเรียนรูเ้ พอ่ื พัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS

คร้ังท่ี 1 ( ช่ัวโมงที่ 1-2 ) ภาคเรยี นที่ 2/2564 วัน/เดอื น/ปี : 3 พฤศจิกายน 2564

เรมิ่ ดาเนนิ การ 16.0๐ น. เสร็จสน้ิ เวลา 18.00 น. รวมระยะเวลาทงั้ ส้นิ 2 ชั่วโมง

กจิ กรรมครงั้ นอี้ ย่คู วามสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทาเครอ่ื งหมาย ลงในช่อง )

 ที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)

 ข้นั ท่ี 2 ปฏิบตั ิและสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)

 ข้นั ท่ี 3 สะทอ้ นความคดิ และปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครูทเี่ ขา้ รว่ มกจิ กรรม ๖ คน โดยมีรายชือ่ และบทบาทต่อกจิ กรรม ดังนี้

ที่ ช่อื -สกลุ บทบาทหน้าท่ี ลายมือช่ือ

1. นายไพรัช ดวงจันทร์ ผู้อานวยการโรงเรยี น

2. นายธัชพงศ์พัชร์ พนั ธแุ์ ก้ว หัวหน้ากลุ่มบริหารวชิ าการ

3. นายศกั ดิ์ชัย แสนพิลุม ผเู้ ชี่ยวชาญ

4. นางสาวลดั ดา แซ่เฒ่า ครรู ว่ มเรยี นรู้

5. นางสาวมธุรส อาชีพบริสทุ ธิ์ ครูรว่ มเรียนรู้

6. นางสาววนิดา สภาวนากุล ครูร่วมเรียนรู้

1. งาน/กจิ กรรม การเตรยี มความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรยี น การคน้ หาปัญหา และหาสาเหตุของปัญหาในปีท่ีผา่ นเพ่ือ
นามาวเิ คราะห์และแก้ปัญหา ในปกี ารศึกษา 2564

2. ประเดน็ ปัญหา/ส่ิงทต่ี อ้ งการพัฒนา (เน้นท่ีห้องเรียน)
พดู คุยในเรอื่ งของปญั หาของเด็กทเ่ี กดิ จากตัวครู ซึง่ ไม่จาเปน็ ต้องเปน็ เด็กทั้งห้อง เป็นเฉพาะกลุ่มก็ได้ โดยการ

สรุปเป็นปัญหาเดียวกันในกลุ่ม เป็นปัญหาเร่งด่วนท่ีควรแก้ไขก่อน เพื่อลดความโดดเดี่ยวในการทางาน และไม่ใช่
ปญั หาจากความไม่พรอ้ มของส่อื วสั ดุอุปกรณข์ องห้องเรียน

3. สมาชกิ ในกลุ่มนาเสนอปัญหา

ชือ่ ครผู ้สู อน ปญั หาทีน่ าเสนอ
1. นางสาววนดิ า สภาวนากุล
ปัญหาทพ่ี บในเดก็ อนุบาล ๓ คือ การเขียนจานวนตวั เลขไดเ้ ปน็ บางตัว และจดจาจานวนตัวเลขไมไ่ ด้
ด้วยสถานณ์การโควิดนกั เรยี นตอ้ งเรียนออนแฮนด์ ทาใหน้ ักเรยี นขาดความรคู้ วามเข้าใจ ครจู งึ ผลติ สอื่
ขนึ้ เพ่อื ให้นักเรยี นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจมากข้ึน โดยใชแ้ ผน Co 5 steps

๒. นางสาวมธรุ ส อาชีพบรสิ ุทธิ์ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ขาดพื้นฐานด้านการอ่านภาษาไทย นักเรียนส่วนใหญ่ท่ีเลื่อนช้ันจาก
๓. นายศักดิ์ชยั แสนพลิ มุ อนบุ าล จาพยัญชนะ และสระในภาษาไทยไมไ่ ด้ ทาให้การเรียนรู้ในวิชาอ่ืนๆ เกิดปัญหาและเรียนรู้ได้
ชา้

สภาพปัญหาของผูเ้ รยี นช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 2 ดา้ นการอา่ นออกเสยี งภาษาไทย พบว่า มปี ญั หาการ
อ่านออกเสยี งที่ไมถ่ ูกตอ้ ง หรือไมช่ ดั เจนเป็นจานวนมาก ครูจงึ สรา้ งและพัฒนาส่อื แบบฝกึ ทักษะ
ต่างๆ เพ่ือพัฒนาการอ่านออกเสยี งภาษาไทยและพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิของนักเรียนใหส้ ูงข้ึน

(Professional Learning Community : PLC ) 6

ชอื่ ครผู ู้สอน ปญั หาท่ีนาเสนอ
๔. นายศกั ดช์ิ ัย แสนพิลุม
จากปัญหาของผเู้ รยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ในรายวิชาคณติ ศาสตร์ ยังพบวา่ นกั เรียนมปี ัญหาดา้ น
๕. นายธชั พงศ์พัชร์ พนั ธแ์ุ กว้ การเปรยี บเทียบจานวนเงินและการแลกเงิน ซง่ึ การจดั การเรยี นการสอนแบบเดมิ ยงั ไมส่ ามารถ
ส่งผลใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรียนรเู้ ท่าที่ควร ครจู ึงพัฒนาสอื่ และการสอนตา่ งๆ เพือ่ ใหน้ ักเรียนมผี ลการ
เรียน เร่ือง เงนิ และการบนั ทกึ รายรบั รายจา่ ยของชน้ั ประถมศกึ ษปที ี่ ๓ โดยใช้แผนการสอนแบบ Co
5 steps

จากปญั หาของผเู้ รยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5-๖ ในรายวชิ าภาษาไทย ยังพบว่านักเรียนมปี ญั หาดา้ น
การใช้ภาษาพดู และภาษาเขยี น ไมส่ ามารถใชภ้ าษาพูดและภาษาเขยี นได้ถูกต้องตามรปู แบบและ
หลกั การ ซ่ึงการจดั การเรียนการสอนแบบเดมิ ยังไมส่ ามารถส่งผลให้ผู้เรียนเกดิ การเรยี นรู้เท่าทค่ี วร
ครจู ึงพฒั นาส่อื และการสอนตา่ งๆ เพอ่ื พัฒนาผ้เู รียนใหส้ ามารถเรยี นรู้ได้ดยี ิ่งขนึ้

๖. นางสาวลัดดา แซ่เฒ่า ปจั จุบนั พบว่าปัญหาการเรยี นรภู้ าษาอังกฤษนนั้ นกั เรียนส่วนใหญ่มปี ญั หาด้านการเรยี นภาษาองั กฤษ
อย่ใู นระดบั มาก ท่สี ุดคือ ผเู้ รียนไม่กลา้ พดู ไมก่ ลา้ แสดงออก ไมเ่ หน็ ความสาคญั ของการเรียนวชิ า
ภาษาองั กฤษ ดงั นัน้ เพือ่ เปน็ การแก้ปญั หาดงั กลา่ ว ผู้สอนจึงมีแนวคดิ ที่จะนาเทคโนโลยีมาพัฒนา
ทกั ษะการใชภ้ าษาอังกฤษเพ่อื การส่อื สารของผ้เู รยี น และออกแบบกจิ กรรมการเรียนรใู้ ห้น่าสนใจมาก
ยง่ิ ขึน้

4. สมาชกิ เลือกปัญหา ท่ีจะนามาแก้ไขรว่ มกนั จานวน 1 ปญั หา
นักเรยี นขาดทักษะการคิดเปน็ ระบบ ขัน้ ตอน คิดวเิ คราะหแ์ ละแก้ไขปญั หาด้วยตนเอง

5. สมาชกิ รว่ มกันวิเคราะห์สาเหตขุ องปญั หา
โดยสาเหตุของปัญหาทเ่ี กดิ จากขอ้ สรุปของกลมุ่ สาเหตุเกดิ จากกระบวนการจัดการเรียนการสอน และสาเหตุ

ไมใ่ ชป่ ัญหาเกิดจากความไมพ่ รอ้ มของสื่อ วัสดุอุปกรณ์ของห้องเรยี น
- ครผู ้สู อนเตรียมตัวสอนไมเ่ ต็มท่ี การสอนในลักษณะนี้ครูผู้สอนเตรียมตัวสอนมาน้อย ศึกษาค้นคว้าข้อมูลมา

น้อย ทาใหก้ ารอธบิ ายยงั ไมแ่ จ่มแจ้งพอ ทาให้ผู้เรียนเกดิ ความไม่ชัดเจนในเนอ้ื หารสาระท่ีสอน
- ครูผสู้ อนสอนแบบคลุมเครอื โดยครผู ู้สอนอาจจะไม่เข้าใจในเนื้อหาอย่างชัดเจน ไม่สามารถแยกแยะเน้ือหา

หรือวิเคราะห์เน้ือหาให้เป็นประเด็นต่างๆ ได้อย่างชัดเจน จึงมีการอธิบายให้ผู้เรียนฟังแบบคลุมเครือ ผู้เรียนจับ
ประเดน็ ในเนื้อหาสาระไม่ได้

- ครูผู้สอนไม่สรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยทั่วไปในท้ายบทเรียนครูผู้สอนและผู้เรียนจะต้อง
สรปุ บทเรียนร่วมกนั เพือ่ สรปุ ประเดน็ เนอ้ื หาในภาพรวม จะสง่ ผลต่อผ้เู รยี นไดเ้ ข้าใจในเนอ้ื หาท่สี อนอย่างชัดเจน

- ครูจะต้องศึกษาพื้นฐานหรอื ประสบการณเ์ ดมิ ของผู้เรียน หากผู้เรียนบางคนไม่มีพ้ืนฐานในรายวิชาที่สอน ก็
จะต้องมกี ารเสริมการเรียนรู้พ้ืนฐานให้กับผู้เรียนเหล่านั้น เพราะความรู้พื้นฐานหรือประสบการณ์มีส่วนสาคัญต่อการ
เรียนรใู้ นเรอ่ื งใหม่ ๆ

- ครสู รา้ งสื่อ ออนไลน์ เพ่อื ให้นักเรยี นได้ ศกึ ษา หาความรู้ เพ่มิ เตมิ
- ครูจะต้องหาเทคนคิ ใหมๆ่ มาใชก้ บั นกั เรยี น
6. ผลที่ได้จากการจดั กจิ กรรม
- มอบหมายงานให้ครผู รู้ ว่ มเรียนรไู้ ปศึกษาปัญหาของแต่ละปัญหาของครูแต่ละท่านมาเพ่ือช่วยนาเสนอแก้ไข
ปัญหาในรอบตอ่ ไป

(Professional Learning Community : PLC ) 7
เลกิ ประชมุ เวลา 18.00 น.

ลงช่อื ..................................... ลงช่ือ............................................
(นางสาวลัดดา แซเ่ ฒ่า) (นายธชั พงศพ์ ัชร์ พันธ์ุแก้ว)
ผบู้ นั ทกึ หัวหนา้ กล่มุ บริหารวิชาการ

ลงชอ่ื ..............................................ผรู้ บั รอง
(นายไพรัช ดวงจันทร์)

ผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นแม่ตะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC ) 8

ภาพการจดั กจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC)
ของกลมุ่ “กลุ่ม “การจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน”

เรอ่ื ง : การจัดการเรียนรู้เพือ่ พฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS
“ระดับชั้นอนุบาล ๓ ถงึ ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖”

ขั้นที่ 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)
โดยดาเนนิ การในวันที่ 3 พฤศจิกายน 2564 เวลา 16.00 – 18.00 น. สถานที่ หอ้ ง USO NET

ลงช่อื ..................................... ลงชือ่ ............................................
(นางสาวลดั ดา แซเ่ ฒา่ ) (นายธชั พงศ์พชั ร์ พนั ธุแ์ ก้ว)
ผ้บู นั ทกึ หวั หน้ากลมุ่ บริหารวิชาการ

ลงช่ือ..............................................ผรู้ ับรอง
(นายไพรัช ดวงจนั ทร์)

ผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นแมต่ ะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC ) 9

บนั ทึกชมุ ชนแหง่ การเรยี นรวู้ ชิ าชพี
(Professional Learning Community : PLC)

โรงเรยี นบา้ นแม่ตะละเหนอื สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต ๖

ช่อื กลุ่ม “การจัดการเรยี นรเู้ พือ่ พัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS”

เรอ่ื ง : การจดั การเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS

ครง้ั ที่ 2 (ชั่วโมงที่ 3-4) ภาคเรยี นที่ 2/2564 วัน/เดอื น/ปี : 10 พฤศจกิ ายน 2564

เร่ิมดาเนินการเวลา 16.00 น. เสร็จสิน้ เวลา 18.00 น. รวมระยะเวลาทั้งสนิ้ 2 ช่ัวโมง

กิจกรรมครงั้ นอ้ี ย่คู วามสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทาเครอื่ งหมาย ลงในช่อง )

 ขน้ั ท่ี 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)

 ขั้นที่ 2 ปฏิบตั ิและสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)

 ขั้นท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครูท่ีเข้ารว่ มกิจกรรม ๖ คน โดยมรี ายช่อื และบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดังนี้

ที่ ชอ่ื -สกลุ บทบาทหน้าที่ ลายมือช่ือ

1. นายไพรัช ดวงจันทร์ ผู้อานวยการโรงเรียน

2. นายธัชพงศพ์ ัชร์ พนั ธุแ์ กว้ หวั หน้ากลุ่มบริหารวชิ าการ

3. นายศกั ดชิ์ ยั แสนพลิ มุ ผเู้ ชย่ี วชาญ

4. นางสาวลดั ดา แซ่เฒา่ ครรู ่วมเรียนรู้

5. นางสาวมธรุ ส อาชีพบรสิ ุทธ์ิ ครูรว่ มเรียนรู้

6. นางสาววนดิ า สภาวนากุล ครูรว่ มเรยี นรู้

1. งาน/กจิ กรรม แนวทางแก้ไขปัญหา และ การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้

2. ประเด็นปัญหา/ส่งิ ท่ตี อ้ งการพฒั นา
นักเรยี นขาดทกั ษะการคิดเป็นระบบ ขั้นตอน คิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาดว้ ยตนเอง

๓. สมาชกิ ในกลุ่มนาเสนอแนวทางแก้ไขปัญหา
ร่วมศึกษาปัญหา แนวทางแก้ไขปญั หา หรอื กระบวนการท่ีจะใช้ในการแก้ไขปัญหา ดังนี้

ดาเนินการวเิ คราะห์ หลกั สตู ร 8 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวช้วี ัดทนี่ กั เรียน มี
ผลสมั ฤทธ์ิทางเรียนตกต่า

(Professional Learning Community : PLC ) 10

4. สมาชิกร่วมกนั ออกแบบกจิ กรรมในการแก้ไขปญั หา
ดาเนินการวิเคราะห์ หลักสูตร 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดท่ีนักเรียน โดยดูผล
ผลสมั ฤทธทิ์ างเรยี นของนกั เรียนท่ีในปีการศึกษา 2564 เพื่อปรับพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนใหม่
ให้มีสื่อเทคโนโลยีที่สามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียนด้วยกระบวนการสอนแบบ Active learning และการ
พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยกระบวนการใช้ LS Co-5steps และมีประเมินนักเรียนที่
หลากหลาย
4. ผลทไ่ี ด้จากการจดั กจิ กรรม
1. นายธัชพงศพ์ ัชร์ พนั ธ์ุแก้ว สาระท่ี ๑ จานวนและพีชคณิต

มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของ
จานวนผลที่เกดิ ข้ึนจากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนนิ การ และนาไปใช้

ตัวช้ีวัด ค 1.1 ป.5/6 หาผลคณู ของทศนิยมทีผ่ ลคูณเป็นทศนยิ มไม่เกิน ๓ ตาแหนง่
ค 1.1 ป.5/7 หาผลหารทตี่ ัวตงั้ เป็นจานวนนับหรอื ทศนิยมไมเ่ กนิ ๓ ตาแหน่ง และตวั หารเป็น
จานวนนับ ผลหารเปน็ ทศนยิ มไม่เกิน ๓ ตาแหนง่
๒. นางสาวมธรุ ส อาชีพบริสทุ ธิ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 การอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ัญหาใน
การดารงชีวิตและมนี สิ ยั รักการอา่ น
มาตรฐาน/ตัวชว้ี ดั
ท 1.1 ป 1/1 อ่านออกเสยี งคา คาคล้องจองและข้อความสัน้ ๆ
ท 1.1 ป.1/2 บอกความหมายของคาและข้อความที่อา่ น
๓. นางสาวลัดดา แซเ่ ฒา่ กลมุ่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชพี มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชวี้ ัด
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีเพอ่ื การดารงชวี ิตในสังคมที่มกี ารเปล่ียนแปลง
อยา่ งรวดเร็ว ใชค้ วามรู้และทักษะทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืนๆ เพอ่ื แก้ปัญหา หรือพฒั นางาน
อย่างมีความคิดสร้างสรรคด์ ้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เลือกใช้เทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมโดยคานงึ ถึง
ผลกระทบต่อชวี ติ สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม
มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ดั
ว 4.1 ม.1/1 อธบิ ายแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีในชีวติ ประจาวันและวเิ คราะหส์ าเหตุ
หรอื ปัจจยั ท่ีส่งผลตอ่ การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี
๔. นายศกั ดิ์ชัย แสนพิลุม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด
สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณติ

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพ้นื ฐานเก่ยี วกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสิง่ ที่ตอ้ งการวดั และนาไปใช้

ป. 3/1 แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปญั หาเกีย่ วกับเงนิ
๕. นางสาววนดิ า สภาวนากุล ปฐมวัย มาตรฐานการเรยี นรู้
พฒั นาการด้านรา่ งกาย

มาตรฐานที่ 9 การใชภ้ าษาสื่อสารไดเ้ หมาะสม
ตวั บง่ ชี้ 9.1 สนทนาโตต้ อบและเลา่ เร่ืองใหผ้ ูอ้ ่ืนเขา้ ใจ

พฒั นาการดา้ นอารมณ์จิตใจ
มาตรฐานที่ 3 มสี ขุ ภาพจติ ทดี่ แี ละมีความสขุ
ตัวบ่งชท้ี ี่ 3.2.1 กล้าพดู กลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมบางสถานการณ์

พัฒนาการดา้ นสังคม

(Professional Learning Community : PLC ) 11

มาตรฐานที่ 8 อยู่รว่ มกับผู้อ่นื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุขปฏิบตั ติ นเป็นสมาชิกที่ดีของสงั คมในระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ

ตวั บ่งชี้ท่ี 8.2 มีปฏิสมั พนั ธท์ ีด่ กี ับผู้อ่นื
ตวั บง่ ชีท้ ี่ 8.2.2 ยมิ้ ทกั ทาย และพดู คยุ กับผู้ใหญ่ และบุคคลท่ีคุ้นเคยได้อยา่ งเหมาะสมกับ
สถานการณ์
พัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา
มาตรฐานท่ี 9 การใชภ้ าษาสอื่ สารไดเ้ หมาะกบั วยั
ตวั บง่ ชท้ี ี่ 9.1 การใชภ้ าษา
ตวั บง่ ชี้ท่ี 9.1.2 การเล่าเร่ืองราวต่อเนื่องได้

5. สมาชิกรว่ มกนั ออกแบบกจิ กรรมในการแกไ้ ขปัญหา
การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดย Co 5- steps นักเรียนขาดทักษะการคิดเป็นระบบ

ขนั้ ตอน คิดวิเคราะห์และแก้ไขปญั หาด้วยตนเอง

6. ประเดน็ / ความรแู้ ละข้อเสนอแนะท่ไี ดร้ บั จากการแลกเปล่ยี นเรียนรคู้ ร้ังนี้
จากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ครั้งน้ี สามารถนามาเป็นแนวทางการแก้ปัญหาในการจัดทาวิจัยในช้ันเรียน

เพ่ือให้ไดข้ อ้ ค้นพบหรอื คาตอบทีห่ นักแน่น นา่ เชอ่ื ถือ สามารถแก้ปญั หาท่เี กิดข้ึน และนาไปใช้ในการพัฒนางานของตน
ไดจ้ ริง

7. ผลทไี่ ด้จากการจดั กจิ กรรม
1. นาผลการประชุม ดาเนินการวเิ คราะห์ หลกั สูตร 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ การ

ประชมุ ไปออกแบบแผนการจัดการจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้ กระบวนการ Co 5 steps ตวั ชวี้ ดั ทนี่ ักเรยี น มผี ลสัมฤทธ์ทิ าง
เรยี นตกต่า ปรับเปลีย่ นรปู แบบการสอนใหม่ใหม้ สี ื่อเทคโนโลยที ่สี ามารถดงึ ดูดความสนใจของนักเรียนด้วย
กระบวนการสอนแบบ Active learning และมปี ระเมนิ นักเรยี นที่ หลากหลายเพือ่ เก็บเปน็ หลักฐานในการรายงาน
ต่อไป

2. กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของผูเ้ รยี น

เลิกประชมุ เวลา 18.00 น.

ลงชื่อ..................................... ลงชือ่ ............................................
(นางสาวลดั ดา แซ่เฒา่ ) (นายธชั พงศพ์ ัชร์ พนั ธุแ์ ก้ว)
ผบู้ ันทึก หัวหนา้ กลุ่มบริหารวิชาการ

ลงชื่อ..............................................ผู้รบั รอง
(นายไพรชั ดวงจันทร์)

ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านแมต่ ะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC ) 12

ภาพการจัดกจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC)
ของกลมุ่ “กลุม่ “การจัดการเรียนรู้เพื่อพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น”

เร่ือง : การจดั การเรยี นรู้เพื่อพฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS
“ระดบั ช้นั อนุบาล ๓ ถงึ ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖”

ขัน้ ที่ 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)
โดยดาเนนิ การในวันที่ 10 พฤศจิกายน 2564 เวลา 16.00 – 18.00 น. สถานที่ ห้อง USO NET

ลงชอ่ื ..................................... ลงชื่อ............................................
(นางสาวลดั ดา แซ่เฒา่ ) (นายธชั พงศพ์ ชั ร์ พนั ธุ์แก้ว)
ผบู้ ันทึก หัวหน้ากลุ่มบรหิ ารวชิ าการ

ลงชื่อ..............................................ผรู้ ับรอง
(นายไพรชั ดวงจนั ทร์)

ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านแม่ตะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC ) 13

บันทกึ ชุมชนแหง่ การเรยี นรวู้ ิชาชพี
(Professional Learning Community : PLC)

โรงเรยี นบ้านแมต่ ะละเหนอื สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต ๖

ช่อื กลุ่ม “การจัดการเรียนรู้เพอ่ื พัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS”

เรอ่ื ง : การจัดการเรยี นรเู้ พื่อพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS

ครัง้ ท่ี 3 (ชั่วโมงท่ี 5-6) ภาคเรียนที่ 2/2564 วัน/เดือน/ปี : 18 พฤศจิกายน 2564

เรมิ่ ดาเนินการเวลา 16.00 น. เสรจ็ สิ้นเวลา 18.00 น. รวมระยะเวลาทัง้ สนิ้ 2 ช่ัวโมง

กิจกรรมคร้งั นี้อยูค่ วามสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทาเครือ่ งหมาย ลงในชอ่ ง )

 ข้ันท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)

 ขั้นท่ี 2 ปฏบิ ัตแิ ละสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)

 ข้นั ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครทู ี่เข้าร่วมกิจกรรม ๖ คน โดยมรี ายชอื่ และบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดงั นี้

ที่ ชื่อ-สกลุ บทบาทหนา้ ที่ ลายมือชือ่

1. นายไพรัช ดวงจนั ทร์ ผู้อานวยการโรงเรยี น

2. นายธชั พงศ์พชั ร์ พนั ธุแ์ ก้ว หวั หนา้ กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ

3. นายศกั ดชิ์ ยั แสนพลิ ุม ผ้เู ชย่ี วชาญ

4. นางสาวลัดดา แซเ่ ฒา่ ครรู ่วมเรียนรู้

5. นางสาวมธรุ ส อาชพี บรสิ ทุ ธ์ิ ครูร่วมเรยี นรู้

6. นางสาววนิดา สภาวนากลุ ครูรว่ มเรยี นรู้

1. งาน/กิจกรรม (ต่อจาก สปั ดาหท์ ี่ แล้ว )แนวทางแก้ไขปญั หา และ การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้

2. ประเดน็ ปัญหา/สิ่งทตี่ อ้ งการพฒั นา
การจัดการเรยี นร้เู พอ่ื พฒั นาผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS
เพอื่ พฒั นานกั เรยี นขาดทักษะการคิดเปน็ ระบบ ขั้นตอน คิดวิเคราะหแ์ ละแก้ไขปัญหาดว้ ยตนเอง

๓. สมาชกิ ในกลุ่มนาเสนอแนวทางแกไ้ ขปัญหา
รว่ มศึกษาปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา หรือกระบวนการที่จะใชใ้ นการแก้ไขปัญหา ดังนี้
ดาเนนิ การวเิ คราะห์ หลกั สูตร 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวดั ที่นักเรยี น มี

ผลสัมฤทธ์ิทางเรยี นตกต่า

4. สมาชิกร่วมกันออกแบบกจิ กรรมในการแก้ไขปัญหา
ดาเนินการวิเคราะห์ หลักสูตร 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่นักเรียน โดยดูผล
ผลสมั ฤทธิท์ างเรียนของนกั เรียนที่ในปกี ารศึกษา 2564 เพ่ือปรับพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ปรับเปล่ียนรูปแบบการสอนใหม่
ให้มีสื่อเทคโนโลยีที่สามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียนด้วยกระบวนการสอนแบบ Active learning และการ
พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยกระบวนการใช้ LS Co-5steps และมีประเมินนักเรียนที่
หลากหลาย

(Professional Learning Community : PLC ) 14

๕. ผลท่ีไดจ้ ากการจัดกจิ กรรม
1. นายธัชพงศพ์ ชั ร์ พันธุแ์ ก้ว สาระท่ี ๑ จานวนและพีชคณติ
มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของ
จานวนผลทเ่ี กิดขึ้นจากการดาเนนิ การ สมบัติของการดาเนนิ การ และนาไปใช้
ตวั ช้ีวัด ค 1.1 ป.5/6 หาผลคูณของทศนิยมที่ผลคูณเป็นทศนยิ มไม่เกนิ ๓ ตาแหนง่
ค 1.1 ป.5/7 หาผลหารท่ีตวั ตง้ั เป็นจานวนนับหรอื ทศนิยมไมเ่ กิน ๓ ตาแหนง่ และ

ตวั หารเป็นจานวนนบั ผลหารเปน็ ทศนิยมไม่เกนิ ๓ ตาแหน่ง
๒. นางสาวลัดดา แซเ่ ฒ่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชี้วัด
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท. ๔.๑ : เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษา

และพลังของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของชาติ
ตวั ชว้ี ัด ป. ๔/1 ๓. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถ่ิน

๓. นางสาวมธรุ ส อาชพี บริสทุ ธิ์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย มาตรฐานการเรียนรู้
สาระท่ี 1 การอา่ น
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคดิ เพื่อนาไปใช้ตดั สินใจ แก้ปัญหาใน

การดารงชวี ิตและมนี ิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ัด
ท 1.1 ป 1/1 อา่ นออกเสียงคา คาคล้องจองและข้อความสน้ั ๆ
ท 1.1 ป.1/2 บอกความหมายของคาและขอ้ ความท่อี ่าน

๔. นายศกั ดช์ิ ัย แสนพลิ ุม กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชี้วัด
สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพน้ื ฐานเกยี่ วกบั การวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่ิงท่ีต้องการวดั และ

นาไปใช้
ป. 3/1 แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเกย่ี วกับเงนิ

สากล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด ภาษาไทย
สาระท่ี 1 การอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาใน
การดารงชวี ิตและมนี สิ ัยรักการอา่ น
มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั
ท 1.1 ป 2/2 อธบิ ายความหมายของคาและข้อความทอ่ี ่าน
ท 4.1 ป.2/2 เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา
๕. นางสาววนดิ า สภาวนากลุ ปฐมวัย มาตรฐานการเรียนรู้
พัฒนาการด้านร่างกาย
มาตรฐานที่ 9 การใชภ้ าษาส่ือสารได้เหมาะสม
ตัวบ่งช้ี 9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องใหผ้ ู้อ่ืนเข้าใจ
พฒั นาการดา้ นอารมณจ์ ิตใจ
มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจติ ท่ีดีและมีความสุข
ตวั บง่ ชี้ที่ 3.2.1 กลา้ พูดกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสมบางสถานการณ์
พฒั นาการดา้ นสังคม

(Professional Learning Community : PLC ) 15

มาตรฐานท่ี 8 อยรู่ ว่ มกับผู้อ่ืนได้อยา่ งมีความสขุ ปฏิบตั ิตนเปน็ สมาชิกทด่ี ีของสงั คมในระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข

ตวั บ่งชท้ี ี่ 8.2 มปี ฏิสัมพนั ธท์ ดี่ กี ับผู้อน่ื
ตัวบง่ ชี้ที่ 8.2.2 ยมิ้ ทกั ทาย และพดู คยุ กับผใู้ หญ่ และบคุ คลทค่ี ุ้นเคยได้อย่างเหมาะสมกบั
สถานการณ์
พฒั นาการดา้ นสติปญั ญา
มาตรฐานท่ี 9 การใชภ้ าษาสื่อสารไดเ้ หมาะกบั วัย
ตัวบ่งชี้ท่ี 9.1 การใช้ภาษา
ตวั บง่ ชท้ี ี่ 9.1.2 การเลา่ เร่อื งราวต่อเนื่องได้

๖. สมาชิกร่วมกนั ออกแบบกิจกรรมในการแก้ไขปัญหา
การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดย Co 5- steps เพื่อพัฒนานักเรียนขาดทักษะการคิด

เป็นระบบ ข้ันตอน คดิ วิเคราะห์และแก้ไขปญั หาด้วยตนเอง

๗. ประเดน็ / ความรู้และขอ้ เสนอแนะท่ีได้รบั จากการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้คร้ังนี้
จากการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ครั้งน้ี สามารถนามาเป็นแนวทางการแก้ปัญหาในการจัดทาวิจัยในชั้นเรียน เพื่อให้

ไดข้ ้อค้นพบหรอื คาตอบท่หี นักแน่น นา่ เชื่อถือ สามารถแกป้ ัญหาทเี่ กิดขน้ึ และนาไปใชใ้ นการพัฒนางานของตนได้จริง

๘. ผลทไี่ ด้จากการจดั กจิ กรรม
นาผลการประชมุ ดาเนินการวิเคราะห์ หลกั สูตร 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ การประชุม

ไปออกแบบแผนการจัดการจัดการเรยี นร้โู ดยใช้ กระบวนการ Co 5 steps ตัวชว้ี ัดท่ีนกั เรยี น มีผลสัมฤทธท์ิ างเรียน
ตกต่า ปรับเปลย่ี นรปู แบบการสอนใหมใ่ ห้มสี ่ือเทคโนโลยที ่ีสามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียนด้วยกระบวนการสอน
แบบ Active learning และมปี ระเมินนักเรยี นที่ หลากหลายเพื่อเก็บเปน็ หลกั ฐานในการรายงานตอ่ ไป

เลิกประชุมเวลา 18.00 น.

ลงชื่อ..................................... ลงชือ่ ............................................
(นางสาวลัดดา แซเ่ ฒา่ ) (นายธชั พงศ์พัชร์ พนั ธุแ์ กว้ )
ผู้บันทึก หวั หนา้ กล่มุ บริหารวชิ าการ

ลงชื่อ..............................................ผรู้ บั รอง
(นายไพรชั ดวงจันทร์)

ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านแมต่ ะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC ) 16

ภาพการจัดกจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC)
ของกลมุ่ “กลุม่ “การจัดการเรยี นรเู้ พ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน”

เรอื่ ง : การจัดการเรยี นรูเ้ พื่อพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS
“ระดับช้ันอนุบาล ๓ ถงึ ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖”

ข้ันที่ 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)
โดยดาเนนิ การในวนั ท่ี 18 พฤศจิกายน 2564 เวลา 16.00 – 18.00 น. สถานที่ ห้อง USO NET

ลงช่ือ..................................... ลงชื่อ............................................
(นางสาวลัดดา แซ่เฒ่า) (นายธชั พงศพ์ ัชร์ พันธแุ์ ก้ว)
ผู้บันทึก หวั หน้ากลมุ่ บริหารวชิ าการ

ลงชือ่ ..............................................ผู้รับรอง
(นายไพรัช ดวงจันทร์)

ผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นแมต่ ะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC ) 17

บนั ทกึ ชุมชนแหง่ การเรียนรวู้ ิชาชพี
(Professional Learning Community : PLC)

โรงเรยี นบา้ นแมต่ ะละเหนอื สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต ๖

ช่ือกลุ่ม “การจัดการเรียนรเู้ พอื่ พัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS”

เรอื่ ง : นักเรยี นขาดทักษะการคดิ เปน็ ระบบ ขน้ั ตอน คดิ วิเคราะห์และแกไ้ ขปัญหาด้วยตนเอง

ครง้ั ท่ี 4 (ช่วั โมงที่ 7-8 ) ภาคเรียนท่ี 2/2564 วัน/เดือน/ปี : 24 พฤศจกิ ายน 2564

เรมิ่ ดาเนินการเวลา 16.00 น. เสรจ็ ส้ินเวลา 18.00 น. รวมระยะเวลาท้ังสิน้ 2 ชั่วโมง

กจิ กรรมครงั้ นี้อยู่ความสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทาเครอื่ งหมาย ลงในช่อง )

 ขั้นท่ี 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)

 ขน้ั ท่ี 2 ปฏิบตั แิ ละสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)

 ขั้นท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครทู ีเ่ ขา้ รว่ มกิจกรรม ๖ คน โดยมีรายชอ่ื และบทบาทต่อกจิ กรรม ดงั นี้

ที่ ชอ่ื -สกลุ บทบาทหนา้ ที่ ลายมือช่ือ

1. นายไพรัช ดวงจันทร์ ผู้อานวยการโรงเรียน

2. นายธชั พงศ์พัชร์ พนั ธุ์แกว้ หัวหนา้ กล่มุ บริหารวชิ าการ

3. นายศักดิ์ชัย แสนพลิ มุ ผูเ้ ชีย่ วชาญ

4. นางสาวลดั ดา แซ่เฒ่า ครูรว่ มเรียนรู้

5. นางสาวมธุรส อาชพี บรสิ ทุ ธ์ิ ครรู ่วมเรียนรู้

6. นางสาววนิดา สภาวนากุล ครรู ่วมเรียนรู้

1. งาน/กจิ กรรม แนวทางแก้ไขปัญหา และ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้

2. ประเด็นปญั หา/สิง่ ท่ตี ้องการพัฒนา
นกั เรียนขาดทักษะการคิดเป็นระบบ ขนั้ ตอน คิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาดว้ ยตนเอง

เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS”

3. สมาชิกในกลุ่มรว่ มกันจัดทาแผนกิจกรรม
จากการประชุมกลุ่มในกิจกรรม PLC ในสัปดาห์นี้ได้จับคู่เป็น เป็นครูต้นแบบ (Model Teacherและ

Buddy Teacher ในการให้คาแนะนาการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน โดยมีเป้าหมายเพ่ือให้เกิดความ
เสมอภาค จึงได้มีการร่วมวางแผนและออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อจัดทาและปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้
ร่วมกนั ดังน้ี

1) คณะครูผเู้ ขา้ ร่วมประชมุ ไดศ้ ึกษาขัน้ ตอนวิธีการจากครตู ้นแบบ (Model Teacherและ Buddy Teacher
รว่ มกันแสดงความคิดเห็น พดู คุย เพอ่ื นาไปจัดทาและปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรียนรู้ LS PLC เทควิธีการสอน
Co-5STEps ในรายวชิ าของตนเอง

2) คณะครูร่วมแลกเปลีย่ นเรียนรู้ การจดั การเรยี นการสอน LS PLC เทควธิ ีการสอน Co-5STEps ถงึ วิธกี าร
ข้นั ตอน เพ่อื ดาเนนิ การในข้ันตอ่ ไป

3) คณะครูแต่ละท่านไดร้ ่วมกันออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ LS PLC เทควธิ กี ารสอน Co-5STEps
4) ร่วมกันกาหนดบทบาทสมาชิกในการสังเกตการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียนในการเรียนการสอนผ่านทาง
ออนไลน์ ใช้กระบวนการเรียนร้แู บบ

(Professional Learning Community : PLC ) 18

5) คณะครูมีการนัดหมาย เพ่ือไปสังเกตการณ์การสอนของครูต้นแบบในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ ไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน และนาผลที่ได้จากการจัดกิจกรรมมา
อภปิ รายและสรุปผลร่วมกัน เพื่อหาแนวทางในการปรบั ปรงุ และพัฒนาตอ่ ไป

4. ประเดน็ / ความร้แู ละข้อเสนอแนะทีไ่ ดร้ บั จากการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้คร้ังน้ี
สรุปความรู้และข้อเสนอแนะที่ได้จากการแลกเปล่ยี นเรยี นรใู้ นคร้ังน้ี สปั ดาห์น้ีไดจ้ ับคู่เป็น เปน็ ครตู ้นแบบ (Model

Teacherและ Buddy Teacher ในการให้คาแนะนาการพัฒนารปู แบบการจัดกิจกรรมการเรียน โดยเพ่ิมเติมการ
ทางาน กลุ่มแบบรวมพลงั เพ่ือใหม้ ีการจัดเรียนรู้บนฐานวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตรอ์ ีกทั้งเนน้ การให้ จงึ ไดม้ ีการร่วมจัดทา
ปฏทิ นิ เพือ่ การวางแผนและออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือจดั ทาและปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรูร้ ่วมกัน
และจัดทาปฎทิ นิ การนเิ ทศดังนี้

(Professional Learning Community : PLC ) 19

ปฏิทนิ การ OPEN CLASS
ปฏิบัตกิ ารสอนการจัดการเรียนการสอน
ของครูผ้สู อน Model Teacher (MT) ครูผูส้ งั เกตการณ์ Buddy Teacher (BT)

ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 256๔
โรงเรยี นบา้ นแม่ตะละเหนอื

ท่ี ชือ่ ครผู ู้สอน ชอื่ ครผู สู้ งั เกตการณ์ ว/ด/ป รายวชิ า/ชัน้ เวลา

Model Teacher (MT) Buddy Teacher (BT) 2 ก.พ.65 คณิตศาสตร์ ป.๕-6 14.00-15.00
2 ก.พ.65 คณติ ศาสตร์ ป.๒-๓ 13.00-13.50
1. นายธชั พงศ้พชั ร์ พนั ธ์ุแกว้ นายศักด์ชิ ยั แสนพลิ มุ 2 ก.พ.65 ภาษาไทย ป.๔ 10.00-11.00
2 ก.พ.65 ภาษาไทย ป.๑ 13.00-13.50
2. นายศักดช์ิ ัย แสนพลิ มุ นายธัชพงศ้พัชร์ พนั ธ์แุ กว้ 2 ก.พ.65 อนุบาล ๓ 10.00-11.00

3. นางสาวลัดดา แซ่เฒา่ นางสาวมธุรสอาชีพ บรสิ ทุ ธ์ิ

4. นางสาวมธุรสอาชพี บรสิ ุทธ์ิ นายธชั พงศพ้ ชั ร์ พันธ์แุ ก้ว

5. นางสาววนดิ า สภาวนากลุ นางสาวลัดดา แซ่เฒ่า

5. ผลท่ไี ดจ้ ากการจดั กิจกรรม
นาผลการประชมุ ไปออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ ของตนเอง และนาไปใชส้ อนใน ชว่ั โมงต่อไป

เลกิ ประชมุ เวลา 18.00 น.

ลงช่อื ..................................... ลงชื่อ............................................
(นางสาวลัดดา แซเ่ ฒา่ ) (นายธชั พงศ์พชั ร์ พนั ธุ์แก้ว)
ผูบ้ นั ทกึ หวั หนา้ กล่มุ บรหิ ารวิชาการ

ลงช่ือ..............................................ผู้รับรอง
(นายไพรชั ดวงจนั ทร์)

ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านแม่ตะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC ) 20

ภาพการจดั กิจกรรม PLC (Professional Learning Community : PLC)
ของกลุ่ม “การจัดการเรยี นรู้เพอ่ื พัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS”

ขั้นท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)
โดยดาเนินการในวันที่ 20 กรกฎาคม 2563 เวลา 13.00 – 16.00 น. สถานที่ ห้อง USO NET

เลกิ ประชมุ เวลา 1๘.0๐ น.

ลงชื่อ..................................... ลงชื่อ............................................
(นางสาวลัดดา แซ่เฒ่า) (นายธชั พงศพ์ ชั ร์ พนั ธ์ุแกว้ )
ผบู้ นั ทึก หวั หน้ากลุ่มบริหารวชิ าการ

ลงช่อื ..............................................ผรู้ บั รอง
(นายไพรัช ดวงจันทร์)

ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านแม่ตะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC ) 21

บันทึกชุมชนแห่งการเรยี นร้วู ชิ าชีพ
(Professional Learning Community : PLC)

โรงเรียนบา้ นแมต่ ะละเหนือ สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต ๖

ช่อื กลุ่ม “การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS”

เร่อื ง : การจดั การเรยี นรเู้ พอ่ื พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS

คร้ังท่ี 5 (ช่วั โมงท่ี 9-10 ) ภาคเรียนท่ี 2/2564 วัน/เดอื น/ปี : 30 พฤศจิกายน 2564

เริม่ ดาเนินการเวลา 16.00 น. เสร็จส้นิ เวลา 18.0๐ น. รวมระยะเวลาท้ังส้นิ 2 ชั่วโมง

กิจกรรมคร้ังน้ีอย่คู วามสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทาเคร่ืองหมาย ลงในช่อง )

 ขั้นท่ี 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)

 ข้นั ท่ี 2 ปฏิบตั ิและสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)

 ขั้นที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครูทีเ่ ขา้ ร่วมกจิ กรรม ๖ คน โดยมีรายชอ่ื และบทบาทต่อกิจกรรม ดังนี้

ท่ี ช่อื -สกลุ บทบาทหนา้ ที่ ลายมือช่ือ

1. นายไพรชั ดวงจนั ทร์ ผู้อานวยการโรงเรยี น

2. นายธัชพงศพ์ ัชร์ พันธ์ุแกว้ หัวหนา้ กลมุ่ บริหารวิชาการ

3. นายศักดิ์ชัย แสนพิลมุ ผ้เู ชย่ี วชาญ

4. นางสาวลดั ดา แซเ่ ฒา่ ครูร่วมเรยี นรู้

5. นางสาวมธรุ ส อาชพี บริสุทธิ์ ครูรว่ มเรยี นรู้

6. นางสาววนดิ า สภาวนากลุ ครรู ่วมเรยี นรู้

1. งาน/กิจกรรม แนวทางแก้ไขปญั หา และ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้

2. ประเดน็ ปญั หา/ส่งิ ทตี่ อ้ งการพฒั นา
นักเรียนขาดทักษะการคิดเป็นระบบ ขัน้ ตอน คิดวเิ คราะห์และแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง

เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS”

3. ประเด็น/ ความรแู้ ละข้อเสนอแนะทไี่ ด้รบั จากการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ครั้งนี้
ศกึ ษาทฤษฏที ี่เก่ยี วข้องนวตั กรรมการจัดการเรยี นรู้ Active learning พัฒนารูปแบบการจดั กจิ กรรมการเรียน

โดยใชเ้ ทคนิควธิ กี ารสอน co-5steps จากการออกแบบแผนการจดั การเรียนรู้ คร้ังที่ แล้ว นาสู่ ตัวอย่างการออกแบบ
แผนการจดั การเรยี นรู้ดังนี้

(Professional Learning Community : PLC ) 22

แผนการจัดการเรียนรู้ในรายวชิ าของตนเองรว่ มกัน โดยมขี ้ันตอนการดาเนินการ ดังน้ี
1) กาหนดชื่อหน่วยการเรียนใหส้ อดคล้อง กับประเด็นท่จี ะแก้ปัญหาใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ
2) กาหนดขอบเขตของเน้ือหาให้สอดคล้อง ประเด็นทีจ่ ะแก้ปัญหาใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ
3) สรา้ งแผนการจัดการเรยี นรเู้ ฉพาะหน่วยการเรยี นท่ีใช้การจัดการเรียนการสอน โดยกระบวนการ Co-

5steps
4) ทดลองใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบการเรียนรู้ แบบรวมพลังงาน และรายงานการพัฒนาการจัดการเรียน

การสอนใชก้ ระบวนการเรียนรแู้ บบ

(Professional Learning Community : PLC ) 23

5) สมาชกิ ในกลมุ่ PLC นัดหมายวนั และเวลาในการนาส่อื นวัตกรรม เทคโนโลยีให้ผนู้ ิเทศ/ผเู้ ชี่ยวชาญทา
การนิเทศ/ตรวจสอบ เพ่ือแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ ประสบการณ์ในการสรา้ งใช้กระบวนการเรียนรู้โดยใชเ้ ทคนิค
วิธีการสอน Co-5steps

นาแผนการจัดการเรยี นของคุณครู แต่ละคน นาเสนอ คู่ Modle teacher และBuddy teacher
แผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาของตนเองร่วมกัน โดยมีข้ันตอนการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนการสอนโดย
เน้นกิจกรรมเป็นฐาน แบง่ เป็น 5 ขัน้ ตอน (5 STEPS5 Collaborative Learning Process) การดาเนนิ การ ดงั น้ี

5 ข้ันตอนของกระบวนการเรียนรู้แบบรวมพลัง 5 ขัน้ ตอน
ในการจดั การเรยี นการสอนโดยใชก้ ระบวนการเรียนรูแ้ บบรวมพลงั 5 ขน้ั ตอน น้นั มขี น้ั ตอนรายละเอียดดังนี้

1.ข้ันเสนอส่ิงเรา้ และระบุคาถามสาคัญ( Stimulating and key Questioning Collaboratively)
1.1 เปน็ ขั้นตอนทีท่ าให้ผู้เรียนสงสัย(ask)สมองภาวะอสมดลุ จากการเสนอสงิ่ เร้าของครู
1.2 มีการทบทวนประสบการณ์เดิมของผู้เรียน คือการคาดคะเนคาตอบ หรือต้ังสมมติฐาน หรือ

จินตนาการคาตอบ คาตอบ อาจไม่ถูกต้อง หรือผิด หรือเป็นมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนก็เป็นได้ ซึ่งครูไม่มีการเฉลย
คาตอบ
2. ข้ันแสวงหาสารสนเทศและวเิ คราะห์อย่างรวมพลัง (Searching and Analyzing Collaboratively)

2.1 เป็นขั้นสาคัญเพื่อพิสูจน์สมมติฐาน เพ่ือหาคาตอบ ของคาถามสาคัญโดยครูอาจออกแบบให้ หรือครู
ผเู้ รียนรว่ มกนั วางแผน หรือผเู้ รียนวางแผนเอง

2.2 ครูออกแบบการเก็บข้อมูลสารสนเทศให้เอง ด้วยการสร้างสื่อการเรียนรู้ เช่น ในกิจกรรม ใบงาน ใบ
ทดลอง รวมทั้งใบความรู้ และอาจใช้ ใบความรู้แจกนักเรียน

ใบกจิ กรรม เปน็ สือ่ การเรียนท่ีพบว่าใชใ้ นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ใบกจิ กรรมมลี กั ษณะดังนี้
1.ใชห้ ลัก อ่าน คดิ วิเคราะห์ เขียน หรอื อา่ น คดิ วิพากษ์ เขียน
2.คาถามทากจิ กรรมบนั ทึกผลคาถามหลังกจิ กรรม
ใบทดลอง เป็นส่ือการเรียนท่ีพบว่าใช้มากในกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการงาน
อาชพี
ใบสรปุ ความรู้ มีลกั ษณะดงั นี้
1. เป็นสือ่ การเรยี นรู้ท่ี ครูสรา้ งข้นึ เพ่ือแจกใหผ้ ู้เรยี น หลังจากสรา้ งความรแู้ ล้ว
2. มีลักษณะตรงกับสาระ หรือมโนทัศน์ท่ีครูเตรียมมา เพื่อทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ปฏิบัติกิจกรรม/งาน/
ทดลอง/ให้ครใู ช้เทคนิค
3. ขน้ั รวมพลงั อภปิ รายและสร้างความร้(ู Discussing and Constructing Collaboratively)
ลกั ษณะสาคัญ
3.1 เปน็ ขน้ั สอื่ ความหมายข้อมูลหลังจากการวิเคราะห์ข้อมลู โดยผเู้ รียนมีโอกาสนาเสนอหนา้ ช้ันเรียน
3.2 เป็นขั้นท่ผี ู้เรยี นมีการแปลความหมายข้อมลู เพ่ือสรปุ ผล/สร้างความรู้ด้วยตัวผู้เรยี นเอง
3.3 เปน็ ข้ันทผ่ี ู้เรยี นมีการสะท้อนความคิดกัน แตล่ ะกลุม่ ปรับไข ความรู้ทส่ี รา้ งขน้ึ เอง
3.4 เปน็ ข้ันทคี่ รูอาจให้ทาแบบฝกึ หัดเพ่ือสร้างความเข้าใจ และทกั ษะต่างๆ
4. ขั้นส่ือสารและการสะท้อนคิดอย่างรวมพลัง (Communicating and Reflecting collaboratively)
ลักษณะสาคญั
4.1 เป็นขั้นผู้เรียนนาเสนอความรู้ และการเรียนรู้ที่ได้จากการสร้างความรู้ด้วยความเข้าใจหน้าช้ันเรียน
รวมท้ังผลงานที่ติดผนัง หรือกระดาษหน้าชั้นเรียนเป็นขั้นสาคัญที่ผู้เรียนต้องได้รับการฝึกนาเสนอหน้าชั้นเรียน
ด้วยหลกั 3 P ดงั น้ี Plannig = การวางแผนการพดู

Preparation = ซ้อม/เตรยี ม
Presentation = นาเสนอหน้าชน้ั เรยี น
4.2 จากนั้นผ้เู รียนมีการสะท้อนการคิดกระบวนการเรยี น การทางาน ข้อดี ข้อบกพร่อง จนได้บทเรียน พร้อมฝึก
การสรา้ งบคุ ลิกภาพในและบุคลิกภายนอก ขณะนาเสนออยา่ งม่ันใจและและมีคณุ ภาพ

(Professional Learning Community : PLC ) 24

5.ข้นั รวมพลังประยุกตแ์ ละตอบแทนสังคม(Applying and Serving Collaboratively)
5.1 เปน็ ข้ันทผี่ ้เู รียนรว่ มดว้ ยกนั แบบรวมพลงั ประยุกตค์ วามรู้ หรือนาความรไู้ ปใชส้ ถานการณ์ใหม่

5.2 การสรา้ งชนิ้ งาน มหี ลายระดับ ดังน้ี
- รายงานโครงงานประเภทตา่ งๆ (lnnovation) ระดับยาก ระดับงา่ ย
- ผลงานระดบั คดิ ริเรมิ่ หรือผลงานนาความรู้ ประยกุ ตใ์ นสถานการณ์ใหม่ (Inovention)
- รายงาน การบอกเล่า การถา่ ยทอดความรู้ (Extention)

๔. ผลทไี่ ด้จากการจัดกจิ กรรม
นาไปสู่คุณครูสามารถนารูปแบบการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ ไปออกแผนการจัดการเรียนการสอน

และ เขียนในเพ่ือนามาให้คู่ (Model Teacherและ Buddy Teacher ดู ช่ัวโมงตอ่ ไป

เลกิ ประชุมเวลา 18.0๐ น.

ลงช่ือ..................................... ลงชื่อ............................................
(นางสาวลัดดา แซเ่ ฒ่า) (นายธชั พงศพ์ ชั ร์ พันธแ์ุ ก้ว)
ผู้บนั ทึก หัวหนา้ กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ

ลงชื่อ..............................................ผูร้ ับรอง
(นายไพรชั ดวงจันทร์)

ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านแมต่ ะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC ) 25

ภาพการจัดกจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC)
ภาพขอกงากรลจมุ่ัดก“จิ กกลรุ่มรม“กPาLรCจดั (Pกrาoรfเeรียssนioรู้เnพaื่อlพLฒัeaนrาnผinลgสัมCฤoทmธิ์ทmาuงnกาitรyเร:ยี PนL”C)
เร่ืองเรื่อ:โดงกยา:ดรกาจเาัดนรกินจากขัดราอกรเขงรใาขกน้ันยีร้ันลวทนเทรมุ่นั ่ีรยี1ี่ท้เู1“รนพรี่ ะกว3ะรวื่อดลิเ0เู้ดิเคพับพค่มุ บัรพรัฒชอื่าช“าฤ้ันะพนะ้ันกศหอหฒัาาปจแ์นแ์รผิกรนลจลบุาละาะัดะยถสาวผวนกลมัมาาลาศงฤงสร๓2แแึกทเัม5ผผรษธถฤ6ยีนนา์ทิึงท4นกกปราาธราะีทงเรู้เรทิ์วดกพี่จจล1าบัาัดอ่ืัดางรกชพกถก1เา้นัราึงัฒาร6รียมปรเ.นเรน0ธัเรรรียาย0ยีะโียผนดมถนนลร–ยศมรู้สโู้ก(1ึกศดA(ัมรษ8Aกึยnฤะ.าnษaก0ทบปalรา0yธวีทlะปz์ทิyนนบ่ีeทีzา3ก.วeงี่&า”๖นกสร&าPถ”กรlาLาPaเSนรรnlทaPีย)LLี่nนSหC)”้อPCLงOCU-SCSTOOE-PSSNTEEPTS

โดยดาเนินการในวันท่ี 18 พฤศจกิ ายน 2564 เวลา 16.00 – 18.00 น. สถานท่ี ห้องประชุมโรงเรยี นบ้านแมต่ ะละเหนอื

ลงช่ือ..................................... ลงชอื่ ............................................
(นางสาวลัดดา แซเ่ ฒา่ ) (นายธชั พงศพ์ ัชร์ พันธุแ์ ก้ว)
ผบู้ ันทึก หวั หน้ากลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

ลงช่ือ..............................................ผู้รับรอง
(นายไพรชั ดวงจนั ทร์)

ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านแมต่ ะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC ) 26

บันทกึ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้วิชาชีพ
(Professional Learning Community : PLC)

โรงเรยี นบ้านแมต่ ะละเหนือ สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต ๖

ชอื่ กลุ่ม “การจดั การเรยี นรเู้ พื่อพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS”

เร่อื ง : ส่งเสริมทักษะชวี ิต ทักษะอาชพี สู่วิถพี อเพยี ง

คร้งั ท่ี 6 (ชว่ั โมงที่ 11-12) ภาคเรยี นท่ี 2/2564 วัน/เดอื น/ปี : 7 ธ.ค.65

เร่ิมดาเนนิ การเวลา 16.00 น. เสร็จสิ้นเวลา 18.00 น. รวมระยะเวลาทง้ั ส้ิน 2 ชั่วโมง

กจิ กรรมคร้งั นอี้ ยูค่ วามสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทาเครอื่ งหมาย ลงในช่อง )

 ขั้นที่ 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)

 ขัน้ ท่ี 2 ปฏิบตั แิ ละสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)

 ข้นั ที่ 3 สะทอ้ นความคดิ และปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครทู เ่ี ขา้ ร่วมกิจกรรม ๖ คน โดยมรี ายช่อื และบทบาทต่อกิจกรรม ดงั น้ี

ที่ ช่อื -สกลุ บทบาทหนา้ ที่ ลายมือช่อื

1. นายไพรัช ดวงจันทร์ ผู้อานวยการโรงเรียน

2. นายธชั พงศ์พชั ร์ พนั ธ์แุ ก้ว หัวหนา้ กลุม่ บริหารวิชาการ

3. นายศักดชิ์ ยั แสนพิลมุ ผู้เชีย่ วชาญ

4. นางสาวลดั ดา แซเ่ ฒ่า ครรู ่วมเรียนรู้

5. นางสาวมธรุ ส อาชพี บรสิ ุทธ์ิ ครรู ว่ มเรยี นรู้

6. นางสาววนิดา สภาวนากุล ครูร่วมเรยี นรู้

1. ประเด็นปญั หา/ประเด็นการพฒั นา
ในสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั 2019 ทาใหว้ ถิ ีชีวติ เปลยี่ นแปลง การเรยี นการสอนเปล่ยี น

นักเรยี นต้องอยรู่ อดในสถานการณท์ ยี่ ากลาบาก ตอ้ งรจู้ กั นาความรทู้ ่ไี ด้ ไปปรับประยุกต์เพื่อสง่ เสริมทักษะชวี ติ ให้กับ
นักเรยี น สามารถนาความรู้ไปปรับใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้

2. วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่อื ส่งเสริมทกั ษะชีวิตให้กบั นกั เรียน
2. เพอ่ื สง่ เสรมิ ทกั ษะการทางานร่วมกนั
3. เพือ่ นาความรู้ที่ไดไ้ ปปรับใชใ้ นชวี ิตประจาวัน

๓. ความร้หู รอื หลกั การทีน่ ามาประยกุ ต์ใช/้ แนวทางการแกไ้ ขปญั หา
1. ครูร่วมเรียนรู้ หวั หน้ากล่มุ สาระฯ และผู้บริหารได้เสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหา โดยการชี้แนะแนว
ในการเรยี นทักษะอาชีพตั้งแต่ ระดบั ช้ันอนบุ าล ๓-ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๖
2. ทางกลุ่ม plc จึงเสนอวิธีการ เสนอ ตั้งแต่ระดับช้ันอนุบาล ๓-ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ ได้แบ่งกลุ่มทา
กิจกรรมทกั ษะอาชีพ

(Professional Learning Community : PLC ) 27

4. กิจกรรมทไ่ี ด้รว่ มทา

กจิ กรรม ระยะเวลาปฏิบัติ ผูร้ ับผดิ ชอบ

กิจกรรมชุมนมุ ชั้น อ.3 นกั วทิ ยาศาสตร์น้อย พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65 นางสาววนดิ า สภาวนากุล
นางสาวมธุรส อาชพี บริสทุ ธ์ิ
กิจกรรมชมุ นมุ ชน้ั ป.1 รักการอ่าน พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65

กจิ กรรมชุมนุมชน้ั ป.2 รกั การอ่าน พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65 นายศกั ด์ชิ ยั แสนพลิ มุ
พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65 นายศักดชิ์ ัย แสนพิลมุ
กิจกรรมชุมนุมชน้ั ป.3 ภาษาไทย พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65 นางสาวลัดดา แซ่เฒา่

กจิ กรรมชมุ นุมชั้น ป.4 กิจกรรมทอผา้ พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65 นายธชั พงศ์พชั ร์ พนั ธุ์แก้ว
กะเหรย่ี ง
กิจกรรมชุมนมุ ช้ัน ป.5 กจิ กรรมทอผ้า พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65 นายธชั พงศ์พชั ร์ พันธุ์แกว้
กะเหรย่ี ง
กจิ กรรมชุมนุมชน้ั ป.6 กิจกรรมทอผา้
กะเหรีย่ ง

เลิกประชุมเวลา 18.00 น.

ลงชื่อ..................................... ลงช่อื ............................................
(นางสาวลัดดา แซ่เฒา่ ) (นายธชั พงศ์พชั ร์ พนั ธแุ์ กว้ )
ผู้บันทึก หวั หน้ากลมุ่ บริหารวชิ าการ

ลงช่อื ..............................................ผู้รับรอง
(นายไพรัช ดวงจันทร์)

ผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นแมต่ ะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC ) 28

ภาพการจัดกจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC)
ของกล่มุ “กลุ่ม “การจดั การเรียนร้เู พ่ือพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน”

เรือ่ ง : การจัดการเรียนรู้เพ่อื พฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS
ระดบั ช้นั อนบุ าล ๓ ถึงระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖”

ข้ันที่ 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)
โดยดาเนินการในวันที่ 7 ธันวาคม 2564 เวลา 16.00 – 18.00 น. สถานท่ี หอ้ ง USO NET

ลงชอื่ ..................................... ลงชื่อ............................................
(นางสาวลดั ดา แซเ่ ฒ่า) (นายธชั พงศ์พัชร์ พันธ์แุ ก้ว)
ผ้บู นั ทึก หวั หนา้ กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ

ลงชอ่ื ..............................................ผ้รู บั รอง
(นายไพรชั ดวงจนั ทร์)

ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านแม่ตะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC ) 29

บันทึกชุมชนแหง่ การเรยี นร้วู ชิ าชีพ
(Professional Learning Community : PLC)

โรงเรยี นบา้ นแม่ตะละเหนอื สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต ๖

ชอ่ื กลุ่ม “การจดั การเรยี นร้เู พื่อพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS”

เร่ือง : ส่งเสรมิ ทักษะชวี ิต ทักษะอาชีพ สู่วิถีพอเพียง

คร้งั ที่ 7 (ชวั่ โมงที่ 13-14) ภาคเรยี นท่ี 2/2564 วัน/เดือน/ปี : 14 ธนั วาคม 65

เริม่ ดาเนินการเวลา 16.00 น. เสร็จสนิ้ เวลา 18.00 น. รวมระยะเวลาท้งั สิ้น 2 ชั่วโมง

กิจกรรมครั้งนอี้ ย่คู วามสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทาเครอื่ งหมาย ลงในช่อง )

 ขน้ั ท่ี 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)

 ขน้ั ท่ี 2 ปฏิบัติและสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)

 ขั้นท่ี 3 สะทอ้ นความคดิ และปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครูทเ่ี ขา้ รว่ มกจิ กรรม ๖ คน โดยมีรายช่ือและบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดังน้ี

ท่ี ช่ือ-สกลุ บทบาทหนา้ ที่ ลายมือชอ่ื

1. นายไพรัช ดวงจันทร์ ผอู้ านวยการโรงเรียน

2. นายธชั พงศ์พัชร์ พันธแ์ุ กว้ หัวหนา้ กลุ่มบรหิ ารวิชาการ

3. นายศกั ด์ิชัย แสนพลิ ุม ผู้เช่ยี วชาญ

4. นางสาวลดั ดา แซเ่ ฒา่ ครูร่วมเรียนรู้

5. นางสาวมธุรส อาชพี บรสิ ทุ ธ์ิ ครูร่วมเรียนรู้

6. นางสาววนดิ า สภาวนากลุ ครูรว่ มเรยี นรู้

1. ประเดน็ ปัญหา/ประเดน็ การพฒั นา
ในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส 2019 ทาให้วถิ ชี วี ิตเปล่ียนแปลง การเรยี นการสอนเปล่ยี น

นักเรยี นตอ้ งอยู่รอดในสถานการณท์ ่ียากลาบาก ต้องรจู้ ักนาความรทู้ ่ไี ด้ ไปปรับประยุกตเ์ พ่อื สง่ เสรมิ ทักษะชวี ิตให้กบั
นกั เรียน สามารถนาความรไู้ ปปรบั ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้

2. วตั ถปุ ระสงค์
1. เพือ่ สง่ เสรมิ ทกั ษะชีวติ ให้กบั นักเรยี น
2. เพื่อส่งเสริมทกั ษะการทางานร่วมกัน
3. เพ่อื นาความรทู้ ไ่ี ดไ้ ปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั

3. ความรหู้ รือหลักการทีน่ ามาประยกุ ตใ์ ช/้ แนวทางการแกไ้ ขปัญหา
1. ครรู ่วมเรยี นรู้ หวั หน้ากลุ่มสาระฯ และผู้บริหารได้เสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหา โดยการชี้แนะแนว
ในการเรยี นทกั ษะอาชพี ต้ังแต่ ชัน้ อนบุ าล 2-ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3
2. ทางกลุ่ม plc จึงเสนอวิธีการ เสนอ ต้ังแต่ชั้นชั้น อนุบาล 2-ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ได้ แบ่งกลุ่มทา
กจิ กรรมทกั ษะอาชีพ

(Professional Learning Community : PLC ) 30

4. กิจกรรมที่ไดร้ ว่ มทา

กจิ กรรม ระยะเวลาปฏิบัติ ผู้รบั ผิดชอบ

กิจกรรมชมุ นมุ ชั้น อ.3 นกั วทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65 นางสาววนิดา สภาวนากลุ
นางสาวมธรุ ส อาชีพบริสุทธ์ิ
กิจกรรมชมุ นุมชน้ั ป.1 รักการอา่ น พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65 นายศกั ดช์ิ ัย แสนพลิ มุ

กจิ กรรมชุมนุมชัน้ ป.2 รักการอา่ น พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65

กจิ กรรมชุมนมุ ชั้น ป.3 ภาษาไทย พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65 นายศกั ดชิ์ ัย แสนพิลมุ
พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65 นางสาวลัดดา แซเ่ ฒ่า
กจิ กรรมชมุ นุมชน้ั ป.4 กิจกรรมทอผ้า พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65 นายธชั พงศพ์ ชั ร์ พันธแุ์ ก้ว
กะเหรย่ี ง พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65 นายธชั พงศพ์ ัชร์ พันธแุ์ กว้
กจิ กรรมชมุ นุมชน้ั ป.5 กิจกรรมทอผา้
กะเหรยี่ ง
กจิ กรรมชมุ นุมชั้น ป.6 กจิ กรรมทอผา้
กะเหรีย่ ง

ให้ครจู ดั ทาโครงงานโดยมขี ้ันตอน ดังนี้

1. ช่อื โครงงาน 2. วตั ถปุ ระสงค์

3. วสั ดุ/อุปกรณ์ 4. วิธที า

5. ผลคาดว่าจะได้รบั 6. ปัญหาอปุ สรรค

ผลท่ี คาดวา่ จะได้รบั

1. นกั เรยี นร้อยละไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 90 มคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ตามหลกั สตู ร

2. นักเรียนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 50 นามาประยุกต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ

3. นักเรียนมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ จดั นทิ รรศการนาผลมาจดั ร้อยละ 100

(Professional Learning Community : PLC ) 31

ภาพการจดั กจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC)
ของกลมุ่ “กลุ่ม “การจดั การเรียนร้เู พอื่ พฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน”

เรื่อง : การจัดการเรียนรเู้ พ่อื พฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS
ระดับชั้นอนบุ าล ๓ ถึงระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๖”

ขนั้ ที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)
โดยดาเนินการในวนั ท่ี 14 ธันวาคม 2564 เวลา 16.00 – 18.00 น. สถานที่ ห้อง USO NET

ลงชอื่ ..................................... ลงช่ือ............................................
(นางสาวลัดดา แซ่เฒา่ ) (นายธชั พงศพ์ ัชร์ พันธ์แุ กว้ )
ผบู้ ันทึก หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

ลงชื่อ..............................................ผู้รับรอง
(นายไพรัช ดวงจันทร์)

ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านแมต่ ะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC ) 32

บันทกึ ชุมชนแหง่ การเรียนรวู้ ชิ าชพี
(Professional Learning Community : PLC)

โรงเรียนบ้านแม่ตะละเหนือ สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต ๖

ชอ่ื กลุ่ม “การจัดการเรียนรเู้ พอื่ พัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS”

เรื่อง : ส่งเสริมทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ สู่วิถีพอเพียง

ครัง้ ที่ 8 (ชั่วโมงที่ 15-16) ภาคเรียนท่ี 2/2564 วนั /เดอื น/ปี : 21 ธ.ค.65

เรม่ิ ดาเนนิ การเวลา 16.00 น. เสรจ็ สนิ้ เวลา 18.00 น. รวมระยะเวลาทงั้ สิน้ 2 ช่ัวโมง

กิจกรรมคร้งั นีอ้ ย่คู วามสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทาเครอื่ งหมาย ลงในชอ่ ง )

 ขั้นที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)

 ขั้นที่ 2 ปฏิบตั ิและสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)

 ข้ันท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครูที่เข้ารว่ มกจิ กรรม ๖ คน โดยมีรายช่อื และบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดังนี้

ที่ ช่ือ-สกลุ บทบาทหน้าที่ ลายมือช่ือ

1. นายไพรัช ดวงจนั ทร์ ผู้อานวยการโรงเรยี น

2. นายธชั พงศพ์ ชั ร์ พนั ธุ์แก้ว หัวหน้ากลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ

3. นายศักด์ิชัย แสนพิลุม ผเู้ ชีย่ วชาญ

4. นางสาวลดั ดา แซเ่ ฒ่า ครูร่วมเรียนรู้

5. นางสาวมธุรส อาชีพบรสิ ุทธ์ิ ครูร่วมเรยี นรู้

6. นางสาววนิดา สภาวนากลุ ครูรว่ มเรียนรู้

1. ประเดน็ ปญั หา/ประเด็นการพัฒนา
ในสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัส 2019 ทาใหว้ ิถีชวี ติ เปล่ียนแปลง การเรยี นการสอนเปลี่ยน

นักเรยี นต้องอยู่รอดในสถานการณ์ท่ยี ากลาบาก ตอ้ งรู้จกั นาความร้ทู ไี่ ด้ ไปปรับประยุกตเ์ พ่อื ส่งเสรมิ ทกั ษะชวี ติ ใหก้ บั
นักเรียน สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้

2. วตั ถุประสงค์
1. เพ่อื ส่งเสริมทักษะชีวิตให้กบั นักเรียน
2. เพือ่ สง่ เสริมทักษะการทางานร่วมกนั
3. เพือ่ นาความรูท้ ่ไี ด้ไปปรับใช้ในชีวติ ประจาวนั

3. ความรู้หรือหลักการที่นามาประยุกต์ใช้/แนวทางการแกไ้ ขปัญหา
1. ครรู ่วมเรียนรู้ หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ และผู้บริหารได้เสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหา โดยการช้ีแนะแนว
ในการเรียนทกั ษะอาชพี ตงั้ แต่ ชนั้ อนุบาล ๓-ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖
2. ทางกลุ่ม plc จึงเสนอวิธีการเสนอ ต้ังแต่ช้ันช้ัน อนุบาล ๓-ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ได้แบ่งกลุ่มทา
กิจกรรมทกั ษะอาชพี

(Professional Learning Community : PLC ) 33

4. กิจกรรมทีไ่ ดร้ ว่ มทา

กิจกรรม ระยะเวลาปฏิบัติ ผรู้ บั ผิดชอบ

กจิ กรรมชุมนมุ ชั้น อ.3 นักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65 นางสาววนดิ า สภาวนากลุ
กจิ กรรมชุมนมุ ชัน้ ป.1 ปลกู ผักอนิ ทรยี ์ พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65 นางสาวมธรุ ส อาชพี บริสุทธิ์

กจิ กรรมชมุ นุมช้ัน ป.2 ปลกู ผักอินทรีย์ พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65 นายศักดช์ิ ยั แสนพลิ ุม
กจิ กรรมชุมนมุ ช้ัน ป.๓ ปลูกผกั อนิ ทรีย์ พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65 นายศกั ด์ชิ ยั แสนพิลุม
กจิ กรรมชุมนุมชั้น ป.๔ เลีย้ งไกไ่ ข่ พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65 นางสาวลดั ดา แซ่เฒา่
กจิ กรรมชมุ นุมชั้น ป.๕ เลย้ี งไก่ไข่ พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65 นายธชั พงศพ์ ชั ร์ พันธแ์ุ ก้ว
กจิ กรรมชุมนมุ ชน้ั ป.๖ เลีย้ งไก่ไข่ พ.ย. ๒๕64 – ก.ย. ๒๕65 นายธัชพงศ์พัชร์ พันธแุ์ กว้

เลกิ ประชุมเวลา 18.00 น.

ลงชื่อ..................................... ลงชอื่ ............................................
(นางสาวลัดดา แซเ่ ฒา่ ) (นายธชั พงศ์พัชร์ พนั ธ์แุ ก้ว)
ผูบ้ นั ทึก หัวหนา้ กล่มุ บรหิ ารวิชาการ

ลงชือ่ ..............................................ผรู้ บั รอง
(นายไพรัช ดวงจันทร์)

ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านแม่ตะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC ) 34

ภาพการจัดกจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC)
ของกลุ่ม “กลมุ่ “การจดั การเรยี นรู้เพ่อื พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน”

เร่อื ง : การจัดการเรยี นร้เู พือ่ พฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นโดยกระบวนการ LS PLC CO-STEPS
ระดบั ช้นั อนุบาล ๓ ถึงระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖”

ขัน้ ท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)
โดยดาเนนิ การในวันที่ 8 ธันวาคม 2564 เวลา 16.00 – 18.00 น. สถานที่ หอ้ ง USO NET

ลงช่อื ..................................... ลงช่อื ............................................
(นางสาวลัดดา แซเ่ ฒ่า) (นายธชั พงศพ์ ชั ร์ พนั ธุแ์ กว้ )
ผูบ้ นั ทึก หวั หน้ากลุ่มบรหิ ารวชิ าการ

ลงชอื่ ..............................................ผูร้ ับรอง
(นายไพรัช ดวงจนั ทร์)

ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านแม่ตะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC ) 35

บันทกึ ชุมชนแห่งการเรยี นรวู้ ชิ าชพี
(Professional Learning Community : PLC)

โรงเรยี นบ้านแมต่ ะละเหนอื สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต ๖

ชอื่ กลุ่ม “การจัดการเรียนรเู้ พือ่ พัฒนาคณุ ภาพเพ่อื ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์” เน่ืองจากสถานการณ์ โควิค ระรอกใหม่

ระวนั ที่ 4 มกราคม 2565 - 31 มกราคม 2565

ครั้งท่ี 9 (ชั่วโมงท่ี 17-18) ภาคเรียนท่ี 2/2565 วัน/เดือน/ปี : 11 มกราคม 2565

เร่ิมดาเนนิ การเวลา 09.00 น. เสรจ็ สน้ิ เวลา 11.00 น. รวมระยะเวลาท้งั ส้นิ 2 ชั่วโมง

กิจกรรมครง้ั นี้อยคู่ วามสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทาเครื่องหมาย ลงในชอ่ ง )

 ขัน้ ท่ี 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)

 ขัน้ ท่ี 2 ปฏิบัตแิ ละสังเกตการเรียนรู้ (Do & See)

 ขน้ั ท่ี 3 สะทอ้ นความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครทู ่เี ข้ารว่ มกิจกรรม ๖ คน โดยมีรายชอ่ื และบทบาทต่อกิจกรรม ดงั นี้

ท่ี ช่ือ-สกลุ บทบาทหนา้ ที่ ลายมือชือ่

1. นายไพรชั ดวงจนั ทร์ ผ้อู านวยการโรงเรียน

2. นายธัชพงศพ์ ัชร์ พนั ธ์แุ กว้ หวั หนา้ กลุม่ บรหิ ารวิชาการ

3. นายศักด์ชิ ัย แสนพิลมุ ผเู้ ชีย่ วชาญ

4. นางสาวลัดดา แซ่เฒ่า ครูร่วมเรียนรู้

5. นางสาวมธรุ ส อาชีพบรสิ ทุ ธ์ิ ครูรว่ มเรยี นรู้

6. นางสาววนิดา สภาวนากลุ ครรู ่วมเรยี นรู้

1. งาน/กิจกรรม การจดั การเรียนรู้เพ่อื พัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ” เนอ่ื งจากสถานการณ์ โควคิ ของเชอ้ื
โอมคิ รอน ระวันท่ี 4 มกราคม 2565 -25 มกราคม 2565

2. ประเดน็ ปัญหา/สง่ิ ท่ีตอ้ งการพัฒนา
การจดั การเรยี นร้เู พื่อพัฒนาคณุ ภาพเพ่ือยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิ” เนือ่ งจากสถานการณ์ โควิค ของเชื้อโอมิครอน

ระวันที่ 4 มกราคม 2565 -25 มกราคม 2565

3. ประเด็น/ ความรแู้ ละข้อเสนอแนะทไี่ ด้รบั จากการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ครั้งนี้
1. ประชุมเพอื่ วางแผนการจัดกเรยี นการสอน สถานการณ์ โรคตดิ ต่อ ไวรสั โคโรนา 2019 ในรปู แบบ

ON HAND และ ON LINE เพือ่ ให้นักเรียนไดร้ บั ความรู้
2. รายงานผลการดาเนนิ งานสปั ดาหท์ ี่ /ปญั หา/วธิ ีการแก้ปญั หา/งบประมาณ
3. คุณครปู ระจาสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ จดั ทาใบงาน

นาลงพื้นท่แี จกใหน้ กั เรยี น
4. จดั ตง้ั ไลน์กลุ่มโรงเรยี นเพ่อื ใหน้ กั เรยี นมารับ ใบงาน ตามตาราง
4. นกั เรียนเรียนรูจ้ ากหนงั สือ ตารา เรยี น ทาแบบฝึกหัด ช้นิ งานและสืบค้นเองจากอนิ เตอรเ์ นต็

(Professional Learning Community : PLC ) 36

4. ผลท่ีไดจ้ ากการจดั กิจกรรม
รูปแบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนการจัดการเรียนรเู้ พอ่ื พัฒนาคุณภาพเพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์” เนื่องจาก

สถานการณ์ โควิค ของเชื้อโอมิครอน ระวนั ท่ี 4 มกราคม 2565 -25 มกราคม 2565
1. ครูนาใบงาน
2. มาเรียนแบบ on hand
2.1 ป.1-3 เรียนวันจันทร์
2.2 ป.4-6 เรียนวนั องั คาร
2.3 ม.1-3 เรยี นวนั พธุ
3. พฤหัสบดี ประชมุ สรุป การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนการจดั การเรียนรเู้ พ่ือพฒั นาคณุ ภาพเพื่อยกระดับ

ผลสัมฤทธิ์” เนื่องจากสถานการณ์ โควคิ ระรอกใหม่ ระวนั ท่ี 10 มกราคม 2565 -13 มกราคม 2565
4. ศุกร์ เตรียมใบงานเพื่อแจกในสัปดาห์ ระหวา่ งวนั ที่ 14 มกราคม 2565

5.ปญั หา/อุปสรรค/ข้อจา
- ผูป้ กครองไม่มเี วลา ในการดแู ล เอาใจใส่ในการช่วยสอนแบบฝึกหดั และชน้ั งาน
- ผ้ปู กครองไม่มไี ลน์
- นกั เรียนไปทางานกบั ผู้ปกครอง
-

เลิกประชุมเวลา 11.00 น.

ลงชื่อ..................................... ลงชอื่ ............................................
(นางสาวลัดดา แซ่เฒา่ ) (นายธชั พงศ์พัชร์ พนั ธ์ุแก้ว)
ผบู้ นั ทึก หัวหนา้ กลุ่มบริหารวิชาการ

ลงช่ือ..............................................ผรู้ บั รอง
(นายไพรัช ดวงจันทร์)

ผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นแมต่ ะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC ) 37

ภาพการจดั กิจกรรม PLC (Professional Learning Community : PLC)
ของกลมุ่ “กลุม่ การจดั การเรยี นรเู้ พ่อื พัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียน”
ข้นั ท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)

โดยดาเนนิ การในวนั ท่ี 11 มกราคม 2565 เวลา 09.00 – 11.00 น. สถานท่ี ห้อง USO NET

ลงชอื่ ..................................... ลงช่ือ............................................
(นางสาวลดั ดา แซ่เฒา่ ) (นายธชั พงศ์พชั ร์ พนั ธแุ์ ก้ว)
ผ้บู นั ทึก หวั หน้ากล่มุ บรหิ ารวิชาการ

ลงชอื่ ..............................................ผรู้ ับรอง
(นายไพรัช ดวงจนั ทร์)

ผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นแมต่ ะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC ) 38

บันทกึ ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้วชิ าชพี
(Professional Learning Community : PLC)

โรงเรียนบา้ นแม่ตะละเหนือ สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต ๖

ชอื่ กลุ่ม “การจัดการเรียนร้เู พือ่ พัฒนาคณุ ภาพเพ่อื ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์” เนอ่ื งจากสถานการณ์ โควคิ ระรอกใหม่

ระวนั ที่ 4 มกราคม 2565 -31 มกราคม 2565

ชอ่ื เร่ือง เรียนรทู้ ักษะชีวิตพิชติ วกิ ฤตทกุ สถานการณ์

ครัง้ ที่ 10 (ช่ัวโมงท่ี 19-20) ภาคเรยี นที่ 2/2564 วนั /เดอื น/ปี : 18 มกราคม 2565

เริม่ ดาเนนิ การเวลา 15.00 น. เสรจ็ สน้ิ เวลา 17.00 น. รวมระยะเวลาทัง้ ส้นิ 2 ชั่วโมง

กิจกรรมคร้งั นอ้ี ยคู่ วามสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทาเคร่ืองหมาย ลงในช่อง )

 ขน้ั ท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)

 ขัน้ ท่ี 2 ปฏิบตั ิและสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)

 ขนั้ ที่ 3 สะทอ้ นความคิดและปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครูท่เี ข้าร่วมกิจกรรม ๖ คน โดยมีรายชือ่ และบทบาทต่อกจิ กรรม ดงั นี้

ที่ ชอื่ -สกลุ บทบาทหน้าท่ี ลายมือช่ือ

1. นายไพรัช ดวงจนั ทร์ ผ้อู านวยการโรงเรยี น

2. นายธัชพงศ์พชั ร์ พันธ์ุแกว้ หวั หนา้ กลุ่มบรหิ ารวิชาการ

3. นายศกั ดิ์ชยั แสนพิลุม ผู้เชีย่ วชาญ

4. นางสาวลดั ดา แซเ่ ฒ่า ครูรว่ มเรียนรู้

5. นางสาวมธุรส อาชีพบริสุทธ์ิ ครรู ว่ มเรียนรู้

6. นางสาววนดิ า สภาวนากลุ ครรู ว่ มเรียนรู้

1. งาน/กจิ กรรม การจดั การเรียนรู้เพอื่ พฒั นาคุณภาพเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์” เน่ืองจากสถานการณ์ โควิค ของ
เชอ้ื โอมิคริน ระวนั ท่ี 4 มกราคม 2565 -25 มกราคม 2565

2. ประเดน็ ปญั หา/สงิ่ ท่ตี ้องการพัฒนา
การจัดการเรียนรเู้ พอ่ื พฒั นาคุณภาพเพ่ือยกระดบั ผลสัมฤทธิ์” เนอ่ื งจากสถานการณ์ โควคิ ของเช้ือโอมิครอน

ระวันท่ี 4 มกราคม 2565 -25 มกราคม 2565

3. ประเด็น/ ความรู้และข้อเสนอแนะทีไ่ ด้รับจากการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ครงั้ นี้
1. ประชุมเพ่ือวางแผนการจดั กเรียนการสอน สถานการณ์ โรคตดิ ต่อ ไวรสั โคโรนา 2019 ในรูปแบบ

ON HAND และ ON LINE เพือ่ ให้นักเรยี นไดร้ ับความรู้
2. รายงานผลการดาเนินงานสัปดาห์ที่ /ปญั หา/วิธกี ารแก้ปญั หา/งบประมาณ
3. คณุ ครูประจาสาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ จัดทาใบงาน นา

ลงพน้ื ที่แจกให้นักเรยี น
4. จัดตง้ั ไลน์กลุ่มโรงเรียนเพ่อื ใหน้ ักเรียนมารบั ใบงาน ตามตาราง
๕. นักเรยี นเรียนรู้จากหนังสือ ตารา เรียน ทาแบบฝึกหัด ชนิ้ งานและสบื คน้ เองจากอินเตอรเ์ นต็
๖. ใหค้ ณุ ครปู ระจาชน้ั มอบหมายงานใหน้ ักเรียน ถ่ายรูปทากิจกรรมหนา้ ทร่ี ับผิดชอบ ที่อยทู่ ี่บ้าน เช่น

เก็บที่นอน ล้างจาน ถบู า้ น กวาดบา้ น กรอกน้า เป็นต้น

(Professional Learning Community : PLC ) 39

4. ผลทีไ่ ดจ้ ากการจดั กจิ กรรม
รปู แบบการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนการจดั การเรียนรู้เพ่อื พัฒนาคุณภาพเพอ่ื ยกระดับผลสัมฤทธ์ิ” เน่ืองจาก

สถานการณ์ โควคิ ของเชื้อโอมิครอน ระวนั ท่ี 4 มกราคม 2565 -25 มกราคม 2565
1. ครทู าใบงาน มอบหมายงาน
2. มาเรียนแบบ on hand
2.1 ป.1-3 เรยี นวันจันทร์
2.2 ป.4-6 เรียนวันอังคาร
2.3 ม.1-3 เรียนวนั พธุ
3. ให้คณุ ประจาช้ันมอบหมายงานใหน้ กั เรยี น ถ่ายรูปทากจิ กรรมหนา้ ที่รับผดิ ชอบ ที่อย่ทู บ่ี ้าน
4. พฤหสั บดี ประชุมสรุป การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนการจดั การเรียนรเู้ พ่ือพฒั นาคณุ ภาพเพ่ือยกระดับ

ผลสัมฤทธ์ิ” เนื่องจากสถานการณ์ โควิค

5. ปัญหา/อุปสรรค/ข้อจา
- ผู้ปกครองไม่มเี วลา ในการดูแล เอาใจใสใ่ นการชว่ ยสอนแบบฝึกหดั และชัน้ งาน
- ผปู้ กครองไม่มีไลน์
- นักเรียนไปทางานกับผูป้ กครอง
-

เลิกประชุมเวลา 11.00 น.

ลงชอื่ ..................................... ลงชอ่ื ............................................
(นางสาวลดั ดา แซเ่ ฒ่า) (นายธชั พงศ์พัชร์ พนั ธแุ์ ก้ว)
ผูบ้ ันทกึ หัวหนา้ กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ

ลงชอ่ื ..............................................ผู้รับรอง
(นายไพรชั ดวงจันทร์)

ผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นแม่ตะละเหนือ

(Professional Learning Community : PLC ) 40

ภาพการจดั กจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC)
ของกลมุ่ “กลุ่ม การจัดการเรยี นรเู้ พ่ือพฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรียน”
ขัน้ ที่ 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)

โดยดาเนินการในวนั ท่ี 18 มกราคม 2565 เวลา 15.00-71.00 น. สถานที่ ห้อง USO NET

ลงช่อื ..................................... ลงชื่อ............................................
(นางสาวลดั ดา แซ่เฒ่า) (นายธชั พงศพ์ ชั ร์ พันธุแ์ ก้ว)
ผบู้ นั ทกึ หวั หน้ากลุ่มบรหิ ารวชิ าการ

ลงชอ่ื ..............................................ผ้รู ับรอง
(นายไพรัช ดวงจนั ทร์)

ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านแมต่ ะละเหนือ


Click to View FlipBook Version