The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 3 อาณาจักรรัตนโกสินทร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thatchapongpat, 2022-05-26 06:19:37

หน่วยที่ 3 อาณาจักรรัตนโกสินทร์

หน่วยที่ 3 อาณาจักรรัตนโกสินทร์

แผนการจัดการเรยี นรู้รายวิชาเพิ่มเติม (ประวตั ศิ าสตร์)

หนว่ ยท่ี 3 อาณาจกั รรัตนโกสินทร์
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

ครูผสู้ อน
นายธัชพงศ์พัชร์ พันธแ์ุ ก้ว

ตาแหน่ง ครู คศ.2
โรงเรยี น บา้ นแมต่ ะละเหนอื
อาเภอ กัลยาณิวฒั นา จงั หวดั เชยี งใหม่

สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 6
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ตามแนวทางของ Backward Design

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เร่ือง อาณาจักรรัตนโกสินทร์

รหัส-ชื่อรายวชิ า ส 16101 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม: ประวตั ศิ าสตร์

ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 13 ชั่วโมง

ผู้สอน นายธัชพงศ์พชั ร์ พนั ธ์ุแก้ว โรงเรียน บ้านแม่ตะละเหนือ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 4.3 เขา้ ใจความเป็นมาของชาติไทย วฒั นธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและ
ธารงความเป็ นไทย

ตัวชี้วดั
มฐ. ส 4.3 ป.6/1 อธิบายพฒั นาการของไทยสมยั รัตนโกสินทร์โดยสงั เขป
มฐ. ส 4.3 ป.6/2 อธิบายปัจจยั ที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครอง
ของไทยสมยั รัตนโกสินทร์
มฐ. ส 4.3 ป.6/3 ยกตวั อยา่ งผลงานของบุคคลสาคญั ดา้ นตา่ งๆสมยั รัตนโกสินทร์
มฐ. ส 4.3 ป.6/4 อธิบายภูมิปัญญาไทยที่สาคญั สมยั รัตนโกสินทร์ที่น่าภาคภูมิใจและ
ควรคา่ แก่การอนุรักษไ์ ว้

สาระสาคญั

ศึกษาเรียนรู้การสถาปนา พฒั นาการดา้ นการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจ ประวตั ิและ
ผลงานของบุคคลสาคญั ในสมยั รัตนโกสินทร์ และภูมิปัญญาไทยในสมยั รัตนโกสินทร์

สาระการเรียนรู้

ความรู้
1. อาณาจกั รรัตนโกสินทร์และพฒั นาการดา้ นต่างๆ
2. ประวตั ิและผลงานของบุคคลสาคญั สมยั รัตนโกสินทร์
3. ภูมิปัญญาไทยสมยั รัตนโกสินทร์

ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคดิ
การจาแนก การใหเ้ หตุผล การจดั ระบบความคิดเป็นแผนภาพ การสรุปความรู้
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ( คสช. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย)์
รักความเป็นไทย (คสช. รักษาวฒั นธรรมประเพณีอนั ดีงาม)
มีวนิ ยั (คสช. มีระเบียบ วนิ ยั เคารพกฎหมาย ผนู้ อ้ ยรู้จกั การเคารพผใู้ หญ่)
ใฝ่ เรียนรู้ (คสช. ใฝ่ หาความรู้ หมนั่ ศึกษาเล่าเรียนท้งั ทางตรง และทางออ้ ม)

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

1. ใบงานที่ 5 พฒั นาการดา้ นการเมืองและเศรษฐกิจสมยั รัตนโกสินทร์
2. ใบงานท่ี 6 ปัจจยั ที่ส่งเสริมความเจริญทางการเมืองและเศรษฐกิจสมยั รัตนโกสินทร์
3. ใบงานที่ 7 ประวตั ิและผลงานของบุคคลสาคญั สมยั รัตนโกสินทร์
4. ใบงานที่ 8 ภูมิปัญญาไทยสมยั รัตนโกสินทร์

การประเมนิ ผล

ใบงานท่ี 5 พฒั นาการดา้ นการเมืองและเศรษฐกิจสมยั รัตนโกสินทร์

ระดบั คะแนน

เกณฑ์การประเมิน 4 3 2 1

(10 คะแนน) (9 คะแนน) (7-8 คะแนน) (5-6 คะแนน)

เขียนอธิบายหรือ เขียนอธิบายหรือ เขียนอธิบายหรือ เขียนอธิบายหรือ เขียนอธิบายหรือ

สรุปพฒั นาการดา้ น สรุปพฒั นาการดา้ น สรุปพฒั นาการดา้ น สรุปพฒั นาการดา้ น สรุปพฒั นาการดา้ น

การเมือง และ การเมือง และ การเมือง และ การเมือง และ การเมือง และ

เศรษฐกิจสมยั เศรษฐกิจสมยั เศรษฐกิจสมยั เศรษฐกิจสมยั เศรษฐกิจสมยั

รัตนโกสินทร์ รัตนโกสินทร์ รัตนโกสินทร์ รัตนโกสินทร์ รัตนโกสินทร์

ตอนตน้ สมยั ปฏิรูป ตอนตน้ สมยั ปฏิรูป ตอนตน้ สมยั ปฏิรูป ตอนตน้ สมยั ปฏิรูป ตอนตน้ สมยั ปฏิรูป

ประเทศตามแบบ ประเทศตามแบบ ประเทศตามแบบ ประเทศตามแบบ ประเทศตามแบบ

ตะวนั ตก และสมยั ตะวนั ตก และสมยั ตะวนั ตก และสมยั ตะวนั ตก และสมยั ตะวนั ตก และสมยั

ปฏิรูปการปกครอง ปฏิรูปการปกครอง ปฏิรูปการปกครอง ปฏิรูปการปกครอง ปฏิรูปการปกครอง

ไดส้ ัมพนั ธ์กนั มีการ ได้ มีการจาแนก ไดส้ อดคลอ้ ง ได้ แตย่ งั ไม่

เชื่อมโยงใหเ้ ห็นภาพ ขอ้ มูล ใหส้ ัมพนั ธ์ กบั ขอ้ มูล มีการเขียน สอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูล

โดยรวม แสดงให้ กนั ของแตล่ ะยคุ สมยั ยกตวั อยา่ งเพมิ่ เติม และไมม่ ีการอธิบาย

เห็นความสมั พนั ธ์ ไดช้ ดั เจนถูกตอ้ ง ใหเ้ ขา้ ใจง่าย เพ่มิ เติม

กนั ของแต่ละยคุ สมยั

ไดช้ ดั เจน ถูกตอ้ ง

สมบูรณ์ตามขอ้ มูล

ใบงานท่ี 6 ปัจจยั ที่ส่งเสริมความเจริญทางการเมืองและเศรษฐกิจสมยั รัตนโกสินทร์

ระดับคะแนน

เกณฑ์การประเมนิ 4 3 2 1

(10 คะแนน) (9 คะแนน) (7-8 คะแนน) (5-6 คะแนน)

เขียนอธิบายหรือ เขียนอธิบายหรือ เขียนอธิบายหรือ เขียนอธิบายหรือ เขียนอธิบายหรือ

สรุปปัจจยั ที่ส่งเสริม สรุปปัจจยั ที่ส่งเสริม สรุปปัจจยั ท่ีส่งเสริม สรุปปัจจยั ที่ส่งเสริม สรุปปัจจยั ที่ส่งเสริม

ความเจริญรุ่งเรือง ความเจริญรุ่งเรือง ความเจริญรุ่งเรือง ความเจริญรุ่งเรือง ความเจริญรุ่งเรือง

ทางดา้ นการเมือง ทางดา้ นการเมือง ทางดา้ นการเมือง ทางดา้ นการเมือง ทางดา้ นการเมือง

และเศรษฐกิจ และเศรษฐกิจ และเศรษฐกิจสมยั และเศรษฐกิจ และเศรษฐกิจ

สมยั รัตนโกสินทร์ สมยั รัตนโกสินทร์ รัตนโกสินทร์ได้ มี สมยั รัตนโกสินทร์ สมยั รัตนโกสินทร์

ไดส้ มั พนั ธ์กนั มีการ การจาแนกขอ้ มูลให้ ไดส้ อดคลอ้ งกบั ได้ แตย่ งั ไม่

เช่ือมโยงใหเ้ ห็น เห็นถึงความสมั พนั ธ์ ขอ้ มูล มีการเขียน สอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูล

ภาพรวม แสดงให้ กนั อยา่ งเป็นเหตุ ขยายความ และไมม่ ีการอธิบาย

เห็นถึงความสมั พนั ธ์ เป็นผล ยกตวั อยา่ งเพิ่มเติม เพิม่ เติม

กนั ทางขอ้ มูลได้ ใหเ้ ขา้ ใจง่าย

ถูกตอ้ งครบถว้ น

สมบูรณ์

ใบงานท่ี 7 ประวตั ิและผลงานของบุคคลสาคญั สมยั รัตนโกสินทร์

ระดับคะแนน

เกณฑ์การประเมิน 4 3 2 1

(10 คะแนน) (9 คะแนน) (7-8 คะแนน) (5-6 คะแนน)

เขียนอธิบายหรือ เขียนอธิบายหรือ เขียนอธิบายหรือ เขียนอธิบายหรือ เขียนอธิบายหรือ

สรุปประวตั ิและ สรุปประวตั ิและ สรุปประวตั ิและ สรุปประวตั ิและ สรุปประวตั ิและ

ผลงานของบุคคล ผลงานของบุคคล ผลงานของบุคคล ผลงานของบุคคล ผลงานของบุคคล

สาคญั ในสมยั สาคญั ในสมยั สาคญั ในสมยั สาคญั ในสมยั สาคญั ในสมยั

รัตนโกสินทร์ รัตนโกสินทร์ ได้ รัตนโกสินทร์ ได้ รัตนโกสินทร์ ได้ รัตนโกสินทร์ ได้

สัมพนั ธ์กนั มีการ มีการจาแนกขอ้ มูล สอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูล แต่ยงั ไม่สอดคลอ้ ง

เชื่อมโยงใหเ้ ห็นภาพ แสดงใหเ้ ห็นถึง มีการเขียนขยาย กบั ขอ้ มูล และไม่มี

โดยรวม แสดงให้ ความสมั พนั ธ์กบั ความยกตวั อยา่ งให้ การเขียนอธิบาย

เห็นถึงความสมั พนั ธ์ ตนเองอยา่ งเป็ นเหตุ เขา้ ใจง่าย เพ่มิ เติม

กบั ตนเองและผอู้ ่ืน เป็นผล

ใบงานที่ 8 ภูมิปัญญาไทยสมยั รัตนโกสินทร์

ระดบั คะแนน

เกณฑ์การประเมิน 4 3 2 1

(10 คะแนน) (9 คะแนน) (7-8 คะแนน) (5-6 คะแนน)

เขียนอธิบายหรือ เขียนอธิบายหรือ เขียนอธิบายหรือ เขียนอธิบายหรือ เขียนอธิบายหรือ

สรุปภูมิปัญญาไทย สรุปภูมิปัญญาไทย สรุปภูมิปัญญาไทย สรุปภูมิปัญญาไทย สรุปภูมิปัญญาไทย

สมยั รัตนโกสินทร์ สมยั รัตนโกสินทร์ สมยั รัตนโกสินทร์ สมยั รัตนโกสินทร์ สมยั รัตนโกสินทร์

ท่ีภาคภูมิใจ และ ที่ภาคภูมิใจ และ ท่ีภาคภูมิใจ และ ท่ีภาคภูมิใจ และ ท่ีภาคภูมิใจ และ

วธิ ีการอนุรักษ์ วธิ ีการอนุรักษ์ วธิ ีการอนุรักษ์ วธิ ีการอนุรักษ์ วธิ ีการอนุรักษ์

ภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาไทย ได้ ภูมิปัญญาไทยได้ ภูมิปัญญาไทย ได้ ภูมิปัญญาไทย ได้

สัมพนั ธ์กนั มีการ มีการจาแนกขอ้ มูล สอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูล แตย่ งั ไม่สอดคลอ้ ง

เช่ือมโยงใหเ้ ห็นภาพ แสดงใหเ้ ห็นถึง มีการเขียนอธิบาย กบั ขอ้ มูลเขียนตาม

โดยรวมแสดงให้ ความสัมพนั ธ์กบั หรือยกตวั อยา่ ง ขอ้ มูลท่ีอา่ น ไม่มี

เห็นถึงความสัมพนั ธ์ ตนเองอยา่ งเป็ นเหตุ เพ่ิมเติมใหเ้ ขา้ ใจง่าย การอธิบายเพิ่มเติม

กบั ตนเองและผอู้ ่ืน เป็นผล

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูนาช่ือเต็มของกรุงรัตนโกสินทร์ให้นกั เรียนอ่านพร้อมกนั และร่วมกนั แสดงความ
คิดเห็น แลว้ ร่วมกนั ศึกษาประวตั ิศาสตร์การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สรุปเป็นแผนภาพ

2. ใหน้ กั เรียนเขียนและเรียงลาดบั พระมหากษตั ริยท์ ี่ปกครองกรุงรัตนโกสินทร์ส่งครู
3. แบ่งนกั เรียนออกเป็ น 3 กลุ่มศึกษาพฒั นาการทางดา้ นการเมืองการปกครองสมยั
รัตนโกสินทร์และออกอภิปรายหนา้ ช้นั เรียน และร่วมกนั แสดงความคิดเห็นและตอบคาถาม สรุป
ความรู้เป็นแผนภาพหลงั จากท่ีจบการอภิปรายของแตล่ ะกลุ่ม
4. ครูนาภาพเก่ียวกบั การทาการคา้ สมยั ตน้ รัตนโกสินทร์เปรียบเทียบกบั สมยั ปัจจุบนั ให้
นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น
5. แบง่ กลุ่มนกั เรียนออกเป็ น 3 กลุ่ม ศึกษาคน้ ควา้ พฒั นาการดา้ นเศรษฐกิจ

5.1 เศรษฐกิจสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้
5.2 เศรษฐกิจสมยั ปฏิรูปประเทศตามแบบตะวนั ตก
5.3 เศรษฐกิจสมยั ปฏิรูปการปกครองเป็ นระบอบประชาธิปไตย
แลว้ ออกนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน จบการนาเสนอร่วมกนั แสดงความคิดเห็นและสรุปความรู้
เป็ นแผนภาพ
6. ใหน้ กั เรียนทาใบงานที่ 5 และ 6 พฒั นาการดา้ นการเมืองการปกครองและดา้ น
เศรษฐกิจสมยั รัตนโกสินทร์
7. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั ศึกษาประวตั ิศาสตร์และผลงานของบุคคลสาคญั สมยั รัตนโกสินทร์
โดยการร่วมกนั ตอบคาถามและสรุปความรู้เป็นแผนภาพ ดงั น้ี
7.1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลท่ี 1
7.2 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี 5
7.3 สมเดจ็ พระบวรราชเจา้ มหาสุรสิงหนาท
8. ใหน้ กั เรียนทาใบงานท่ี 7 ประวตั ิและผลงานของบุคคลสาคญั สมยั รัตนโกสินทร์
9. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั ศึกษาภูมิปัญญาไทยสมยั รัตนโกสินทร์
10. ใหน้ กั เรียนทาใบงานที่ 8 ภูมิปัญญาไทยสมยั รัตนโกสินทร์

ส่ือการเรียนรู้

1. ช่ือเตม็ กรุงเทพมหานคร
2. ภาพเขียนโครงสร้างแผนภาพพฒั นาการดา้ นการเมือง เศรษฐกิจสมยั รัตนโกสินทร์
3. ภาพภูมิปัญญาไทยสมยั รัตนโกสินทร์

ไดค้ ะแนน

แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) ________________

คะแนนเตม็ 10 คะแนน

ชื่อ ______________________ นามสกุล________________ เลขท่ี________ ช้นั ________

ให้นักเรียนเขยี นเครื่องหมาย X ทบั ตวั อกั ษรหน้าคาตอบทถี่ ูกต้อง

1. ขอ้ ใดเป็นพระราชกรณียกิจท่ีสาคญั ของพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ก. เปิ ดรับวทิ ยาการตะวนั ตก
ข. ส่งเสริมการคา้ กบั ตา่ งประเทศ
ค. วางพ้ืนฐานการปกครองแบบประชาธิปไตย
ง. สร้างความมนั่ คงใหก้ บั ราชอาณาจกั รไทย

2. ขอ้ ใดเป็นปัจจยั ท่ีทาใหเ้ ศรษฐกิจของไทยเปล่ียนแปลงเป็นระบบการคา้ เสรี

ก. การคมนาคมที่เจริญ ข. การทาสนธิสญั ญาเบาวร์ ิง

ค. ระบบการคา้ แบบผกู ขาด ง. จานวนประชากรที่เพมิ่ ข้ึน

3. ชาติไทยรอดพน้ ภยั คุกคามจากลทั ธิล่าอาณานิคมไดอ้ ยา่ งไร
ก. พระปรีชาสามารถของพระมหากษตั ริยไ์ ทย
ข. ไดร้ ับความช่วยเหลือจากประเทศเพื่อนบา้ น
ค. คนไทยมีกาลงั ตอ่ สู้มากกวา่
ง. ความมน่ั คงทางการเมือง

4. เหตุการณ์ใดเกิดข้ึนหลงั จากเหตุการณ์ปฏิวตั ิ พ.ศ. 2475
ก. มีรัฐธรรมนูญฉบบั แรก
ข. ใชก้ ฎหมายตราสามดวง
ค. สร้างเมืองจาลองดุสิตธานี
ง. ทาสนธิสัญญาทางการคา้ กบั ตา่ งชาติ

5. ขอ้ ใดเป็นเหตุผลในการเลือกกรุงเทพมหานครเป็นราชธานี
ก. กรุงเทพมหานครมีประชากรมาก
ข. มีพ้ืนท่ีแคบทาใหป้ กครองไดง้ ่าย
ค. กรุงเทพมหานครเป็ นเมืองอกแตก
ง. เป็นชยั ภูมิท่ีดีในการป้องกนั ขา้ ศึก

6. การปฏิบตั ิตนในขอ้ ใดเป็ นการอนุรักษภ์ ูมิปัญญาไทยท่ีถูกตอ้ ง
ก. นาบางส่วนของวรรณกรรมไทยไปดดั แปลงใหม่
ข. ใชผ้ า้ ชุบน้าเช็ดรอยเป้ื อนบนภาพเขียนโบราณ
ค. วาดภาพสวยงามลงบนสถาปัตยกรรม
ง. ศึกษาวรรณกรรมไทย

7. วรรณกรรมในสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้ มีลกั ษณะอยา่ งไร
ก. ใชค้ าภาษาต่างประเทศท่ีทนั สมยั
ข. สอดแทรกขอ้ คิดของชาติตะวนั ตก
ค. สอดแทรกคุณธรรมท่ีใชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ง. สอดแทรกชีวติ คนต่างชาติในประเทศไทย

8. สถาปัตยกรรมใดท่ีไม่ได้รับอิทธิพลมาจากชาติตะวนั ตก
ก. พระบรมราชานุสาวรียพ์ ระบรมรูปทรงมา้
ข. พระที่นง่ั จกั รีมหาปราสาท
ค. วดั พระศรีรัตนศาสดาราม
ง. พระท่ีนง่ั อนนั ตสมาคม

9. ขอ้ ใดเป็นผลจากการปฏิรูปประเทศใหท้ นั สมยั ในสมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั

ท่ีส่งผลมาถึงปัจจุบนั

ก. รถไฟฟ้าใตด้ ิน ข. วดั ชนะสงคราม

ค. สนามบินสุวรรณภูมิ ง. การไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

10. ผลงานใดไม่เกี่ยวขอ้ งกบั สมเด็จพระบวรราชเจา้ มหาสุรสิงหนาท
ก. ศึกปราบชุมนุมเจา้ พิษณุโลก
ข. การสร้างกาแพงพระนคร
ค. ศึกตีเมืองเวยี ดนาม
ง. ศึกตีเมืองกมั พชู า

ไดค้ ะแนน

แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-Test) ________________

คะแนนเตม็ 10 คะแนน

ช่ือ ______________________ นามสกุล________________ เลขที่________ ช้นั ________

ให้นักเรียนเขยี นเครื่องหมาย X ทบั ตวั อกั ษรหน้าคาตอบทถ่ี ูกต้อง

1. ขอ้ ใดเป็นเหตุผลในการเลือกกรุงเทพมหานครเป็นราชธานี
ก. กรุงเทพมหานครมีประชากรมาก
ข. มีพ้นื ที่แคบทาใหป้ กครองไดง้ ่าย
ค. กรุงเทพมหานครเป็ นเมืองอกแตก
ง. เป็นชยั ภูมิที่ดีในการป้องกนั ขา้ ศึก

2. เหตุการณ์ใดเกิดข้ึนหลงั จากเหตุการณ์ปฏิวตั ิ พ.ศ. 2475
ก. มีรัฐธรรมนูญฉบบั แรก
ข. ใชก้ ฎหมายตราสามดวง
ค. สร้างเมืองจาลองดุสิตธานี
ง. ทาสนธิสญั ญาทางการคา้ กบั ต่างชาติ

3. ชาติไทยรอดพน้ ภยั คุกคามจากลทั ธิล่าอาณานิคมไดอ้ ยา่ งไร
ก. พระปรีชาสามารถของพระมหากษตั ริยไ์ ทย
ข. ไดร้ ับความช่วยเหลือจากประเทศเพ่ือนบา้ น
ค. คนไทยมีกาลงั ต่อสู้มากกวา่
ง. ความมน่ั คงทางการเมือง

4. ขอ้ ใดเป็นปัจจยั ที่ทาใหเ้ ศรษฐกิจของไทยเปลี่ยนแปลงเป็นระบบการคา้ เสรี

ก. การคมนาคมท่ีเจริญ ข. การทาสนธิสญั ญาเบาวร์ ิง

ค. ระบบการคา้ แบบผกู ขาด ง. จานวนประชากรท่ีเพ่ิมข้ึน

5. ขอ้ ใดเป็นพระราชกรณียกิจท่ีสาคญั ของพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ก. เปิ ดรับวทิ ยาการตะวนั ตก
ข. ส่งเสริมการคา้ กบั ตา่ งประเทศ
ค. วางพ้ืนฐานการปกครองแบบประชาธิปไตย
ง. สร้างความมน่ั คงใหก้ บั ราชอาณาจกั รไทย

6. ผลงานใดไม่เกี่ยวขอ้ งกบั สมเดจ็ พระบวรราชเจา้ มหาสุรสิงหนาท
ก. ศึกปราบชุมนุมเจา้ พิษณุโลก
ข. การสร้างกาแพงพระนคร
ค. ศึกตีเมืองเวยี ดนาม
ง. ศึกตีเมืองกมั พชู า

7. ขอ้ ใดเป็นผลจากการปฏิรูปประเทศใหท้ นั สมยั ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั

ที่ส่งผลมาถึงปัจจุบนั

ก. รถไฟฟ้าใตด้ ิน ข. วดั ชนะสงคราม

ค. สนามบินสุวรรณภูมิ ง. การไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

8. สถาปัตยกรรมใดท่ีไม่ได้รับอิทธิพลมาจากชาติตะวนั ตก
ก. พระบรมราชานุสาวรียพ์ ระบรมรูปทรงมา้
ข. พระท่ีนง่ั จกั รีมหาปราสาท
ค. วดั พระศรีรัตนศาสดาราม
ง. พระที่นง่ั อนนั ตสมาคม

9. วรรณกรรมในสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้ มีลกั ษณะอยา่ งไร
ก. ใชค้ าภาษาต่างประเทศท่ีทนั สมยั
ข. สอดแทรกขอ้ คิดของชาติตะวนั ตก
ค. สอดแทรกคุณธรรมที่ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ง. สอดแทรกชีวติ คนต่างชาติในประเทศไทย

10. การปฏิบตั ิตนในขอ้ ใดเป็นการอนุรักษภ์ ูมิปัญญาไทยที่ถูกตอ้ ง
ก. นาบางส่วนของวรรณกรรมไทยไปดดั แปลงใหม่
ข. ใชผ้ า้ ชุบน้าเช็ดรอยเป้ื อนบนภาพเขียนโบราณ
ค. วาดภาพสวยงามลงบนสถาปัตยกรรม
ง. ศึกษาวรรณกรรมไทย

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) 3. ข 4. ง 5. ง
1. ข 2. ค 8. ก 9. ก 10. ข
6. ง 7. ข
4. ข 5. ง
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-Test) 3. ก 9. ค 10. ง
1. ง 2. ก 8. ค
6. ค 7. ง

แบบบนั ทกึ สรุปผลการเรียนรู้สาหรับผู้เรียน

ช่ือ-นามสกลุ ...................................... เลขท่ี ............................................ ช้นั ..................................
วนั ท่ี ................................................ เดือน ........................................................... พ.ศ. ..................
คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนบนั ทึกสรุปผลการเรียนรู้จากหน่วยการเรียนรู้น้ี

นกั เรียนยงั ไม่เขา้ ใจเรื่องใดอีกบา้ ง นักเรี ยนมีความรู้สึ กอย่างไร นกั เรียนไดร้ ับความรู้เร่ืองใดบา้ ง
ท่ี เก่ี ย ว กับหน่ ว ย ก ารเ รี ย นรู้ น้ี หลงั จากท่ีเรียนหน่วยการเรียนรู้ จากหน่วยการเรียนรู้น้ี
ซ่ึงตอ้ งการใหค้ รูอธิบายเพิม่ เติม น้ีแลว้ ....................................................
....................................................... .................................................... ....................................................
....................................................... .................................................... ....................................................
....................................................... .............. ....................................................

นักเรี ยนจะสามารถนาความรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่.......... นกั เรียนไดท้ ากิจกรรมอะไรบา้ ง
ความเขา้ ใจจากหน่วยการเรียนรู้น้ี …................................... ในหน่วยการเรียนรู้น้ี
ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวนั ....................................... ....................................................
ไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง ............. ....................................................
....................................................... ....................................................
....................................................... ผลงานที่นกั เรียนชอบและตอ้ งการ ....................................................
....................................................... คัดเลือกเป็ นผลงานดีเด่นจาก
....................................................... หน่วยการเรียนรู้น้ีคือผลงานใดบา้ ง
เพราะอะไร
.......................................................
.......................................................

หมายเหตุ ใหค้ รูสาเนาแบบบนั ทึกน้ีเพอ่ื ให้นกั เรียนบนั ทึกทุกหน่วยการเรียนรู้

1. ครูสามารถนาแบบบนั ทึกน้ีไปใชเ้ ป็นหลกั ฐานและขอ้ มูลเพ่อื ปรับปรุงและพฒั นากระบวนการเรียนรู้ของผเู้ รียน
2. ครูสามารถนาแบบบนั ทึกน้ีไปใชป้ ระกอบการทาวจิ ยั ในช้นั เรียนเพื่อเป็นผลงานประกอบการเลื่อนวทิ ยฐานะได้

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เวลา 13 ชว่ั โมง
อาณาจกั รรัตนโกสินทร์

แผนผงั การเรียนรู้แบบบูรณาการ

ภาษาไทย
การสนทนาแสดงความคิดเห็น
การอภิปรายหนา้ ช้นั เรียน

อาณาจักรรัตนโกสินทร์

การงานอาชีพและเทคโนโลยี ศิลปะ : ทศั นศิลป์
การทากิจกรรมกลุ่ม การสรุปความรู้จดั เป็นโครงสร้างแผนภาพ

ตวั ชี้วดั 1. อธิบายพฒั นาการของไทยสมยั รัตนโกสินทร์ โดยสงั เขป (มฐ.ส 4.3 ป.6/1)
2. อธิบายปัจจยั ท่ีส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครองของไทยสมยั

รัตนโกสินทร์ (มฐ.ส 4.3 ป6/2)

3. ยกตวั อยา่ งผลงานของบุคคลสาคญั ดา้ นต่างๆ สมยั รัตนโกสินทร์ (มฐ.ส 4.3 ป.6/3)
4. อธิบายภูมิปัญญาไทยท่ีสาคญั สมยั รัตนโกสินทร์ท่ีน่าภาคภูมิใจ และควรคา่ แก่

การอนุรักษไ์ ว้ (มฐ.ส 4.3 ป.6/4)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาณาจักรรัตนโกสินทร์

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 28 การสถาปนาอาณาจักรรัตนโกสินทร์

ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 เวลา 1 ชวั่ โมง

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส. 4.3 เขา้ ใจความเป็นมาของชาติไทย วฒั นธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก
ความภูมิใจ และธารงความเป็นไทย
ตวั ชี้วดั
มฐ. ส 4.3 ป.6/1 อธิบายพฒั นาการของไทยสมยั รัตนโกสินทร์ โดยสังเขป

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั

1. อธิบายการสถาปนาอาณาจกั รรัตนโกสินทร์ (K)
2. คน้ หาศึกษาความเป็นมาของการสถาปนาอาณาจกั รรัตนโกสินทร์ (P)
3. มีความสนใจและเห็นความสาคญั ของการศึกษาประวตั ิศาสตร์ชาติไทย (A)

สาระสาคญั

พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงเป็ นพระมหากษตั ริยผ์ สู้ ถาปนา
อาณาจกั รรัตนโกสินทร์เป็ นเมืองหลวงของไทย

สาระการเรียนรู้

1. ความรู้
การสถาปนาอาณาจกั รรัตนโกสินทร์เป็นเมืองหลวงตอ่ จากกรุงธนบุรี

2. ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
การจาแนก การใหเ้ หตุผล การสรุปความรู้

3. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ( คสช. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย)์
มีวนิ ยั (คสช. มีระเบียบ วนิ ยั เคารพกฎหมาย ผนู้ อ้ ยรู้จกั การเคารพผใู้ หญ)่
รักความเป็นไทย (คสช. รักษาวฒั นธรรมประเพณีอนั ดีงาม)

ความเข้าใจทคี่ งทน (Enduring Understanding)

นกั เรียนสามารถสรุปไดว้ า่ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
เป็นพระมหากษตั ริยแ์ ห่งปฐมบรมจกั รีวงศ์ ผสู้ ถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นเมืองหลวงของไทย

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

1. แผนภาพ สาเหตุการสถาปนากรุงเทพเป็ นเมืองหลวง
2. การเรียงลาดบั พระมหากษตั ริย์ ที่ทรงปกครองกรุงรัตนโกสินทร์ ต้งั แตร่ ัชการท่ี 1-9

คาถามท้าทาย

การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นเมืองหลวงมีผลดีกบั ประเทศไทยอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูนาชื่อเตม็ ของกรุงรัตนโกสินทร์เขียนบนกระดานใหน้ กั เรียนอ่านพร้อมกนั ดงั น้ี

กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร์ มหินทรายุธยามหาดลิ กภพ นพรัตนราชธานีบูรีรมย์
อดุ มราชนิเวศน์มหาสถาน อมรพมิ านอวตารสถติ สักกะทตั ติยวษิ ณุกรรมประสิทธ์ิ

มีความหมายวา่
เมืองของเทวดามหานคร อนั เป็นอมตะสง่างามดว้ ยแกว้ 9 ประการ และเป็นที่ประทบั
ของพระเจา้ แผน่ ดิน เมืองที่มีพระราชวงั หลายแห่ง ดุจเป็ นวมิ านของเทวดา ซ่ึงมีพระวษิ ณุกรรม
สร้างข้ึนตามบญั ชาของพระอินทร์

จากน้นั ครูใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี

ประวตั ิศาสตร์ชาติไทยมีเมืองหลวงมาแลว้ ก่ีเมือง (4 เมือง คือ กรุงสุโขทยั
กรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี กรุงรัตนโกสินทร์)

พระมหากษตั ริยพ์ ระองคใ์ ดเป็นผสู้ ถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นเมืองหลวง
(พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช)

2. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั ศึกษาการสถาปนาอาณาจกั รรัตนโกสินทร์ แลว้ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั
แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี

เหตุใดจึงมีการสถาปนาอาณาจกั รรัตนโกสินทร์เป็นเมืองหลวงแทนกรุงธนบุรี
ครูใหน้ กั เรียนยกเหตุผลมาคนละ 1 ตวั อยา่ งแลว้ ครูสรุปคาตอบเป็ นแผนภาพบนกระดาน
ตวั อย่างแผนภาพ

หลงั จากทราบเหตุผลการสถาปนากรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงแลว้ ครูใชค้ าถาม ดงั น้ี
พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ผสู้ ถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ทรง

เป็นพระมหากษตั ริยร์ าชวงศอ์ ะไร (ทรงเป็ นผ้สู ถาปนาราชวงศ์จักรีเป็ นพระมหากษัตริย์พระองค์แรก
ของราชวงศ์จักรีทีป่ กครองกรุงรัตนโกสินทร์)

3. ครูใหน้ กั เรียนเขียนและเรียงลาดบั พระมหากษตั ริยท์ ี่ทรงปกครองกรุงรัตนโกสินทร์ต้งั แต่
รัชกาลท่ี 1-9 ส่งครู

4. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นพระมหากษตั ริยแ์ ห่งปฐมบรมจกั รี-
วงศ์ ผสู้ ถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็ นเมืองหลวงของไทย
5. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี

การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นเมืองหลวงมีผลดีกบั ประเทศไทยอยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

ใหน้ กั เรียนแสดงความคิดเห็น และเขียนหรือเรียงลาดบั พระนามพระมหากษตั ริยท์ ่ีปกครอง
กรุงรัตนโกสินทร์ต้งั แต่รัชกาลที่ 1 – 9

สื่อการเรียนรู้

ชื่อเตม็ ของกรุงรัตนโกสินทร์

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วธิ ีการวดั และประเมินผล
- สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม

2. เคร่ืองมือ
- แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม

3. เกณฑ์การประเมิน
- การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการถือวา่ ผ่าน

ผา่ น 1 รายการถือวา่ ไม่ผ่าน

กจิ กรรมเสนอแนะ

ครูใหน้ กั เรียนเขียนเรียงความเกี่ยวกบั กรุงเทพมหานคร ตามความรู้สึกของตนเอง แลว้ ครู
คดั เรียงความท่ีดีท่ีสุด 3 ตวั อยา่ ง ใหน้ กั เรียนอ่านใหเ้ พ่ือนฟัง

ข้อเสนอแนะของผ้บู ริหารสถานศึกษา

______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

ลงช่ือ_________________________ (ผบู้ ริหารสถานศึกษา)
(_________________________)
________/________/_______

บันทกึ หลงั การสอน

 ผลการจดั การเรียนการสอน
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

 ปัญหา / อุปสรรค
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

 แนวทางแกไ้ ข
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

ลงช่ือ_____________________________ (ผบู้ นั ทึก)
(____________________________)

_________/__________/____

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 อาณาจักรรัตนโกสินทร์

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 29 พฒั นาการของอาณาจกั รรัตนโกสินทร์
ด้านการเมืองการปกครองยคุ ตอนต้น

ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 เวลา 1 ชว่ั โมง

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส. 4.3 เขา้ ใจความเป็นมาของชาติไทย วฒั นธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก
ความภูมิใจ และธารงความเป็นไทย
ตวั ชี้วดั
มฐ. ส 4.3 ป.6/2 อธิบายปัจจยั ที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครอง
ของไทยสมยั รัตนโกสินทร์

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั

1. อธิบายพฒั นาการการเมืองการปกครองของกรุงรัตนโกสินทร์ในยคุ ตอนตน้ (K)
2. จาแนกพฒั นาการเมืองการปกครองของกรุงรัตนโกสินทร์ในยคุ ตอนตน้ (P)
3. มีความสนใจและเห็นความสาคญั ในการศึกษาประวตั ิศาสตร์ชาติไทย (A)

สาระสาคญั

การเมืองการปกครองสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ยคุ ตอนตน้ จดั ระเบียบบริหารราชการแผน่ ดิน
ออกเป็ น 3 ส่วน คือ การปกครองส่วนกลาง การปกครองหวั เมือง และการปกครองประเทศราช

สาระการเรียนรู้

1. ความรู้
การเมืองการปกครองสมยั กรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลท่ี 1 – 9

2. ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
การจาแนก การใหเ้ หตุผล การจดั ระบบความคิดเป็นแผนภาพ การสรุปความรู้

3. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ( คสช. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย)์
มีวนิ ยั (คสช. มีระเบียบ วนิ ยั เคารพกฎหมาย ผูน้ อ้ ยรู้จกั การเคารพผใู้ หญ่)
ใฝ่ เรียนรู้ (คสช. ใฝ่ หาความรู้ หมนั่ ศึกษาเล่าเรียนท้งั ทางตรง และทางออ้ ม)

ความเข้าใจทค่ี งทน (Enduring Understanding)

นกั เรียนสามารถสรุปไดว้ า่ การเมืองการปกครองสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ยคุ ตอนตน้ จดั ระเบียบ
บริหารราชการแผน่ ดินออกเป็ น 3 ส่วน คือ การปกครองส่วนกลาง การปกครองหวั เมือง และการปกครอง
ประเทศราช

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

1. รายงาน สรุปความรู้พฒั นาการทางการเมือง การปกครอง ยคุ ตน้ รัตนโกสินทร์
2. แผนภาพ การจดั ระเบียบบริหารราชการแบบเดิมยคุ ตน้ รัตนโกสินทร์

คาถามท้าทาย

พระมหากษตั ริยเ์ ป็ นสมมุติเทพ นกั เรียนเขา้ ใจความหมายน้ีวา่ อยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูนาภาพพระบรมสาทิสลกั ษณ์ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี 1-3 มาให้
นกั เรียนร่วมกนั ศึกษา จากน้นั ครูอธิบายก่อนนาเขา้ สู่บทเรียน ดงั น้ี

การเมืองการปกครองยคุ รัตนโกสินทร์ตอนตน้ สมยั รัชกาลที่ 1-3 นโยบายท่ีสาคญั คือ
การป้องกนั ประเทศและฟ้ื นฟูบา้ นเมือง การจดั ระเบียบการปกครองแผน่ ดินยงั คงรูปแบบของอยธุ ยา
และธนบุรี คือ พระมหากษตั ริยค์ งอยใู่ นฐานะสมมุติเทพ แบ่งการเมืองออกเป็ น 3 ส่วน คือ การปกครอง
ส่วนกลาง การปกครองส่วนหวั เมือง และการปกครองประเทศราช

2. ครูแบ่งนกั เรียนออกเป็ น 3 กลุ่ม เพ่ือศึกษาพฒั นาการทางการเมือง การปกครองยคุ ตน้
รัตนโกสินทร์และสรุปความรู้บนั ทึกเป็นรายงานออกนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน ดงั น้ี

กลุ่มท่ี 1 การปกครองส่วนกลาง
กลุ่มท่ี 2 การปกครองส่วนหวั เมือง
กลุ่มท่ี 3 การปกครองประเทศราช
3. จบการนาเสนออภิปรายของท้งั 3 กลุ่ม ครูใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นโดยครูใช้
คาถาม ดงั น้ี

รูปแบบการปกครองในสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้ มีการบริหารราชการแผน่ ดิน
อยา่ งไร (ครูสรุปคาตอบเป็ นแผนภาพ)

การจดั ระเบียบบริหารราชการแผน่ ดิน

4. ครูใหน้ กั เรียนศึกษากฎหมายที่ใชใ้ นสมยั รัตนโกสินทร์ยคุ ตอนตน้ โดยครูใหน้ กั เรียนตอบ
คาถาม ดงั น้ี

กฎหมายท่ีทรงใชป้ กครองกรุงรัตนโกสินทร์ในตอนตน้ ทรงใชก้ ฎหมายอะไร
(กฎหมายตราสามดวง คือ กฎหมาย 3 ฉบับ ทีป่ ระทบั ตราราชสีห์ตราประจาตาแหน่งสมุหนายก
ประทบั ตราคชสีห์ตราประจาตาแหน่งสมุหกลาโหมและตราบัวแก้วประทบั ตราประจาตาแหน่ง
พระยาพระคลงั )

5. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
การเมืองการปกครองสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ยคุ ตอนตน้ จดั ระเบียบบริหารราชการ

แผน่ ดินออกเป็น 3 ส่วน คือ การปกครองส่วนกลาง การปกครองหวั เมือง และการปกครอง
ประเทศราช
6. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี

พระมหากษตั ริยเ์ ป็ นสมมติเทพ นกั เรียนเขา้ ใจความหมายน้ีวา่ อยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

การแบ่งกลุ่มนกั เรียนศึกษาคน้ ควา้ อภิปรายนาเสนอการเมืองการปกครองสมยั รัตนโกสินทร์
ตอนตน้ แสดงความคิดเห็นสรุปความรู้เป็นแผนภาพ

สื่อการเรียนรู้

ภาพพระบรมสาทิสลกั ษณ์รัชกาลที่ 1-3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ตอนตน้

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วธิ ีการวดั และประเมินผล
1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เครื่องมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมนิ
3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการถือวา่ ผ่าน

ผา่ น 1 รายการถือวา่ ไม่ผ่าน

3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรับปรุง

ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา

______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

ลงชื่อ_________________________ (ผบู้ ริหารสถานศึกษา)
(_________________________)
________/________/_______

บันทกึ หลงั การสอน

 ผลการจดั การเรียนการสอน
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

 ปัญหา / อุปสรรค
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

 แนวทางแกไ้ ข
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

ลงชื่อ_____________________________ (ผบู้ นั ทึก)
(____________________________)

_________/__________/____

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาณาจักรรัตนโกสินทร์
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 30 พฒั นาการของอาณาจกั รรัตนโกสินทร์

ด้านเศรษฐกจิ และสังคมยคุ ตอนต้น

ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 เวลา 1 ชว่ั โมง

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 4.3 เขา้ ใจความเป็นมาของชาติไทย วฒั นธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก
ความภูมิใจ และธารงความเป็นไทย
ตวั ชี้วดั
มฐ. ส 4.3 ป.6/2 อธิบายปัจจยั ท่ีส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครอง
ของไทยสมยั รัตนโกสินทร์

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั

1. อธิบายพฒั นาการการเมืองการปกครองของกรุงรัตนโกสินทร์ยคุ ตอนตน้ (K)
2. มีความรู้ความเขา้ ใจพฒั นาการทางดา้ นเศรษฐกิจต้งั แต่ยคุ ตน้ (P)
3. มีความสนใจและเห็นความสาคญั ในการศึกษาประวตั ิศาสตร์ชาติไทย (A)

สาระสาคญั

พฒั นาการดา้ นเศรษฐกิจสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ยุคตอนตน้ เริ่มจากเศรษฐกิจแบบยงั ชีพสู่ระบบ
เศรษฐกิจแบบเงินตรามีการติดต่อทาการคา้ กบั ต่างชาติเป็นการคา้ ระบบผกู ขาดโดยพระคลงั สินคา้

สาระการเรียนรู้

1. ความรู้
พฒั นาการดา้ นเศรษฐกิจสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ต้งั แต่ยคุ ตน้ กรุง - สมยั ปัจจุบนั

2. ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
การจาแนก การจดั ระบบความคิดเป็นแผนภาพ การสรุปความรู้

3. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ( คสช. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย)์
รักความเป็นไทย (คสช. รักษาวฒั นธรรมประเพณีอนั ดีงาม)
มีวนิ ยั (คสช. มีระเบียบ วนิ ยั เคารพกฎหมาย ผนู้ อ้ ยรู้จกั การเคารพผใู้ หญ)่

ความเข้าใจทค่ี งทน (Enduring Understanding)

นกั เรียนสามารถสรุปไดว้ า่ พฒั นาการดา้ นเศรษฐกิจสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ยคุ ตอนตน้ เริ่มจาก
เศรษฐกิจแบบยงั ชีพสู่ระบบเศรษฐกิจแบบเงินตรา มีการติดต่อทาการคา้ กบั ต่างชาติเป็นการคา้
ระบบผกู ขาด โดยพระคลงั สินคา้

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

แผนภาพ พฒั นาการทางดา้ นเศรษฐกิจสมยั รัตนโกสินทร์ยคุ ตอนตน้

คาถามท้าทาย

นกั เรียนคิดวา่ ในปัจจุบนั เศรษฐกิจแบบใดที่สามารถทาใหค้ นไทยดาเนินชีวติ
อยา่ งมีความสุขได้

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูนาภาพเกี่ยวกบั การคา้ ในยคุ ตน้ เช่น ภาพสาเภา และภาพการขนส่งสินคา้ ในปัจจุบนั
เช่น เรือพาณิชย์ เคร่ืองบิน เปรียบเทียบพฒั นาการทางการคา้ ใหน้ กั เรียนดู และร่วมกนั แสดงความ
คิดเห็นโดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี

ในสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้ มีการติดต่อการทาการคา้ ตามเส้นทางใด
(ตวั อย่างคาตอบ ใช้เส้นทางคมนาคมทางนา้ เป็ นเส้นทางหลกั โดยใช้เรือสาเภา)

ในสมยั ปัจจุบนั มีการติดต่อทาการคา้ กนั อยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ มีการขนส่ง
สินค้าท้งั ทางเรือพาณชิ ย์ขนาดใหญ่และเคร่ืองบนิ ใช้สาหรับขนส่งสินค้าไปต่างประเทศและใช้
เส้ นทางคมนาคมทางบกลาเลียงสินค้าภายในประเทศ)

2. ครูใหน้ กั เรียนร่วมกนั ศึกษาพฒั นาการทางดา้ นเศรษฐกิจของรัตนโกสินทร์ในยคุ ตอนตน้
โดยครูต้งั คาถามใหน้ กั เรียนร่วมกนั ศึกษาหาคาตอบ ดงั น้ี

การทาการเกษตรในยคุ รัตนโกสินทร์ตอนตน้ มีพฒั นาการอยา่ งไร
การทาอุตสาหกรรมสมยั รัตนโกสินทร์เป็ นอุตสาหกรรมลกั ษณะใด
การทาการคา้ ยคุ รัตนโกสินทร์มีรูปแบบการคา้ อยา่ งไร
ครูใหน้ กั เรียนแบง่ เป็ น 3 กลุ่มหาคาตอบกลุ่มละ 1 ขอ้ แลว้ สรุปบนั ทึกคาตอบส่งผแู้ ทนกลุ่ม
ออกนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน
3. จบการตอบคาถามของกลุ่มนกั เรียน ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปคาตอบเป็นแผนภาพ
บนกระดาน ดงั ตวั อยา่ ง

ด้านการเกษตร

รัฐสนบั สนุนใหข้ ยายพ้นื ที่ทาการเพาะปลูก โดยมีกฎหมายใหผ้ บู้ ุกเบิกทาถิ่นใหม่
1-2 ปี แรกไมต่ อ้ งเสียอากรคา่ นา คา่ สวน

ด้านอุตสาหกรรม พฒั นาการ ด้านการค้า
ทางด้านเศรษฐกจิ
1. อตุ สาหกรรมในครัวเรือน สมยั รัตนโกสินทร์ 1. การค้าภายใน
การผลิตเคร่ืองใชส้ อยภายในบา้ น ส่วนใหญเ่ ป็ นการแลกเปลี่ยนสินคา้ กนั
2. อุตสาหกรรมโรงงาน ยุคตอนต้น ใชเ้ สน้ ทางน้าคา้ ขาย
เช่น โรงน้าตาล โรงตม้ กลน่ั สุรา 2. การค้าภายนอก
การผลิตเกลือ เจา้ ของโรงงาน
ส่วนใหญเ่ ป็ นชาวจีน เป็ นการทาการคา้ กบั ต่างชาติ โดยพระคลงั สินคา้

เป็ นผผู้ กู ขาด และองั กฤษเขา้ มาทาการคา้ และ

ทาสนธิสญั ญาเบอร์นี ซ่ึงองั กฤษตอ้ งการลด

การผกู ขาด จากพระราชคลงั สินคา้

จากน้นั ครูอธิบายสรุปความรู้จากแผนภาพเพิ่มเติม
4. ครูใหน้ กั เรียนร่วมกนั ศึกษา พฒั นาการทางดา้ นสังคมรัตนโกสินทร์ยคุ ตอนตน้ โดยครูให้
นกั เรียนแสดงความคิดเห็นและตอบคาถาม ดงั น้ี

การจดั ระเบียบทางสังคมในสมยั รัตนโกสินทร์ยคุ ตอนตน้ มีลกั ษณะโครงสร้าง
ทางสงั คมในรูปแบบใด

ครูสรุปคาตอบของนกั เรียนเป็นแผนภาพบนกระดาน

ชนช้ันผ้ปู กครอง

โครงสร้างทางสงั คม พระมหากษตั ริย์
สมยั ยคุ ตน้ พระราชวงศ์
รัตนโกสินทร์ ขนุ นางขา้ ราชการระดบั ต่างๆ

ชนช้ันผู้ถูกปกครอง

ไพร่
ทาส

นกั บวชและชาวตา่ งชาติไมไ่ ดจ้ ดั รวมอยใู่ นกลุ่มชนช้นั ทางสงั คม

5. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
พฒั นาการดา้ นเศรษฐกิจสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ยคุ ตอนตน้ เริ่มจากเศรษฐกิจแบบยงั ชีพ

สู่ระบบเศรษฐกิจแบบเงินตรา มีการติดต่อทาการคา้ กบั ต่างชาติเป็ นการคา้ ระบบผกู ขาดโดยพระคลงั สินคา้
6. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นโดยใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
นกั เรียนคิดวา่ ในปัจจุบนั เศรษฐกิจแบบใดท่ีสามารถทาใหค้ นไทยดาเนินชีวติ

อยา่ งมีความสุขได้

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

การต้งั คาถามแลว้ ใหน้ กั เรียนแบง่ กลุ่มหาคาตอบและสรุปความรู้เป็ นแผนภาพ

ส่ือการเรียนรู้

ภาพการทาการคา้ สมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วธิ ีการวดั และประเมินผล
1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เคร่ืองมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมนิ
3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการถือวา่ ผ่าน

ผา่ น 1 รายการถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรับปรุง

ข้อเสนอแนะของผ้บู ริหารสถานศึกษา

______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

ลงช่ือ_________________________ (ผบู้ ริหารสถานศึกษา)
(_________________________)
________/________/_______

บนั ทกึ หลงั การสอน

 ผลการจดั การเรียนการสอน
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

 ปัญหา / อุปสรรค
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

 แนวทางแกไ้ ข
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

ลงช่ือ_____________________________ (ผบู้ นั ทึก)
(____________________________)

_________/__________/____

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 อาณาจกั รรัตนโกสินทร์

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 31 พฒั นาการของอาณาจกั รรัตนโกสินทร์
ด้านการเมืองการปกครองยุคปฏิรูปประเทศให้เป็ นแบบสมัยใหม่

ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 เวลา 1 ชวั่ โมง

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 4.3 เขา้ ใจความเป็นมาของชาติไทย วฒั นธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก
ความภูมิใจ และธารงความเป็นไทย
ตวั ชี้วดั
มฐ. ส 4.3 ป.6/2 อธิบายปัจจยั ที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครอง
ของไทยสมยั รัตนโกสินทร์

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั

1. อธิบายพฒั นาการดา้ นการเมืองการปกครองของกรุงรัตนโกสินทร์ในยคุ ปฏิรูปประเทศ
ใหเ้ ป็นแบบสมยั ใหม่ (K)

2. จาแนกพฒั นาการดา้ นการเมืองการปกครองของกรุงรัตนโกสินทร์ในยคุ ปฏิรูปประเทศ
ใหเ้ ป็นแบบสมยั ใหม่ (P)

3. มีความสนใจและเห็นความสาคญั ในการศึกษาประวตั ิศาสตร์ชาติไทย (A)

สาระสาคญั

การเมืองการปกครองสมยั กรุงรัตนโกสินทร์มีการปฏิรูปการปกครองเพ่ือใหร้ อดพน้
จากการเป็ นอาณานิคมของชาติตะวนั ตก โดยการต้งั สภาที่ปรึกษาราชการแผน่ ดิน ปฏิรูปราชการแผน่ ดิน
ส่วนกลางเป็นแบบกระทรวงและปฏิรูปการปกครองหวั เมืองเป็นแบบเทศาภิบาล และส่วนภูมิภาค
แบ่งเป็นหมูบ่ า้ น ตาบล อาเภอ เมือง และมณฑลตามลาดบั

สาระการเรียนรู้

1. ความรู้
การเมืองการปกครองสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ยคุ ปฏิรูปประเทศใหเ้ ป็ นแบบสมยั ใหม่

รัชกาลที่ 4-6
2. ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคดิ
การจาแนก การใหเ้ หตุผล การจดั ระบบความคิดเป็นแผนภาพ การสรุปความรู้
3. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ( คสช. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย)์
มีวนิ ยั (คสช. มีระเบียบ วนิ ยั เคารพกฎหมาย ผูน้ อ้ ยรู้จกั การเคารพผใู้ หญ่)
ใฝ่ เรียนรู้ (คสช. ใฝ่ หาความรู้ หมน่ั ศึกษาเล่าเรียนท้งั ทางตรง และทางออ้ ม)

ความเข้าใจทคี่ งทน (Enduring Understanding)

นกั เรียนสามารถสรุปไดว้ า่ การเมืองการปกครองสมยั กรุงรัตนโกสินทร์มีการปฏิรูปการปกครอง
เพื่อให้รอดพน้ จากการเป็ นอาณานิคมของชาติตะวนั ตก โดยการต้งั สภาท่ีปรึกษาราชการแผ่นดิน
ปฏิรูปราชการแผน่ ดินส่วนกลางเป็ นแบบกระทรวงและปฏิรูปการปกครองหวั เมืองเป็ นแบบเทศาภิบาล
และส่วนภูมิภาคแบง่ เป็นหมูบ่ า้ น ตาบล อาเภอ เมือง และมณฑลตามลาดบั

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

แผนภาพ การดาเนินนโยบายทางการเมืองในสมยั รัชกาลที่ 5

คาถามท้าทาย

- ประเทศไทยไม่ตกเป็นอาณานิคมของชาติตะวนั ตก เพราะสาเหตุใด

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูนาภาพพระบรมสาทิสลกั ษณ์ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่ 4-6 มาให้
นกั เรียนร่วมกนั ศึกษา จากน้นั ครูอธิบายก่อนนาเขา้ สู่บทเรียน ดงั น้ี

รัตนโกสินทร์ยคุ สมยั รัชกาลท่ี 4-6 เป็นยคุ สมยั ท่ีชาติตะวนั ตกเดินทางเขา้ มาทาการคา้
กบั ประเทศในแถบอินโดจีนเป็นจานวนมาก และเป็นยคุ ที่เกิดการล่าอาณานิคมข้ึน ประเทศไทย
เป็นประเทศเดียวที่รอดพน้ จากการล่าอาณานิคมเป็ นเพราะพระปรีชาสามารถของพระมหากษตั ริยไ์ ทย
ยคุ สมยั รัชกาลที่ 4-6 เป็นยคุ ที่ประเทศไทยปฏิรูปประเทศใหเ้ ป็นแบบสมยั ใหม่ ทาใหป้ ระเทศไทย
มีพฒั นาการต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบนั

2. ครูใหน้ กั เรียนศึกษาสมยั ปฏิรูปการปกครองสมยั รัชกาลที่ 4-6 จากน้นั ครูต้งั คาถามเพื่อให้
นกั เรียนวเิ คราะห์หาคาตอบและแสดงความคิดเห็น ดงั น้ี

ในสมยั รัชกาลท่ี 4 มีการดาเนินนโยบายทางการเมือง อยา่ งไรบา้ ง (ตัวอย่างคาตอบ
ดาเนินนโยบายเปิ ดประเทศยกเลกิ ประเพณีหมอบคลานเข้าเฝ้า ออกกฎหมายห้ามบดิ ามารดา
สามขี ายบุตรโดยไม่สมัครใจ)

สนธิสญั ญาเบาวร์ ิง เป็นสนธิสญั ญาอะไร ส่งผลกระทบตอ่ ประเทศไทยอยา่ งไร
(ตัวอย่างคาตอบ เป็ นสนธิสัญญาทางการค้า ไทยเสียเปรียบเพราะไม่สามารถลงโทษชาวต่างชาติ
ทท่ี าผดิ กฎหมายได้ โดยชาวต่างชาติ (องั กฤษ) จะตดั สินคดคี วามคนในบงั คบั ของตนเอง)

การดาเนินนโยบายทางการเมืองในสมยั รัชกาลที่ 5 มีพฒั นาการอยา่ งไรบา้ ง
(ครูสรุปคาตอบของนกั เรียนเป็นแผนภาพ)

ตวั อย่างแผนภาพ

ในหลวงรัชกาลที่ 5 ทรงวางนโยบายการเมืองระหวา่ งประเทศอยา่ งไรบา้ ง
(1. ทรงดาเนินนโยบายทางการทตู ผ่อนปรนตามคาเรียกร้องของชาตติ ะวนั ตก ยอมเสีย
ดนิ แดนบางส่วนเพ่ือรักษาดินแดนส่วนใหญ่
2. นโยบายถ่วงดุลอานาจ โดยเปิ ดโอกาสให้ชาติตะวนั ตกอ่ืน ๆ เข้ามาค้าขายโดยเสมอภาค เสด็จ
ประพาสชาติตะวนั ตกโดยเฉพาะประเทศรัสเซียเพื่อถ่วงดุลอานาจฝรั่งเศส)

การดาเนินนโยบายทางการเมืองในสมยั รัชกาลที่ 6 มีพฒั นาการอยา่ งไรบา้ ง
(ตัวอย่างคาตอบ ทรงเจริญสัมพนั ธไมตรีกบั ชาติตะวนั ตกเพ่ือแก้ไขสนธิสัญญาทไี่ ม่เสมอภาค
ทรงส่งทหารไปร่วมรบในสงครามโลกคร้ังที่ 1 ทาให้ไทยได้แก้ไขสนธิสัญญาและทรงสร้างเมือง
จาลองดุสิตธานี เพ่ือเตรียมการพฒั นาประชาธิปไตยในประเทศไทย)

3. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
การเมืองการปกครองสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ มีการปฏิรูปการปกครอง เพื่อให้รอดพน้ จากการ
เป็นอาณานิคมของชาติตะวนั ตก โดยการต้งั สภาท่ีปรึกษาราชการแผน่ ดิน ปฏิรูปราชการแผน่ ดิน
ส่วนกลาง เป็นแบบกระทรวงและปฏิรูปการปกครองหวั เมืองเป็นแบบเทศาภิบาล และส่วนภูมิภาค
แบ่งเป็นหมู่บา้ น ตาบล อาเภอ เมือง และมณฑลตามลาดบั
4. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี

ประเทศไทยไม่ตกเป็นอาณานิคมของชาติตะวนั ตก เพราะสาเหตุใด

การจัดบรรยากาศเชิงบวก

การแบ่งกลุ่มนกั เรียนศึกษาคน้ ควา้ อภิปรายนาเสนอการเมืองการปกครองสมยั รัตนโกสินทร์
แสดงความคิดเห็นสรุ ปความรู้เป็ นแผนภาพ

สื่อการเรียนรู้

พระบรมสาทิสลกั ษณ์รัชกาลที่ 4-6

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วธิ ีการวดั และประเมินผล
- สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม

2. เคร่ืองมือ
- แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม

3. เกณฑ์การประเมนิ
- การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการถือวา่ ผ่าน

ผา่ น 1 รายการถือวา่ ไม่ผ่าน

ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา

______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

ลงชื่อ_________________________ (ผบู้ ริหารสถานศึกษา)
(_________________________)
________/________/_______

บนั ทกึ หลงั การสอน

 ผลการจดั การเรียนการสอน
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

 ปัญหา / อุปสรรค
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

 แนวทางแกไ้ ข
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

ลงช่ือ_____________________________ (ผบู้ นั ทึก)
(____________________________)

_________/__________/____

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาณาจักรรัตนโกสินทร์
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 32 พฒั นาการของอาณาจักรรัตนโกสินทร์

ด้านเศรษฐกจิ ยคุ ปฏิรูปประเทศให้เป็ นแบบสมัยใหม่

ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 เวลา 1 ชวั่ โมง

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 4.3 เขา้ ใจความเป็นมาของชาติไทย วฒั นธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก
ความภูมิใจ และธารงความเป็นไทย
ตวั ชี้วดั
มฐ. ส 4.3 ป.6/2 อธิบายปัจจยั ที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครอง
ของไทยสมยั รัตนโกสินทร์

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. อธิบายพฒั นาการดา้ นเศรษฐกิจของกรุงรัตนโกสินทร์ ต้งั แต่รัชกาลที่ 4-6 (K)
2. มีความรู้ความเขา้ ใจพฒั นาการทางดา้ นเศรษฐกิจต้งั แต่ยคุ ตน้ จนถึงยคุ ปฏิรูปประเทศ
ใหเ้ ป็นแบบสมยั ใหม่ (P)
3. มีความสนใจศึกษาเรียนรู้พฒั นาการทางดา้ นประวตั ิศาสตร์ชาติไทย (A)

สาระสาคญั

พฒั นาการดา้ นเศรษฐกิจสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ยคุ ปฏิรูปประเทศใหเ้ ป็ นแบบสมยั ใหม่เป็น
การทาการคา้ แบบเสรีใชเ้ งินเป็นส่ือกลาง มีการจดั ทางบประมาณแผน่ ดินเป็ นคร้ังแรกจดั ต้งั ธนาคาร
สยามกมั มาจลเป็นแห่งแรก พฒั นาระบบคมนาคม และการสื่อสารข้ึนมาเป็นคร้ังแรก ทาใหป้ ระเทศ
ไทยพฒั นาและเจริญมาตามลาดบั

สาระการเรียนรู้

1. ความรู้
พฒั นาการดา้ นเศรษฐกิจสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ยคุ ปฏิรูปประเทศให้เป็นแบบสมยั ใหม่

2. ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคดิ
การจาแนก การจดั ระบบความคิดเห็นเป็นแผนภาพ การสรุปความรู้

3. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ( คสช. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย)์
รักความเป็นไทย (คสช. รักษาวฒั นธรรมประเพณีอนั ดีงาม)
มีวนิ ยั (คสช. ใฝ่ หาความรู้ หมนั่ ศึกษาเล่าเรียนท้งั ทางตรง และทางออ้ ม)

ความเข้าใจทค่ี งทน (Enduring Understanding)

นกั เรียนสามารถสรุปไดว้ า่ พฒั นาการดา้ นเศรษฐกิจสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ยุคปฏิรูปประเทศ
ให้เป็ นแบบสมยั ใหม่เป็ นการทาการคา้ แบบเสรีใชเ้ งินเป็ นสื่อกลาง มีการจดั ทางบประมาณแผ่นดิน
เป็ นคร้ังแรกจดั ต้งั ธนาคารสยามกมั มาจลเป็ นแห่งแรก พฒั นาระบบคมนาคม และการสื่อสารข้ึนมา
เป็นคร้ังแรก ทาใหป้ ระเทศไทยพฒั นาและเจริญมาตามลาดบั

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

-

คาถามท้าทาย

การเสดจ็ ประพาสต่างประเทศบ่อยคร้ังของรัชกาลที่ 5 ส่งผลดีต่อประเทศสยามอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูติดบตั รคาวา่ สนธิสัญญาเบาวร์ ิง ใหน้ กั เรียนอา่ นและร่วมกนั แสดงความคิดเห็น
โดยครูถามคาถาม ดงั น้ี

สนธิสญั ญาเบาวร์ ิงเป็นสนธิสญั ญาอะไร เกี่ยวขอ้ งกบั ชาติใด เกิดข้ึนในสมยั ใด
(ตัวอย่างคาตอบ เป็ นสนธิสัญญาการทาการค้าระหว่างไทยกบั องั กฤษสมัยรัชกาลที่ 4)

สนธิสัญญาเบาวร์ ิงมีผลกระทบต่อประเทศอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ทาให้ประเทศไทย

เสียเปรียบทางการเมือง องั กฤษต้งั ศาลกงสุลในประเทศไทย มีอานาจตดั สินคดีความผดิ ของตนเอง

โดยไม่ต้องขนึ้ ศาลไทย และทาให้เกดิ สนธิสัญญาของชาตติ ะวนั ตกชาติอ่ืนตามมา ทาให้เกดิ การค้า

อย่างเสรี โดยไม่ต้องผ่านรัฐ)
2. ครูใหน้ กั เรียนร่วมกนั ศึกษา พฒั นาการทางดา้ นเศรษฐกิจสมยั รัชกาลที่ 4-6 โดยครูแบง่

นกั เรียนออกเป็น 3 กลุ่ม ดงั น้ี
กลุ่มที่ 1 พฒั นาการดา้ นเศรษฐกิจสมยั รัชกาลที่ 4
กลุ่มที่ 2 พฒั นาการดา้ นเศรษฐกิจสมยั รัชกาลที่ 5
กลุ่มที่ 3 พฒั นาการดา้ นเศรษฐกิจสมยั รัชกาลท่ี 6
โดยใหแ้ ตล่ ะกลุ่มสรุปสาระสาคญั การพฒั นาทางดา้ นเศรษฐกิจมาต่อเป็นรูปแผนภาพ

บนกระดาน
3. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปพฒั นาการทางดา้ นเศรษฐกิจยคุ สมยั ปฏิรูปประเทศให้เป็ น

แบบสมยั ใหม่ เป็ นแผนภาพบนกระดาน ดงั ตวั อยา่ ง

ทาการคา้ แบบเสรีใชเ้ งินเป็นส่ือกลาง จดั ต้งั โรงกษาปณ์ ผลิตเหรียญ
พิมพธ์ นบตั ร
จดั ต้งั กระทรวงการคลงั
พระมหาสมบตั ิ จดั ทางบประมาณแผน่ ดินเป็นคร้ังแรก

จดั ต้งั ธนาคารสยามกมั มาจล พฒั นาการเศรษฐกจิ เปล่ียนมาตราหน่วยเงินเป็ นสตางค์
(ธนาคารไทยพาณิชย)์ สมยั ปฏิรูปประเทศ
เป็ นธนาคารแห่งแรก สมยั รัชกาลท่ี 4-6 เปลี่ยนมาตรฐานของเงินเป็ น
มาตรฐานทองคา ทาใหก้ ารเงินมี
พฒั นาระบบคมนาคม การส่ือสาร เสถียรภาพมีอตั ราแลกเปลี่ยนตาม
รถไฟ รถราง ไปรษณีย์ โทรเลข หลกั สากล

เป็ นคร้ังแรก

4. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
พฒั นาการดา้ นเศรษฐกิจสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ยคุ ปฏิรูปประเทศให้เป็นแบบ

สมยั ใหม่เป็นการทาการคา้ แบบเสรีใชเ้ งินเป็นส่ือกลาง มีการจดั ทางบประมาณแผน่ ดินเป็นคร้ังแรก
จดั ต้งั ธนาคารสยามกมั มาจลเป็นแห่งแรก พฒั นาระบบคมนาคม และการสื่อสารข้ึนมาเป็นคร้ังแรก
ทาใหป้ ระเทศไทยพฒั นาและเจริญมาตามลาดบั

5. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
การเสดจ็ ประพาสตา่ งประเทศบ่อยคร้ังของรัชกาลที่ 5 ส่งผลดีตอ่ ประเทศสยามอยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

การแบง่ กลุ่มนกั เรียนสรุปความรู้พฒั นาการทางดา้ นเศรษฐกิจสมยั ยคุ ปฏิรูปประเทศให้เป็ น
แบบสมยั ใหมเ่ ป็นแผนภาพ

ส่ือการเรียนรู้

- บตั รคา

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วธิ ีการวดั และประเมินผล
1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เคร่ืองมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมนิ
3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการถือวา่ ผ่าน

ผา่ น 1 รายการถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรับปรุง

ข้อเสนอแนะของผ้บู ริหารสถานศึกษา

______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

ลงชื่อ_________________________ (ผบู้ ริหารสถานศึกษา)
(_________________________)
________/________/_______

บนั ทกึ หลงั การสอน

 ผลการจดั การเรียนการสอน
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

 ปัญหา / อุปสรรค
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

 แนวทางแกไ้ ข
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

ลงช่ือ_____________________________ (ผบู้ นั ทึก)
(____________________________)

_________/__________/____

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 อาณาจกั รรัตนโกสินทร์
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 33 พฒั นาการด้านสังคมยุคปฏริ ูปประเทศ

ให้เป็ นแบบสมยั ใหม่

ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 เวลา 1 ชวั่ โมง

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 4.3 เขา้ ใจความเป็นมาของชาติไทย วฒั นธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก
ความภูมิใจ และธารงความเป็นไทย
ตวั ชี้วดั
มฐ. ส 4.3 ป.6/2 อธิบายปัจจยั ที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครอง
ของไทยสมยั รัตนโกสินทร์

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. อธิบายพฒั นาการทางสังคมสมยั รัชกาลที่ 4-6 (K)
2. จาแนกพฒั นาการทางสงั คมสมยั รัชกาลที่ 4-6 (P)
3. เห็นความสาคญั ในการศึกษาความเป็นมาทางดา้ นสังคมของประวตั ิศาสตร์ชาติไทย (A)

สาระสาคญั

การปฏิรูปโครงสร้างทางสังคมและวฒั นธรรมทาใหเ้ ป็นท่ียอมรับของนานาประเทศโดยการ
ใหส้ ิทธิและเสรีภาพ เห็นคุณค่าของความเป็ นมนุษยเ์ ป็ นนโยบายการปฏิรูปประเทศให้เป็นแบบสมยั ใหม่
สมยั รัชกาลท่ี 4-6

สาระการเรียนรู้

1. ความรู้
พฒั นาการดา้ นสงั คมสมยั รัชกาลที่ 4-6

2. ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
การจาแนก การใหเ้ หตุผล การจดั ระบบความคิดเป็นแผนภาพ การสรุปความรู้

3. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ( คสช. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย)์
รักความเป็นไทย (คสช. รักษาวฒั นธรรมประเพณีอนั ดีงาม)

ความเข้าใจทค่ี งทน (Enduring Understanding)

นกั เรียนสามารถสรุปไดว้ า่ การปฏิรูปโครงสร้างทางสงั คมและวฒั นธรรมทาใหเ้ ป็ นที่ยอมรับ
ของนานาประเทศโดยการให้สิทธ์ิและเสรีภาพ เห็นคุณค่าของความเป็ นมนุษยเ์ ป็ นนโยบายการปฏิรูป
ประเทศใหเ้ ป็ นแบบสมยั ใหม่สมยั รัชกาลที่ 4-6

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

แผนภาพ พฒั นาการทางดา้ นสงั คมสมยั รัชกาลที่ 4-6

คาถามท้าทาย

การเลิกทาสของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่ 5 ส่งผลดีตอ่ โครงสร้างทางสังคม
อยา่ งไร

การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

1. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั ศึกษาพฒั นาการทางดา้ นสังคมยคุ ปฏิรูปประเทศในยคุ สมยั รัชกาลท่ี 4-6
โดยครูลองใชค้ าถามเพอ่ื ทดสอบความรู้ก่อนนาเขา้ สู่บทเรียน ดงั น้ี

การยกเลิกธรรมเนียมหมอบคลานเขา้ เฝ้าเกิดข้ึนในสมยั ใด (รัชกาลที่ 4)
พระมหากษตั ริยพ์ ระองคใ์ ดโปรดใหม้ ีการยกเลิกทาส (รัชกาลท่ี 5)

การประกาศใชน้ ามสกุลเกิดข้ึนในสมยั ใด (รัชกาลท่ี 6)
2. ครูแบ่งนกั เรียนออกเป็ น 3 กลุ่มเพอ่ื ร่วมกนั ศึกษาพฒั นาการทางดา้ นสังคมในยคุ สมยั
ปฏิรูปประเทศสมยั รัชกาลที่ 4-6 ดงั น้ี

กลุ่มที่ 1 พฒั นาการทางดา้ นสงั คมสมยั รัชกาลที่ 4
กลุ่มที่ 2 พฒั นาการทางดา้ นสงั คมสมยั รัชกาลที่ 5
กลุ่มท่ี 3 พฒั นาการทางดา้ นสังคมสมยั รัชกาลท่ี 6
โดยใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มสรุปเป็นรายงานนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน
3. เม่ือจบการนาเสนอของทุกกลุ่มครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปพฒั นาการทางดา้ นสังคมเป็น
แผนภาพบนกระดาน

สมยั รัชกาลที่ 4

พฒั นาการ ยกเลิกธรรมเนียมการหมอบคลานเขา้ เฝ้า
ทางดา้ นสงั คม อนุญาตเฝ้าเมื่อเสดจ็ ราชดาเนิน
สมยั รัชกาลที่ 4-6 ใหส้ ิทธิและเสรีภาพแก่สามญั ชนมากข้ึน โดยสตรีสามารถ
เลือกสามีไดโ้ ดยสมคั รใจหา้ มสามีขายภรรยาและบุตรเป็นทาส

สมยั รัชกาลที่ 5

สมยั รัชกาลท่ี 6 ออกกฎหมายประกาศยกเลิกไพร่และทาส
ยกเลิกการไวผ้ มทรงมหาดไทย
ต้งั โรงเรียนหลวง โรงเรียนนายทหารมหาดเลก็
ต้งั โรงเรียนมหรรณพาราม เพอ่ื ใหร้ าษฎรไดเ้ ขา้ ศึกษา
ประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั ปิ ระถมศึกษา พ.ศ. 2464 เป็ นคร้ังแรก
ประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั นิ ามสกลุ และเพมิ่ คานาหนา้ ชื่อ สตรี นางสาว
และนาง ส่วนเดก็ ใชค้ านาหนา้ เดก็ ชาย เด็กหญิง

เปลี่ยนธงชาติจากธงชา้ งเผอื กมาเป็นธงไตรรงค์

4. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
การปฏิรูปโครงสร้างทางสังคมและวฒั นธรรมทาใหเ้ ป็นที่ยอมรับของนานาประเทศ

โดยการใหส้ ิทธิและเสรีภาพ เห็นคุณคา่ ของความเป็ นมนุษยเ์ ป็ นนโยบายการปฏิรูปประเทศให้เป็ น
แบบสมยั ใหมส่ มยั รัชกาลที่ 4-6

5. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
การเลิกทาสของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่ 5 ส่งผลดีต่อโครงสร้าง

ทางสงั คมอยา่ งไร


Click to View FlipBook Version