The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรกลุ่มสาระภาษาไทย ลง ว PA

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นงค์นุช ศรีดามาตย์, 2022-09-01 21:35:51

หลักสูตรกลุ่มสาระภาษาไทย ลง ว PA

หลักสูตรกลุ่มสาระภาษาไทย ลง ว PA

คำนำ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้จัดทาหลกั สูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยฉบับนี้
ซึ่งเปน็ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นไชยวานวทิ ยา พทุ ธศักราช 2564 ตามหลักสตู ร-
แกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 เพอื่ เป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน และ
กระบวนการจดั การเรียนรู้ เพ่อื เปน็ กรอบและทศิ ทางในการจดั การเรยี นการสอน ให้ตรงตามมาตรฐานตวั ชีว้ ดั
และสาระการเรยี นรู้ ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โดยพจิ ารณาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา-
ขั้นพื้นฐาน 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศกั ราช 2560) หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นไชยวานวทิ ยา
พทุ ธศกั ราช 2564 ซง่ึ มีองค์ประกอบดังน้ี

- วสิ ยั ทศั น์ หลักการ จดุ หมาย
- สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น
- คุณลักษณะอันพึงประสงค์
- สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
- ทักษะกระบวนการ
- คณุ ภาพผเู้ รยี น
- ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง
- รายวิชาท่เี ปิดสอน
- คาอธบิ ายรายวชิ าและโครงสร้างรายวิชาพ้นื ฐาน
- สือ่ /แหลง่ เรยี นรู้
- การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้
คณะผู้จดั ทาขอขอบคุณผ้ทู ่ีมีส่วนร่วมในการพัฒนาและจดั ทาหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ฉบับนี้ จนสาเร็จลลุ ่วงเปน็ อย่างดี และหวังเปน็ อยา่ งยงิ่ ว่าจะเกิดประโยชนต์ อ่ การจดั การเรียนรู้ใหก้ ับผูเ้ รยี น
ตอ่ ไป

คณะผ้จู ัดทา

ปีการศกึ ษา 2564

สำรบัญ หนำ้
2
เรื่อง 3
คานา 4
สารบญั 4
วิสยั ทศั น์ 4
หลักการ 5
จุดหมาย 5
สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น 5
คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 6
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 10
ทกั ษะและกระบวนการ 11
คณุ ภาพผูเ้ รียน 23
ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 24
รายวิชาทเ่ี ปดิ สอน
คาอธบิ ายรายวิชาและโครงสร้างรายวชิ าพื้นฐาน
ส่อื และแหลง่ เรยี นรู้
การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้
คณะผู้จดั ทา

วิสัยทัศนก์ ลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย
"กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย มงุ่ พัฒนาผู้เรยี นให้มคี วามรู้ ทักษะทางภาษาไทยนาไปใช้

ในการดารงชวี ิตและเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรใู้ นศาสตร์อื่น ๆ รักและภมู ิใจในภาษาไทย
ในฐานะเปน็ มรดกของชาติ”

หลักกำรและจดุ มุ่งหมำยของหลักสูตรแกนกลำงกำรศกึ ษำข้ันพ้ืนฐำน ๒๕๕๑
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน มงุ่ พฒั นาผูเ้ รยี นทุกคน ซงึ่ เปน็ กาลงั ของชาตใิ หเ้ ปน็ มนุษย์

ทีม่ ีความสมดุลท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดม่ัน-
ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน
รวมท้งั เจตคติ ทจี่ าเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชวี ิต โดยมุ่งเน้นผ้เู รยี น-
เป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อวา่ ทุกคนสามารถเรียนรูแ้ ละพฒั นาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ

หลกั กำร
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน มหี ลักการท่ีสาคัญ ดังน้ี

๑. เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาเพื่อความเปน็ เอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้
เป็นเป้าหมายสาหรับพฒั นาเดก็ และเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคณุ ธรรมบนพ้นื ฐานของ-
ความเปน็ ไทยควบคู่กบั ความเป็นสากล

๒. เป็นหลกั สูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ทป่ี ระชาชนทุกคนมโี อกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค
และมีคุณภาพ

๓. เป็นหลกั สูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมสี ่วนร่วมในการจดั การศกึ ษา
ใหส้ อดคล้องกบั สภาพและความต้องการของท้องถน่ิ

๔. เป็นหลักสตู รการศึกษาทีม่ ีโครงสร้างยืดหย่นุ ทงั้ ด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจดั การเรยี นรู้
๕. เป็นหลักสูตรการศึกษาทเี่ น้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ
๖. เปน็ หลกั สตู รการศึกษาสาหรับการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุม-
ทกุ กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

จุดหมำย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน มงุ่ พัฒนาผเู้ รียนให้เปน็ คนดี มปี ัญญา มคี วามสุข

มีศกั ยภาพในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชพี จึงกาหนดเปน็ จุดหมายเพื่อให้เกดิ กบั ผู้เรียน
เม่อื จบการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ดังน้ี

๑. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มทพี่ ึงประสงค์ เหน็ คุณค่าของตนเอง มวี ินัยและปฏบิ ัติตน
ตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนับถือ ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

๒. มคี วามรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทกั ษะชวี ติ
๓. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทีด่ ี มีสุขนสิ ัย และรักการออกกาลังกาย
๔. มคี วามรกั ชาติ มจี ติ สานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมนั่ ในวถิ ชี วี ิต
และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
๕. มจี ิตสานึกในการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย การอนรุ ักษ์และพัฒนาสิง่ แวดล้อม
มีจิตสาธารณะที่มงุ่ ทาประโยชนแ์ ละสรา้ งสิ่งที่ดงี ามในสังคม และอย่รู ่วมกนั ในสงั คมอย่างมคี วามสุข

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มุง่ ให้ผู้เรียนเกดิ สมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดังนี้
๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและสง่ สาร มีวฒั นธรรมในการใชภ้ าษา

ถ่ายทอดความคิด ความรูค้ วามเข้าใจ ความรสู้ ึก และทัศนะของตนเองเพอ่ื แลกเปลย่ี นข้อมลู ข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเองและสงั คม รวมทง้ั การเจรจาต่อรองเพอ่ื ขจัด
และลดปญั หาความขัดแย้งตา่ ง ๆ การเลอื กรบั หรือไม่รบั ข้อมลู ขา่ วสารดว้ ยหลกั เหตุผลและความถกู ต้อง
ตลอดจนการเลือกใชว้ ธิ ีการสื่อสาร ทมี่ ปี ระสิทธภิ าพโดยคานงึ ถึงผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและสังคม

๒. ความสามารถในการคิด เปน็ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคิดอยา่ ง-
สร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพอ่ื นาไปส่กู ารสรา้ งองคค์ วามรู้หรือสารสนเทศ
เพอื่ การตดั สินใจเก่ยี วกบั ตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอปุ สรรคต่าง ๆ ทเี่ ผชญิ -
ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เขา้ ใจความสัมพันธ์
และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณต์ า่ ง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรู้มาใช้ในการปอ้ งกัน
และแก้ไขปัญหา และมกี ารตัดสนิ ใจที่มีประสิทธภิ าพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบทเ่ี กดิ ขึน้ ตอ่ ตนเอง สงั คม
และสิ่งแวดลอ้ ม

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ เปน็ ความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ-
ดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรยี นรู้อยา่ งต่อเนื่อง การทางาน และการอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คม
ดว้ ยการสรา้ งเสริมความสัมพันธ์อนั ดีระหวา่ งบุคคล การจดั การปญั หาและความขัดแย้งตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสม
การปรับตัวใหท้ ันกับการเปลีย่ นแปลงของสงั คมและสภาพแวดลอ้ ม และการร้จู ักหลกี เล่ยี งพฤติกรรม-
ไมพ่ ึงประสงคท์ ่สี ่งผลกระทบต่อตนเองและผ้อู ืน่

๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยดี า้ นตา่ ง ๆ
และมที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพฒั นาตนเองและสงั คม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร
การทางาน การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน มงุ่ พัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เพือ่ ให้-

สามารถอย่รู ่วมกบั ผอู้ น่ื ในสงั คมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๒. ซื่อสตั ย์สุจรติ
๓. มวี ินยั
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยูอ่ ย่างพอเพียง
๖. มุ่งมน่ั ในการทางาน
๗. รกั ความเปน็ ไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ

สำระและมำตรฐำนกำรเรยี นรู้

สำระท่ี ๑ กำรอำ่ น

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคิดเพื่อนาไปใช้ตดั สนิ ใจ

แก้ปัญหาในการดาเนนิ ชวี ิต และมีนิสยั รักการอา่ น

สำระท่ี ๒ กำรเขยี น

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ

และเขยี นเร่ืองราวในรูปแบบตา่ งๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้

อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

สำระท่ี ๓ กำรฟัง กำรดู และกำรพูด

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดูอยา่ งมวี ิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และความรู้สกึ
ในโอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์

สำระที่ ๔ หลักกำรใชภ้ ำษำไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษา และพลังของ
ภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัตขิ องชาติ

สำระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคุณค่า
และนามาประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ

ทักษะและกระบวนกำรกลุม่ สำระวชิ ำภำษำไทย

กลุม่ สาระวชิ าภาษาไทย ไดใ้ ช้ทักษะที่จาเปน็ ในการจัดการเรยี นรู้ และมีขัน้ ตอนดงั นี้
๑. ทกั ษะกระบวนการ ๙ ขน้ั มีขน้ั ตอนดังน้ี

๑.๑ ตระหนกั ในปญั หาและความจาเป็น
ครยู กสถานการณต์ ัวอยา่ งใหผ้ ้เู รียนเขา้ ใจและตระหนักในปญั หา ความจาเป็นของเรื่องที่จะ
ศกึ ษาหรือเหน็ ประโยชน์ ความสาคญั ของการศึกษาน้นั ๆ โดยครูอาจนาเสนอเป็นกรณตี ัวอย่าง หรือ
สถานการณ์ท่สี ะท้อนใหเ้ หน็ ปัญหาความขดั แยง้ ของเร่ืองท่ีจะศกึ ษาโดยใช้สือ่ ประกอบ เชน่ รูปภาพ วิดีทัศน์
สถานการณ์จริง กรณีตวั อย่าง สไลด์ ฯลฯ
๑.๒ คดิ วเิ คราะหว์ ิจารณ์
ครูกระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนได้คดิ วเิ คราะห์ วิจารณ์ ตอบคาถาม แบบฝึกหดั ข้อมูลและให้โอกาสผู้เรยี น
แสดงความคิดเหน็ เป็นกลุม่ หรือรายบคุ คล
๑.๓ สรา้ งทางเลอื กให้หลากหลาย
เปน็ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นแสวงหาทางเลอื กในการแก้ปญั หาอยา่ งหลากหลายโดยรว่ มกันคดิ เสนอ
ทางเลือก และอภิปรายข้อดขี ้อเสียของทางเลือกน้นั ๆ
๑.๔ ประเมินและเลือกทางเลือก
ใหผ้ ู้เรียนพจิ ารณาตดั สนิ เลือกแนวทางในการแก้ปญั หาโดยร่วมกันสร้างเกณฑท์ ต่ี ้องนึกถงึ ปจั จยั วธิ ีดาเนนิ การ
ผลผลติ ขอ้ จากัด ความเหมาะสม กาลเทศะ เพอ่ื ใช้ในการพจิ ารณาการเลือกแนวทางการแกป้ ญั หา ซงึ่ อาจใช้
วิธรี ะดมพลงั สมอง อภิปราย ศกึ ษาค้นคว้าเพิ่มเติม

๑.๕ กาหนดและลาดับขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ
ให้ผูเ้ รยี นวางแผนการทางานของตนเองหรือกลุ่ม อาจใชล้ าดบั ขน้ั การดาเนนิ งานดังนี้

- ศกึ ษาข้อมูลพน้ื ฐาน
- กาหนดวัตถปุ ระสงค์
- กาหนดข้ันตอนการทางาน
- กาหนดผรู้ ับผดิ ชอบ (กรณที างานร่วมกนั เปน็ กล่มุ )
- กาหนดระยะเวลาการทางาน
- กาหนดวธิ กี ารประเมนิ ผล
๑.๖ ปฏิบตั ดิ ้วยความช่นื ชม
เป็นโอกาสให้ผู้เรียนไดป้ ฏบิ ตั ติ ามขัน้ ตอนที่กาหนดไว้ดว้ ยความสมัครใจ ตงั้ ใจมีความ
กระตือรือรน้ และเพลดิ เพลินกับการทางาน
๑.๗ ประเมนิ ระหว่างปฏิบตั ิ
ผู้เรียนไดส้ ารวจปญั หาอปุ สรรคในการปฏิบัตงิ านโดยการซกั ถามอภิปรายแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ มกี าร
ประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านตามขั้นตอนและตามแผนที่กาหนดไว้ โดยสรุปผลการทางานแต่ละช่วง แลว้ นาเสนอ
แนวทางการปรบั ปรงุ การทางานขน้ั ตอ่ ไป
๑.๘ ปรบั ปรุงให้ดีข้ึนอยู่เสมอ
ผ้เู รยี นนาผลท่ีได้จากการประเมนิ ในแต่ละข้ันตอนมาเปน็ แนวทางในการพัฒนางานให้มปี ระสทิ ธภิ าพยิง่ ขนึ้
๑.๙ ประเมินผลรวมเพอ่ื ใหเ้ กิดความภมู ิใจ
ผเู้ รียนสรุปผลการดาเนินงาน โดยการเปรยี บเทยี บผลงานกับวัตถุประสงค์ที่กาหนดไวแ้ ละผลพลอยไดอ้ ่ืนๆ ซึง่
อาจเผยแพร่ขยายผลงานแกผ่ อู้ นื่ ได้รบั ดว้ ยความเตม็ ใจ
๒. กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด มขี ้นั ตอนดงั น้ี

๒.๑ สงั เกต
ให้ผเู้ รียนรบั รขู้ ้อมูล และศกึ ษาด้วยวิธกี ารต่างๆโดยใชส้ ือ่ ประกอบเพื่อกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียนเกดิ
ขอ้ กาหนดเฉพาะดว้ ยตนเอง
๒.๒ จาแนกความแตกตา่ ง
ให้ผู้เรยี นบอกข้อแตกต่างของสิ่งทรี่ ับรู้และใหเ้ หตุผลในความแตกตา่ งน้นั
๒.๓ หาลักษณะร่วม
ผเู้ รียนมองเหน็ ความเหมือนในภาพของสิ่งที่รบั รแู้ ละสรปุ เปน็ วิธกี าร หลกั การ คาจากดั ความ
หรอื นิยามได้
๒.๔ ระบุชอื่ ความคิดรวบยอด
ผ้เู รยี นได้ความคดิ รวบยอดเก่ยี วกับส่งิ ทร่ี ับรู้
๒.๕ ทดสอบและนาไปใช้
ผเู้ รยี นได้ทดลอง ทดสอบ สงั เกต ทาแบบฝกึ หดั ปฏิบตั ิ เพอ่ื ประเมนิ ความรู้

๓. กระบวนการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ

เปน็ ความสามารถทางกระบวนการทางปญั ญาท่เี กยี่ วข้องกับการรบั รู้ เกดิ ความจา เขา้ ใจ จนถึงขัน้
การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าตามแนวของ BLOOM แนวหนงึ่ อีกแนวหน่ึงเป็นแนวคิดของ
GAGNE ทเ่ี ป็นกระบวนการเริ่มจากสญั ลกั ษณท์ างภาษาจนโยงเปน็ ความคิดรวบยอด เป็นกฎเกณฑ์และ
นากฎเกณฑ์ไปใช้และเพอ่ื ให้ง่ายต่อการสอนซ่งึ ไม่จาเป็นต้องใชเ้ ปน็ ข้ันๆ อาจจะเลือกใชเ้ ทคนคิ ใดก่อนหลังก็ได้
ข้นึ อยูก่ ับการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน แต่ควรพยายามกระตนุ้ ให้ผู้เรียนผา่ นขัน้ ตอนยอ่ ยทกุ ขั้นตอน

๓.๑ สังเกต
เนน้ การให้ทากิจกรรมรบั รู้แบบปรนยั เข้าใจ ไดค้ วามคอดรวบยอด เช่อื มโยงความสัมพนั ธ์
ของสิ่งตา่ งๆ สรุปเป็นใจความสาคัญครบถว้ น ตรงตามหลักฐานข้อมูล
๓.๒ อธิบาย
ใหผ้ เู้ รยี นตอบคาถาม แสดงความคิดเห็น เชิงเห็นดว้ ยไม่เห็นดว้ ยกบั สิ่งที่กาหนดเน้นการใช้
เหตผุ ลด้วยหลักการกฎเกณฑ์ อ้างหลกั ฐานข้อมูลประกอบให้นา่ เชอ่ื ถือ
๓.๓ รบั ฟัง
ใหผ้ ูเ้ รียนได้ฟังความคิดเห็นได้ตอบคาถามวพิ ากษว์ จิ ารณ์จากผอู้ นื่ ทมี่ ีต่อความคิดของตน เนน้
การปรับเปลย่ี นความคดิ เดิมของตนตามเหตุผลหรือข้อมูลที่ดี โดยไม่ใชอ้ ารมณห์ รอื ด้ือเพ่งต่อความคดิ เดิม
๓.๔ เชือ่ มโยงความสัมพนั ธ์
ให้ผเู้ รยี นได้เปรียบเทยี บความแตกตา่ ง และความคล้ายคลงึ ของสิ่งตา่ งๆใหส้ รุปจดั กลุม่ สง่ิ ท่ี
เป็นพวกเดียวกัน เช่ือมโยงเหตกุ ารณ์เชิงหาเหตุและผล หากกฎเกณฑ์การเช่อื มโยงในลักษณะอุปมาอุปมัย
๓.๕ วิจารณ์
จัดกจิ กรรมให้วิเคราะห์เหตุการณ์ คากล่าว แนวคิด หรอื การกระทา แล้วให้จาแนกหา
จดุ เด่น-จดุ ดอ้ ย ส่วนดี-ส่วนเสยี ส่วนสาคัญ-ไมส่ าคัญ จากส่ิงนนั้ ดว้ ยการยกเหตุผล หลักการ มาประกอบ
การวจิ ารณ์
๓.๖ สรปุ
จัดกิจกรรมให้พิจารณาสว่ นประกอบของการกระทาหรือข้อมูลตา่ งๆท่ีเช่ือมโยงเกี่ยวข้องกัน
แลว้ ให้สรปุ ผลอยา่ งตรงและถูกต้องตามหลักฐานข้อมูล
๔. กระบวนการปฏิบตั ิ
เป็นกระบวนการท่ีมงุ่ ให้ผู้เรยี นปฏบิ ัตจิ นเกดิ ทักษะ มขี ้ันตอนดังน้ี
๔.๑ สังเกตรับรู้
ให้ผเู้ รียนไดเ้ หน็ ตัวอย่างหลากหลายจนเกิดความเขา้ ใจและสรปุ ความคิดรวบยอด
๔.๒ ทาตามแบบ
ทาตามตัวอย่างทีแ่ สดงใหเ้ หน็ ทลี ะข้ันตอนจากขน้ั พน้ื ฐานไปสู่งานทีซ่ ับซ้อนข้นึ
๔.๓ ทาเองโดยไมม่ ีแบบ
เปน็ การให้ฝึกปฏบิ ตั ิชนดิ ครบถว้ นกระบวนการทางาน ตัง้ แตต่ ้นจนจนด้วยตนเอง
๔.๔ ฝึกใหช้ านาญ
ให้ปฏบิ ัตดิ ้วยตนเองจนเกิดความชานาญ หรือทาได้โดยอตั โนมตั ิ ซงึ่ อาจเปน็ งานช้ินเดิมหรอื
งานที่คิดข้ึนใหม่

๕. กระบวนการเรียนภาษา
เปน็ กระบวนการท่มี งุ่ ใหเ้ กิดการพฒั นาทักษะทางภาษา มขี ้นั ตอนดงั นี้
๕.๑ ทาความเข้าใจสญั ลกั ษณ์ สอ่ื รปู ภาพ รปู แบบ เคร่ืองหมาย ผ้เู รยี นรับร้เู กย่ี วกบั

ความหมายของคา กลุม่ คา ประโยคและถ้อยคา สานวนต่างๆ
๕.๒ สรา้ งความคดิ รวบยอด
ผู้เรียนเกดิ การเช่อื มโยงความรจู้ ากประสบการณ์ มาสู่ความเข้าใจและเกิดภาพรวมเก่ียวกบั ส่ิง

ทเ่ี รียนด้วยตนเอง
๕.๓ ส่อื ความหมาย ความคิด
ผู้เรยี นถา่ ยทอดทางภาษาให้ผู้อนื่ เขา้ ใจได้
๕.๔ พฒั นาความสามารถ
ผู้เรียนเกดิ การเรยี นรู้ตามขั้นตอนคือความรู้ความจา เข้าใจ นาไปใช้วิเคราะห์ สังเคราะห์

และประเมนิ ค่าได้

๖. กระบวนการกล่มุ
เป็นกระบวนการมุ่งให้ผูเ้ รยี นทางานรว่ มกนั โดยเน้นกิจกรรมดังนี้
๖.๑ มีผนู้ ากลุม่ ซ่งึ อาจผลัดเปลี่ยนกัน
๖.๒ วางแผนกาหนดวัตถปุ ระสงคแ์ ละวิธีการ
๖.๓ รับฟงั ความคิดเห็นจากสมาชกิ ทกุ คนบนพนื้ ฐานของเหตผุ ล
๖.๔ แบ่งหน้าทีร่ บั ผดิ ชอบ เมื่อมีการปฏิบตั ิ
๖.๕ ตดิ ตามผลการปฏิบตั ิและปรบั ปรุง
๖.๖ ประเมินผลรวมและช่ืนชมในผลงานของคณะ

๗. กระบวนการเรียนความรู้ความเข้าใจ

ใช้กับการเรยี นเนือ้ หาเชิงความร้ตู ามความจริง มขี ้ันตอนดงั นี้
๗.๑ สังเกต ตระหนัก
พิจารณาข้อมลู สาระความรู้ เพ่ือความสร้างความคดิ รวบยอด กระตนุ้ ให้ตั้งคาถาม ตัง้

ข้อสังเกต สังเคราะหข์ ้อมลู เพ่อื ทาความเข้าใจในสง่ิ ที่ตอ้ งการเรียนรู้ และกาหนดเปน็ วัตถุประสงค์เป็นแนวทาง
ทจ่ี ะแสวงหาคาตอบต่อไป

๗.๒ วางแผนปฏิบัติ
นาวัตถุประสงค์หรือคาถามทท่ี ุกคนสนใจจะหาคาตอบมาวางแผนเพื่อกาหนดแนวทางปฏบิ ัติ
ที่เหมาะสม
๗.๓ ลงมือปฏบิ ตั ิ
กาหนดให้สมาชิกในกลุม่ ย่อย ๆ ไดแ้ สวงหาคาตอบจากแหลง่ ความร้ดู ้วยวธิ ีต่างๆ เชน่ คน้ คว้า
ศกึ ษานอกสถานที่ หาข้อมูลจากองค์กรในชมุ ชน ฯลฯ ตามแผนที่วางไว้
๗.๔ พฒั นาความรคู้ วามเข้าใจ
นาความรู้ที่ไดม้ ารายงานและอภิปรายเชิงแปลความ ตีความ ขยายความ นาไปใชว้ เิ คราะห์
สังเคราะห์ และประเมนิ ค่า
๗.๕ สรุป

คณุ ภำพของผูเ้ รียน

จบชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓

อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองเปน็ ทานองเสนาะได้ถูกต้อง เข้าใจความหมายโดยตรง
และความหมายโดยนัย จบั ใจความสาคญั และรายละเอียดของสิ่งท่ีอา่ น แสดงความคดิ เห็น และขอ้ โต้แยง้
เกี่ยวกับเรอื่ งท่อี ่าน และเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด ย่อความ เขยี นรายงานจากสิง่ ท่ีอ่านได้ วิเคราะห์
วิจารณ์อยา่ งมีเหตผุ ล ลาดับความอย่างมีข้นั ตอนและความเปน็ ไปได้ของเรื่องท่ีอ่าน รวมทง้ั ประเมนิ ความ
ถกู ต้องของข้อมลู ทใ่ี ชส้ นบั สนุนจากเรอ่ื งที่อา่ น

เขยี นส่ือสารด้วยลายมอื ที่อ่านงา่ ยชัดเจน ใชถ้ อ้ ยคาได้ถูกต้องเหมาะสมตามระดับภาษา

เขยี นคาขวญั คาคม คาอวยพรในโอกาสต่างๆ โฆษณา คติพจน์ สุนทรพจน์ ชวี ประวตั ิ อัตชวี ประวตั ิ

และประสบการณต์ า่ งๆ เขียนยอ่ ความ จดหมายกจิ ธุระ แบบกรอกสมัครงาน เขยี นวเิ คราะหว์ ิจารณ์

และแสดงความรูค้ วามคิดหรือโตแ้ ย้งอย่างมีเหตุผล ตลอดจนเขียนรายงาน และโครงงานการศึกษาค้นคว้า

พูดแสดงความคดิ เห็น วเิ คราะห์วจิ ารณ์ ประเมนิ ส่ิงทไี่ ดจ้ ากการฟงั และดู นาข้อคดิ ไปประยกุ ต์ใช้
ในชวี ิตประจาวัน พูดรายงานเรอ่ื งหรือประเดน็ ที่ได้จากการศึกษาคน้ คว้าอย่างเป็นระบบ มีศลิ ปะในการพดู
พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ และพดู โน้มนา้ วอยา่ งมีเหตผุ ล รวมทง้ั มีมารยาทในการฟงั
ดแู ละพูด

เข้าใจและใช้คาราชาศัพท์ คาบาลสี นั สกฤต คาภาษาต่างประเทศอื่นๆ คาทบั ศัพท์

และศัพทบ์ ญั ญตั ใิ นภาษาไทย วิเคราะหค์ วามแตกตา่ งในภาษาพดู ภาษาเขยี น โครงสรา้ งของประโยครวม
ประโยคซอ้ น ลักษณะภาษาท่ีเปน็ ทางการ ก่ึงทางการ และไม่เป็นทางการ และแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอน
สุภาพ กาพย์ และโคลงส่ีสภุ าพ

สรุปเนอ้ื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอา่ น วิเคราะห์ตวั ละครสาคญั วิถีชีวติ ไทย และคุณคา่ ทไ่ี ดร้ ับ
จากวรรณคดี วรรณกรรม และบทอาขยาน พร้อมทง้ั สรุปความรู้ ข้อคดิ เพ่ือนาไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ จรงิ

จบชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖

อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะได้ถูกต้องและเข้าใจ ตีความ แปลความ
และขยายความเรอ่ื งท่ีอา่ นได้ วเิ คราะห์วิจารณ์เรอ่ื งท่ีอา่ น แสดงความคดิ เห็นโต้แย้ง และเสนอความคดิ ใหม่
จากการอ่านอย่างมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณจ์ ากเร่ืองท่ีอา่ น เขยี นกรอบแนวคิด ผังความคิด บนั ทกึ

ยอ่ ความ และเขยี นรายงานจากสิ่งที่อ่าน สังเคราะห์ ประเมินคา่ และนาความรู้ความคดิ จากการอ่านมาพัฒนา
ตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรทู้ างอาชีพ และนาความร้คู วามคิด ไปประยุกตใ์ ช้แกป้ ญั หา ในการ
ดาเนนิ ชีวติ มมี ารยาท และมีนสิ ัยรักการอ่าน

เขียนส่อื สารในรปู แบบต่างๆ โดยใชภ้ าษาไดถ้ ูกต้องตรงตามวัตถปุ ระสงค์ ย่อความจากสือ่ ที่มีรูปแบบ
และเนอ้ื หาท่หี ลากหลาย เรยี งความแสดงแนวคิดเชิงสรา้ งสรรค์โดยใช้โวหารต่างๆ เขยี นบันทกึ รายงาน-
การศึกษาคน้ ควา้ ตามหลกั การเขยี นทางวชิ าการ ใช้ข้อมลู สารสนเทศในการอ้างอิง ผลิตผลงานของตนเองใน
รูปแบบตา่ งๆ ท้งั สารคดีและบันเทิงคดี รวมทง้ั ประเมนิ งานเขยี นของผู้อ่นื และนามาพัฒนางานเขยี น-
ของตนเอง

ตัง้ คาถามและแสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกบั เร่อื งทฟ่ี ังและดู มีวิจารณญาณในการเลอื กเร่ืองท่ีฟัง และดู
วิเคราะห์วตั ถปุ ระสงค์ แนวคิด การใชภ้ าษา ความน่าเช่ือถือของเร่อื งที่ฟงั และดู ประเมินสิง่ ทีฟ่ งั และดแู ลว้
นาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนินชีวติ มที กั ษะการพูดในโอกาสตา่ งๆ ท้งั ทเ่ี ปน็ ทางการและไม่เปน็ ทางการโดย

ใชภ้ าษาทถ่ี กู ตอ้ ง พดู แสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว และเสนอแนวคดิ ใหม่อย่างมีเหตุผล รวมทั้งมมี ารยาท
ในการฟัง ดู และพูด

เข้าใจธรรมชาติของภาษา อิทธพิ ลของภาษา และลกั ษณะของภาษาไทย ใช้คาและกลุ่มคา-
สรา้ งประโยคได้ตรงตามวัตถุประสงค์ แตง่ คาประพนั ธป์ ระเภท กาพย์ โคลง ร่ายและฉันท์ ใช้ภาษาได้-
เหมาะสมกบั กาลเทศะ และใช้คาราชาศพั ท์และคาสภุ าพไดอ้ ย่างถูกต้อง วเิ คราะห์หลกั การสรา้ งคาใน
ภาษาไทย อทิ ธพิ ลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย และภาษาถ่ิน วเิ คราะห์และประเมนิ การใช้ภาษาจากสอ่ื
ส่ิงพิมพแ์ ละสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์

วเิ คราะห์วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรม ตามหลักการวจิ ารณ์วรรณคดีเบื้องตน้ รู้และเข้าใจลกั ษณะ-
เด่นของวรรณคดี ภมู ปิ ัญญาทางภาษาและวรรณกรรมพนื้ บ้าน เชอื่ มโยงกบั การเรยี นรูท้ างประวัตศิ าสตร์และ
วิถีไทย ประเมินคุณค่าดา้ นวรรณศลิ ป์ และนาข้อคดิ จากวรรณคดแี ละวรรณกรรม ไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ

ตัวชว้ี ดั และสำระกำรเรียนรู้แกนกลำง

สำระท่ี ๑ กำรอ่ำน

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสนิ ใจ

แกป้ ญั หาในการดาเนนิ ชวี ติ และมีนสิ ัยรกั การอา่ น

ชนั้ ตัวช้วี ัด สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง

ม.๑ ๑. อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้  การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย
และบทร้อยกรองไดถ้ ูกต้องเหมาะสม - บทรอ้ ยแกว้ ท่เี ป็นบทบรรยาย
กับเรือ่ งทอี่ า่ น - บทรอ้ ยกรอง เช่น กลอนสุภาพ กลอนสักวา
กาพยย์ านี ๑๑ กาพยฉ์ บัง ๑๖
๒. จับใจความสาคัญจากเรอ่ื งท่ีอ่าน
กาพยส์ ุรางคนางค์ ๒๘ และโคลงสสี่ ุภาพ

 การอ่านจับใจความจากส่อื ตา่ งๆ เชน่

๓. ระบเุ หตุและผล และขอ้ เท็จจรงิ กบั - เรอ่ื งเลา่ จากประสบการณ์
ขอ้ คดิ เห็นจากเร่ืองทอ่ี ่าน - เร่ืองสัน้
๔. ระบแุ ละอธบิ ายคาเปรยี บเทยี บ และ - บทสนทนา
คาทีม่ หี ลายความหมายในบรบิ ทตา่ งๆ - นิทานชาดก
จากการอ่าน - วรรณคดีในบทเรียน
๕. ตคี วามคายากในเอกสารวิชาการ - งานเขยี นเชงิ สร้างสรรค์
โดยพิจารณาจากบริบท - บทความ

๖. ระบขุ อ้ สงั เกตและความสมเหตสุ มผล - สารคดี
ของงานเขยี นประเภทชกั จูง โน้มนา้ วใจ - บนั เทิงคดี
- เอกสารทางวิชาการที่มีคา ประโยค และข้อความ
ทต่ี อ้ งใช้บรบิ ทชว่ ยพจิ ารณาความหมาย
- งานเขียนประเภทชกั จูงโนม้ นา้ วใจเชงิ สรา้ งสรรค์

๗. ปฏบิ ตั ิตามคู่มอื แนะนาวิธีการใชง้ าน  การอ่านและปฏิบตั ิตามเอกสารคมู่ อื
ของเคร่ืองมือหรือเครื่องใชใ้ นระดบั ท่ียาก
ข้นึ  การอา่ นหนังสอื ตามความสนใจ เชน่
- หนงั สอื ที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกบั วัย
๘. วิเคราะหค์ ณุ คา่ ท่ีได้รบั จากการอา่ น - หนังสอื อ่านทีค่ รูและนักเรยี นกาหนดรว่ มกนั
งานเขียนอยา่ งหลากหลายเพ่อื นาไปใช้  มารยาทในการอ่าน
แก้ปญั หาในชวี ติ

๙. มีมารยาทในการอ่าน

ม.๒ ๑. อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว และ  การอา่ นออกเสียง ประกอบด้วย
บทร้อยกรองได้ถูกต้อง - บทร้อยแก้วทเี่ ปน็ บทบรรยายและบทพรรณนา

- บทรอ้ ยกรอง เชน่ กลอนบทละคร กลอนนทิ าน
กลอนเพลงยาว และกาพยห์ อ่ โคลง

๒. จับใจความสาคัญ สรปุ ความ และ  การอ่านจบั ใจความจากสอื่ ตา่ งๆ เชน่

อธบิ ายรายละเอยี ดจากเรือ่ งทอี่ า่ น - วรรณคดีในบทเรยี น

๓. เขียนผังความคิดเพื่อแสดงความเข้าใจใน - บทความ
บทเรียนต่างๆ ท่อี ่าน
- บนั ทกึ เหตุการณ์
๔. อภิปรายแสดงความคิดเหน็ และ
ข้อโตแ้ ยง้ เกีย่ วกบั เรอื่ งทอี่ า่ น - บทสนทนา
- บทโฆษณา
๕. วเิ คราะหแ์ ละจาแนกข้อเทจ็ จริง ขอ้ มูล - งานเขยี นประเภทโนม้ นา้ วใจ
สนบั สนนุ และขอ้ คิดเหน็ จากบทความที่
อ่าน - งานเขียนหรอื บทความแสดงขอ้ เท็จจริง
๖. ระบขุ อ้ สังเกตการชวนเช่ือ การ โนม้ - เรือ่ งราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้
น้าว หรอื ความสมเหตุสมผลของงานเขยี น ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรยี นรู้อ่ืน

๗. อา่ นหนงั สือ บทความ หรอื คาประพนั ธ์  การอา่ นตามความสนใจ เชน่

อยา่ งหลากหลาย และประเมินคณุ ค่าหรอื - หนังสอื อา่ นนอกเวลา
แนวคดิ ท่ีไดจ้ ากการอ่าน เพือ่ นาไปใช้
แก้ปญั หาในชวี ิต - หนังสอื ท่ีนกั เรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย
- หนังสืออา่ นที่ครแู ละนกั เรยี นกาหนดร่วมกัน

๘. มมี ารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน

ม.๓ ๑. อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้ว และ  การอ่านออกเสียง ประกอบดว้ ย

บทรอ้ ยกรองไดถ้ กู ตอ้ งและเหมาะสมกบั - บทรอ้ ยแกว้ ทเี่ ป็นบทความท่วั ไปและบทความ
เรือ่ งท่ีอ่าน
ปกณิ กะ

- บทร้อยกรอง เช่น กลอนบทละคร กลอนเสภา
กาพยย์ านี ๑๑ กาพยฉ์ บัง ๑๖ และโคลงส่สี ุภาพ

๒. ระบุความแตกตา่ งของคาท่มี ี  การอ่านจับใจความจากส่อื ตา่ งๆ เชน่
ความหมายโดยตรงและความหมาย - วรรณคดีในบทเรยี น
โดยนัย - ข่าวและเหตกุ ารณส์ าคญั

๓. ระบุใจความสาคญั และรายละเอยี ด - บทความ

ของข้อมูลที่สนบั สนุนจากเรื่องทอ่ี ่าน - บนั เทงิ คดี

๔. อ่านเร่ืองตา่ งๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด - สารคดี
ผงั ความคิด บันทึก ย่อความและรายงาน - สารคดีเชิงประวัติ
๕. วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และประเมนิ เรอ่ื ง
ที่อา่ นโดยใชก้ ลวธิ ีการเปรยี บเทียบเพอ่ื ให้ - ตานาน
ผอู้ ่านเขา้ ใจไดด้ ีขนึ้ - งานเขียนเชงิ สร้างสรรค์

๖. ประเมนิ ความถกู ต้องของขอ้ มูล - เรอื่ งราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้
ท่ีใชส้ นบั สนนุ ในเร่อื งท่ีอ่าน ภาษาไทย และกลุม่ สาระการเรียนรูอ้ ื่น

๗. วจิ ารณ์ความสมเหตุสมผล การลาดบั
ความ และความเปน็ ไปได้ของเร่อื ง

๘. วิเคราะห์เพื่อแสดงความคดิ เหน็ โตแ้ ยง้
เก่ยี วกับเรอ่ื งท่ีอ่าน

๙. ตีความและประเมินคุณค่า และ  การอ่านตามความสนใจ เชน่
แนวคิดท่ไี ดจ้ ากงานเขยี นอยา่ ง
หลากหลายเพ่อื นาไปใชแ้ กป้ ัญหาในชวี ติ - หนงั สอื อ่านนอกเวลา

- หนังสืออา่ นตามความสนใจและตามวัยของ
นกั เรียน

- หนังสอื อ่านทีค่ รแู ละนักเรียนรว่ มกนั กาหนด

๑๐. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน

ม.๔-ม.๖ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และ  การอา่ นออกเสยี ง ประกอบด้วย
บทรอ้ ยกรองไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ไพเราะ
และเหมาะสมกบั เรอื่ งทีอ่ า่ น - บทรอ้ ยแก้วประเภทตา่ งๆ เชน่ บทความ นว
นิยาย และความเรียง

- บทร้อยกรอง เช่น โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน ร่าย
และลิลติ

๒. ตคี วาม แปลความ และขยายความ  การอา่ นจับใจความจากส่ือตา่ งๆ เชน่
เร่อื งที่อ่าน
- ขา่ วสารจากสื่อสิง่ พมิ พ์ ส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ และ
๓. วิเคราะหแ์ ละวิจารณเ์ รือ่ งท่อี า่ น แหลง่ เรียนร้ตู า่ ง ๆ ในชมุ ชน
ในทกุ ๆ ด้านอยา่ งมีเหตผุ ล
- บทความ - นิทาน
๔. คาดคะเนเหตกุ ารณจ์ ากเรื่องท่อี ่าน
และประเมนิ คา่ เพ่ือนาความรู้ ความคดิ ใช้ - เร่อื งส้ัน - นวนยิ าย
ตัดสนิ ใจแกป้ ญั หาการดาเนินชวี ติ
- วรรณกรรมพืน้ บ้าน - วรรณคดีในบทเรยี น
๕. วเิ คราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น
โตแ้ ย้งกบั เร่อื งท่อี ่าน และเสนอความคดิ - บทโฆษณา - สารคดี
ใหมอ่ ยา่ งมเี หตผุ ล
- บันเทงิ คดี - ปาฐกถา
๖. ตอบคาถามจากการอ่านประเภท
ตา่ งๆ ภายในเวลาทก่ี าหนด - พระบรมราโชวาท - เทศนา

- คาบรรยาย - คาสอน

- บทร้อยกรองร่วมสมัย

๗. อ่านเร่ืองต่างๆ แลว้ เขียนกรอบแนวคิด - บทเพลง

ผังความคดิ บนั ทึก ยอ่ ความ และรายงาน - บทอาเศยี รวาท

๘. สงั เคราะห์ความรจู้ ากการอา่ น - คาขวญั

สอ่ื สง่ิ พิมพ์ ส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ และแหล่ง

เรยี นรตู้ ่างๆ มาพฒั นาตน พัฒนาการ

เรียน และพฒั นาความรู้ ทางอาชีพ

๙. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน

สำระท่ี ๒ กำรเขยี น

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นสอื่ สาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ

และเขียนเร่อื งราวในรูปแบบต่างๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้

อย่างมีประสทิ ธิภาพ

ชน้ั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ม.๑ ๑. คัดลายมือตวั บรรจงครงึ่ บรรทดั  การคดั ลายมือตวั บรรจงครงึ่ บรรทดั ตาม
รปู แบบการเขยี นตัวอกั ษรไทย

๒. เขยี นสอ่ื สารโดยใช้ถ้อยคาถูกต้อง  การเขียนสอ่ื สาร เช่น
ชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย
- การเขยี นแนะนาตนเอง

- การเขยี นแนะนาสถานที่สาคญั ๆ

- การเขยี นบนสื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์

๓. เขยี นบรรยายประสบการณโ์ ดยระบุ  การบรรยายประสบการณ์
สาระสาคญั และรายละเอียดสนบั สนนุ

๔. เขยี นเรียงความ  การเขียนเรยี งความเชงิ พรรณนา

๕. เขียนย่อความจากเรอ่ื งทอ่ี ่าน  การเขียนยอ่ ความจากส่ือต่างๆ เช่น เรอ่ื ง
ส้ัน คาสอน โอวาท คาปราศรยั สุนทรพจน์

รายงาน ระเบยี บ คาสงั่ บทสนทนาเรือ่ งเล่า

ประสบการณ์

๖. เขียนแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกบั  การเขียนแสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกับสาระ

สาระจากสื่อทไี่ ดร้ บั จากสอ่ื ต่างๆ เชน่
- บทความ - หนังสอื อ่านนอกเวลา

- ขา่ วและเหตกุ ารณป์ ระจาวัน
- เหตุการณส์ าคญั ต่างๆ

๗. เขียนจดหมายสว่ นตวั และจดหมาย  การเขยี นจดหมายส่วนตวั
กจิ ธุระ - จดหมายขอความช่วยเหลือ - จดหมายแนะนา

 การเขียนจดหมายกิจธุระ
- จดหมายสอบถามขอ้ มลู

๘. เขยี นรายงานการศึกษาค้นคว้าและ  การเขยี นรายงาน ไดแ้ ก่
โครงงาน
- การเขียนรายงานจากการศึกษาคน้ ควา้

- การเขยี นรายงานโครงงาน

๙. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน

๘. มมี ารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขยี น

ม.๒ ๑. คดั ลายมือตวั บรรจงคร่ึงบรรทัด  การคดั ลายมือตวั บรรจงครึง่ บรรทดั ตาม
รปู แบบการเขียนตัวอกั ษรไทย

๒. เขียนบรรยายและพรรณนา  การเขียนบรรยายและพรรณนา

๓. เขยี นเรียงความ  การเขยี นเรยี งความเกีย่ วกบั ประสบการณ์

๔. เขยี นย่อความ  การเขยี นย่อความจากส่ือต่างๆ เช่น นทิ าน
คาสอน บทความทางวชิ าการ บนั ทกึ เหตุการณ์
เรือ่ งราวในบทเรียนในกลุม่ สาระการเรียนรู้อื่น
นิทานชาดก

๕. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า  การเขยี นรายงาน

- การเขยี นรายงานจากการศกึ ษาคน้ ควา้

- การเขยี นรายงานโครงงาน

๖. เขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ  การเขียนจดหมายกิจธรุ ะ

- จดหมายเชิญวิทยากร

- จดหมายขอความอนุเคราะห์

๗. เขยี นวเิ คราะห์ วิจารณ์ และ  การเขยี นวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้

แสดงความรู้ ความคิดเหน็ หรือโตแ้ ยง้ ความคิดเหน็ หรอื ขอ้ โตแ้ ยง้ จากสื่อตา่ งๆ เชน่

ในเรอื่ งทอี่ ่านอย่างมเี หตผุ ล - บทความ

- บทเพลง

- หนงั สืออ่านนอกเวลา

- สารคดี

- บันเทิงคดี

๘. มีมารยาทในการเขยี น  มารยาทในการเขียน

ม.๓ ๑. คัดลายมือตวั บรรจงคร่งึ บรรทัด  การคดั ลายมอื ตัวบรรจงครง่ึ บรรทัดตาม

รูปแบบการเขยี นตัวอักษรไทย

๒. เขยี นข้อความโดยใช้ถ้อยคาได้  การเขยี นข้อความตามสถานการณ์และ

ถูกต้องตามระดับภาษา โอกาสต่างๆ เชน่

- คาอวยพรในโอกาสต่างๆ - คาขวัญ

- คาคม - โฆษณา

- คตพิ จน์ - สุนทรพจน์

๓. เขียนชวี ประวัติหรอื อตั ชวี ประวัติ  การเขยี นอตั ชวี ประวตั หิ รือชวี ประวัติ

โดยเล่าเหตุการณ์ ข้อคิดเหน็ และ

ทศั นคตใิ นเร่ืองตา่ งๆ

๔. เขยี นยอ่ ความ  การเขยี นย่อความจากส่ือต่างๆ เช่น นทิ าน

ประวัติ ตานาน สารคดที างวิชาการ พระราชดารัส

พระบรมราโชวาท จดหมายราชการ

๕. เขยี นจดหมายกิจธรุ ะ  การเขยี นจดหมายกิจธรุ ะ

- จดหมายเชิญวทิ ยากร

- จดหมายขอความอนุเคราะห์

- จดหมายแสดงความขอบคุณ

๖. เขยี นอธิบาย ชแ้ี จง แสดงความ  การเขียนอธบิ าย ชีแ้ จง แสดงความคิดเห็น

คดิ เห็นและโตแ้ ยง้ อยา่ งมีเหตุผล และโต้แย้งในเรื่องตา่ งๆ

๗. เขยี นวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดง  การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดง

ความรู้ ความคดิ เหน็ หรือโตแ้ ยง้ ความรู้ ความคดิ เห็น หรือโต้แยง้ จากสอื่ ต่างๆ

ในเร่อื งตา่ งๆ เชน่

- บทโฆษณา

- บทความทางวชิ าการ

๘. กรอกแบบสมัครงานพร้อมเขียน  การกรอกแบบสมัครงาน

บรรยายเกี่ยวกับความรู้และทักษะ

ของตนเองท่เี หมาะสมกับงาน

๙. เขยี นรายงานการศึกษาคน้ คว้า และ  การเขยี นรายงาน ได้แก่

โครงงาน - การเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า

- การเขียนรายงานโครงงาน

๑๐. มีมารยาทในการเขยี น  มารยาทในการเขยี น

ม.๔-๖ ๑. เขียนส่อื สารในรูปแบบต่าง ๆ ไดต้ รง เขียนสือ่ สารในรูปแบบตา่ ง ๆ

ตามวัตถุประสงค์ โดยใชภ้ าษาเรยี บเรยี ง

ถกู ตอ้ ง มขี อ้ มลู และ

สาระสาคญั ชดั เจน

๒. เขียนเรยี งความ  การเขียนเรยี งความ

๓. เขยี นยอ่ ความจากสือ่ ทม่ี ีรปู แบบ และ  การเขียนย่อความจากส่อื ต่างๆ เชน่

เนอื้ หาหลากหลาย - กวีนพิ นธ์ และวรรณคดี

- เรื่องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ
และวรรณกรรมพ้ืนบา้ น

๔. ผลติ งานเขียนของตนเอง  การเขียนในรูปแบบตา่ งๆ เชน่

ในรูปแบบตา่ งๆ - สารคดี

- บันเทงิ คดี

๕. ประเมินงานเขียนของผ้อู ่ืน แล้ว  การประเมนิ คุณคา่ งานเขยี นในด้านตา่ งๆ เชน่
นามาพัฒนางานเขยี นของตนเอง - แนวคิดของผ้เู ขยี น
- การใชถ้ อ้ ยคา
๖. เขียนรายงานการศึกษาคน้ ควา้ - การเรยี บเรยี ง
เร่ืองทสี่ นใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ - สานวนโวหาร
และใชข้ ้อมลู สารสนเทศอา้ งองิ อยา่ ง - กลวธิ ีในการเขียน
ถกู ต้อง  การเขียนรายงานเชงิ วิชาการ
๗. บันทึกการศกึ ษาคน้ ควา้ เพอ่ื นาไป  การเขยี นอ้างอิงขอ้ มลู สารสนเทศ
พฒั นาตนเองอยา่ งสมา่ เสมอ
๘. มีมารยาทในการเขยี น  การเขียนบนั ทึกความรูจ้ ากแหลง่ เรยี นรู้
ทห่ี ลากหลาย
 มารยาทในการเขยี น

สำระท่ี ๓ กำรฟัง กำรดู และกำรพดู

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความร้สู กึ
ในโอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมวี ิจารณญาณและสรา้ งสรรค์

ชั้น ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ม.๑ ๑. พูดสรปุ ใจความสาคญั ของเรื่องที่ฟัง  การพูดสรปุ ความ พูดแสดงความรู้ ความคดิ
และดู อยา่ งสรา้ งสรรคจ์ ากเรื่องท่ฟี ังและดู

๒. เลา่ เรอ่ื งย่อจากเรือ่ งท่ีฟังและดู  การพดู ประเมนิ ความนา่ เชอื่ ถือของส่อื ท่ีมี

๓. พูดแสดงความคิดเห็นอย่างสรา้ งสรรค์ เนอ้ื หาโน้มนา้ ว

เกีย่ วกบั เรื่องที่ฟังและดู

๔. ประเมนิ ความนา่ เชอื่ ถือของส่ือ
ทมี่ เี น้อื หาโน้มนา้ วใจ

๕. พูดรายงานเรอ่ื งหรอื ประเด็นทศ่ี ึกษา  การพูดรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าจากแหล่ง
คน้ ควา้ จากการฟงั การดู และการ เรยี นรตู้ า่ งๆ ในชมุ ชน และท้องถิ่นของตน
สนทนา

๖. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพูด  มารยาทในการฟงั การดู และการพูด

ม.๒ ๑. พูดสรุปใจความสาคญั ของเรอื่ ง ที่  การพูดสรปุ ความจากเรอ่ื งท่ีฟังและดู
ฟังและดู

๒. วเิ คราะหข์ อ้ เท็จจริง ขอ้ คดิ เหน็  การพดู วเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณจ์ ากเรอื่ งท่ีฟงั และดู

และความนา่ เชอ่ื ถอื จากสื่อต่างๆ

๓. วิเคราะหแ์ ละวิจารณ์เรือ่ งที่ฟงั

และดูอยา่ งมีเหตุผล เพอ่ื นาขอ้ คิด

มาประยกุ ต์ใช้ในการดาเนนิ ชวี ติ

๔. พดู ในโอกาสตา่ งๆ ได้ตรงตาม  การพดู ในโอกาสตา่ งๆ เชน่
วตั ถปุ ระสงค์ - การพูดอวยพร - การพูดโน้มน้าว

- การพดู โฆษณา

๕. พูดรายงานเรือ่ งหรือประเด็น  การพูดรายงานการศึกษาคน้ คว้า

ที่ศกึ ษาคน้ คว้า จากแหล่งเรียนรตู้ ่างๆ

๖. มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพูด  มารยาทในการฟงั การดู และการพูด

ม.๓ ๑. แสดงความคิดเหน็ และประเมนิ เรื่อง  การพดู แสดงความคดิ เห็น และประเมินเรอ่ื ง

จากการฟงั และการดู จากการฟงั และการดู

๒. วเิ คราะห์และวจิ ารณเ์ รือ่ งที่ฟัง  การพูดวิเคราะห์วจิ ารณจ์ ากเร่อื งที่ฟังและดู

และดู เพื่อนาข้อคิดมาประยกุ ตใ์ ช้

ในการดาเนนิ ชีวิต

ม.๔-ม.๖ ๓. พดู รายงานเรื่องหรือประเดน็ ท่ี  การพดู รายงานการศึกษาคน้ คว้าเกีย่ วกบั
ศึกษาคน้ คว้าจากการฟัง การดู และ ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน
การสนทนา
๔. พดู ในโอกาสต่างๆ ไดต้ รงตาม  การพูดในโอกาสตา่ งๆ เช่น
วัตถปุ ระสงค์ - การพดู โตว้ าที
- การอภปิ ราย
๕. พูดโน้มน้าวโดยนาเสนอหลกั ฐาน - การพดู ยอวาที
ตามลาดบั เนอื้ หาอยา่ งมเี หตุผลและ  การพดู โนม้ นา้ ว
น่าเชอ่ื ถือ
๖. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการ  มารยาทในการฟงั การดู และการพดู
พดู
๑. สรปุ แนวคดิ และแสดงความคดิ เหน็  การพดู สรุปแนวคดิ และการแสดงความ
จากเร่อื งท่ีฟังและดู คดิ เหน็ จากเร่ืองที่ฟงั และดู
๒. วิเคราะห์ แนวคิด การใชภ้ าษา  การวิเคราะหแ์ นวคดิ การใช้ภาษา
และความนา่ เชื่อถือจากเรื่องที่ฟงั และความน่าเช่ือถือจากเรื่องทีฟ่ ังและดู
และดูอย่างมีเหตผุ ล
๓. ประเมินเร่ืองที่ฟังและดูแล้วกาหนด  การเลือกเร่ืองท่ีฟงั และดูอยา่ งมี
แนวทางนาไปประยุกตใช้ วจิ ารณญาณ
ในการดาเนินชวี ิต  การประเมินเรื่องที่ฟงั และดูเพื่อกาหนด
๔. มีวิจารณญาณในการเลือก แนวทางนาไปประยุกตใ์ ช้
เรื่องท่ีฟงั และดู
๕. พูดในโอกาสต่างๆ พดู แสดง  การพูดในโอกาสต่างๆ เช่น
ทรรศนะ โตแ้ ยง้ โน้มน้าวใจ และเสนอ - การพดู ต่อทปี่ ระชุมชน - การพดู อภปิ ราย
แนวคดิ ใหมด่ ้วยภาษาถกู ต้องเหมาะสม - การพูดแสดงทรรศนะ - การพูดโนม้ น้าวใจ
๖. มีมารยาทในการฟงั การดูและพูด  มารยาทในการฟัง การดู และการพูด

สำระที่ ๔ หลกั กำรใชภ้ ำษำไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา
ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ

ชน้ั ตวั ชี้วดั สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง

ม.๑ ๑. อธบิ ายลกั ษณะของเสยี งใน  เสยี งในภาษาไทย

ภาษาไทย

๒. สรา้ งคาในภาษาไทย  การสร้างคา

- คาประสม คาซ้า คาซ้อน

- คาพ้อง

๓. วิเคราะห์ชนิดและหน้าทีข่ องคาใน  ชนดิ และหนา้ ทข่ี องคา

ประโยค

๔. วเิ คราะหค์ วามแตกต่างของภาษา  ภาษาพูด

พดู และภาษาเขยี น  ภาษาเขยี น

๕. แตง่ บทร้อยกรอง  กาพย์ยานี ๑๑

๖. จาแนกและใช้สานวนที่เป็นคา  สานวนท่เี ป็นคาพังเพยและสุภาษิต

พงั เพยและสภุ าษิต

ม.๒ ๑. สรา้ งคาในภาษาไทย  การสรา้ งคาสมาส

๒. วิเคราะหโ์ ครงสรา้ งประโยคสามัญ  ลกั ษณะของประโยคในภาษาไทย

ประโยครวม และประโยคซอ้ น - ประโยคสามญั – ประโยครวม - ประโยคซอ้ น

๓. แต่งบทรอ้ ยกรอง  กลอนสภุ าพ

๔. ใชค้ าราชาศพั ท์  คาราชาศัพท์

๕. รวบรวมและอธบิ ายความหมาย  คาท่มี าจากภาษาตา่ งประเทศ
ของคาภาษาตา่ งประเทศท่ใี ชใ้ น
ภาษาไทย

ม.๓ ๑. จาแนกและใชค้ า  คาทมี่ าจากภาษาตา่ งประเทศ

ภาษาตา่ งประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย

๒. วเิ คราะห์โครงสร้างประโยค  ประโยคซับซอ้ น

ซับซอ้ น

๓. วเิ คราะหร์ ะดบั ภาษา  ระดับภาษา

๔. ใช้คาทบั ศัพท์และศพั ท์บัญญัติ  คาทับศัพท์

 คาศัพท์บญั ญัติ

๕. อธบิ ายความหมายคาศัพท์ทาง  คาศัพท์ทางวชิ าการและวิชาชพี

วิชาการและวชิ าชีพ

๖. แต่งบทร้อยกรอง  โคลงสสี่ ุภาพ

ม.๔-ม.๖ ๑. อธบิ ายธรรมชาตขิ องภาษา  ธรรมชาตขิ องภาษา
พลังของภาษา และลกั ษณะของ  พลงั ของภาษา
ภาษา
 ลักษณะของภาษา
๒. ใช้คาและกลมุ่ คาสร้างประโยค - เสียงในภาษา - ส่วนประกอบของภาษา
ตรงตามวตั ถุประสงค์ - องคป์ ระกอบของพยางคแ์ ละคา
 การใช้คาและกลมุ่ คาสรา้ งประโยค
๓. ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส - คาและสานวน - การร้อยเรียงประโยค
กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคา - การเพ่มิ คา - การใชค้ า
ราชา-ศพั ท์อยา่ งเหมาะสม - การเขียนสะกดคา
๔. แตง่ บทรอ้ ยกรอง  ระดบั ของภาษา
๕. วเิ คราะห์อิทธิพลของ  คาราชาศัพท์
ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น
๖. อธิบายและวเิ คราะห์หลกั การ  กาพย์ โคลง ร่าย และฉันท์
สร้างคาในภาษาไทย  อิทธพิ ลของภาษาต่างประเทศและภาษาถนิ่
๗. วเิ คราะห์และประเมนิ การใช้
ภาษาจากสื่อสิ่งพมิ พ์ และส่ือ  หลักการสรา้ งคาในภาษาไทย
อิเล็กทรอนกิ ส์
 การประเมินการใช้ภาษาจากสอื่ ส่งิ พมิ พ์ และ
ส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์

สำระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า
และนามาประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จรงิ

ม.๑ ๑. สรุปเน้อื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรม  วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกบั

ทอ่ี ่าน - ศาสนา - ประเพณี

- พิธกี รรม - สภุ าษติ คาสอน

- เหตกุ ารณ์ประวัตศิ าสตร์

- บันเทงิ คดี - บันทึกการเดนิ ทาง

- วรรณกรรมทอ้ งถิ่น

๒. วเิ คราะห์วรรณคดแี ละวรรณกรรม  การวเิ คราะห์คณุ ค่าและข้อคิดจากวรรณคดีและ
ท่ีอา่ นพร้อมยกเหตุผลประกอบ วรรณกรรม

๓. อธบิ ายคณุ ค่าของวรรณคดแี ละ
วรรณกรรมทีอ่ า่ น

๔. สรปุ ความรแู้ ละข้อคิดจากการอา่ นเพ่ือ
ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ จริง

๕. ทอ่ งจาบทอาขยานตามทกี่ าหนดและ  บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองท่ีมีคณุ คา่
บทรอ้ ยกรองทมี่ คี ณุ ค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามที่กาหนด

- บทร้อยกรองตามความสนใจ

ม.๒ ๑. สรุปเนือ้ หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่  วรรณคดแี ละวรรณกรรมเกี่ยวกบั

อา่ นในระดบั ทย่ี ากข้นึ - ศาสนา - ประเพณี

- พิธกี รรม - สภุ าษติ คาสอน

- เหตุการณ์ประวตั ิศาสตร์

- บนั เทงิ คดี - บนั ทกึ การเดนิ ทาง

๒. วเิ คราะห์และวิจารณ์วรรณคดี  การวเิ คราะหค์ ณุ คา่ และข้อคดิ จากวรรณคดี
วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่น วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่น

ที่อา่ น พรอ้ มยกเหตุผลประกอบ

๓. อธิบายคณุ คา่ ของวรรณคดี

และวรรณกรรมท่อี ่าน

๔. สรุปความร้แู ละขอ้ คดิ จากการอ่าน

ไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ จริง

๕. ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและ  บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทมี่ ีคุณคา่
บทรอ้ ยกรองทม่ี คี ณุ คา่ ตามความ - บทอาขยานตามทกี่ าหนด
สนใจ - บทร้อยกรองตามความสนใจ

ม.๓ ๑. สรุปเนอื้ หาวรรณคดี วรรณกรรม  วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรม

และวรรณกรรมท้องถิ่นในระดบั ที่ยาก ทอ้ งถน่ิ เก่ียวกบั

ยิ่งข้ึน - ศาสนา - ประเพณี

- พิธกี รรม - สุภาษติ คาสอน

- เหตุการณใ์ นประวัตศิ าสตร์

- บนั เทิงคดี

๒. วิเคราะหว์ ถิ ีไทยและคุณค่าจาก  การวิเคราะห์วิถีไทย และคุณคา่ จาก

วรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อา่ น วรรณคดแี ละวรรณกรรม

๓. สรปุ ความรู้และขอ้ คดิ จากการอ่าน

เพอื่ นาไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจรงิ

๔. ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยาน  บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณคา่

ตามทก่ี าหนด และบทร้อยกรองทม่ี ี - บทอาขยานตามที่กาหนด

คุณค่าตามความสนใจและนาไปใช้อา้ งอิง - บทร้อยกรองตามความสนใจ

ม.๔-ม.๖ ๑. วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี และ  หลกั การวเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณว์ รรณคดี
วรรณกรรม ตามหลกั การวจิ ารณเ์ บ้ืองต้น และวรรณกรรมเบอื้ งตน้
- จดุ มงุ่ หมายการแต่ง - การพจิ ารณารูปแบบ
๒. วิเคราะหล์ ักษณะเด่นของวรรณคดี - การพิจารณาเนอ้ื หาและกลวิธี
เช่อื มโยงกบั การเรียนรทู้ างประวัตศิ าสตร์ - การวเิ คราะหแ์ ละการวิจารณ์
และวถิ ีชวี ิตของสงั คมในอดตี  การวิเคราะห์ลกั ษณะเดน่ ของวรรณคดี
และวรรณกรรมเกีย่ วกับเหตกุ ารณป์ ระวัตศิ าสตร์
๓. วิเคราะห์และประเมนิ คุณค่าด้าน และวิถีชวี ิตของสงั คมในอดตี
วรรณศลิ ป์ของวรรณคดี และวรรณกรรม
ในฐานะท่เี ป็นมรดกทางวฒั นธรรมของชาติ  การวิเคราะหแ์ ละประเมินคณุ คา่ วรรณคดี
๔. สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรม
และวรรณกรรมเพอ่ื นาไปประยกุ ตใ์ ช้ - ดา้ นวรรณศลิ ป์ - ด้านสังคมและวฒั นธรรม
ในชวี ิตจริง  การสังเคราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรม
๕. รวบรวมวรรณกรรมพืน้ บา้ นและ
อธิบายภูมปิ ัญญาทางภาษา  วรรณกรรมพ้นื บา้ นที่แสดงถงึ
- ภาษากบั วฒั นธรรม
๖. ทอ่ งจาและบอกคุณค่าบทอาขยาน - ภาษาถ่นิ
ตามท่ีกาหนด และบทรอ้ ยกรอง-  บทอาขยานและบทร้อยกรองทีม่ ีคุณค่า
ทมี่ ีคุณค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามทีก่ าหนด
และนาไปใชอ้ า้ งองิ - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ

รำยวิชำที่เปดิ สอนกลุ่มสำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย
รายวชิ าพนื้ ฐาน ระดับชัน้ มธั ยมศึกษา ม. 1 - ม. 3

รหสั วชิ า ท21101 รายวชิ าภาษาไทย 1.5 หน่วยกิต จานวน 60 ชวั่ โมง
รหัสวิชา ท21102 รายวิชาภาษาไทย 1.5 หน่วยกติ จานวน 60 ชว่ั โมง
รหัสวิชา ท22101 รายวิชาภาษาไทย 1.5 หนว่ ยกิต จานวน 60 ชวั่ โมง
รหสั วชิ า ท22102 รายวชิ าภาษาไทย 1.5 หนว่ ยกติ จานวน 60 ชว่ั โมง
รหัสวชิ า ท23101 รายวิชาภาษาไทย 1.5 หน่วยกติ จานวน 60 ชวั่ โมง
รหัสวชิ า ท23102 รายวชิ าภาษาไทย 1.5 หน่วยกติ จานวน 60 ชว่ั โมง

รายวิชาพนื้ ฐาน ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษา ม. 4 - ม. 6
รหัสวชิ า ท31101 รายวิชาภาษาไทย 1.0 หน่วยกิต จานวน 40 ชว่ั โมง
รหสั วิชา ท31102 รายวิชาภาษาไทย 1.0 หน่วยกิต จานวน 40 ชว่ั โมง
รหสั วิชา ท32101 รายวิชาภาษาไทย 1.0 หน่วยกิต จานวน 40 ชว่ั โมง
รหสั วิชา ท32102 รายวิชาภาษาไทย 1.0 หน่วยกิต จานวน 40 ชว่ั โมง
รหสั วิชา ท33101 รายวชิ าภาษาไทย 1.0 หนว่ ยกติ จานวน 40 ชวั่ โมง
รหัสวชิ า ท33102 รายวชิ าภาษาไทย 1.0 หนว่ ยกติ จานวน 40 ชวั่ โมง

รายวชิ าเพิ่มเติม ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษา ม. 4 - ม. 6
รหัสวชิ า ท3๐๒01 รายวิชาภาษาไทย 1.0 หนว่ ยกิต จานวน 40 ชว่ั โมง
รหัสวิชา ท3๐๒0๒ รายวชิ าภาษาไทย 1.0 หนว่ ยกิต จานวน 40 ชวั่ โมง
รหสั วชิ า ท3๐๒0๓ รายวชิ าภาษาไทย 1.0 หนว่ ยกติ จานวน 40 ชวั่ โมง
รหสั วิชา ท3๐๒0๔ รายวิชาภาษาไทย 1.0 หน่วยกิต จานวน 40 ชว่ั โมง
รหสั วชิ า ท3๐๒0๕ รายวิชาภาษาไทย 1.0 หนว่ ยกิต จานวน 40 ชว่ั โมง
รหสั วิชา ท3๐๒0๖ รายวชิ าภาษาไทย 1.0 หนว่ ยกิต จานวน 40 ชวั่ โมง

คำอธิบำยรำยวชิ ำ

รหสั วิชา ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑

ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน จานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

กำรอ่ำน อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเร่ืองที่อ่านจับใจความ

สาคัญจากเรื่องท่ีอ่าน ระบุเหตุและผล และข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นจากเร่ืองท่ีอ่าน ระบุและอธิบายคา

เปรียบเทียบ และคาท่ีมีหลายความหมายในบริบทต่างๆ จากการอ่าน ตีความคายากในเอกสารวิชาการโดย

พิจารณาจากบรบิ ท ระบขุ อ้ สงั เกตและความสมเหตุสมผลของงานเขียนประเภท ชักจูง โนม้ น้าวใจ ปฏิบัติตาม

คมู่ ือแนะนาวิธีการใช้งานของเคร่ืองมอื หรือเครื่องใชใ้ นระดับที่ยากข้ึน วเิ คราะห์คุณค่าท่ีไดร้ ับจากการอ่านงาน

เขยี นอย่างหลากหลายเพ่ือนาไปใช้แกป้ ัญหาในชวี ติ และมีมารยาทในการอา่ น

กำรเขียน คัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด เขียนส่ือสารโดยใช้ถ้อยคาถูกต้องชัดเจน เหมาะสม และ
สละสลวย เขียนบรรยายประสบการณ์โดยระบสุ าระสาคญั และรายละเอียดสนบั สนนุ เขยี นเรียงความ เขียนย่อ
ความจากเร่อื งที่อ่าน เขียนแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับสาระจากส่ือท่ีได้รับ เขียนจดหมายสว่ นตัวและจดหมาย
กิจธุระ เขยี นรายงานการศกึ ษาค้นควา้ และโครงงาน และมมี ารยาทใน การเขยี น

กำรฟงั กำรดู และกำรพูด พูดสรุปใจความสาคัญของเร่ืองท่ีฟังและดู เล่าเรื่องยอ่ จากเร่อื งท่ีฟังและดู
พูดแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์เกี่ยวกับเร่ืองที่ฟังและดู ประเมินความน่าเชื่อถือของสื่อท่ีมีเน้ือหาโน้ม
น้าวใจ พดู รายงานเรอ่ื งหรือประเด็นทศี่ ึกษาค้นคว้าจากการฟงั การดู และการสนทนา และมีมารยาทในการฟัง
การดู และการพดู

หลักกำรใช้ภำษำไทย อธิบายลักษณะของเสียงในภาษาไทย สร้างคาในภาษาไทย วิเคราะห์ชนิดและ
หน้าทีข่ องคาในประโยค วิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน แตง่ บทรอ้ ยกรอง จาแนกและใช้
สานวนทีเ่ ปน็ คาพงั เพยและสุภาษิต

วรรณคดีและวรรณกรรม สรุปเน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน วิเคราะห์วรรณคดีและ
วรรณกรรมท่ีอ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน สรุปความรู้และ
ขอ้ คิดจากการอ่านเพือ่ ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทรอ้ ยกรองที่มีคุณค่าตาม
ความสนใจ

รหสั ตวั ช้วี ดั

ท ๑.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘

ท ๒.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๙

ท ๓.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๕ ม.๑/๖

ท ๔.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๖

ท ๕.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕

รวมท้งั หมด ๓๑ ตัวช้ีวัด

โครงสรำ้ งรำยวิชำ

ชั้นมัธยมศึกษำปที ี่ ๑ รหัสวิชำ ท๒๑๑๐๑ เวลำ ๖๐ ชั่วโมง

ลำดับ หน่วยกำร มำตรฐำนกำร สำระกำรเรยี นรู้ จำนวน นำ้ หนัก
ที่ เรียนรู้ เรยี นรู้ / ตัวชว้ี ัด ชว่ั โมง คะแนน

๑ เหตเุ กิด ท ๑.๑ ม. ๑/๑, ๑. ลกั ษณะของเร่ืองสั้น ๑๕ ๑๒

เพราะนดิ ๒, ๓, ๘ ๒. การอ่านจับใจความเร่ืองสั้น “เหตเุ กดิ เพราะนิด

ตดั สินใจ ท ๒.๑ ม. ๑/๓ ตัดสินใจ”

ท ๓.๑ ม. ๑/๑, ๓. การวิเคราะห์ข้อคิดและคุณค่าที่ไดร้ บั จากการ
๒, ๕ อา่ นเร่ืองสน้ั “เหตเุ กดิ เพราะนดิ ตัดสินใจ”

ท ๔.๑ ม. ๑/๑ ๔. อวัยวะในการออกเสยี ง

ท ๕.๑ ม. ๑/๑, ๕. เสยี งในภาษาไทย

๒, ๓, ๔ ๖. เสียงและรูปสระ

๗. สระเด่ยี วและสระประสม

๘. หลกั และการเลา่ เรื่องยอ่

๙. การพูดรายงาน

๑๐. การเขยี นบรรยายประสบการณ์

๒ บทความ ท ๑.๑ ม. ๑/ ๑, ๑. ลกั ษณะของบทความ ๑๕ ๑๑

เร่ือง ๒, ๓, ๔, ๘ ๒. คุณค่าด้านเนื้อหา
“ประโยชน์ ท ๒.๑ ม. ๑/๒
ของไข่ไก่” ท ๔.๑ ม. ๑/๑ ๓. ขอ้ คิดท่ีไดร้ ับและการนาคุณคา่ ท่ีไดร้ บั ไปใช้
ในชีวิตประจาวนั

ท ๕.๑ ม. ๑/๑, ๔. รูปและเสยี งพยัญชนะ

๒, ๓, ๔ ๕. หนา้ ที่ของพยัญชนะ

๖. รูปและเสยี งวรรณยกุ ต์

๗. หลักการผนั เสยี งวรรณยกุ ต์

๘. การจับประเด็นสาคญั ของเรอื่ ง

๙. การอ่านวิเคราะห์เร่ืองและคณุ คา่

๑๐. การเขยี นเรยี บเรยี งขอ้ ความ

ลำดบั หน่วยกำร มำตรฐำนกำร สำระกำรเรียนรู้ จำนวน นำ้ หนัก
ท่ี เรยี นรู้ เรียนรู้ / ตัวชีว้ ดั ชัว่ โมง คะแนน

๓ นิราศ ท ๑.๑ ม. ๑/ ๑, ๑. ลกั ษณะของงานประพนั ธป์ ระเภทนิราศ ๑๕ ๑๓

ภูเขาทอง ๒, ๓, ๔, ๕, ๘ ๒. ประวตั ิผู้แตง่ ๑๓

ท ๒.๑ ม. ๑/๑, ๓. คณุ ค่าด้านวรรณศิลป์ เนอื้ หา และสงั คม ๖๐
๒, ๔
และการนาไปปรบั ใช้ในชีวติ ประจาวัน
ท ๓.๑ ม. ๑/๖ ๔. คามูล
ท ๔.๑ ม. ๑/๒
ท ๕.๑ ม. ๑/๑, ๕. การสรา้ งคาใหม่ - คาซา้ คาซ้อน คาประสม
๖. การเขยี นเรยี งความ
๒, ๓, ๔, ๕

๗. การพจิ ารณาเลือกหนังสืออ่าน

๘. มารยาทในการฟงั และการดู

๔ สุภาษิตโคลง ท ๑.๑ ม. ๑/ ๑, ๑. จุดประสงคใ์ นการแตง่ สุภาษติ โคลงโลกนิติ ๑๕

โลกนิติ ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๘ ๒. ประวัตผิ ู้แตง่

ท ๒.๑ ม. ๑/๑, ๓. ลกั ษณะคาประพันธ์ประเภทโคลงสี่สุภาพ
๒, ๖
๔. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ เน้ือหา และสังคม และ
ท ๓.๑ ม. ๑/๓, การนาคุณค่าจากสุภาษิตโคลงโลกนิติไปปรับใช้ใน
๖ ชวี ติ ประจาวนั

ท ๔.๑ ม. ๑/๒, ๕. คาและหนา้ ทีข่ องคาในภาษาไทย – คานาม

ท ๕.๑ ม. ๑/๑, คาสรรพนาม คากริยา คาวเิ ศษณ์
๖. สานวน (สภุ าษิต – คาพังเพย)
๒, ๓, ๔, ๕

๗. การเปรียบเทยี บและคาทมี่ หี ลายความหมาย

๘. การอ่านทานองเสนาะ

๙. การแสดงความคดิ เห็น

๑๐. การโนม้ น้าวใจ

๑๑. มารยาทในการพดู

รวม ๖๐

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

ชั้นมัธยมศกึ ษำปที ่ี ๑ รหสั วชิ ำ ท ๒๑๑๐๒

ภำคเรียนที่ ๒ เวลำ ๖๐ ชวั่ โมง

กำรอ่ำน อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องท่ีอ่านจับใจความ

สาคัญจากเร่ืองที่อ่าน ระบุเหตุและผล และข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน ระบุและอธิบายคา

เปรียบเทียบ และคาที่มีหลายความหมายในบริบทต่างๆ จากการอ่าน ตีความคายากในเอกสารวิชาการโดย

พิจารณาจากบรบิ ท ระบุขอ้ สงั เกตและความสมเหตุสมผลของงานเขียนประเภท ชักจงู โน้มน้าวใจ ปฏิบตั ิตาม

คมู่ ือแนะนาวิธีการใช้งานของเครื่องมอื หรอื เครื่องใช้ในระดับที่ยากข้ึน วเิ คราะห์คุณค่าที่ไดร้ ับจากการอ่านงาน

เขียนอย่างหลากหลายเพื่อนาไปใชแ้ ก้ปญั หาในชีวิต และมมี ารยาทในการอ่าน

กำรเขียน คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคาถูกต้องชัดเจน เหมาะสม และ
สละสลวย เขียนบรรยายประสบการณ์โดยระบุสาระสาคัญและรายละเอียดสนบั สนนุ เขยี นเรียงความ เขียนย่อ
ความจากเรื่องท่ีอา่ น เขียนแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับสาระจากสื่อท่ีได้รบั เขียนจดหมายส่วนตัวและจดหมาย
กิจธรุ ะ เขยี นรายงานการศึกษาคน้ คว้าและโครงงาน และมีมารยาทใน การเขยี น

กำรฟงั กำรดู และกำรพูด พูดสรุปใจความสาคัญของเรื่องท่ีฟังและดู เล่าเร่อื งยอ่ จากเรอ่ื งทีฟ่ ังและดู
พูดแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์เก่ียวกับเรื่องท่ีฟังและดู ประเมินความน่าเช่ือถือของส่ือที่มีเนื้อหาโน้ม
นา้ วใจ พดู รายงานเร่อื งหรือประเด็นท่ีศกึ ษาคน้ ควา้ จากการฟงั การดู และการสนทนา และมีมารยาทในการฟัง
การดู และการพดู

หลักกำรใช้ภำษำไทย อธิบายลักษณะของเสียงในภาษาไทย สร้างคาในภาษาไทย วิเคราะห์ชนิดและ
หนา้ ทีข่ องคาในประโยค วิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาพดู และภาษาเขียน แต่งบทร้อยกรอง จาแนกและใช้
สานวนที่เป็นคาพังเพยและสุภาษิต

วรรณคดีและวรรณกรรม สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน วิเคราะห์วรรณคดีและ
วรรณกรรมที่อ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน สรุปความรู้และ
ขอ้ คิดจากการอ่านเพอ่ื ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตจริง ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทรอ้ ยกรองทมี่ ีคุณค่าตาม
ความสนใจ

รหสั ตวั ชี้วดั

ท ๑.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘

ท ๒.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๙

ท ๓.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๕ ม.๑/๖

ท ๔.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๖

ท ๕.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕

รวมทงั้ หมด ๓๑ ตัวชี้วดั

โครงสรำ้ งรำยวิชำ
รหัสวชิ ำ ท ๒๑๑๐๒ ชน้ั มัธยมศกึ ษำปีท่ี ๑ ภำคเรียนท่ี ๒

ลาดบั ที่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู้ จำนวน น้ำหนัก
เรียนรู้ เรยี นรู้ / ตวั ชีว้ ดั ช่วั โมง คะแนน
๑. จุดประสงค์ของการแตง่ และลักษณะคา ๑๕
๑ สภุ าษิตพระ ท ๑.๑ ม. ๑/๑, ประพนั ธข์ องวรรณคดีเรื่อง “สภุ าษติ พระรว่ ง” ๑๕
ร่วง ๒, ๓, ๔, ๕, ๘ ๒. คณุ ค่าดา้ นวรรณศลิ ป์ เนือ้ หา และสังคม และ ๑๕
การนาคุณค่าไปปรับใชใ้ นชวี ิตประจาวัน ๑๕
ท ๒.๑ ม. ๑/๕, ๓. คาและหน้าทขี่ องคาในภาษาไทย (ตอ่ ) (คาบพุ ๑๕
๘ บท คาสันธาน คาอทุ าน) ๒๐
๔. การเขยี นรายงาน ๑๕
ท ๔.๑ ม. ๑/๓, ๕. ภาษาพูด – ภาษาเขียน

๑. ท่ีมาของการแตง่ เร่อื ง ราชาธริ าช
ท ๕.๑ ม. ๑/๑, ๒. ประวตั ิผู้แตง่
๒, ๓, ๔, ๕ ๓. คุณคา่ ด้านวรรณศิลป์ เนอ้ื หา สงั คมและข้อคิด
ต่างๆ และการนาคุณคา่ ข้อคิดไปปรบั ใชใ้ น
๒ ราชาธิราช ท ๑.๑ ม. ๑/๑, ชีวติ ประจาวัน
ตอน สมงิ ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๔. ประโยคในการส่ือสาร
พระรามอาสา ๗, ๘ ๕. ความเปรียบ
๖. การวเิ คราะหเ์ หตุและผล
ท ๒.๑ ม. ๑/๕ ๗. การอา่ นสรปุ ความ
๘. การย่อความ
ท ๔.๑ ม.๑/๓
สอบกลางภาค
ท ๕.๑ ม.๑/๑,
๒, ๓, ๔, ๕ ๑. ความรู้เกี่ยวกบั เรื่อง “บันทกึ การเดนิ ทาง”
๒. คณุ ค่าดา้ นวรรณศิลป์ เน้ือหา และสงั คม และ
๓ บนั ทกึ การ ท ๑.๑ ม. ๑/ ๑, การนาความรู้ ประสบการณ์จากการอ่านไปปรับใช้
เดนิ ทาง ๒, ๓ ในชวี ิตประจาวัน
๓. ประโยคในการสือ่ สาร – ประโยคบอกเลา่
ท ๒.๑ ม. ๑/๑, ประโยคปฏเิ สธ ประโยคคาสง่ั หรอื ขอรอ้ ง
๒, ๗, ๙ ประโยคคาถาม
๔. การเขยี นจดหมายส่วนตวั
ท ๔.๑ ม. ๑/๓ ๕. การวิเคราะหข์ ้อเท็จจริงและขอ้ คดิ เห็น

ท ๕.๑ ม. ๑/๑,
๒, ๓, ๔

คำอธบิ ำยรำยวิชำ

รหัสวิชา ท๒๒๑๐๑ วชิ าภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๖๐ ชว่ั โมง/ภาคเรียน จานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

สมรรถภาพการอ่านเพ่ือความเขา้ ใจ การอา่ นแยกขอ้ เทจ็ จริง ข้อคดิ เหน็ การอ่านวเิ คราะห์
วจิ ารณ์ การบอกเจตนาของผู้ส่งสาร อ่านแสดงความคิดเห็น ประเมินคา่ สารที่อ่าน และการเลือก-
หนงั สืออา่ นเพ่ิมเติม โดยเฉพาะงานเขียนเก่ยี วกับประเทศสมาชกิ อาเซยี น เศรษฐกจิ พอเพยี ง

การเขียนเรยี งความเชงิ สรา้ งสรรค์ การเขยี นนทิ าน การเขียนยอ่ ความจากเรือ่ งทอี่ ่านอยา่ ง
หลากหลาย การเขียนคานิยามจากกลมุ่ สาระการเรยี นรู้อืน่ ๆ การเขยี นอธบิ าย การเขยี นสรุปความ การ
เขียนโตแ้ ยง้
การเขียนวจิ ารณ์ขา่ วหรือบทความ การเขยี นรายงานกลุ่มสาระตา่ ง ๆ การเขียนจดหมายธรุ กจิ
การใชแ้ ผนภาพความคิด จัดลาดบั ความคดิ ในการรา่ งข้อเขยี น มารยาทการเขียน การสร้างนิสัยรักการเขียน
การศกึ ษาคน้ คว้า การจดบนั ทึกข้อมลู ความรู้ทีท่ ันสมยั และทันเหตุการณ์ เช่น ประเทศสมาชกิ อาเซียน
เศรษฐกจิ พอเพยี ง

สมรรถภาพการฟัง การดู และการจับใจความสาคญั การจาแนกข้อเทจ็ จรงิ และข้อคิดเห็น
การพูดเสนอความรู้ ความคิด การพดู อวยพร การวิเคราะห์เน้ือหา จุดประสงค์การฟัง การดู การพดู
มีมารยาทในการฟงั การดู และการพดู

การศกึ ษาคาภาษตา่ งประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย ไดแ้ ก่ คาบาลี สนั สกฤต เขมร จีน อังกฤษ
ประโยคความรวม ประโยคความซอ้ น ส่วนขยายต่าง ๆ ของประโยค หลกั การจบั ใจความสาคัญ
ใจความรอง การตีความ แต่งคาประพันธป์ ระเภทกลอนแปด กาพย์ โคลง ร้องเลน่ ถา่ ยทอดนทิ าน-
พ้นื บา้ น บทกล่อมเด็ก ภาษาแสดงความรู้ ระดมความคดิ การอภิปราย ระดับภาษาท่ีเป็นทางการ
และไม่เปน็ ทางการ การใชภ้ าษาพูด ภาษาเขยี นตามหลักการใช้ภาษา การใชเ้ ทคโนโลยีการสอ่ื สารเพ่ือ
พฒั นาความรู้ การสรา้ งเสรมิ ลักษณะนสิ ัยและบุคลกิ ภาพสอดคล้องกับวัฒนธรรมประเพณไี ทย การแสดงความ
ช่นื ชม ยกย่อง ใช้ตวั เลขไทย ภาษาไทย การใชภ้ าษาท่ีเหมาะสมกับบุคคลและกล่มุ อาชพี ตา่ ง ๆ

การอ่านวรรณกรรมประเภทสารคดี บนั ทึก บทความ กวีนิพนธ์ประเภทร้อยกรอง
การพิจารณาคุณค่าของเร่ืองโดยใช้หลกั การพินจิ วรรณคดี

โดยใช้ทกั ษะการใชภ้ าษาเพ่ือการสอื่ สาร กระบวนการคดิ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการปฏบิ ัติ
การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ วจิ ารณ์ ประเมนิ คา่ ประยุกตใ์ ช้ความรู้ และบรู ณาการสอู่ าเซยี น เศรษฐกิจพอเพียง
โดยเลือกใชส้ ือ่ ท่หี ลากหลายอย่างสรา้ งสรรค์

เพื่อให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ สามารถใชภ้ าษาสื่อสาร ภูมใิ จในความเปน็ ไทย ยึดแนวทาง-
ตามแนวนโยบายเศรษฐกจิ พอเพียง เป็นพลเมืองที่ดีของสงั คมไทย ประชาคมอาเซยี น และสังคมโลก
ตวั ชว้ี ดั ท ๑.๑ ม.๒/๑-๓

ท ๒.๑ ม.๒/๑-๒
ท ๓.๑ ม.๓/๑-๒
ท ๔.๑ ม.๔/๑-๖
ท ๕.๑ ม.๒/๑-๕
รวมทั้งหมด ๑๘ ตวั ชี้วดั

โครงสรำ้ งรำยวชิ ำภำษำไทย รหสั วิชำ ท๒๒๑๐๑
ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษำปีท่ี ๒ ภำคเรียนท่ี ๑ จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลำ ๖๐ คำบ

หนว่ ย ช่ือหนว่ ย มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด สาระสาคัญ เวลา นา้ หนัก
ที่ การเรียนรู้ /ผลการเรยี นรู้ ชว่ั โมง คะแนน
๑ ศิลาจารกึ พ่อ ๑. ความร้เู กย่ี วกบั เรือ่ ง
ท ๑.๑ ม.๒/๑ ศกึ ษาความรเู้ ก่ียวกับประวัติ- ๑๕ ๑๕
ขุนรามคาแหง ๒,๓,๘
ท ๔.๑ ม.๒/๒ การคน้ พบหลักศิลาจารึก ลักษณะ
ท ๕.๑ ม.๒/๑-๕ อกั ษรทจ่ี ารึก พระราชประวตั ิผแู้ ต่ง
เนือ้ เรอื่ ง และอธิบายศัพท์
จนมคี วามรคู้ วามเข้าใจ
สามารถอธิบายความรู้จากเรื่องได้
๒. ประโยค

ศกึ ษาความหมายของประโยค
ส่วนประกอบของประโยค
ความสมั พันธ์ของคาในประโยค
การเรียงลาดบั คาในประโยค
ทาใหส้ ามารถบอกลักษณะ
ของประโยคแต่ละชนดิ ได้ถูกต้อง
๓. การอ่านจบั ใจความ

ศกึ ษาวธิ กี ารอ่านจับใจความ
สาคัญ ตวั อยา่ งการจับใจความ
และฝึกจบั ใจความสาคญั จากเรอื่ ง
ท-ี่ กาหนดให้ ทาให้มีความรู้ความ
เข้าใจและจับใจความสาคัญได้
๔. การวเิ คราะหเ์ รือ่ งจากการฟัง
และดู

ศึกษาหลกั การวิเคราะหเ์ รื่อง
จาก การฟังและดสู ื่อต่าง ๆ
และฝกึ วเิ คราะหเ์ รื่องที่กาหนดให้
ทาให้สามารถวเิ คราะห์เร่ืองได้-
ถูกต้องและตรงประเดน็
๕. การเขยี นแสดงความคิดเห็น

ศึกษาหลักการเขยี นแสดง-
ความคดิ เห็น ตวั อย่างการเขยี น
แสดงความคดิ เหน็ และฝึกเขียน
ทาใหส้ ามารถแสดงความคดิ เหน็
จากเร่อื งได้ตรงตามจุดมุ่งหมาย

หน่วย ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระสาคญั เวลา น้าหนกั

ท่ี การเรยี นรู้ /ผลการเรยี นรู้ ชว่ั โมง คะแนน

๒ กาพย์ห่อโคลง ท ๑.๑ ม.๒/๑-๔ ๑. ความรเู้ กี่ยวกบั เรอื่ ง ๑๕ ๑๕

ประพาสธาร ท ๔.๑ ม.๒/๔ ศึกษาบทนาเรื่อง ประวตั ผิ แู้ ตง่

ธารทองแดง ท ๕.๑ ม.๒/๑-๔ เนอ้ื เรอ่ื ง อธิบายศัพท์ ทาใหม้ ี

ความรู้ความเข้าใจ สามารถจับ

ใจความ และอธบิ ายรายละเอียด

จากเรื่องได้

๒. ราชาศัพท์

ศึกษาความหมายและลักษณะ

ของคาราชาศัพท์ประเภทต่างๆ

ทาให้มีความร้คู วามเขา้ ใจ

สามารถบอกคาราชาศัพท์

ทใ่ี ชใ้ นระดบั ต่างๆ ได้ถูกต้อง

๓. การอ่านประเมินคา่

ศกึ ษาวธิ กี ารอ่านประเมินค่า

ตวั อยา่ งการประเมินค่า จนมี

ความรู้ความเข้าใจ และเขยี น

ประเมินค่าจากสง่ิ ท่ีอ่าน ทาให้

สามารถอา่ นประเมินค่าไดถ้ ูกต้อง

๔. การพูดเชิญชวน

ศกึ ษาวิธีการพดู เชิญชวน

ตวั อย่างการพูดเชญิ ชวน จนมี

ความรูค้ วามเข้าใจ ทาให้สามารถ

เขียนและพดู เชิญชวนไดถ้ ูกต้อง

๕. การเจรจาต่อรอง

ศกึ ษาวิธีการเจรจาตอ่ รอง

ตวั อยา่ งการเจรจาต่อรอง

จนมีความรคู้ วามเขา้ ใจ

ทาให้สามารถเขียนและพูด-

เจรจาตอ่ รองได้ถกู ต้อง

๖. การพูดปฏิเสธ

ศึกษาวิธีการพดู ปฏิเสธ

ตวั อยา่ งการพดู ปฏิเสธ จนมีความรู้

ความเข้าใจ ทาใหส้ ามารถเขียน

และพดู ปฏิเสธได้ถกู ต้อง

หนว่ ย ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐาน/ตัวชวี้ ัด สาระสาคญั เวลา น้าหนัก

ที่ การเรยี นรู้ /ผลการเรียนรู้ ชว่ั โมง คะแนน

๓ บทเสภา- ท ๑.๑ ม.๒/๑-๔ ๑. ความรู้เกี่ยวกับเร่ือง ๑๕ ๑๕

สามคั คีเสวก ๕.๘ ศึกษาบทนาเร่ือง ประวตั ผิ ู้แต่ง

ตอนวศิ วกรรมา ท ๓.๑ ม.๒/๖ เน้ือเรอ่ื งแตล่ ะตอน และอธิบาย

และสามคั ค-ี ท ๔.๑ ม.๒/๔ ศัพท์ จนมีความรู้ความเขา้ ใจ ทาให้

เสวก ท ๕.๑ ม.๒/๑-๕ สามารถอา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้
และรอ้ ยกรองจับใจความสาคัญ

สรุปความ อธิบายรายละเอียด

และเขียนแผนผังความคิด

ทาใหเ้ ข้าใจเนอื้ เร่ือง ประเมนิ

คุณคา่ หรือแนวคดิ เพ่ือนาไปใช้-

ในการดาเนินชีวิตได้

๒. มารยาทในการพูด

ศกึ ษามารยาทในการพูด

จนมีความรู้ความเขา้ ใจ ทาให้

สามารถพดู อย่างมีมารยาท

๓. การโตแ้ ย้ง

ศกึ ษาความหมาย ประเภท

กระบวนการโต้แย้ง และตัวอยา่ ง

การโต้แยง้ จนมคี วามรู้ความเข้าใจ

ทาให้สามารถพดู โต้แย้งไดถ้ ูกตอ้ ง

ตรงประเดน็ และมมี ารยาท

๔ บทละคร ท ๑.๑ ม.๒/๑-๖ ๑. ความร้เู กี่ยวกับเรอื่ ง ๑๕ ๑๕

เรอื่ งรามเกยี รติ์ ท ๓.๑ ม.๒/๔ ศึกษาบทนาเร่ือง ประวตั ผิ ้แู ตง่

ตอน นารายณ์- ท ๔.๑ ม.๒/๒ เน้ือเร่อื งแตล่ ะตอน และอธิบาย

ปราบนนทก ท ๕.๑ ม.๒/๑-๕ ศพั ท์ จนมคี วามรูค้ วามเข้าใจ ทาให้

สามารถอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้

และรอ้ ยกรอง จับใจความสาคญั

สรุปความ อธบิ ายรายละเอยี ด

และเขียนแผนผังความคดิ

ทาให้เข้าใจเนอ้ื เรื่อง ประเมิน

คณุ ค่าหรือแนวคิดเพื่อนาไปใช้

ในการดาเนินชีวิตได้

๒. การสมาส การสนธิ

ศกึ ษาความหมาย ลักษณะ

ของคาสมาส จนมคี วามรู้ความ ๖๐
เข้าใจ สามารถอธิบายและ ๔๐
ยกตัวอยา่ งได้ ๑๐๐
๓. การพูดในโอกาสตา่ ง ๆ

ศึกษาหลกั การพดู ในโอกาสตา่ ง
ๆ ได้แก่ การกล่าวอวยพร แนะนา
ขอบคุณ มอบรางวัล ต้อนรับ อาลา
สดดุ ี จนมีความรูค้ วามเขา้ ใจ และ
ฝกึ พดู ในโอกาสตา่ งๆ ทาให้
สามารถพูดไดต้ รงวัตถปุ ระสงค์และ
มมี ารยาทในการพดู
๔. การแสดงทรรศนะจากการฟัง

ศกึ ษาความหมาย วิธีการแสดง
ทรรศนะ และตัวอย่าง จนมีความรู้
ความเข้าใจ ทาให้สามารถพดู แสดง
ทรรศนะไดถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสม
๕. การเขยี นบันทึก

ศึกษาความหมาย จดุ ประสงค์
หลักการเขียนบันทกึ และรปู แบบ
การเขยี นบันทึกชนิดต่าง ๆ
ทาใหม้ คี วามรูค้ วามเขา้ ใจ
และเขียนบนั ทกึ ได้ถูกตอ้ ง

รวมคะแนน

คะแนนสอบกลางภาค/ปลายภาค (๒๐/๒๐)

รวมคะแนนสุทธิ

คำอธิบำยรำยวชิ ำ

รหัสวชิ า ท๒๒๑๐๒ วชิ าภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒
ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ชวั่ โมง/ภาคเรยี น จานวน ๑.๕ หนว่ ยกิต

สมรรถภาพการอา่ นเพอื่ ความเขา้ ใจ การอ่านแยกข้อเทจ็ จริง ข้อคิดเหน็ การอ่านวเิ คราะห์ วิจารณ์
การบอกเจตนาของผูส้ ง่ สาร อ่านแสดงความคิดเหน็ ประเมนิ คา่ สารที่อา่ น และการเลือกหนงั สอื อา่ นเพ่ิมเตมิ
โดยเฉพาะงานเขยี นเกี่ยวกบั ประเทศสมาชิกอาเซียน เศรษฐกจิ พอเพียง

การเขยี นเรียงความเชงิ สรา้ งสรรค์ การเขยี นนทิ าน การเขียนย่อความจากเร่ืองท่ีอ่านอย่าง-
หลากหลาย การเขียนคานยิ ามจากกลุม่ สาระการเรียนร้อู นื่ ๆ การเขียนอธิบาย การเขียนสรุปความ

การเขียนโตแ้ ยง้ การเขยี นวจิ ารณข์ ่าวหรอื บทความ การเขียนรายงานกลมุ่ สาระต่าง ๆ การเขยี นจดหมาย
ธรุ กจิ การใชแ้ ผนภาพความคิด จัดลาดับความคิดในการรา่ งขอ้ เขยี น มารยาทการเขียน การสรา้ งนิสยั -
รกั การเขยี น การศึกษาค้นคว้า การจดบันทกึ ขอ้ มูลความรู้ทีท่ นั สมัยและทนั เหตกุ ารณ์ เช่น ประเทศสมาชกิ -
อาเซียน เศรษฐกิจพอเพียง

สมรรถภาพการฟงั การดู และการจบั ใจความสาคัญ การจาแนกข้อเท็จจรงิ และข้อคิดเหน็

การพดู เสนอความรู้ ความคิด การพดู อวยพร การวิเคราะหเ์ นอื้ หา จุดประสงค์การฟงั การดู การพดู

มีมารยาทในการฟงั การดู และการพดู

การศึกษาคาภาษาตา่ งประเทศที่ใช้ในภาษาไทย ได้แก่ คาบาลี สนั สกฤต เขมร จีน องั กฤษ
ประโยคความรวม ประโยคความซอ้ น สว่ นขยายต่าง ๆ ของประโยค หลกั การจับใจความสาคัญ ใจความรอง
การตคี วาม แตง่ คาประพนั ธ์ประเภทกลอนแปด กาพย์ โคลง รอ้ งเลน่ ถา่ ยทอดนทิ านพื้นบ้าน บทกลอ่ มเด็ก
ภาษาแสดงความรู้ ระดมความคดิ การอภิปราย ระดับภาษาทเี่ ปน็ ทางการและไมเ่ ป็นทางการ การใชภ้ าษาพดู
ภาษาเขยี นตามหลักการใช้ภาษา การใชเ้ ทคโนโลยีการสือ่ สารเพ่อื พฒั นาความรู้ การสร้างเสรมิ ลกั ษณะนิสัย
และบุคลิกภาพสอดคล้องกบั วัฒนธรรมประเพณีไทย การแสดงความช่ืนชม ยกยอ่ ง ใชต้ ัวเลขไทย ภาษาไทย
การใช้ภาษาที่เหมาะสมกับบุคคลและกลุ่มอาชพี ต่าง ๆ

การอา่ นวรรณกรรมประเภทสารคดี บันทึก บทความ กวนี ิพนธ์ประเภทรอ้ ยกรอง การพจิ ารณาคุณค่า
ของเรื่องโดยใช้หลกั การพินิจวรรณคดี

โดยใช้ทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสือ่ สาร กระบวนการคดิ กระบวนการกล่มุ กระบวนการปฏิบตั ิ
การวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ วิจารณ์ ประเมนิ คา่ ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ โดยเลือกใชส้ อื่ ทีห่ ลากหลายอยา่ งสรา้ งสรรค์

เพื่อใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ สามารถใช้ภาษาส่ือสาร และภูมิใจในความเป็นไทย

ตวั ชีว้ ัด/ผลการเรยี นรู้

ท ๑.๑ ม.๒/๑–๖

ท ๒.๑ ม.๒/๕–๗

ท ๓.๑ ม.๒/๔–๖

ท ๔.๑ ม.๒/๔-๕

ท ๕.๑ ม.๒/๑-๕

รวมท้ังหมด ๑๙ ตัวช้ีวดั

โครงสร้ำงรำยวิชำภำษำไทย รหัสวชิ ำ ท๒๒๑๐๒

ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษำปที ี่ ๒ ภำคเรยี นท่ี ๒ จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ เวลำ ๖๐ คำบ

หนว่ ย ช่อื หน่วย มำตรฐำน/ตวั ช้ีวัด สำระสำคัญ เวลำ นำ้ หนกั
คะแนน
ที่ กำรเรียนรู้ /ผลกำรเรยี นรู้
๑๐
๑ โคลงภาพ ท ๑.๑ ม.๒/๑-๕ การศกึ ษาและค้นควา้ วรรณคดี ๑๒
พระราช ท ๕.๑ ม.๒/๑-๔ วรรณกรรม และภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ๑๐
พงศาวดาร
ในระดับท่ียากขึน้ จะตอ้ งเร่มิ ต้น ๑๐
จาก การสรุปเนือ้ หา วิเคราะหแ์ ละ

วจิ ารณ์ อธบิ ายคุณค่าและขอ้ คดิ

จนสามารถประเมนิ คุณค่าและนา
ขอ้ คิดไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ ได้
ตลอดจนสามารถท่องจาบท-

อาขยานตามที่กาหนดและบทร้อย

กรองทมี่ ีคุณคา่ ตามความสนใจได้

๒ -ประโยคใน ท ๒.๑ ม.๒/๒ -การศกึ ษาความหมาย และชนดิ ๘
ภาษาไทย ท ๔.๑ ม.๒/๒
-การเขียน ของประโยคทีแ่ บ่งตามโครงสร้าง
บรรยาย และ
จนมคี วามร้คู วามเขา้ ใจ สามารถ
วเิ คราะห์และแต่งประโยคได้

การเขียน -การศึกษารูปแบบและตัวอย่างการ
พรรณนา เขยี นบรรยายและพรรณนา ทาให้

มีความรูค้ วามเขา้ ใจ สามารถเขียน

บรรยายและพรรณนาโดยใช้ภาษา

ถูกต้องและเหมาะสม

๓ -ชือ่ นั้น ท ๑.๑ ม.๒/๑-๕ -การศึกษาวรรณกรรม และงาน ๑๐

สาคญั ไฉน ท ๒.๑ ม.๒/๖,๘ เขียนในระดบั ทย่ี ากขึน้ ทาให้มี
ความรู้ความเข้าใจ และสามารถ
-การเขยี น ท ๓.๑ ม.๒/๔ วเิ คราะห์คุณคา่ งานเขียนเพ่ือ
จดหมายกจิ ธรุ ะ ท ๕.๑ ม.๒/๑-๔ นาไปใชใ้ นการดาเนินชวี ติ ประจาวันได้
-การพดู
-การศึกษารูปแบบการเขยี น
โนม้ น้าวใจ จดหมายกจิ ธุระ จนมีความรู้ความ

เข้าใจ สามารถเขียนจดหมาย

ตดิ ตอ่ ธุระได้

-การศกึ ษาหลักการพูดโนม้ นา้ วใจ
และไดฝ้ ึกพูด ทาให้สามารถ
เลือกใช้ภาษาพูดโนม้ น้าวใจได้ตรง

วัตถุประสงค์

หนว่ ย ช่ือหน่วย มำตรฐำน/ สำระสำคัญ เวลำ นำ้ หนกั
ท่ี กำรเรยี นรู้ ตวั ช้วี ัด/ผลกำร คะแนน

เรยี นรู้

๔ โคลงสภุ าษติ ท ๑.๑ ม.๒/๑-๓ การศกึ ษาและคน้ คว้าวรรณคดี ๘ ๑๐

พระบาทสมเด็จ ท ๕.๑ ม.๒/๑-๔ ในระดบั ทีย่ ากข้นึ จะตอ้ งเริ่มตน้
พระจุลจอมเกล้า
เจา้ อยหู่ ัว จาก การสรุปเน้ือหา วิเคราะห์
และวิจารณ์ อธบิ ายคุณคา่ และ

ขอ้ คิด จนสามารถประเมนิ คุณคา่

และนาข้อคดิ ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ

จริงได้

๕ -คาทีม่ าจาก ท ๒.๑ ม.๒/๔,๕ -การศกึ ษาความรูเ้ รื่องคาไทยแท้ ๑๒ ๑๐

ภาษาต่างประเทศ ท ๓.๑ ม.๒/๕ และคาทีม่ าจากภาษาต่างประเทศ
จนมคี วามรู้ความเขา้ ใจ สามารถ
-การเขียน ท ๔.๑ ม.๒/๒ อธิบายข้อสังเกตคาในภาษาตา่ งๆได้
เรยี งความ
-การศึกษารูปแบบการเขยี น
-การเขยี น เรียงความ ย่อความ และรายงาน
ย่อความ จนมคี วามรูค้ วามเข้าใจ ไดศ้ กึ ษา
-การเขียน ตัวอยา่ งทห่ี ลากหลาย และฝกึ
รายงาน เขียนจะทาให้สามารถเขียนใน

รปู แบบต่างๆ ไดถ้ กู ต้อง

๖ -กลอนดอกสรอ้ ย ท ๑.๑ ม.๒/๓,๗ -การศกึ ษาและค้นคว้าวรรณคดี ๑๐ ๑๐
ราพงึ ในปา่ ชา้ ท ๔.๑ ม.๒/๓ ในระดบั ทีย่ ากขนึ้ จะต้องเริ่มตน้
-กลอนสุภาพ ท ๕.๑ ม.๒/๑-๔ จาก การสรุปเนอ้ื หา วเิ คราะห์
และวจิ ารณ์ อธบิ ายคุณค่าและ
ข้อคิด จนสามารถประเมินคุณค่า
และนาข้อคดิ ไปประยกุ ต์ใช้ได้

-การศึกษาลักษณะของกลอน
สุภาพ จนมคี วามรู้ความเขา้ ใจ
ทาให้สามารถแต่งกลอนสุภาพได้
ถูกต้องตามรปู แบบ ตระหนักและ
เห็นคณุ คา่ ตลอดจนเกิดความ
ซาบซ้ึงในบทประพนั ธท์ ีม่ คี ุณค่า

รวม ๖๐ ๖๐

คะแนนสอบกลางภาค ๒๐

คะแนนสอบปลายภาค ๒๐

รวมทง้ั สน้ิ ๑๐๐

คำอธิบำยรำยวชิ ำ
กลมุ่ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย รหสั วชิ ำ ท๒๓๑๐๑
ชน้ั มัธยมศึกษำปีท่ี ๓ เวลำ ๖๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ ภำคเรยี นท่ี ๑

คำอธิบำยรำยวิชำ
ศึกษาหลักการอา่ นออกเสยี งได้ถูกต้อง เหมาะสม ระบคุ วามแตกตา่ งของคา ใจความสาคัญและ

รายละเอยี ดของข้อมูลทส่ี นับสนุนจากเรอื่ งที่อ่าน เขียนกรอบความคิด วิเคราะหว์ ิจารณ์และประเมินเร่ืองที่
อ่านโดยใชก้ ลวธิ กี ารเปรียบเทียบ ประเมนิ ความถกู ต้องของขอ้ มูลท่ีใช้สนบั สนุนในเรื่องท่ีอา่ น ฝึกการคัด
ลายมอื เขยี นขอ้ ความ ชวี ประวตั ิ ย่อความ จดหมายกิจธุระ อธิบาย ชแ้ี จงแสดงความคิดเห็น และโตแ้ ยง้
อย่างมเี หตุผล พูดแสดงความคดิ เห็น พดู วิเคราะห์ วิจารณ์เรอ่ื งที่ฟงั และดูเพื่อนาข้อคิดมาประยกุ ต์ใช้ในการ
ดาเนนิ ชวี ติ พูดรายงานการศึกษาค้นคว้าเกยี่ วกับภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ จาแนกและใชค้ าท่ีมาจาก
ภาษาตา่ งประเทศ วิเคราะห์ประโยคซับซ้อน ระดบั ภาษา สรุปเนื้อหาวรรณคดแี ละวรรณกรรม
ทอ้ งถ่ิน วิเคราะห์วถิ ีไทยและคณุ คา่ จากการอา่ นวรรณกรรม

โดยใชก้ ระบวนการทางภาษา การสืบค้นความรู้ การจดบันทกึ ใชค้ วามสามารถในการคิดการ
อภิปราย เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจในการเรียนรู้ ใชค้ วามสามารถในการส่ือสารกับผอู้ น่ื ให้เข้าใจตรงกัน

เหน็ คณุ คา่ ของภาษาไทย นาความร้ไู ปใช้ในการแกป้ ญั หาใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นชีวิต เปน็ ผมู้ ี
คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขยี น การฟงั การดแู ละการพูด เหน็ คุณคา่ ภาษาไทย
ซึง่ เป็นเอกลักษณข์ องชาติ รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซอ่ื สตั ย์สจุ รติ มีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อยา่ งพอเพยี ง มุ่งมน่ั
ในการทางาน รักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะเพื่อให้เกดิ การเรยี นรู้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ภาคภมู ิใจใน
ภาษาไทย และรักษาไว้เปน็ สมบัตขิ องชาติ

รหสั ตัวช้ีวดั ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6
ท 1.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6
ท 2.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3
ท 3.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3
ท 4.1 ม.3/1, ม.3/2
ท 5.1

รวม 20 ตวั ชี้วดั

โครงสรำ้ งรำยวชิ ำพ้นื ฐำน

กลมุ่ สำระเรยี นรู้ภำษำไทย รหัส ท๒๓๑๐๑

ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปีท่ี ๓ ภำคเรยี นที่ ๑ เวลำ ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ

ลำดบั ชอ่ื หน่วย มำตรฐำนกำรเรยี นร้/ู สำระสำคญั เวลำ น้ำหนกั

ที่ กำรเรยี นรู้ ตวั ชีว้ ดั คะแนน
(ชัว่ โมง)

๑ ปฐมนิเทศ - การเรียนรู้โดยปฏิบัตติ นตามกฎกตกิ าและ ๑ -

ร่วมทากจิ กรรมภาษาไทยช่วยสง่ เสริมให้มี

ผลสมั ฤทธ์วิ ชิ าภาษาไทยในระดับดีขึ้นไป

๒ การฟัง ท ๓.๑ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ , การเลือกฟงั และดูอย่างมวี จิ ารณญาณ ใช้ ๕ ๑๐

ทกั ษะการฟัง และดู จบั ใจความเป็นพ้นื ฐาน
การดู ม.๓/๖ และพจิ ารณาไตร่ตรอง วเิ คราะห์วิจารณ์

และประเมนิ สารท่ีฟงั ดู และมีมารยาทใน

การฟัง ดูและการพูด

๓ การอา่ น ท ๑.๑ ม.๓/๑ , ม.๓/ ๒ - การอา่ นออกเสยี งร้อยแกว้ ใช้หลกั การ ๑๑ ๒๕

วรรณกรรม , ม.๓/๓ ,ม.๓/ ๔ ,ม.๓/ อา่ นถูกตอ้ ง คล่องแคล่วมีการเวน้ วรรค การ

๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗ ,ม.๓/ ออกเสียงถูกต้องตามอักขรวธิ ี และ
ร้อยแก้ว ๘ , ม.๓/ ๙ , ม.๓/ ๑๐ สอดแทรกอารมณใ์ นการอ่านสอดคล้องกบั

สารท่ีอา่ น

-การอ่านจบั ใจความจากส่ือต่าง ๆ เป็นการ
อ่านเพื่อจบั ใจความสาคญั ของเรือ่ ง ผูอ้ า่ น
ควรสามารถระบุใจความสาคัญและ
รายละเอยี ดได้

- ความหมายโดยตรงและโดยนัยของคา มี
ความแตกตา่ งกันโดยความหมายโดยตรง
เป็นความหมายตามตวั อักษรส่วน
ความหมายโดยนยั เปน็ ความหมายแฝงของ
คาน้นั ๆ

-การอ่านเร่ืองแลว้ เขียนกรอบแนวคดิ ผัง
ความคิด บันทึกย่อความ และรายงาน เป็น
กจิ กรรมทสี่ ัมพันธก์ บั การอ่าน

ลำดับ ชอื่ หน่วย มำตรฐำน สำระสำคัญ เวลำ นำ้ หนกั
ที่ กำรเรียนรู้ กำรเรียนร้/ู ตวั ช้วี ัด คะแนน
-การวิเคราะห์วจิ ารณ์และประเมินเรื่องที่
อ่านโดยใช้กลวิธเี ปรยี บเทียบทาให้ผอู้ า่ น (ช่วั โมง)
เข้าใจได้ดขี ึน้

- การอา่ นอย่างมวี จิ ารณญาณควรมีการใช้
ความคดิ พิจารณาและประเมินความถกู ตอ้ ง
ของขอ้ มูลทใ่ี ช้สนับสนนุ ในเรื่องท่ีอ่าน
วจิ ารณค์ วามสมเหตุสมผล

- การลาดับความ และความเป็นไปได้ของ
เรือ่ ง วิเคราะหเ์ รื่องเพ่ือแสดงความคิดเหน็
โต้แย้งเกยี่ วกับเรื่องท่ีอ่าน

-การอา่ นจับใจความสนใจผอู้ ่านควรตคี วาม
และประเมนิ คุณค่าแนวคิดทไ่ี ด้จากงาน
เขยี น เพ่ือไปใช้แกป้ ญั หาชวี ติ และสรา้ งนสิ ัย
รกั การอา่ น

-นทิ านและวรรณกรรมพนื้ บา้ นมเี น้ือหาและ

คณุ คา่ ทค่ี วรศึกษาและอนรุ ักษส์ บื ทอด

๔ ระดับภาษา ท ๔.๑ ม.๓/๑ ,ม.๓/๓ - ภาษาไทยมีคาจากภาษาอื่นปนอยู่ เช่น คา ๖ ๑๐

และ เขมร ชวา อังกฤษ เปน็ ตน้
ม.๓/๕

คาไทยจาก - ภาษาไทยมรี ะดบั ภาษาท่ีเป็นแบบแผน

ภาษาอน่ื และไมเ่ ปน็ แบบแผน การใชภ้ าษาในการพดู

และ การเขยี นควรใช้ให้เหมาะสมกบั ระดับ

ภาษา

- คาศพั ท์ทางวิชาการและวิชาชีพ มกี าร
บญั ญัตคิ าและความหมายเฉพาะ

ลำดับ ชอ่ื หน่วยกำร มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ สำระสำคัญ เวลำ นำ้ หนัก
ท่ี เรยี นรู้ ตัวชว้ี ดั คะแนน
(ชัว่ โมง)
๕ สรปุ สอบกลางภาค ๓ ๒๐
๖ การอา่ น ๑๒
ท ๑.๑ ม.๓/ ๑ - วรรณคดรี อ้ ยกรองมลี ักษณะบังคับ การ
วรรณคดี อ่านวรรณคดีร้อยกรอง ใช้การแบง่

ร้อยกรอง ท ๕.๑ ม.๓/ ,ม.๓/๓ , วรรค ท่วงทานองให้ถกู ต้องตามลกั ษณะ
ม.๓/๔ คาประพันธ์

- การอ่านวรรณคดี วรรณกรรม และ
วรรณกรรมท้องถน่ิ ท่เี ป็นร้อยกรองทย่ี าก
ข้ึน ผูอ้ ่านควรสามารถสรปุ เน้อื หาของา
เรอ่ื งได้

- วิถไี ทยและคุณค่าทม่ี ีอยูใ่ นวรรณคดแี ละ
วรรณกรรมที่อา่ นเป็นสง่ิ สาคัญท่ผี อู้ า่ น
ควรสามารถวิเคราะห์ได้

- การสรปุ ความรูแ้ ละข้อคดิ จากการอ่าน
ทาเพ่ือนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ จริง

- บทอาขยานมีความไพเราะและ
ความหมายมีคุณค่าท่ีควรจดจาและ
นาไปใชใ้ หเ้ หมาะสม

๗ การพูด ท ๓.๑ ม.๓/๓, ม.๓/๔, - การพดู รายงานการศึกษาค้นคว้า ๗ ๑๐

ม.๓/๖ เก่ยี วกับภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน มจี ุดมุง่ หมาย

เพ่อื อนุรักษ์และสืบทอดภูมิ-ปัญญาไทย

- การพดู ประเภทตา่ ง ๆ ได้แก่ การพูด
อภปิ ราย การพูดยอวาที มจี ุดมุ่งหมาย
และประเด็นการพดู ที่ใชใ้ นโอกาสตา่ ง ๆ
กนั และควรพดู และฟัง ดูอยา่ งมมี ารยาท

ลำดับ ช่อื หน่วยกำร มำตรฐำนกำรเรียนร้/ู สำระสำคัญ เวลำ น้ำหนัก
คะแนน
ท่ี เรยี นรู้ ตัวชวี้ ดั (ชั่วโมง)
๒๕
๘ การเขยี นและ ท ๒.๑ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒, - การคดั ลายมือตวั บรรจงครึง่ บรรทดั ควร ๑๒

แตง่ คา ม.๓/๓,ม.๓/๔,ม.๓/๕, คัดตามรปู แบบการเขียนตัวอักษรไทย
ประพันธ์
ม.๓/๑๐ - การเขยี นข้อความตามสถานการณ์และ

โอกาสต่าง ๆ ได้แก่ การเขียนคาอวย
ท ๔.๑ ม.๓/๖ พร คาขวญั คาคม คติพจน์ชวี ประวัติ

หรือ อตั ชวี ประวัติ ย่อความ จดหมายกิจ

ธุระ มีรปู แบบการเขยี นและจุดมุง่ หมาย

เฉพาะตามประเภทของงานเขียนผูเ้ ขียน

ควรใชภ้ าษาอยา่ งถกู ต้อง สละสลวย และ

มีมารยาทในการเขยี น

- ลักษณะบังคบั ของโคลงสสี่ ภุ าพ
ประกอบด้วยคา ๓๐ คา มสี มั ผสั ตามที่
บงั คับ และบังคบั เอกเจด็ โทส่ี

๙ สรปุ ทบทวน สอบปลายภาค ๓
๑๐ รวม ๖๐ ๑๐๐

คำอธบิ ำยรำยวิชำ รหัสวิชำ ท๒๓๑๐๒
ช้ันมัธยมศึกษำปีที่ ๓ ภำคเรียนที่ ๒
รำยวชิ ำ ภำษำไทยพ้นื ฐำน
กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ ภำษำไทย จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ
เวลำ ๓ ช่ัวโมง/สัปดำห์ ๖๐ ช่วั โมง/ภำคเรียน

อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะได้ถูกต้อง เข้าใจ

ความหมายโดยตรงและโดยนยั จับใจความสาคญั และรายละเอยี ดของสิ่งท่ีอ่าน
แสดงความคดิ เหน็ และขอ้ โต้แย้งเกยี่ วกบั เร่ืองท่ีอ่าน และเขียนกรอบแนวคิด ผงั ความคิด ย่อความ

เขียนรายงาน จากสง่ิ ที่อ่านได้ วิเคราะห์ วจิ ารณ์ อยา่ งมีเหตุผล
ลาดับความอย่างมขี น้ั ตอนและความเป็นไปได้ของเรื่องที่อา่ น ตคี วาม ประเมินคณุ ค่า

และแนวคดิ ที่ไดจ้ ากงานเขยี นอยา่ งหลากหลาย

รวมทง้ั ประเมินความถูกต้องของข้อมลู ท่ีใช้สนบั สนุนจากเรือ่ งท่ีอ่านและมมี ารยาทในการอา่ น
เขียนคาอวยพรในโอกาสต่างๆ ชีวประวัติ อตั ชีวประวตั ิและประสบการณ์ตา่ งๆ

เขยี นวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความรู้ ความคดิ หรอื โต้แยง้ อยา่ งมเี หตุผล เขียนโครงงาน และมมี ารยาทใน
การเขยี น

พดู ในโอกาสต่างๆไดต้ รงตามวัตถปุ ระสงค์อย่างมีเหตุผล น่าเชื่อถือและมีมารยาทในการฟงั ดูและพูด
เขา้ ใจคาบาลสี ันสกฤต คาภาษาถิ่น วเิ คราะหค์ วามแตกต่างในภาษาพูด ภาษาเขยี นโครงสร้างของ

ประโยครวม ประโยคซ้อน แต่งบทร้อยกรองประเภทกาพย์ โคลงสสี่ ุภาพ

สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน วเิ คราะหต์ ัวละครสาคัญ วิถีชวี ิตไทย
และคุณคา่ ที่ไดร้ ับจากวรรณคดี วรรณกรรม และบทอาขยาน พร้อมทง้ั สรปุ ความรู้ ข้อคดิ

เพ่ือนาไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตจริง
ตวั ชวี้ ดั /ผลการเรยี นรู้

ท๑.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘ ม.๓/๙ ม.๓/๑๐
ท๒.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘ ม.๓/๙ ม.๓/๑๐
ท๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖
ท๔.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖
ท๕.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔

รวมตัวชวี้ ัด/ผลกำรเรียนรู้ ๓๖ ตวั ช้ีวัด

โครงสร้ำงรำยวิชำภำษำไทยพ้ืนฐำน

กลมุ่ สำระเรียนรภู้ ำษำไทย รหัส ท๒๓๑๐๒

ชั้นมธั ยมศกึ ษำปีที่ ๓ ภำคเรยี นที่ ๒ เวลำ ๖๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต

หนว่ ยท่ี ชอื่ หน่วยกำร มำตรฐำน/ สำระสำคญั เวลำ นำ้ หนกั
เรียนรู้ ตัวชีว้ ดั /ผลกำร คะแนน
เรียนรู้ การอ่านออกเสียงวรรณกรรม
ประเภทรอ้ ยแก้ว ผอู้ ่านต้องอ่าน ๒๐ ๒๐
๑ พระบรมราโชวาท ท ๑.๑ ม ๓/๑ ออกเสยี งใหถ้ ูกต้อง ชดั เจนและมี
ม ๓/๒ ลีลา ๒๐ ๒๐
ม ๓/๓ การอา่ นเหมาะสมกับประเภทของ
งานเขยี น เพื่อถา่ ยทอดอารมณ์ไปสู่
ท ๒.๑ ม ๓/๓ ผฟู้ งั ใหค้ ล้อยตามไปกบั เร่ืองราว
ท ๓.๑ ม ๓/๑ หรือบทประพนั ธท์ ่ีอา่ น

ม ๓/๒ การเขา้ ใจความหมายของ
ท ๔.๑ ม ๓/๔ คาศัพท์ จะทาให้อา่ นออกเสียงได้
ท ๕.๑ ม ๓/๒ ถกู ต้องและยังสามารถเข้าใจเร่อื งที่
อ่าน
ม ๓/๓
การจับใจความสาคัญเป็น
พื้นฐานทจ่ี าเปน็ ในการศึกษาหา
ความรู้ จึงควรฝึกฝนให้เกดิ ความ
ชานาญจนสามารถจับใจความ
สาคัญในงานเขียนทกุ ประเภท

การเขยี นชีวประวัตหิ รอื
อัตชีวประวัติ เปน็ งานเขียนท่ี
นาเสนอเรอ่ื งราวและเหตกุ ารณ์ท่ี
เกดิ ขนึ้ ในชีวติ ของบุคคล ซ่ึงควร
เขียนใหค้ รอบคลมุ ทัง้ ในอดตี
ปจั จบุ นั และแนวโน้มในอนาคตซ่งึ
เป็นแง่มมุ ท่ีนา่ สนใจ เป็นประโยชน์
แก่ผอู้ ื่น ควรมีการเลือกใชภ้ าษาใน
การนาเสนอที่น่าสนใจ เขา้ ใจง่าย
และเรียบเรยี งเนื้อหาอยา่ งเป็น
ลาดบั ตอ่ เน่ือง

การพดู แสดงความคิดเห็นและ
ประเมนิ เร่ืองจากการฟงั และการดู

เปน็ การพูดเพื่อให้เกิดความรอบรู้
สง่ เสรมิ การมีความคดิ ท่ีกวา้ งขวาง
เปน็ ประโยชน์ตอ่
การพัฒนาการพูดและสามารถ
นาไปใช้ในชวี ิตจริง

การพดู วเิ คราะห์ วิจารณ์จาก
เร่ืองท่ีฟังและดู เป็นการพูดเพ่ือ
แยกแยะองคป์ ระกอบของเรื่องทฟ่ี งั
และดู
แลว้ แสดงความคิดเห็นตามมุมมอง
ของผู้พูดอย่างมหี ลักเกณฑ์ ทาใหผ้ ู้
พดู ได้พฒั นาทักษะการพดู และผฟู้ ัง
ไดร้ บั ประโยชน์จากเรื่องท่ีฟัง

ความเจรญิ ก้าวหนา้ ของโลก
ในปัจจบุ ัน มสี ่ิงต่าง ๆเกิดขึ้น
มากมาย จึงต้องมีการสร้างคาทบั
ศพั ท์และบัญญตั ศิ ัพทข์ น้ึ เพอ่ื ใช้สื่อ
ความหมายให้เขา้ ใจตรงกนั
ทาใหก้ ารสื่อสารเกิดประสทิ ธิภาพ

การวเิ คราะหว์ ถิ ไี ทยและ
คณุ ค่าจากวรรณคดีและวรรณกรรม
ท่ีอา่ นเป็นการพจิ ารณา
องค์ประกอบแต่
ละส่วน ทง้ั ถ้อยคาสานวน เนือ้ เร่ือง
และแนวคิดเพอื่ ให้เข้าใจและเห็น
คณุ คา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรม
น้นั

การสรุปความรแู้ ละข้อคิดจาก
เรือ่ งที่อา่ น เป็นการสรปุ สาระสาคญั
และข้อคดิ ท่แี ฝงอยู่ในเนื้อเร่ือง
เพือ่ จะไดน้ าความรแู้ ละข้อคดิ ทไ่ี ด้
ไปประยุกต์ในชีวติ ประจาวันให้เกดิ
ประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น

๒ อศิ รญาณภาษิต ท ๑.๑ ม ๓/๑ การอา่ นออกเสยี งบทร้อยกรอง ๒๐ ๒๐
ผู้อา่ นตอ้ งเขา้ ใจลักษณะคา
ท ๒.๑ ม ๓/๒ ประพันธข์ องบทร้อยกรองนน้ั ๆ ๒๐
ม ๓/๖ เขา้ ใจคาศพั ทแ์ ละเน้ือหา จึงจะ ๒๐
ม ๓/๗ สามารถอ่านออกเสยี งได้ถูกต้อง
และแสดงอารมณ์อยา่ งเหมาะสม
ท ๕.๑ ม ๓/๑
ม ๓/๓ การศกึ ษาระดบั ภาษา

ม ๓/๔ เปน็ สง่ิ ที่จะชว่ ยใหส้ ามารถพดู และ
เขียนภาษาไทยได้ถูกต้องเหมาะสม
กบั สัมพนั ธภาพของบุคคล โอกาส
และกาลเทศะ เพือ่ ใหก้ ารส่ือสาร
เป็นท่เี ขา้ ใจและพอใจทง้ั ฝา่ ยผ้สู ง่
สารและผู้รับสาร และบงั เกดิ
สมั ฤทธผิ ลตามความมุง่ หมาย
การเขยี นอธิบายมี
จุดประสงคเ์ พ่ือให้เข้าใจส่งิ ท่อี ธิบาย
โดยเขยี นตามลาดับขัน้ ตอน
ยกตัวอยา่ งเปรียบเทียบความ
เหมือนและความต่าง ใหค้ านิยาม
และใชเ้ หตผุ ล สว่ นการเขียนช้แี จง
ควรใหข้ ้อเทจ็ จรงิ
ชปี้ ระเด็นท่อี าจก่อให้เกิดความ
เข้าใจผดิ สร้างความเขา้ ใจตรงกนั
ด้วยภาษาชัดเจน เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจ
ถูกต้อง
ตามข้อเทจ็ จริง
การเขียนวิเคราะห์ วจิ ารณ์
แสดงความคดิ เหน็ และโตแ้ ย้งใน
เรื่องท่ีอ่าน เป็นการอ่านใหเ้ ข้าใจ
อยา่ งแจม่ แจง้ แลว้ พจิ ารณา
แยกแยะอยา่ งมเี หตผุ ล ฝึกให้
ผเู้ ขยี นใช้ความคดิ ส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ
ความรอบรู้ และสามารถใช้
วจิ ารณญาณของตนให้เกดิ
ประโยชน์ตอ่
การอ่านและการเขยี น

วัดผลกลางภาคเรยี น ๒๐
๓ บทพากยเ์ อราวณั ท ๑.๑ ม ๓/๑ การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง

ม ๓/๔ ประเภท
ท ๓.๑ ม ๓/๔ กาพยฉ์ บงั ๑๖ ผู้เรยี นต้องศึกษา

ม ๓/๖ หลักการอ่านออกเสยี ง
ท ๔.๑ ม ๓/๔

ท ๕.๑ ม ๓/๑ ตามลกั ษณะคาประพันธก์ าพยฉ์ บัง
ม ๓/๒ 16 เข้าใจคาศัพท์ และเนอ้ื หา จงึ จะ
ม ๓/๓ สามารถอา่ นออกเสียงไดถ้ ูกต้อง
ม ๓/๔ และแสดงอารมณไ์ ด้อย่างเหมาะสม

การสรุปความรู้ ความคดิ และ
ความรู้สึกจากการเรียนรู้และการ
ฝกึ ฝนทกั ษะ เป็นการทบทวนองค์
ความรู้
ทงั้ หมดให้เกดิ ความเข้าใจที่คงทน
และสามารถนาไป
ประยกุ ตใ์ นชีวิตประจาวนั และการ
ทางานในอนาคตได้

การพูดอภิปรายเป็นการ
แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ซง่ึ กันและ
กนั และเปน็ การฝึกใหน้ ักเรียนรู้จกั
แสดงความคิดเห็นอย่างมเี หตุผล
พูดได้ตรงตามจดุ ประสงค์ และ
มีมารยาทในการพดู

การสรปุ ความรูแ้ ละข้อคิดจาก
เรื่องท่ีอา่ น เป็น
การสรุปสาระสาคญั และข้อคิดท่ี
แฝงอยูใ่ นเนื้อเร่อื ง
เพื่อจะได้นาความรแู้ ละข้อคดิ ทีไ่ ด้
ไปประยุกต์ในชวี ติ ประจาวนั ให้เกดิ
ประโยชน์ต่อตนเองและผู้อนื่

การวเิ คราะหว์ ถิ ไี ทยและคณุ คา่
จากวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอี่ ่าน
เป็นการพจิ ารณาองค์ประกอบแต่
ละส่วน ทัง้ ถอ้ ยคาสานวน เนอ้ื เร่ือง
และแนวคดิ เพื่อใหเ้ ข้าใจและเหน็
คณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
น้ัน

วัดผลปลายภาคเรียน ๒๐
รวม ๘๐ ๑๐๐

คำอธิบำยรำยวิชำ

ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๔ ภาคเรยี นท่ี ๑ จานวน ๔๐ ชวั่ โมง

การอ่าน อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง ไพเราะ และเหมาะสมกบั เร่ือง
ที่อ่าน ตีความ แปลความ และขยายความเร่ืองทอี่ ่าน วิเคราะห์และวจิ ารณ์เร่ืองทอ่ี า่ นในทุกๆ ด้านอยา่ งมี
เหตผุ ล คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่อื งทีอ่ า่ นและประเมนิ คา่ เพอื่ นาความรู้ ความคดิ ไปใชต้ ดั สินใจแกป้ ญั หา
ในการดาเนินชวี ิต วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเหน็ โต้แยง้ กับเร่ืองท่ีอ่าน และเสนอความคิดใหมอ่ ยา่ ง
มเี หตุผล ตอบคาถามจากการอา่ นประเภทต่างๆ ภายในเวลาทกี่ าหนด อา่ นเร่ืองต่างๆ แล้วเขยี นกรอบ
แนวคิด ผังความคดิ บันทึก ย่อความ และรายงาน สงั เคราะห์ความร้จู ากการอา่ นส่ือส่ิงพิมพ์ ส่อื
อเิ ล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ตา่ งๆ มาพฒั นาตน พัฒนาการเรยี น และพัฒนาความรู้ทางอาชพี และมี
มารยาทในการอ่าน

การเขียน เขยี นส่ือสารในรูปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มี
ขอ้ มลู และสาระสาคัญชัด ผลติ งานเขยี นของตนเองในรปู แบบต่างๆ ประเมนิ งานเขยี นของผ้อู ่นื แล้วนามา
พฒั นางานเขียนของตนเอง เขียนรายงานการศกึ ษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจตามหลักการเขยี นเชิงวิชาการ และใช้
ข้อมูลสารสนเทศอ้างองิ อย่างถูกต้อง บนั ทกึ การศึกษาค้นคว้าเพอื่ นาไปพฒั นาตนเองอย่างสม่าเสมอ และมี
มารยาทในการเขยี น

การฟัง การดู และการพูด สรปุ แนวคดิ และแสดงความคิดเห็นจากเร่อื งทีฟ่ งั และดู วเิ คราะหแ์ นวคดิ
การใช้ภาษา และความนา่ เช่ือถือจากเรอื่ งทีฟ่ ังและดูอย่างมีเหตุผล ประเมนิ เร่อื งท่ีฟงั และดู แลว้ กาหนด
แนวทางนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิต มวี ิจารณญาณในการเลือกเรอ่ื งท่ีฟงั และดู พดู ในโอกาสตา่ งๆ
พดู แสดงทรรศนะ โตแ้ ยง้ โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษาถกู ต้องเหมาะสม และมีมารยาทในการ
ฟัง การดู และการพูด

หลกั การใชภ้ าษาไทย ใชค้ าและกล่มุ คาสรา้ งประโยคตรงตามวตั ถุประสงค์ ใชภ้ าษาเหมาะสมแก่
โอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมท้ังคาราชาศัพท์อยา่ งเหมาะสม แตง่ บทร้อยกรอง วิเคราะห์อิทธพิ ลของ
ภาษาต่างประเทศและภาษาถ่ิน อธิบายและวเิ คราะห์หลักการสร้างคาในภาษาไทย วเิ คราะหแ์ ละประเมิน
การใชภ้ าษาจากสื่อส่งิ พิมพ์และสอื่ อเิ ล็กทรอนิกส์

วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์และวจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณเ์ บอื้ งต้น
วิเคราะห์ลกั ษณะเด่นของวรรณคดีเชอ่ื มโยงกับการเรยี นรู้ทางประวัตศิ าสตร์และวถิ ชี ีวิตของสงั คม ในอดตี
วเิ คราะห์และประเมนิ คณุ ค่าด้านวรรณศลิ ปข์ องวรรณคดแี ละวรรณกรรมในฐานะทเี่ ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม
ของชาติ สังเคราะหข์ ้อคดิ จากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตจริง ท่องจาและบอก
คุณคา่ บทอาขยานตามทก่ี าหนดและบทร้อยกรองที่มคี ณุ ค่าตามความสนใจและนาไปใช้อ้างอิง

รหัสตัวชว้ี ัด

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๕ ม.๔-๖/๖ ม.๔-๖/๗ ม.๔-๖/๘ ม.๔-๖/๙

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๘

ท ๓.๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๕ ม.๔-๖/๖

ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๕ ม.๔-๖/๖

รวมทงั้ หมด ๒๗ ตวั ช้วี ัด

โครงสร้ำงรำยวิชำภำษำไทย

มัธยมศกึ ษำปีท่ี ๔ ภำคเรยี นที่ ๑ เวลำ ๔๐ ช่วั โมง

ลาดับที่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ จานวน น้าหนัก
๑ / ตัวช้วี ัด ชวั่ โมง คะแนน

๒ ธรรมชาติของ ท ๔.๑ ม.๔-๖ /๑ ๑. ภาษาไทยเปน็ ภาษาคาโดด ๒ ๕
ภาษาไทย และ ๓
๓ ๒. ภาษาไทยมีเสยี งสระ พยัญชนะ และ ๘
วรรณยกุ ต์

๓. ภาษาไทยมรี ะดบั ภาษา

๔. ภาษาไทยมกี ารเปลยี่ นแปลง

ภาษากบั การ ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑, ๑. การสือ่ สาร ๓
ส่อื สาร
และ๔ ท ๓.๑ ม.๔- ๒. ภาษากับการสอ่ื สาร
๖/๒, ๓, ๕ และ ๖ ท
๔.๑ ม.๔-๖/๓ ๓. อุปสรรคในการสือ่ สาร
๔. วิธีแกไ้ ขอุปสรรคของการสื่อสาร

การใชค้ าและ ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑, ๒ ๑. การใช้คาใหต้ รงตามความหมาย ๓

กลมุ่ คา และ ๓ ๒. การใช้คาใหถ้ กู ต้องตามลักษณะภาษาไทย

๓. การใชค้ าให้กะทัดรดั ชดั เจน และสละสลวย

๔ การย่อความ ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑ ๑. ความหมายของย่อความ ๒๕
และ ๓ ๒. ความสาคญั ของย่อความ ๓๘
๓. ส่วนประกอบของยอ่ ความ ๓๘
๕ การเขยี น ท ๒.๑ ม.๔-๖/๒ ๔. รูปแบบการเขยี นคานาย่อความ
เรยี งความ ๕. หลักการย่อความ
๖. ตัวอย่างการเขียนย่อความ
๖ จดหมายธุรกิจ ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑, ๑. ความหมายของเรยี งความ
และ ๘ ๒. องคป์ ระกอบของเรยี งความ
๓. คุณลกั ษณะของเรยี งความ
๔. หลกั การเขยี นเรยี งความ
๕. ข้นั ตอนการเขียนเรยี งความ
๖. ตวั อย่างเรยี งความ
๑. ความหมายของจดหมายธุรกิจ
๒. ความสาคัญของจดหมายธุรกิจ
๓. ประเภทของจดหมายธรุ กิจ

ลาดับที่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ จานวน นา้ หนัก
/ ตวั ชว้ี ัด ชว่ั โมง คะแนน

๗ การอ่านอยา่ งมี ท ๑.๑ ม.๔-๖/๒, ๓, ๑. องค์ประกอบของการอ่าน ๒๕
๔ ๑๐
ประสทิ ธิภาพ ๔, ๕, ๖, ๗, ๘ ๒. การอ่านตีความ
และ ๙ ๓. การอ่านแปลความ ๔ ๑๐

๔. การอ่านขยายความ ๖ ๑๓

๘ คณุ ค่างาน ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑, ๒, ๑. ความหมายของงานประพันธ์ ๔ ๑๐
๔ ๑๐
ประพนั ธ์ ๓, ๔, ๕ และ ๖ ๒. ความหมายของวรรณคดีและวรรณกรรม ๔๐ ๑๐๐

๓. องค์ประกอบของงานประพนั ธ์

๔. การพจิ ารณางานประพันธ์

๕. การวจิ ารณว์ รรณกรรม

๙ บทนมัสการมาตา ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ๒, ๑. ความเป็นมาของเรือ่ ง

ปิตคุ ณุ และบท ๓, ๔, ๕, ๖, ๗ และ ๒. ประวัติผู้แต่ง
นมสั การอาจรยิ ๙ ๓. บทนมัสการมาตาปิตุคณุ
๔. บทนมสั การอาจริยคุณ
คณุ ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑, ๒,
๓, ๔, ๕ และ ๖

๑๐ อเิ หนา ตอน ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ๒, ๑. ความเปน็ มาของเรือ่ ง

ศกึ กะหมงั กหุ นงิ ๓, ๔, ๕, ๖, ๗ และ ๒. ประวัตผิ แู้ ต่ง
๙ ๓. ลกั ษณะคาประพนั ธ์
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑, ๒,
๓, ๔, ๕ และ ๖ ๔. ความรเู้ ก่ียวกบั ละคร
๕. เรอื่ งย่อ

๑๑ นทิ านเวตาลเร่ือง ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ๒, ๑. ความรเู้ กยี่ วกบั เร่อื ง
ที่ ๑๐ ๓, ๔, ๕, ๖ และ ๙ ๒. ประวัติผู้แตง่
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑, ๒, ๓. เรื่องย่อ
๓, ๔, ๕ และ ๖ ๔. บทประพนั ธ์

๑๒ นิราศนรินทร์ ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ๒, ๑. ความรู้เก่ยี วกับเรือ่ ง
คาโคลง ๓, ๔, ๕, ๖ และ ๙ ๒. ประวัติผแู้ ตง่

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑, ๒, ๓. ลักษณะคาประพนั ธ์
๓, ๔, ๕ และ ๖ ๔. เรอ่ื งย่อ

รวม

คำอธิบำยรำยวิชำภำษำไทย

ช้ันมัธยมศกึ ษำปีท่ี ๔ รหัสวิชำ ท ๓๑๑๐๒

ภำคเรียนท่ี ๒ เวลำ ๔๐ ช่วั โมง

การอ่าน อ่านออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถกู ต้อง ไพเราะ และเหมาะสมกับเรอ่ื งท่ี
อา่ นตีความ แปลความ และขยายความเรอื่ งทอี่ ่าน วิเคราะห์และวิจารณเ์ ร่อื งทอ่ี ่านในทุกๆ ด้านอย่างมเี หตุผล
คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องทอี่ า่ นและประเมินค่าเพ่ือนาความรู้ ความคดิ ไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการดาเนนิ
ชีวติ วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเหน็ โตแ้ ยง้ กับเร่อื งท่ีอ่าน และเสนอความคิดใหม่อยา่ งมีเหตผุ ล ตอบ
คาถามจากการอา่ นประเภทต่างๆ ภายในเวลาท่กี าหนด อ่านเร่อื งต่างๆ แลว้ เขียนกรอบแนวคิด ผงั ความคดิ
บันทึก ยอ่ ความ และรายงานสงั เคราะห์ความรู้จากการอ่านสือ่ สง่ิ พมิ พ์ สอื่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์และแหล่งเรยี นรตู้ ่างๆ
มาพัฒนาตน พัฒนาการเรยี น และพัฒนาความรู้ทางอาชีพ และมมี ารยาทในการอ่าน

การเขยี น เขียนสื่อสารในรปู แบบตา่ งๆ ไดต้ รงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรยี งถูกตอ้ ง มีข้อมูล
และสาระสาคัญชัด ผลิตงานเขยี นของตนเองในรูปแบบต่างๆ ประเมินงานเขยี นของผู้อน่ื แลว้ นามาพฒั นางาน
เขียนของตนเอง เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรอื่ งที่สนใจตามหลักการเขยี นเชงิ วชิ าการ และใชข้ ้อมูล
สารสนเทศอา้ งอิงอย่างถูกต้อง บนั ทึกการศกึ ษาค้นควา้ เพ่ือนาไปพัฒนาตนเองอยา่ งสม่าเสมอ และมีมารยาท
ในการเขยี น

การฟัง การดู และการพูด สรุปแนวคิดและแสดงความคดิ เห็นจากเรื่องท่ีฟงั และดู วิเคราะหแ์ นวคิด
การใชภ้ าษา และความนา่ เชอ่ื ถือจากเร่ืองท่ฟี ังและดูอยา่ งมีเหตผุ ล ประเมินเรอื่ งที่ฟังและดู แล้วกาหนด
แนวทางนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนินชีวติ มีวจิ ารณญาณในการเลอื กเรอื่ งทีฟ่ ังและดู พูดในโอกาสต่างๆ พดู
แสดงทรรศนะ โต้แยง้ โนม้ น้าวใจ และเสนอแนวคดิ ใหม่ดว้ ยภาษาถกู ต้องเหมาะสม และมีมารยาทในการฟงั
การดู และการพูด

หลักการใชภ้ าษาไทย ใช้คาและกลุม่ คาสร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ ใชภ้ าษาเหมาะสมแก่
โอกาสกาลเทศะ และบุคคล รวมทง้ั คาราชาศัพท์อย่างเหมาะสม แตง่ บทร้อยกรอง วิเคราะห์อิทธิพลของ
ภาษาต่างประเทศและภาษาถ่ิน อธบิ ายและวเิ คราะหห์ ลกั การสร้างคาในภาษาไทย วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ การ
ใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์

วรรณคดแี ละวรรณกรรม วิเคราะห์และวจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมตามหลักการวจิ ารณ์เบ้อื งต้น
วเิ คราะหล์ กั ษณะเด่นของวรรณคดีเชือ่ มโยงกบั การเรยี นรู้ทางประวัตศิ าสตร์และวิถีชวี ติ ของสงั คมในอดีต
วิเคราะหแ์ ละประเมินคณุ คา่ ด้านวรรณศิลปข์ องวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะทีเ่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม
ของชาติสังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมเพ่ือนาไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ จริง ท่องจาและบอกคุณคา่
บทอาขยานตามที่กาหนดและบทรอ้ ยกรองที่มคี ุณคา่ ตามความสนใจและนาไปใช้อ้างอิง


Click to View FlipBook Version