โครงสร้ำงรำยวชิ ำ
รำยวิชำภำษำไทย ชนั้ มธั ยมศึกษำปที ่ี ๔
ภำคเรียนที่ ๒ เวลำเรียนรวม ๔๐ ช่วั โมง
หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู้ จานวน นา้ หนัก
เรยี นรู้ / ตวั ชี้วัด ชว่ั โมง คะแนน
๑. ลกั ษณะสาคัญของ ท ๔.๑ ๑. ธรรมชาติของภาษา อิทธิพลของภาษา ๕
ภาษาไทยบางประการ ม.๔-๖/๑ และลักษณะของภาษาไทย ๔
๒. การฟังและการดูอย่างมี ท ๓.๑ ๒. ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และ ๒
วจิ ารณญาณ บุคคล
ม.๔/๖/๑ ,
๒,๔,๖ ๓. การอธบิ ายและวเิ คราะห์หลักการสรา้ งคา
ในภาษาไทย
๓. การพูดแสดงความคิดเหน็ ท ๓.๑
๑. การสรุปวัตถปุ ระสงคแ์ ละแนวคดิ ตง้ั
และการวิเคราะห์ วจิ ารณ์จาก ม. ๔-๖ /๕ คาถามเก่ียวกับเน้ือหา และแสดงความ
การฟังและการดู คดิ เห็นของเรือ่ งท่ีฟงั และดู
และ ๖
๒. การวิเคราะห์วัตถุประสงค์ แนวคดิ การใช้
ภาษา และความน่าเชื่อถือ ของเรื่องท่ีฟัง
และดูอย่างมีเหตุผล
๓. การประเมนิ เรื่องที่ฟังและดู แล้วนาไป
ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวติ
๔. การมวี จิ ารณญาณในการเลอื กเรอื่ งที่ฟัง
และดแู ละนาไปใช้
๕. มารยาทในการฟังและดู
๑. การวิเคราะหว์ จิ ารณเ์ รือ่ งทฟ่ี ังและดู
อย่างมเี หตุผล
๒. การพูดในโอกาสตา่ งๆ ทงั้ ทเ่ี ป็นทางการ
และไม่เป็นทางการโดยใช้ภาษาถกู ต้อง
เหมาะสม
๓. การพูดแสดงทรรศนะ โตแ้ ยง้ โน้มนา้ วใจ
และเสนอแนวคดิ ใหม่อยา่ งมีเหตผุ ล
๔. มารยาทในการพดู
หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู้ จานวน นา้ หนกั
๔. การเขยี นเชญิ ชวน เรียนรู้ / ตวั ชวี้ ัด ช่วั โมง คะแนน
๕. การเขยี นบันทกึ รายงาน ท ๒.๑ ๑. การเขียนส่ือสารในรูปแบบต่างๆ โดยใช้ ๒
โครงงาน ม.๔-๖/๑ และ ๕ ภาษาเรียบเรยี งถูกต้อง มีข้อมูล หรือ
๕
๖. บทความ วตั ถปุ ระสงค์และสาระสาคัญชัดเจน
๒
๒. การผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบ ๒๐
ต่างๆ ทงั้ สารคดีและบันเทงิ คดี โดยมีเนือ้ หา
และกลวิธีในการเขียนตามท่กี าหนด
๓. การประเมนิ งานเขียนของผู้อื่นแลว้ นามา
พัฒนางานเขยี นของตนเอง
ท ๒.๑ ๑. การเขียนส่ือสารในรูปแบบตา่ งๆ โดยใช้
ม.๔-๖/๖ และ ๗ ภาษาเรยี บเรียงถูกตอ้ ง มขี ้อมูล หรือ
วตั ถุประสงค์และสาระสาคญั ชดั เจน
๒. การเขยี นรายงานการศึกษาคน้ ควา้ เรื่องท่ี
สนใจ ตามหลกั การเขยี นเชงิ วิชาการ ใช้
ขอ้ มลู สารสนเทศอา้ งองิ อยา่ งถกู ต้อง
๓. การจดบนั ทึกการศกึ ษาคน้ ควา้ เพ่อื นาไป
พฒั นาตนเองพัฒนาการเรยี นอยา่ งสม่าเสมอ
ท ๒.๑ ๑. การเขียนส่ือสารในรปู แบบต่างๆ โดยใช้
ม.๔-๖/๑ และ ๕ ภาษาเรียบเรยี งถูกตอ้ ง มีข้อมูล หรือ
วตั ถปุ ระสงคแ์ ละสาระสาคัญชดั เจน
๒. วจิ ารณ์ตัวอย่างบทความ
สอบกลางภาค
๗. การเขียนนิทาน ท ๒.๑ ม.๔-๖/ ๑. การวิเคราะห์ วจิ ารณน์ ิทานทีอ่ ่าน ๓
๑ และ ๓ ๘
๘. ประวตั วิ รรณคดีสมยั ๒. การเขยี นสื่อสารในรปู แบบตา่ งๆ โดยใช้
รัตนโกสนิ ทร์ ท ๕.๑ ม.๔-๖/ ภาษาเรยี บเรยี งถูกตอ้ ง มขี ้อมูล หรอื
๑,๒, ๓ และ ๔ วัตถุประสงค์และสาระสาคญั ชัดเจน
๓. การผลติ งานเขยี นของตนเองในรปู แบบ
ตา่ งๆ ท้ังสารคดีและบนั เทงิ คดี โดยมีเนือ้ หา
และกลวิธกี ารเขยี นตามที่กาหนด
๑. การวเิ คราะห์วิจารณว์ รรณคดีและ
วรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์วรรณคดี
และวรรณกรรมเบื้องตน้
๒. การวเิ คราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดี
เช่ือมโยงกับการเรยี นร้ทู างประวัติศาสตร์
และวถิ ชี ีวิตของสังคมในอดตี
๓. การวเิ คราะห์ ประเมินคณุ คา่ ดา้ น
วรรณศลิ ป์ ของวรรณคดีและวรรณกรรมใน
ฐานะที่เปน็ มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
๔. การสังเคราะหข์ ้อคดิ จากวรรณคดแี ละ
วรรณกรรมนาไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตจรงิ
๙. อิเหนา ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑ ๑. การวเิ คราะหว์ จิ ารณ์วรรณคดีและ ๕
ตอน ,๒, ๓ และ ๔ วรรณกรรมตามหลกั การวิจารณ์วรรณคดี
ศึกกะหมงั กหุ นงิ
และวรรณกรรมเบ้ืองตน้
๑๐. เร่ืองสนั้ “ ฟ้าโปรด
๒. การวิเคราะห์ ประเมินคุณค่าดา้ น
วรรณศิลป์ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมใน
ฐานะทเี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
๓. การสงั เคราะห์ข้อคดิ จากวรรณคดีและ
วรรณกรรมนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง
ท ๕.๑ ม. ๔-๖/ ๑. การวิเคราะหว์ ิจารณ์วรรณคดแี ละ ๔
๑ , ๓ และ ๔ วรรณกรรมตามหลกั การวิจารณ์วรรณคดี
และวรรณกรรมเบ้ืองต้น
๒. การวเิ คราะห์ ประเมนิ คุณค่าดา้ น
วรรณศลิ ป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมใน
ฐานะทเ่ี ป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
๓. การวเิ คราะหข์ ้อคดิ จากวรรณคดแี ละ
วรรณกรรมนาไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ
สอบปลายภาค ๒๐
รวม ๔๐ ๑๐๐
ท ๓๒๑๐๑ ภำษำไทยพ้นื ฐำน คำอธิบำยรำยวชิ ำ ชน้ั มัธยมศึกษำปที ี่ ๕
ภำคเรียนท่ี ๑ กลุ่มสำระกำรเรยี นรูภ้ ำษำไทย จำนวน ๑ หนว่ ยกติ
เวลำ ๔๐ ช่ัวโมง
ฝกึ ทักษะในการอา่ นวิเคราะหแ์ ละวิจารณ์ คาดคะเนเหตุการณแ์ ละประเมนิ ค่าเรอื่ งที่อ่านใน
ทกุ ๆดา้ น อย่างมเี หตุผล เขยี นสือ่ สารในรูปแบบต่างๆตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ ประเมนิ งานเขยี นของผอู้ น่ื
แล้วนามาพฒั นางานเขียนของตนเอง เขียนรายงานเชงิ วชิ าการและใช้ขอ้ มูลสารสนเทศอา้ งองิ อย่างถูกต้อง
บนั ทึกจากการศึกษาค้นคว้าเพอ่ื นาไปพฒั นาตนเองอยา่ งสม่าเสมอและมีมารยาทในการเขยี น วเิ คราะห์แนวคดิ
การใชภ้ าษาและความนา่ เช่ือถอื จากเร่ืองทฟี่ ังและดูอย่างมีเหตุผล ประเมินคา่ เรื่องท่ีฟังและดแู ลว้ กาหนด
แนวทางนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนนิ ชีวติ มวี ิจารณญาณในการเลือกเรือ่ งที่ฟังและดู สามารถพดู ในโอกาส
ต่างๆ พดู โนม้ น้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ดว้ ยภาษาถูกตอ้ งเหมาะสม มีมารยาทในการฟงั การดูและการพูด
มีความรู้และเขา้ ใจสามารถแต่งบทรอ้ ยกรองประเภทฉนั ท์ วเิ คราะหอ์ ิทธพิ ลของภาษาต่างประเทศภาษาถิ่น
อธบิ ายและวเิ คราะหห์ ลักการสร้างคาในภาษาไทย วเิ คราะห์ วจิ ารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมตามหลักการ
วิจารณ์เบอื้ งต้น วิเคราะหล์ ักษณะเดน่ ของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรยี นรู้ทางประวตั ิศาสตร์และวถิ ชี ีวติ
ของสงั คมในอดีต วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ คณุ ค่าวรรณคดีและวรรณกรรมด้านวรรณศิลป์ในฐานะเป็นมรดก
ทางวัฒนธรรมของชาติ
โดยใช้กระบวนการพฒั นาทักษะทางภาษา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมอื
ทกั ษะปฏบิ ตั ิ การคดิ วิจารณญาณ คดิ สรา้ งสรรค์ การคดิ วิเคราะห์ คดิ สงั เคราะห์และการประเมินค่า
เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถพฒั นาภาษาเพ่ือการสอ่ื สารได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
รกั ภาษาไทย ตระหนักและเหน็ คุณค่าของการนาความรูท้ างภาษาไทยไปใชใ้ ห้เกิดประโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวัน
มจี ติ สาธารณะ มีคุณธรรมจริยธรรมและคา่ นิยมที่เหมาะสม
ท ๑.๑ ม.๔.๖ / ๑ , ๒ , ๓, ๔, ๘
ท ๒.๑ ม.๔.๖ / ๑ , ๒ , ๕ , ๖
ท ๓.๑ ม.๔.๖ / ๒ , ๕
ท ๔.๑ ม๔.๖. / ๔ , ๕ , ๖
ท ๕.๑ ม. ๔.๖/ ๒ , ๔ , ๖
รวม ๑๗ ตวั ชว้ี ดั
โครงสร้ำงรำยวชิ ำภำษำไทย
รำยวชิ ำภำษำไทย ท ๓๒๑๐๑ ภำคเรียนท่ี ๑ ชัน้ มธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๕
เวลำ ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑ หน่วยกิต คะแนน ๑๐๐ คะแนน
มำตรฐำน สำระสำคัญ เวลำ น้ำหนกั
ที่ ชือ่ หน่วยกำรเรียนรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน
กำรเรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั
๑ อ่านวิเคราะห์ ท ๑.๑ ม.๔/๖ / ๓ การอ่านอยา่ งวเิ คราะห์และ ๔ ๑๐
และวิจารณ์ ท ๑.๑ ม.๔/๖ / ๔ วิจารณ์เปน็ สว่ นหนง่ึ ของชีวติ ซ่ึงเรา
ท ๑.๑ ม.๔/๖ / ๕ จะขาดมิได้ การอ่านแลว้ เข้าใจ
เน้อื หา สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์
เลอื กรับความคิดท่เี ปน็ ประโยชน์มี
คุณค่ามาใชไ้ ด้ นักอ่านท่ีดีควรอา่ น
จับใจความสาคญั อยา่ งรวดเร็ว
เขา้ ใจเรือ่ งตลอดและพจิ ารณาให้
รอบคอบอย่างมเี หตุผลว่า เรอ่ื งนน้ั ๆ
เป็นจรงิ หรอื ไม่ เพราะอะไร มี
เหตผุ ลน่าเช่อื ถือได้หรอื ไม่ เพราะ
อะไร คณุ คา่ ข้อคดิ ทไ่ี ด้คืออะไรจงึ จะ
สามารถนาข้อคิดไปใช้ประโยชน์
ได้อยา่ งแทจ้ รงิ
๒ ฟัง ดอู ย่างมี ท ๓.๑ม.๔-๖ / ๒ การฟงั การดเู ป็นทักษะด้านการ ๒ ๑๐
วิจารณญาณ ท ๓.๑ม๔-๖. / ๓ ส่ือสารทส่ี าคัญการฟังและดูใหเ้ กดิ
ท ๓.๑ ม.๔-๖ / ๔ ประโยชนแ์ ละพฒั นาการคิด ควร
เลือกฟังและดใู นสง่ิ ที่มีสาระให้
ความรอู้ นั เป็นประโยชน์และ
สามารถนาไปปรบั ใชใ้ นการดาเนิน
ชีวติ ประจาวันได้
ท่ี ช่อื หน่วยกำรเรียนรู้ มำตรฐำน สำระสำคัญ เวลำ น้ำหนัก
๓ พูดส่ือสารโนม้ น้าวใจ กำรเรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน
๔ ร้อยรสบทประพันธ์ ท ๓.๑ ม.๔-๖ / ๕ การพดู โนม้ น้าวใจ เป็นการพดู ๔ ๑๐
ท๓.๑ ม.๔-๖ / ๖
๕ สรา้ งสรรค์งานวชิ าการ ท่ตี อ้ งการเปล่ยี นความคิดความเช่อื
และทัศนคตขิ องผู้ฟังให้เปน็ ไปตาม
ความคดิ ของผูโ้ น้มน้าวใจ หากการ
โนม้ น้าวใจมเี จตนาลวงกลบเกลอ่ื น
หรอื ปดิ บงั ไม่ให้ผู้รบั สารไดร้ บั รคู้ วาม
จริงและเหตผุ ลอาจกอ่ ใหเ้ กดิ ความ
เสียหายแก่บุคคลและสงั คม ดงั น้ัน
ผ้รู บั สารควรมีวิจารณญาณในการฟงั
และผู้พูดควรมเี จตนาทดี่ ีในการโนม้
น้าวใจ
ท ๔.๑ม.๔-๖ / ๔ รา่ ยเป็นคาประพันธ์ทม่ี ผี นู้ ิยมแต่ง ๔ ๑๐
กนั แพร่หลาย ต้งั แตส่ มยั โบราณ
จนถงึ ปจั จุบัน การศึกษาหลกั เกณฑ์
และวิธกี ารแตง่ รา่ ยจะช่วยให้สามารถ
อา่ นคาประพันธป์ ระเภทรา่ ยได้อยา่ ง
เขา้ ใจและมอี รรถรสยิง่ ข้ึน ทาให้
สามารถแตง่ ร่ายได้ไพเราะถูกตอ้ ง
และยงั เปน็ การอนรุ ักษม์ รดก
วัฒนธรรมทางภาษาไวอ้ ีก
ท ๒.๑ ม.๔-๖/ ๑ การเขยี นรายงานวชิ าการเปน็ การ ๔ ๒๐
ท ๒.๑ม.๔-๖ / ๕ เขียนเพื่อแสดงผลการศึกษาค้นคว้า
การปฏบิ ตั งิ านอย่างเป็นระบบ
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/ ๖
การเขยี นรายงานวชิ าการได้อย่าง
ท ๒.๑ม.๔-๖ / ๗
มปี ระสทิ ธภิ าพ จะช่วยพัฒนาการ
ท ๒.๑ม๔-๖. / ๘ ปฏิบัตงิ านและสามารถนาไปปรบั ใช้
ในชวี ิตประจาวนั ได้
มำตรฐำน สำระสำคญั เวลำ น้ำหนกั
ท่ี ชือ่ หน่วยกำรเรียนรู้ (ชวั่ โมง) คะแนน
กำรเรยี นรู้/ตวั ชี้วัด
๖ สืบสานการสร้างคา ท ๔.๑ม. ๔-๖/๕ การสร้างคาในภาษาไทยทาให้ ๔ ๑๐
ท ๔.๑ ม. ๔-๖ /๖ มีถ้อยคาใช้ในภาษามากมายและ
สามารถใช้ภาษาสือ่ สารได้อย่าง
หลากหลายและมีประสิทธภิ าพ
๗ พินจิ วรรณกรรมวรรณคดี ท ๕.๑ ม.๔-๖ / ๑ การวิเคราะห์วรรณคดีและ ๑๘ ๓๐
ท ๕.๑ ม.๔-๖ / ๒ วรรณกรรมเปน็ การศกึ ษาเพ่ือการ
ท ๕.๑ ม๔-๖./ ๓ นาเอาคุณค่าขอ้ คิดท่ีแฝงไว้ใน
วรรณคดีวรรณกรรมมาประยุกต์ใช้ใน
ชวี ติ และสังคมไดอ้ ยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพและยังเป็นการอนุรักษ์
สืบสานใหค้ นรุ่นหลังไดเ้ รยี นรู้
วรรณคดีวรรณกรรมอย่างยั่งยืน
รวม ๔๐ ๑๐๐
คำอธบิ ำยรำยวิชำ รหัสวิชำ ท๓๒๑๐๒
ชนั้ มัธยมศึกษำปที ี่ ๕
รำยวิชำ ภำษำไทย จำนวน ๑ หนว่ ยกติ
กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ ภำษำไทยพ้ืนฐำน
เวลำ ๒ ช่ัวโมง/สัปดำห์ ๔๐ ชว่ั โมง/ภำคเรียน
ศึกษาวิเคราะห์ การอา่ นออกเสยี งรอ้ ยแกว้ และร้อยกรอง การอ่านบทความ นวนิยาย
วรรณคดใี นบทเรียน วรรณกรรมพ้ืนบา้ น บทเทศนา บทเพลง การตีความ แปลความและขยายความเร่อื งท่ี
อา่ น การวิเคราะห์ วิจารณ์ คาดคะเนและประเมนิ ค่าเรือ่ งท่ีอ่าน การแสดงความคิดเห็นโต้แย้งกับเร่ืองที่อา่ น
การตอบคาถาม การเขยี นกรอบแนวคดิ ผังความคดิ บันทึก ยอ่ ความและรายงานเรือ่ งที่อา่ น การสังเคราะห์
ความรจู้ ากการอ่าน การมีมารยาทในการอา่ น การเขยี นส่อื สารในรูปแบบ ตา่ ง ๆ การเขียนเรียงความ เขยี นย่อ
ความ การผลติ งานเขยี น การประเมินงานเขียน การเขียนรายงาน เขียนบันทึก การมีมารยาทในการเขียน การ
สรุปแนวคดิ และแสดงความคิดเห็นจากเร่อื งที่ฟังและดู การวิเคราะห์แนวคดิ การใชภ้ าษา และความน่าเชื่อถือ
จากเร่ืองทีฟ่ งั และดู การประเมินเร่อื งท่ีฟัง และดู การมวี จิ ารณญาณในการเลือกเร่อื งที่ฟงั และดู การพดู ใน
โอกาสต่าง ๆ การมีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ธรรมชาตขิ องภาษา พลังของภาษา และลกั ษณะของ
ภาษา คาและกลมุ่ คา สานวน ระดบั ของภาษา การแต่งคาประพันธ์ การวิเคราะห์อิทธิพลของ
ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น การอธบิ ายและวิเคราะห์หลักการสร้างคาในภาษาไทย การประเมนิ การใช้
ภาษาจาก สอื่ สิง่ พิมพ์และส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ การวิเคราะหว์ ิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมตามหลกั การวิจารณ์
เบ้อื งต้น การวิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดี การประเมนิ คณุ คา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรม
การสงั เคราะห์ข้อคดิ จากวรรณคดแี ละวรรณกรรม การรวบรวมวรรณกรรมพื้นบา้ นและอธิบายภมู ิปัญญาทาง
ภาษา การท่องจาและบอกคุณคา่ บทอาขยานและบทร้อยกรองท่มี ีคุณค่า
โดยใชก้ ระบวนการทางภาษา กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการกล่มุ กระบวนการคิด
กระบวนการเขยี น กระบวนการอา่ น การบรรยาย การอภิปราย การสบื ค้นข้อมลู เพื่อให้เกดิ ความรู้ ความคดิ
ความเข้าใจ สามารถนาเสนอส่อื สารสง่ิ ที่เรยี นรไู้ ด้อย่างมปี ระสิทธิภาพ มีความสามารถ ในการตดั สนิ ใจ และ
นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจาวันอยา่ งเห็นคุณค่าตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ มคี วามตั้งใจ เพียรพยายามในการเรยี นและเขา้ ร่วมกจิ กรรมการ
เรียนรู้ แสวงหาความร้จู ากแหลง่ เรยี นรู้ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี นอย่างสมา่ เสมอ ด้วยการเลือกใชส้ ื่อ
อย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วเิ คราะห์ สรุปเปน็ องคค์ วามรู้ แลกเปลย่ี นเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และ
นาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
ตัวชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้
ท ๑.๑ ม๕/๑ ๕/๒ ๕/๓
ท.๒.๑ ม ๕/๑ ๕/๔
ท. ๓.๑ ม ๕/๑ ๕/๒
ท ๔/๑ ม ๕/๒ ๕/๓
ท๕.๑ ม. ๔/๑ ,ม๔/๒,ม๔/๓, ม๔/๔,ม๔/๕,ม๔/๖
รวมตวั ช้ีวดั /ผลการเรียนรู้ ๕
โครงสรำ้ งรำยวิชำ ภำษำไทยพน้ื ฐำน รหสั วิชำ ท๓๒๑๐๒ ระดบั มัธยมศึกษำปีที่ ๕
หน่วยที่ ช่ือหน่วยกำร มำตรฐำน/ตัวชี้วัด/ผลกำรเรียนรู้ สำระสำคญั เวลำ นำ้ หนกั
เรียนรู้ คะแนน
๑ วเิ คราะหว์ จิ ารณ์ ท๕.๑ ม. ๔-๖/ ๑๐ ๑๕
วรรณคดแี ละ -การอา่ นจับ
วรรณกรรมตาม
หลกั การวจิ ารณ์ ใจความ
เบอื้ งตน้
-เน้อื หา
-วเิ คราะหค์ ณุ คา่
จากเรื่องขนุ ชา้ ง
ขนุ แผนตอนขนุ
ชา้ งถวายฎีกา
๒ วเิ คราะห์ลักษณะ ท๕.๑ ม. ๔-๖/๒ -ความรทู้ ั่วไป ๑๐ ๑๕
เดน่ ของวรรณคดี ประวัติศาสตรก์ ับ
เชอื่ มโยงกบั การ วิถีชีวิตของ
เรยี นร้ทู าง สงั คมไทยในอดีต
ประวัติศาสตร์
และวถิ ชี ีวิตของ
สงั คมในอดตี
วดั ผลกลางภาคเรียน ๒๐
๓ วิเคราะห์และ ท๕.๑ ม. ๔-๖/๓ -ความรู้ทั่วไป - ๑๐ ๑๕
ประเมินคุณค่า วิเคราะหค์ ุณค่า ๑๕
ดา้ นวรรณศิลป์ ดา้ นวรรณศลิ ปข์ อง ๒๐
ของวรรณคดีและ วรรณคดเี รอ่ื งขนุ
วรรณกรรมใน ชา้ งขนุ แผนตอน
ฐานะที่เปน็ มรดก ขนุ ช้างถวายกีกา
ทางวัฒนธรรม
ของชาติ วเิ คราะห์ และ ๑๐
สงั เคราะห์ข้อคิด
๔ สงั เคราะหข์ ้อคิด ท๕.๑ ม. ๔-๖/ จากวรรณคดีเร่ือง
จากวรรณคดเี รื่อง ขนุ ช้างขุนแผน
ขนุ ช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวาย
ตอนขนุ ชา้ งถวาย ฎกี า
ฎีกา
วดั ผลปลายภาคเรยี น
รวม ๔๐ ๑๐๐
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ
วชิ าภาษาไทยพ้ืนฐาน รหัสวชิ า ท๓๓๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย
ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง จานวน ๑.๐ หนว่ ยกติ
ศึกษาวเิ คราะห์ ฝึกทกั ษะทางภาษา ฟงั ดู พดู อา่ นและเขยี นบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองประเภท
ตา่ ง ๆ รบั สารด้วยการอ่านจากส่ือต่างๆ เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด รายงานจากส่งิ ทอี่ า่ น เขยี นสื่อสาร
ในรูปแบบตา่ งๆ เชน่ อธิบาย บรรยาย พรรณนา ย่อความจากส่อื ที่มีรปู แบบ และ เน้อื หาทห่ี ลากหลาย
เขียนเรียงความจากจินตนาการโดยใชโ้ วหารต่างๆ เขียนบันทึก เขยี นโครงการและ รายงานการดาเนนิ
โครงการโดยใช้ข้อมูลสารสนเทศในการอา้ งอิงรวมท้งั ประเมนิ งานเขยี นของผู้อน่ื แลว้ นามาพฒั นางานเขยี นของ
ตนเอง ตั้งคาถามและแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั เร่ืองที่ฟงั และดู มี วิจารณญาณในการเลือกเรอื่ งที่ฟังและดู
วิเคราะหว์ ัตถปุ ระสงค์ แนวคิด การใช้ภาษาความนา่ เช่ือถือของ เร่ืองที่ฟงั และดู ประเมนิ ส่ิงท่ีฟังและดู มที ักษะ
การพูด ในโอกาสตา่ งๆทัง้ ทเี่ ป็นทางการและไม่เป็น ทางการ โดยใชภ้ าษาทถี่ ูกต้อง พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง
โน้มน้าว และเสนอแนวคิดใหมอ่ ยา่ งมเี หตผุ ล เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษา พลงั ของภาษา ระดบั ภาษา ใชภ้ าษา
ได้เหมาะสมกับกาลเทศะ และใช้คาราชาศัพท์ได้อย่างถูกต้อง วิเคราะห์และประเมนิ การใชภ้ าษาจากส่ือ
ส่ิงพิมพ์ และสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ วเิ คราะห์ วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณว์ รรณคดี
เบอื้ งต้น รูแ้ ละเขา้ ใจลกั ษณะเด่นของวรรณคดี ภมู ิปัญญาทางภาษา และวรรณคดีพืน้ บ้าน เชื่อมโยงกับ
การเรยี นรู้ ทางประวัติศาสตร์และวถิ ีไทย
โดยใชก้ ระบวนการเรยี นทางภาษา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ
กระบวนการกลุม่ กระบวนการคิดอยา่ งมีวิจารญาณ และ กระบวนการสรา้ งความ ตระหนกั
เพ่อื ให้เกดิ การพฒั นาสมรรถภาพการเรยี นรู้ การศกึ ษาคน้ คว้า เกดิ ทกั ษะทางภาษา นาความคิดไปใช้
ในการตัดสนิ ใจแก้ไขปญั หา เขา้ ใจและเหน็ คุณค่าในวรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย สามารถนาไปประยุกต์ใช้
ในชีวติ จริงได้ มมี ารยาทในการอา่ น เขียน การฟัง ดู และพูด มีนิสยั รกั การ อา่ นและการเขยี น
ตัวช้ีวดั ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑-๙
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑-๘
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๑-๖
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑-๗
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑-๖
รวม ๓๖ ตัวช้ีวดั
โครงสร้ำงรำยวิชำภำษำไทย รหัสวิชำ ท๓๓๑๐๑ ระดับช้ันมธั ยมศึกษำปีท่ี ๖
หน่วย ชอ่ื หน่วย มำตรฐำน/ตัวช้ีวดั สำระสำคญั เวลำ นำ้ หนัก
ท่ี กำรเรยี นรู้ คะแนน
๑ การ ท ๔.๑ ม.๖/๑,๒,๕ ภาษาเปน็ ระบบการสือ่ สารท่ีสาคัญ ๖ ๑๐
เปล่ียนแปลง ของมนุษย์ เม่ือเวลาและสังคม
ของภาษาไทย เปลี่ยนแปลงไป ภาษาย่อม
เปลี่ยนไปด้วย การศึกษาการ
เปลี่ยนแปลงของภาษา จนมีความรู้
ความเข้าใจ ทาใหส้ ามารถใช้คาที่
เกิดข้นึ ใหม่ คายืมจาก
ภาษาต่างประเทศ และบอก
ขอ้ สงั เกตได้ถกู ต้อง
๒ ราชาศัพท์ตาม ท ๔.๑ ม.๖/๓ สงั คมไทยยกย่องและเชิดชสู ถาบนั ๖ ๑๐
พระอสิ รยิ ศกั ดิ์ พระมหากษัตรยิ ม์ าเปน็ เวลา ๑๐
ยาวนาน การใช้คาราชาศัพท์จงึ
เป็นการใชถ้ ้อยคาท่แี สดงถึงความ
เคารพ การเรยี นรคู้ าราชาศัพท์
จนมคี วามร้คู วามเข้าใจ ทาให้
สามารถใชค้ าราชาศัพท์ตามพระ-
อสิ รยิ ศักด์ิไดถ้ ูกต้องและเหมาะสม
๓ การเขียน ท ๒.๑ ม.๖/๒,๘ - เรยี งความเชงิ สรา้ งสรรคเ์ ป็นงาน ๖
เรียงความ เขยี นทต่ี ้องใช้ความรู้ ความคิดรเิ ร่มิ
และ ในการถ่ายทอดความรู้และ
ความคดิ การศกึ ษาความรู้และ
การเขยี น ตวั อย่างจนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ทา
ยอ่ ความ ให้สามารถเขียนเรยี งความเชิง
สรา้ งสรรคโ์ ดยใช้ภาษาไดเ้ หมาะสม
- การเรยี นรู้หลกั การเขยี นย่อความ
จนมีความรู้ความเข้าใจ ทาให้
สามารถเขียนย่อความได้ถูกต้อง
ตามรูปแบบการย่อความ
๔ การศกึ ษา ท ๑.๑ ม.๖/๘ การศกึ ษาค้นควา้ เป็นการแสวงหา ๖ ๑๐
คน้ ควา้ ท ๒.๑ ม.๖/๘ หรือสบื คน้ ข้อมลู ความรู้ทั้งทาง
และอา้ งองิ วิชาการและทว่ั ไป และการอา้ งองิ
ข้อมูล ขอ้ มลู เป็นขนั้ ตอนทีต่ ่อเน่อื งจาก
การศึกษาคน้ คว้า การศึกษาวิธีการ
จนมคี วามร้คู วามเข้าใจ ทาให้
สามารถเขยี นรายงานการศกึ ษา
คน้ คว้าและอา้ งองิ ข้อมูลได้ถูกตอ้ ง
๕ การวิจารณ์ ท ๕.๑ ม.๖/๑,๓ การศกึ ษาความรู้เรื่องการวิจารณ์ ๖ ๑๐
วรรณกรรม วรรณกรรม จนมีความรู้ความ
เขา้ ใจ ทาใหส้ ามารถพจิ ารณา
วรรณกรรมเพื่อประเมนิ ค่า โดยมี
ข้อมูลและเหตุผลมาสนับสนุนการ
วิจารณ์ และเข้าใจส่งิ ทนี่ ามา
วิจารณ์มากยงิ่ ข้ึน
๖ วรรณคดีเรื่อง ท ๕.๑ ม.๖/๑,๓,๔ จากการศึกษาความรู้ความร้เู ร่อื ง ๖ ๑๐
สามก๊ก การวจิ ารณ์วรรณกรรมที่ผ่านมา
และศึกษาวรรณคดที กี่ าหนดใหจ้ ะ
และ ทาใหเ้ ขา้ ใจเน้อื เรื่อง บอกลกั ษณะ
สามคั คเี ภท คาประพนั ธ์ อ่านออกเสยี ง-
ร้อยกรอง แปลความ ขยายความ
คาฉนั ท์
ตอบคาถามจากเรอ่ื ง ตลอดจน
ตระหนกั และเหน็ คุณค่างาน
ประพนั ธ์
รวม ๔๐ ๖๐
คะแนนสอบกลางภาค ๒๐
คะแนนสอบปลายภาค ๒๐
รวมทัง้ ส้ิน ๑๐๐
คำอธิบำยรำยวชิ ำ
รายวชิ าภาษาไทย รหสั วิชา ท๓๓๑๐๒
กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๖
เวลา ๒ ช่ัวโมง/สปั ดาห์ ๔๐ ช่ัวโมง/ภาคเรยี น จานวน ๑.๐ หนว่ ยกติ
ฝึกทักษะการฟงั การดูและการพดู การอ่าน การเขยี น การวเิ คราะห์และประเมินคา่ วรรณคดี
วรรณกรรมโดยฝึกทักษะการอา่ นออกเสียง ตีความ แปลความ และขยายความ คาดคะเนเหตุการณเ์ ร่ืองที่อา่ น
วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ แสดงความคดิ เห็นโตแ้ ย้งเก่ยี วกับเรื่องที่อ่านและเสนอความคดิ ใหม่อยา่ งมีเหตุผล ฝกึ ทกั ษะ
การเขียนบรรยาย เขยี นพรรณนา เขียนโน้มน้าว ประเมินคณุ คา่ งานเขียนในด้านตา่ งๆ ฝกึ ทกั ษะการพูดสรปุ
แนวคิดและแสดงความคิดเห็น จากเรือ่ งที่ฟงั และดู ประเมินเรื่องที่ฟังและดูและศึกษาเก่ยี วกบั ความสาคัญ
ของภาษา ระดับภาษาและ ราชาศพั ท์วเิ คราะห์วิถีไทย ประเมินค่า ความรู้และข้อคิดจากวรรณคดีและ
วรรณกรรม ท่องจาบทอาขยานที่กาหนดและบทร้อยกรองท่ีมคี ณุ คา่
โดยใชก้ ระบวนการอา่ นเพื่อสรา้ งความรู้ความคิดนาไปใช้ตัดสนิ ใจแกป้ ญั หาในการดาเนินชีวิต
ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสารอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ใชก้ ระบวนการฟังการดู และการพูด สามารถเลือกฟัง ดู
และพูดแสดงความรู้ความคดิ อย่างมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์
เพ่ือใหเ้ ข้าใจธรรมชาติ ภาษาและหลกั ภาษา การเปลยี่ นแปลงของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา
วเิ คราะห์ วิจารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมอยา่ งเห็นคณุ ค่าและนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ จรงิ รักษาภาษาไทยไว้
เปน็ สมบัติของชาติและมนี ิสัยรกั การอ่าน การเขียน มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟงั การดูและการพูด
ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้
๑. ท ๑.๑ ม.๖/๑-๘
๒. ท ๒.๑ ม.๖/๑-๗
๓. ท ๓.๑ ม.๖/๑-๖
๔. ท ๔.๑ ม.๖/๑-๗
๕. ท ๕.๑ ม.๖/๑-๖
รวมท้ังหมด ๓๑ ตัวชีว้ ัด
โครงสร้ำงรำยวิชำภำษำไทย รหัสวชิ ำ ท๓๓๑๐๒ ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษำปีที่ ๖
หนว่ ย ชอื่ หน่วย มำตรฐำน/ตัวชี้วัด สำระสำคัญ เวลำ นำ้ หนกั
ท่ี กำรเรยี นรู้ ๖ คะแนน
๑ การใช้ถ้อยคา ท ๔.๑ ม.๖/๒ การศกึ ษาความหมายของถ้อยคา ๖
และประโยค วธิ ีการใช้ถ้อยคา และประโยคทม่ี ี ๖ ๑๐
ท ๔.๑ ม.๖/๕-๖ ขอ้ บกพร่อง จนมคี วามร้คู วาม
๒ คาทบั ศัพท์ เขา้ ใจ ทาใหส้ ามารถใชค้ าและ ๖ ๑๐
ศพั ท์บัญญัติ ท ๒.๑ ม.๖/๑ ประโยคไดต้ รงตามความหมาย
และคาศัพท์ ท ๓.๑ ม.๖/๕-๖ และมใี จความสมบรู ณ์ ๑๐
ทางวชิ าการ การศกึ ษาคาทับศัพท์ ศพั ทบ์ ัญญัติ
เฉพาะกลมุ่ ท ๑.๑ ม.๖/๓ ๑๐
ท ๒.๑ ม.๖/๕ และคาศัพท์ ทางวิชาการเฉพาะ-
๓ การพูดโตแ้ ย้ง ท ๕.๑ ม.๖/๑,๔ กลมุ่ จนมคี วามรู้ความเขา้ ใจ
และการเขยี น ทาใหส้ ามารถใชค้ าศัพท์ไดถ้ ูกตอ้ ง
จดหมายธุรกจิ
เหมาะสม และทาให้การส่อื สาร
๔ การอ่านเชงิ
วจิ ารณส์ ารคดี ตรงตามจดุ ประสงค์
และนวนยิ าย
- การศึกษาลักษณะการพูดโต้แย้ง
หลักการพดู โต้แย้ง ภาษาในการพดู
โต้แย้ง จนมีความรคู้ วามเข้าใจ ทา
ให้สามารถพูดโต้แยง้ ในประเด็นท่ี
สนใจโดยใชภ้ าษาสอื่ สารไดถ้ ูกตอ้ ง
และเหมาะสมแกก่ าลเทศะ
- การศึกษาหลักเขยี นจดหมาย
ธุรกจิ จนมคี วามรูค้ วามเข้าใจ ทาให้
สามารถเขยี นจดหมายธุรกจิ ได้ตรง
ตามจุดประสงค์และเกดิ สัมฤทธ์ผิ ล
การศกึ ษาความรู้เรื่องการอ่าน
เชงิ วิจารณ์สารคดแี ละนวนิยาย
จนมีความร้คู วามเขา้ ใจ ทาให้
สามารถวจิ ารณส์ ารคดีและนว
นยิ ายได้ถูกต้อง และนาขอ้ คิดไป
ประยุกต์ใช้ในการดาเนนิ ชวี ติ ได้
หนว่ ย ชื่อหน่วย มาตรฐาน/ตัวชวี้ ดั สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั
ที่ การเรียนรู้ คะแนน
๕ เสภาเรื่อง ท ๑.๑ ม.๖/๑-๘ การศึกษาความรู้ท่วั ไป เนื้อเรื่อง ๘ ๑๐
ขนุ ชา้ งขนุ แผน ท ๕.๑ ม.๖/๑-๖ และลกั ษณะคาประพันธ์ จนมี
ตอน ท ๔.๑ ม.๖/๔ ความรูค้ วามเข้าใจ ทาใหส้ ามารถ
ขนุ ชา้ ง อา่ นออกเสยี งร้อยกรอง ตีความ
ถวายฏีกา แปลความ วิเคราะหว์ ิจารณ์ เหน็
คุณค่างานประพันธ์ และนาข้อคดิ
ไปใช้ในการดาเนนิ ชวี ติ ได้
๖ กาพยเ์ ห่เรือ ท ๑.๑ ม.๖/๑-๘ การศึกษาความรู้ท่ัวไป เนื้อเร่ือง ๘ ๑๐
ท ๕.๑ ม.๖/๑-๖ และลักษณะคาประพันธ์ จนมี
ท ๔.๑ ม.๖/๔ ความรคู้ วามเข้าใจ ทาให้สามารถ
อา่ นออกเสียงร้อยกรอง แปลความ
ขยายความ ตอบคาถามจากเร่อื ง
ตลอดจน ตระหนักและเห็นคุณค่า
งานประพันธ์
รวม ๔๐ ๖๐
คะแนนสอบกลางภาค ๒๐
คะแนนสอบปลายภาค ๒๐
รวมทัง้ สน้ิ ๑๐๐
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำเพิ่มเตมิ
ท๓๐๒๐๑ ภำษำไทยเพ่มิ เตมิ (กำรศกึ ษำค้นคว้ำ) กลุม่ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย
ช้ันมธั ยมศกึ ษำปที ่ี ๔ ภำคเรยี นที่ ๑ เวลำ ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกิต
ศกึ ษา วิเคราะห์ ฝึกทักษะต้งั ประเด็นปัญหา /ตัง้ คาถามในเร่ืองทีส่ นใจโดยเริม่ จากตนเอง เชอ่ื มโยงกบั
ชุมชน ท้องถิน่ และประเทศ ตั้งสมมติฐานและให้เหตผุ ลโดยใช้ความรู้จากศาสตร์สาขาตา่ งๆ ค้นควา้ แสวงหา
ความร้เู ก่ียวกบั สมมติฐานที่ตง้ั ไวจ้ ากแหลง่ เรียนรทู้ ห่ี ลากหลาย ออกแบบวางแผนรวบรวมข้อมูล วเิ คราะห์
ข้อมูลโดยใชว้ ิธกี ารท่ีเหมาะสม ทางานบรรลผุ ลตามเปา้ หมายภายในกรอบการดาเนินงานทกี่ าหนด โดยการ
กากบั ดูแล ชว่ ยเหลือของครูอย่างต่อเน่ือง สังเคราะหส์ รปุ องคค์ วามร้แู ละร่วมกันเสนอแนวคดิ วิธีการแก้ปญั หา
อย่างเปน็ ระบบ ด้วยกระบวนการคิด กระบวนการสบื ค้นข้อมลู กระบวนการแก้ปญั หา กระบวนการปฏบิ ตั ิและ
กระบวนการกลุ่มในการวิพากษ์ เพ่ือใหเ้ กิดทักษะในการคน้ คว้าแสวงหาความรู้ เปรยี บเทียบเช่อื มโยงองค์
ความรู้ สงั เคราะห์สรปุ อภปิ ราย เพอื่ ให้เหน็ ประโยชนแ์ ละคณุ ค่าของการศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง
ผลการเรยี นรู้
๑. ต้งั ประเดน็ ปัญหา โดยเลือกประเด็นท่ีสนใจ เริ่มจากตนเอง ชุมชนทอ้ งถน่ิ ประเทศ
๒. ตง้ั สมมตฐิ านประเดน็ ปญั หาที่ตนเองสนใจ
๓. ออกแบบ วางแผน ใช้กระบวนการรวบรวมข้อมลู อย่างมีประสิทธิภาพ
๔. ศกึ ษา ค้นควา้ แสวงหาความรเู้ กย่ี วกบั ประเดน็ ที่เลอื ก จากแหล่งเรยี นรูท้ ่หี ลากหลาย
๕. ตรวจสอบความนา่ เชอ่ื ถอื ของแหลง่ ที่มาของขอ้ มลู ได้
๖. วิเคราะหข์ ้อค้นพบด้วยสถติ ทิ ่ีเหมาะสม
๗. สังเคราะหส์ รุปองค์ความรู้ด้วยกระบวนการกลุม่
๘. เสนอแนวคดิ การแกป้ ัญหาอย่างเปน็ ระบบดว้ ยองค์ความรู้จากการค้นพบ
๙. เหน็ ประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ของการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รวมทัง้ หมด ๙ ผลการเรยี นรู้
โครงสรำ้ งรำยวชิ ำภำษำไทยเพม่ิ เติม (กำรศึกษำค้นควำ้ )
หนว่ ย ชื่อหน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา น้าหนกั
ที่ การเรยี นรู้ คะแนน
กาหนดประเด็นปัญหาที่
1 ประเด็นที่ฉัน ตวั เองสนใจ - สามารถกาหนดประเด็น 6 10
สนใจ ปญั หาเพ่ือการศึกษาค้นคว้า
ได้
- สามารถออกแบบ
วางแผนและเกบ็ ข้อมูลจาก
ประเดน็ ปญั หาท่สี นใจได้
- สามารถกาหนดเครือ่ งมือ
ในการจดั เก็บขอ้ มูลได้
2 แสวงหาคาตอบ สืบคน้ ขอ้ มลู ในการศกึ ษา - สามารถสบื ค้นข้อมลู จาก 10 15
คน้ ควา้ การศึกษาคน้ ควา้ ได้
- สามารถเขียน
บรรณานกุ รมในการสืบค้น
ขอ้ มูลได้
- สามารถเก็บรวบรวม
การศกึ ษาค้นคว้าได้อย่าง
เป็นระบบ
สอบกลางภาค 2 20
๓ นาเสนอแนวคิด นาเสนอแนวคิดจาก - สามารถพดู นาเสนอ 10 20
15
การศกึ ษาค้นควา้ แนวคิดท่เี ปน็ ประโยชนจ์ าก
การศกึ ษาคน้ คว้าได้ 20
๔ รอบร้แู ละเหน็ สรุปองค์ความร้ไู ด้อยา่ งเปน็ - สามารถสรปุ ข้อมูลองค์ 10
คณุ ค่า ระบบ ความรู้ได้อย่างเป็นระบบ
ระเบียบและมขี ้อมูลที่
นา่ เช่ือถือ
- นาเสนอผลงานของ
โครงงานทผี่ ู้เรียนได้ศกึ ษา
เป็นการรวบรวมการคน้ ควา้
ต้ังแตต่ น้ จนจบ
สอบปลายภาค 2
คำอธิบำยรำยวชิ ำเพ่ิมเติม
ท๓๐๒๐๒ ภำษำไทยเพมิ่ เตมิ (กำรเขียนเชงิ สรำ้ งสรรค์) กลมุ่ สำระกำรเรยี นรูภ้ ำษำไทย
ชนั้ มัธยมศกึ ษำปีที่ ๔ ภำคเรยี นท่ี ๒ เวลำ ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ
เขยี นสอื่ สารในรปู แบบต่างๆ เขยี นบรรยาย พรรณนา เขียนแสดงทรรศนะ เขยี นโต้แยง้ เขียนโนม้ นา้ ว
เขียนเชิญชวน เขยี นประกาศ ไดต้ รงตามวตั ถุประสงคโ์ ดยใชภ้ าษาเรียบเรียงถูกต้อง มขี ้อมูล และสาระสาคญั
อย่างชัดเจน เลือกใชโ้ วหารให้เหมาะสมกบั เนื้อเรื่องและโอกาส ผลิตงานเขียนของตนเองในรปู แบบต่างๆ สาร
คดี บันเทงิ คดี ประเมินคณุ คา่ งานเขยี นของผู้อน่ื และนามาพัฒนางานเขยี นของตนเอง เขียนรายงานศึกษา
คน้ คว้าเร่อื งที่สนใจตามหลักการเขยี นเชิงวชิ าการและใช้ข้อมูลสารสนเทศ อา้ งอิงอยา่ งถกู ต้อง การเขียนบนั ทึก
ความร้จู ากแหล่งเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย
มีมารยาทในการอา่ น มุง่ มน่ั ในการทางาน ใฝร่ ใู้ ฝ่เรยี น ใช้ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพ่ือ
พฒั นาตนเองและสังคม
ผลการเรียนรู้
๑. เขยี นสอ่ื สารในรปู แบบตา่ งๆ ไดต้ รงตามวัตถุประสงค์
๒. เขยี นเรียงความ และเขยี นย่อความจากสอ่ื ตา่ งๆ ได้
๓. ผลติ งานเขยี นของตนเองในรปู แบบตา่ งๆ ได้
๔. ประเมนิ งานเขียนในด้านการใช้ถอ้ ยคา สานวนโวหาร และกลวิธีในการเขียน
รวมท้ังหมด ๔ ผลการเรียนรู้
โครงสรำ้ งรำยวิชำภำษำไทยเพม่ิ เตมิ (กำรเขยี นเชงิ สร้ำงสรรค์)
หนว่ ย ช่ือหน่วย ผลการเรียนรู้ สาระสาคญั เวลา น้าหนกั
ที่ การเรียนรู้ คะแนน
1 เขยี นสอื่ สารใน เขียนสื่อสารในรปู แบบตา่ งๆ - การอธบิ ายรายละเอยี ด 3 10
รปู แบบตา่ งๆ ไดต้ รงตามวัตถุประสงค์ เกยี่ วกบั ตัวผ้สู มัครโดยยอ่
- การเขยี น - บอกสว่ นประกอบทีส่ าคัญ
ประวัตยิ ่อในการ ของประวัติย่อในการสมัคร
สมคั รงาน งาน
2 การเขยี น เขยี นสอ่ื สารในรูปแบบต่างๆ - จดหมายที่บคุ คลเขยี น 3 10
10
จดหมายกิจธุระ ได้ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ ติดตอ่ กับบคุ คลอืน่ บริษทั
หา้ งร้านและหนว่ ยงานอ่ืนๆ 10
เพอื่ แจง้ กจิ ธุระ
3 การเขยี น เขยี นสื่อสารในรปู แบบตา่ งๆ - รูปแบบหน่งึ ของการ 3
โครงงาน ไดต้ รงตามวตั ถปุ ระสงค์ นาเสนอผลงานของ
โครงงานทผ่ี ูเ้ รยี นได้ศกึ ษา
อยใู่ นรปู แบบรายงาน แต่
เพิม่ รายละเอียด เปน็ การ
รวบรวมการค้นคว้าตง้ั แต่
ต้นจนจบ
4 การเขียนรายงาน เขยี นสื่อสารในรปู แบบตา่ งๆ - สว่ นประกอบทสี่ าคญั ของ 4
วชิ าการ ไดต้ รงตามวัตถปุ ระสงค์ การเขยี นรายงาน
หนว่ ย ชอ่ื หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก
ที่ การเรยี นรู้ คะแนน
5 การเขียนรายงาน เขียนสือ่ สารในรูปแบบตา่ งๆ - รายละเอียด หรอื สาระ 4 10
การประชมุ ไดต้ รงตามวัตถปุ ระสงค์ ของการประชุมท่ีจดไว้เปน็
ทางการ เปน็ การบันทึก
เรื่องราวต่างๆ
6 การเขยี น เขียนส่ือสารในรปู แบบต่างๆ - รูปแบบ การเขยี น 4 10
จดหมายกิจธุระ ได้ตรงตามวตั ถุประสงค์ จดหมายกจิ ธรุ ะ
7 การกรอกแบบ เขียนสอ่ื สารในรปู แบบตา่ งๆ - การกรอกแบบรายการ 4 10
รายการต่างๆ ไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ หรอื ทเ่ี รยี กทั่วไปวา่ การ
กรอกแบบฟอร์มเพ่ื่อขอให้
ดาเนนิ การเรือ่ งใดเรื่องหน่งึ
8 เขยี นเรียงความ เขียนเรียงความ และเขยี น - องค์ประกอบการเขยี น 4 10
และเขียนย่อ ยอ่ ความจากส่อื ต่างๆ ได้ เรียงความ
ความ - หลักการเขียนเรียงความ
ทด่ี ี
9 ผลติ งานเขยี น ผลติ งานเขยี นของตนเองใน - ผลติ งานเขียนในรปู แบบ 8 20
ของตนเองใน รปู แบบต่างๆ ได้ ต่างๆ
รูปแบบตา่ งๆ
รวม 40 100
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ รหัสวิชำ ท ๓๐๒๐๓
ช้นั มัธยมศกึ ษำปีที่ ๕/๒
รำยวิชำ กำรแต่งคำประพันธ์ จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ภำษำไทย
เวลำ ๒ ชั่วโมง/สัปดำห์ ๔๐ ชว่ั โมง/ภำคเรยี น
ศกึ ษาความเป็นมาและประเภทของคาประพันธ์ชนิดต่าง ๆ อธบิ ายคุณคา่ ท่ีไดร้ ับจากคาประพันธ์
อธบิ ายลักษณะบังคับของคาประพนั ธ์ประเภทกาพย์ กลอน โคลง ฉนั ท์ และรา่ ย ตลอดจนแต่งคาประพันธ์
แต่ละประเภท
โดยใชท้ กั ษะการใช้ภาษาเพ่ือการสือ่ สาร กระบวนการคดิ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการปฏบิ ัติ
การวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ วจิ ารณ์ ประเมินคา่ โดยเลือกใชส้ ่ือท่หี ลากหลายอยา่ งสรา้ งสรรค์
เพอ่ื ให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ สามารถใช้ภาษาส่ือสาร ภูมิใจในความเป็นไทย ตลอดจนอนรุ ักษ์
งานประพนั ธ์ซึ่งเปน็ มรดกของชาตสิ ืบต่อไป
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีความเอาใจใสใ่ นการศกึ ษาความรู้ ตระหนักและเหน็ คุณคา่
ของงานประพันธ์ ซึง่ สร้างสรรค์ผลงานโดยเลือกใช้ภาษาได้สละสลวย
ผลกำรเรยี นรู้
๑. บอกความเปน็ มาและประเภทของคาประพนั ธ์ได้ถูกตอ้ ง
๒. อธบิ ายคุณค่าท่ีได้รับจากคาประพนั ธไ์ ด้ถกู ต้อง
๓. อธบิ ายลกั ษณะบงั คบั ของคาประพนั ธ์ประเภทกาพยไ์ ด้ถูกต้อง
๔. แตง่ คาประพนั ธ์ประเภทกาพยไ์ ด้อยา่ งน้อย ๑ ชนดิ
๕. อธิบายลักษณะบังคับของคาประพนั ธป์ ระเภทกลอนได้ถกู ตอ้ ง
๖. แตง่ คาประพนั ธป์ ระเภทกลอนได้อยา่ งนอ้ ย ๑ ชนดิ
๗. อธบิ ายลักษณะบงั คับของคาประพันธป์ ระเภทโคลงได้ถกู ต้อง
๘. แตง่ คาประพนั ธป์ ระเภทโคลงไดอ้ ยา่ งน้อย ๑ ชนดิ
๙. อธบิ ายลกั ษณะบังคบั ของคาประพนั ธป์ ระเภทฉนั ท์ได้ถูกต้อง
๑๐. แต่งคาประพันธป์ ระเภทฉนั ท์ไดอ้ ยา่ งน้อย ๑ ชนิด
๑๑. อธิบายลกั ษณะบงั คับของคาประพนั ธ์ประเภทร่ายได้ถกู ต้อง
๑๒. แต่งคาประพนั ธ์ประเภทรา่ ยได้อยา่ งน้อย ๑ ชนดิ
รวม ผลการเรยี นรู้ ๑๒ ข้อ
โครงสร้ำงรำยวิชำ กำรแต่งคำประพนั ธ์ ระดับมธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๕
หนว่ ยท่ี ชื่อหน่วย ผลกำรเรียนรู้ สำระสำคัญ เวลำ นำ้ หนกั
กำรเรียนรู้ (คำบ) คะแนน
๑ ความเปน็ มา ๑. บอกความเปน็ มาและประเภท การศกึ ษาความเป็นมา ๖ ๑๐
ของ ๑๐
คาประพนั ธ์ ของคาประพนั ธไ์ ด้ถูกต้อง ประเภทของคาประพันธ์ ๑๐
๒. อธิบายคณุ คา่ ท่ีไดร้ ับจากคา ทาใหม้ ีความรคู้ วามเข้าใจ ๑๐
๑๐
ประพันธ์ได้ถูกตอ้ ง และอธิบายคณุ ค่าได้ ๑๐
๒ การแตง่ ๓. อธบิ ายลักษณะบังคบั ของคา การศกึ ษาลักษณะบงั คับ ๖ ๖๐
กาพย์ ประพันธ์ประเภทกาพยไ์ ด้ถูกต้อง ของกาพย์จนมีความรู้
๔. แต่งคาประพันธ์ประเภทกาพย์ ความเข้าใจ ทาใหแ้ ต่ง
ไดอ้ ยา่ งน้อย ๑ ชนดิ กาพย์ได้อย่างนอ้ ย
๑ ชนิด
๓ การแต่ง ๕. อธิบายลกั ษณะบังคับของคา การศึกษาลักษณะบังคบั ๖
กลอน ประพันธ์ประเภทกลอนได้ถูกต้อง ของกลอนจนมีความรู้
๖. แตง่ คาประพันธ์ประเภท ความเขา้ ใจ ทาให้แตง่
กลอนไดอ้ ยา่ งน้อย ๑ ชนิด กลอนได้อย่างน้อย
๑ ชนิด
๔ การแตง่ ๗. อธิบายลกั ษณะบังคบั ของคา การศกึ ษาลกั ษณะบังคับ ๘
โคลง ประพันธป์ ระเภทโคลงได้ถกู ต้อง ของโคลงจนมีความรู้
๘. แตง่ คาประพนั ธป์ ระเภทโคลง ความเข้าใจ ทาให้แต่ง
ได้อย่างน้อย ๑ ชนิด โคลงได้อย่างน้อย
๑ ชนิด
๕ การแต่ง ๙. อธบิ ายลักษณะบังคับของคา การศกึ ษาลกั ษณะบังคับ ๘
ฉนั ท์ ประพนั ธป์ ระเภทฉนั ท์ไดถ้ ูกต้อง ของฉนั ทจ์ นมคี วามรู้
๑๐. แต่งคาประพันธ์ประเภท ความเข้าใจ ทาใหแ้ ตง่
ฉนั ท์ได้อยา่ งน้อย ๑ ชนิด ฉันทไ์ ด้อย่างน้อย ๑ ชนดิ
๖ การแต่ง ๑๑. อธิบายลกั ษณะบังคับของคา การศกึ ษาลักษณะบงั คับ ๖
รา่ ย ประพันธ์ประเภทรา่ ยได้ถูกต้อง ของรา่ ยจนมคี วามรู้
๑๒. แตง่ คาประพนั ธ์ประเภทร่าย ความเข้าใจ ทาให้แตง่
ได้อย่างน้อย ๑ ชนดิ รา่ ยไดอ้ ยา่ งน้อย ๑ ชนดิ
รวม ๔๐
คะแนนสอบกลำงภำค ๒๐
คะแนนสอบปลำยภำค ๒๐
รวมท้ังสิ้น ๑๐๐
คำอธิบำยรำยวชิ ำ รหสั วิชำ ท ๓๐๒๐๔
ช้นั มธั ยมศกึ ษำปีท่ี ๕
รำยวิชำ หลักภำษำไทย จำนวน ๑ หนว่ ยกติ
กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ ภำษำไทย
เวลำ ๒ ช่ัวโมง/สัปดำห์ ๔๐ ช่วั โมง/ภำคเรยี น
ศกึ ษาหลักการใช้ภาษาไทยเร่ืองธรรมชาตขิ องภาษา กาเนิดของภาษา ลักษณะของภาษาไทย
และศึกษาเรื่องไตรยางค์ คาเป็น คาตาย เปรยี บเทยี บลกั ษณะของคาไทยแท้กับคาภาษาในกลุ่มอาเซยี น
วเิ คราะห์ลกั ษณะการเพิ่มคาในภาษาไทย วเิ คราะห์ชนิดและหนา้ ท่ขี องคาสามารถเลือกใช้คากลุม่ คามาแตง่
ประโยคความเดยี ว ความรวม และความซอ้ น ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและสร้างสรรค์ เพ่ือประโยชน์ในการส่ือสาร
และนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั
โดยใชก้ ระบวนการคิดกระบวนการสร้างความรกู้ ระบวนการสร้างความตระหนกั กระบวนการ
ปฏบิ ัติ กระบวนการเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการกลุ่ม เพอ่ื ให้เกดิ ความรู้ มมี รรยาทในการอา่ น การ
เขยี น การฟงั การดู การพดู มคี วามสามารถในการสื่อสาร ในการดารงชีวิต เปน็ ผใู้ ฝร่ ใู้ ฝ่เรยี น มงุ่ มนั่ ในการ
ทางาน รกั ความเป็นไทย มคี ณุ ธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสมบนั ทึกความรู้วเิ คราะห์ สรปุ เปน็ องค์
ความรู้ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ถา่ ยทอด เผยแพร่ และนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวันได้
ตัวช้วี ดั /ผลการเรียนรู้
ท ๑.๑ ม ๕/๒ ๕/๓
ท. ๒.๑ ม ๕/๑ ๕/๔
ท. ๓.๑ ม ๕/๑ ๕/๒
ท. ๔/๑ ม ๕/๒ ๕/๓
โครงสร้ำงรำยวชิ ำ หลกั ภำษำไทย ระดับมัธยมศึกษำปีที่ ๕
หน่วยที่ ชอ่ื หน่วยกำร มำตรฐำน/ตวั ชี้วัด/ผลกำรเรยี นรู้ สำระสำคัญ เวลำ นำ้ หนกั
เรียนรู้ คะแนน
ท๕.๑ ม. ๕/๒ ๕/๓ ธรรมชาตขิ อง
๑ ธรรมชาตขิ อง ภาษา กาเนิดของ ๑๐ ๑๕
ภาษาไทย ภาษา ลกั ษณะ ๑๐ ๑๕
ของภาษาไทย
๒ เรื่องไตรยางค์ ท .๒.๑ ม. ๕/๑, ๕/๔ ไตรยางค์ คาเป็น
คาเปน็ คาตาย คาตาย
วดั ผลกลางภาคเรยี น วิเคราะห์ชนดิ และ ๑๐ ๒๐
๓ ท. ๓.๑ม.๕/๑ ,ม ๕/๒ หน้าทข่ี องคา ๑๕
ภาษาไทย ประโยคความ ๑๐ ๑๕
วิเคราะหช์ นดิ เดยี ว ความรวม
และหนา้ ท่ขี องคา และความซ้อน ๒๐
๔ แต่งประโยค ท๔.๑ ม ๕/๒ ๕/๓ ๔๐ ๑๐๐
วัดผลปลายภาคเรยี น
รวม
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ รหสั วิชำ ท๓๐๒๐๕
ช้นั มัธยมศึกษำปที ี่ ๖
รำยวิชำ กำรอำ่ นและพจิ ำรณำวรรณกรรม จำนวน ๑ หน่วยกติ
กล่มุ สำระกำรเรียนรู้ กำรอ่ำนวรรณกรรม
เวลำ ๒ ช่ัวโมง/สัปดำห์ ๔๐ ช่ัวโมง/ภำคเรยี น
ศกึ ษาวเิ คราะห์ การอ่านออกเสียงร้อยแกว้ และร้อยกรอง การอ่านบทความ นวนิยาย
วรรณคดใี นบทเรยี น วรรณกรรมพืน้ บ้าน บทเทศนา บทเพลง การตคี วาม แปลความและขยายความเร่อื งที่
อา่ น การวิเคราะห์ วิจารณ์ คาดคะเนและประเมินค่าเรอ่ื งที่อา่ น การแสดงความคิดเหน็ โต้แยง้ กบั เรื่องท่ีอ่าน
การตอบคาถาม การเขียนกรอบแนวคดิ ผงั ความคดิ บันทึก ย่อความและรายงานเรือ่ งท่ีอา่ น การสังเคราะห์
ความรูจ้ ากการอ่าน การมีมารยาทในการอา่ น การเขยี นสอื่ สารในรปู แบบ ต่าง ๆ การเขียนเรียงความ เขียนย่อ
ความ การผลิตงานเขียน การประเมินงานเขียน การเขียนรายงาน เขียนบนั ทึก การมีมารยาทในการเขยี น การ
สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องท่ฟี ังและดู การวเิ คราะหแ์ นวคิดการใชภ้ าษา และความนา่ เช่ือถือ
จากเรอ่ื งท่ีฟงั และดู การประเมนิ เร่ืองท่ีฟัง และดู การมวี จิ ารณญาณในการเลือกเรอ่ื งท่ีฟัง และดู การพูดใน
โอกาสตา่ ง ๆ การมีมารยาทในการฟงั การดู และการพูด ธรรมชาตขิ องภาษา พลงั ของภาษา และลักษณะของ
ภาษา คาและกลมุ่ คา สานวน ระดับของภาษา การแต่งคาประพนั ธ์ การวิเคราะห์อทิ ธพิ ลของ
ภาษาตา่ งประเทศและภาษาถิ่น การอธบิ ายและวเิ คราะห์หลักการสรา้ งคาในภาษาไทย การประเมินการใช้
ภาษาจาก ส่ือสง่ิ พมิ พ์และส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ การวเิ คราะห์วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวจิ ารณ์
เบอื้ งตน้ การวิเคราะห์ลกั ษณะเด่นของวรรณคดี การประเมนิ คณุ คา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรม
ตวั ชว้ี ดั /ผลการเรียนรู้
ท.๒.๑ ม ๕/๑
ท. ๓.๑ม ๕/๑
ท ๕.๑ ม. ๔/๑,ม๔/๒,ม๔/๓
โครงสรำ้ งรำยวชิ ำ
วชิ ำ กำรอ่ำนวรรณกรรม รหัส ท๓๐๒๐๕
กลุม่ สำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษำปีท่ี ๖
ภำคเรียนที่ ๑ เวลำ ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑ หน่วยกำรเรยี น
ลำดบั ท่ี หน่วยกำรเรยี นรู้ มำตรฐำนกำร สำระกำรเรียนรู้ เวลำ นำ้ หนกั
เรยี นร้/ู
๑ ท่ีมาของวรรณคดี ตัวช้ีวัด -ประวตั ิและที่มาของวรรณคดี ๓ ๑๐
๒ เร่ืองลลิ ติ ตะเลงพ่าย เรอื่ งลลิ ิตตะเลงพา่ ย ๕ ๑๐
๓ ความหมายของคา ท ๕.๑ ม.๖/๑ -ความหมายของวรรณคดี ๑๐ ๒๐
วา่ “วรรณกรรม” และวรรณกรรม ๑๐ ๒๐
๔ และ“วรรณคดี” ท ๒.๑ ม.๖/๑ -วิเคราะหน์ ิสยั ตวั ละคร
อ่านจบั ใจความ วรรณคดเี รื่องลลิ ิตตะเลงพ่าย
สาคัญของวรรณคดี ทท ๑.๑ ม.๖/
เรอื่ งลิลติ ตะเลงพ่าย ๖ ๑.๑ ม.๖/๕ -ประโยชน์จากการอ่าน
ประโยชน์ท่ีไดร้ ับ วรรณคดีเร่อื งลิลิตตะเลงพ่าย
จากการอา่ น ท๕.๑ ม.๔-๖/ วดั ผลกลางภาคเรียน
วรรณคดี ๓
วัดผลกลางภาคเรยี น ๑ ๒๐
วดั ผลปลายภาคเรยี น ๑ ๒๐
๔๐ ๑๐๐
รวม
คำอธิบำยรำยวชิ ำ
รายวชิ า การศกึ ษาภมู ิปัญญาท้องถนิ่ รหัสวชิ า ท๓๐๒๐๖
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖/๒
เวลา ๒ ชัว่ โมง/สปั ดาห์ ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จานวน ๑.๐ หนว่ ยกติ
ศึกษาค้นคว้า ความสาคญั ของภมู ิปญั ญาท้องถิน่ คาศัพท์ท่ีเกยี่ วข้องกบั ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน
ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ในดา้ นต่างๆ ไดแ้ ก่ ด้านศลิ ปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนยี มประเพณี ด้านวรรณกรรม
ดา้ นอาชีพ และดา้ นค่านิยมและความเช่ือ แลว้ รวบรวมเปน็ องค์ความรทู้ ่สี ามารถถา่ ยทอดเปน็ ข้อมูลอ้างอิง
ไปใช้ในชีวิตประจาวนั และอนรุ ักษเ์ ปน็ มรดกของท้องถิน่ สืบตอ่ ไป
โดยใชก้ ระบวนการฝกึ ทักษะทางภาษาดา้ นการอ่าน การเขียน การฟงั การดู และการพดู
อย่างเห็นคุณค่าความสาคัญของภูมิปญั ญาท้องถน่ิ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ เห็นคณุ ค่า รักความเปน็ ไทย
และร่วมมือในการอนุรกั ษ์ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ
เพือ่ ศึกษาสบื สานภาษา ศิลปวฒั นธรรมประเพณีทอ้ งถนิ่ และภมู ิปัญญาท้องถิน่ ใหเ้ กิดประโยชน์
และดารงรกั ษาเอกลกั ษณ์ของชาติ การดาเนินชวี ติ ของท้องถ่ิน ดว้ ยความภมู ิใจและเหน็ คุณคา่ ให้คงอยู่
สรู่ ุน่ ลูกหลานสบื ตอ่ ไป
ผลกำรเรียนรู้
1. อธบิ ายความสาคัญของภมู ิปัญญาท้องถิ่นไดถ้ ูกต้อง
2. บอกความหมายของคาศัพท์ที่เกย่ี วขอ้ งกบั ภูมิปญั ญาท้องถิ่นได้ถูกต้อง
3. อธบิ ายภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ดา้ นศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี ได้ถูกต้อง
4. ตระหนักและเห็นคุณค่าของภูมิปญั ญาท้องถ่ินดา้ นศิลปวัฒนธรรม และขนบธรรมเนยี มประเพณี
5. อธิบายภูมิปัญญาท้องถน่ิ ด้านวรรณกรรมได้ถูกต้อง
6. ตระหนกั และเห็นคุณค่าของภูมปิ ัญญาท้องถิ่นดา้ นวรรณกรรม
7. อธบิ ายภูมิปญั ญาท้องถ่นิ ดา้ นอาชีพได้ถูกต้อง
8. ตระหนักและเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านอาชีพ
9. อธบิ ายภูมิปัญญาท้องถ่นิ ด้านคา่ นยิ มและความเชือ่ ได้ถูกต้อง
10.ตระหนักและเห็นคุณคา่ ของภูมปิ ัญญาท้องถิ่นด้านค่านิยมและความเชอื่
รวมทั้งหมด ๑๐ ผลกำรเรียนรู้
โครงสรำ้ งรำยวิชำกำรศึกษำภูมิปญั ญำท้องถ่นิ ช้นั มัธยมศึกษำปที ี่ ๖/๒
หน่วย ชอื่ หน่วย ผลกำรเรียนรู้ สำระสำคัญ เวลำ นำ้ หนกั
๖ คะแนน
ที่ กำรเรียนรู้ ๖
๑๐
๑ ความรพู้ น้ื ฐาน ขอ้ ๑. การศึกษาความสาคญั ของภมู ิ ๖
๖ ๑๐
เกี่ยวกบั ภมู ิปญั ญา ขอ้ ๒. ปญั ญาท้องถ่ิน จนมคี วามรคู้ วาม ๖
๑๐
ทอ้ งถ่ิน เข้าใจ ทาใหส้ ามารถอธิบายและ ๖
บอกความหมายของคาศัพท์ท่ี ๖๐ ๑๐
เกี่ยวขอ้ ง ได้ถูกตอ้ ง ๑๐
๒ ภูมปิ ัญญา ข้อ ๓. การศกึ ษาและรวบรวมความรู้ ๑๐
๖๐
ด้านวัฒนธรรม ขอ้ ๔. เกย่ี วกับภูมปิ ัญญาท้องถิ่น ๒๐
ขนบธรรมเนียม ด้านศลิ ปวฒั นธรรม ๒๐
ขนบธรรมเนยี มประเพณี ทาให้ ๑๐๐
และประเพณีทอ้ งถิ่น สามารถอธบิ ายถา่ ยทอดความรู้
ตระหนักและเห็นคุณคา่ เพือ่
อนรุ กั ษ์ใหค้ งอย่ตู ลอดไป
๓ ภูมิปัญญา ข้อ ๕. การศึกษาและรวบรวมความรู้
ด้านวรรณกรรม ข้อ ๖. เกย่ี วกบั ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ
ดา้ นวรรณกรรม ทาให้สามารถ
อธิบายถา่ ยทอดความรู้ ตระหนกั
และอนุรักษใ์ ห้คงอยตู่ ลอดไป
๔ ภมู ิปญั ญา ขอ้ ๗. การศกึ ษาและรวบรวมความรู้
ด้านอาชีพ ข้อ ๘. เกีย่ วกบั ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น
ดา้ นอาชีพ ทาใหส้ ามารถอธบิ าย
ถ่ายทอดความรู้ ตระหนักและเห็น
คุณคา่ เพื่ออนุรักษใ์ ห้คงอยู่ตลอดไป
๕ ภูมปิ ญั ญา ข้อ ๙. การศกึ ษาและรวบรวมความรู้
ดา้ นคา่ นิยม ข้อ ๑๐. เกี่ยวกับภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ
ด้านค่านิยมและความเชื่อ
และความเชื่อ ทาใหส้ ามารถอธิบายถา่ ยทอด
ความรู้ ตระหนกั และเหน็ คุณค่า
เพื่ออนรุ ักษใ์ หค้ งอยูต่ ลอดไป
๖ รายงาน ข้อ ๑.-๑๐. รวบรวมความรจู้ ดั ทารูปเล่ม
รายงาน
รวม
คะแนนสอบกลางภาค
คะแนนสอบปลายภาค
รวมทง้ั สิน้
สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้
๑. ความหมายของส่ือการเรยี นร/ู้ แหลง่ การเรียนรู้/สอ่ื การสอน
- สอ่ื การเรียนรู้ หมายถงึ วสั ดุ อุปกรณ์ หรือวิธกี าร ซึง่ อาจจาแนกเปน็ ส่ือสิง่ พิมพ์ สื่อบุคคล
สอื่ วัสดุ สื่ออปุ กรณ์ ส่อื อิเล็กทรอนิกส์ ส่ือธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ส่อื กิจกรรมหรือกระบวนการ
- แหล่งการเรยี นรู้ หมายถึง แหล่งข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศและประสบการณท์ ีส่ นบั สนุนสง่ เสริม
ใหผ้ เู้ รยี นใฝเ่ รยี นใฝร่ ู้ แสวงหาความรู้และเรียนรูด้ ้วยตนเองอยา่ งกวา้ งขวางและตอ่ เนื่อง เพอื่ เสรมิ สรา้ ง
ใหผ้ ู้เรียนเกดิ กระบวนการเรียนร้แู ละเปน็ บคุ คลแหง่ การเรียนรู้
เมอื่ นาความหมายมารวมกัน ส่อื และแหล่งเรยี นรู้จงึ หมายถึง ส่งิ ทใี่ ชเ้ ป็นสอ่ื กลางให้ผู้สอนสามารถ
ถา่ ยทอด ความรู้ เจตคติและทักษะไปยังผ้เู รยี น สามารถมองเห็นเป็นรปู ธรรมได้ ทาใหผ้ ู้เรยี นได้เรียนรู้-
อยา่ งมีประสิทธภิ าพ หรอื ทาใหบ้ ทเรยี นง่ายข้ึน และในการจัดทาสื่อข้ึนใช้ต้องคานงึ ถึงคุณสมบตั ิของสอื่ ทด่ี ี
คือนา่ สนใจ ประหยัดช่วยใหเ้ กดิ การเรียนรู้ได้เร็วและถูกต้อง การเขยี นส่อื และแหล่งการเรยี นรใู้ ห้เขยี น-
เรียงตามลาดับกจิ กรรมการเรียนรทู้ ี่กาหนด
ส่อื การสอน หมายถงึ ตวั กลางท่ถี า่ ยถอดสารสนเทศไปสู่ผู้เรียน ไมว่ ่าจะเปน็ วัสดุ เครื่องมอื และเทคนิค
วธิ กี ารทีผ่ ้สู อนนามาประกอบการเรียนการสอน เพื่อผู้เรยี นเกดิ การเรียนรู้ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพส่ือการเรียนรู้
หมายถึง ทุกส่งิ ทุกอยา่ งรอบตัวผเู้ รยี นทชี่ ว่ ยให้ผเู้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ โดยม่งุ เนน้ ส่งเสรมิ การค้นคว้าหรอื การ
แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง ชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นสามารถเรียนรไู้ ด้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวติ ดังนั้น สือ่ การสอนและ
เทคโนโลยีทางการศึกษา จึงเปรียบเสมอื นมือไม้ของครูท่สี าคญั จะขาดเสยี ไม่ได้ในการจัดการเรยี นการสอนใน
ปจั จบุ ัน ไมว่ า่ จะอยู่ในระดับใดก็ตาม
๒. ประเภทของส่ือการสอน แบง่ เป็น ๑๑ ประเภท ตามความเป็นรปู ธรรมและนามธรรม ไดแ้ ก่
๑. ประสบการณต์ รง ๒. ประสบการณจ์ าลอง
๓. ประสบการณน์ าฏการ ๔. การสาธิต
๕. การศึกษานอกสถานท่ี ๖. นทิ รรศการ
๗. โทรทัศน์การศึกษา ๘. ภาพยนตร์
๙. ภาพน่ิง ๑๐. ทศั นสญั ลักษณ์
๑๑. วจนสัญลกั ษณ์
นกั เทคโนโลยกี ารศึกษาไดแ้ บ่งประเภทของสอ่ื การสอนไวเ้ ปน็ ๓ ประเภท ไดแ้ ก่
๑. ประเภทวสั ดุ เชน่ รปู ภาพ แผนภมู ิ ภาพวาด หนังสือ เปน็ ตน้
๒. ประเภทเคร่ืองมือ ซึง่ เครือ่ งมอื จะเปน็ ตวั กลางสง่ ผา่ นความรไู้ ปสผู่ ูเ้ รยี น เชน่ เคร่อื งฉายชนดิ ต่าง ๆ
เคร่อื งเสียงชนดิ ต่าง ๆ เครือ่ งรับและสง่ วทิ ยแุ ละโทรทศั น์ ซึ่งต้องอาศยั วัสดปุ ระกอบ เช่น ฟิล์มแถบบันทกึ เสยี ง
แถบบนั ทึกภาพ เป็นต้น
๓. ประเภทเทคนิคหรือวิธีการ หมายถงึ เทคนิคหรอื วิธีการทจ่ี ะใชร้ ว่ มกับวัสดแุ ละเคร่ืองมอื
หรือใชเ้ พียงลาพังในการจดั การเรยี นการสอน ได้แก่ การสาธิต การทดลอง การแสดงละคร การจัดนทิ รรศการ
เปน็ ต้น
กำรวัดและประเมนิ ผลกำรเรียนรู้
การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑
กาหนดระดบั ของการดาเนนิ งานไว้เป็น ๔ ระดับคือ
๑. การวดั และประเมินระดับช้ันเรยี น
๒. การวดั และประเมนิ ระดบั สถานศึกษา
๓. การวัดและประเมนิ ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา
๔. การวัดและประเมนิ ระดับชาติระดบั
ท่มี ีความเก่ียวขอ้ งกบั ผ้สู อนมากทส่ี ดุ และเป็นหวั ใจของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรผู้ ู้เรยี น
คอื การวัดและประเมินผลระดับชน้ั เรยี น ซ่งึ ขอกลา่ วพอสังเขปดงั นี้
การวัดและประเมินผลการเรียนรใู้ นชน้ั เรียน (Classroom Assessment)
หมายถึง กระบวนการเกบ็ รวบรวม วิเคราะห์ ตคี วาม บนั ทึกขอ้ มูล ทไี่ ด้จากการวดั และประเมนิ ผล ทงั้ ท่เี ป็น
ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ โดยการดานเนินการดงั กลา่ วเกดิ ขึน้ ตลอดระยะเวลาของการจดั การเรยี นการสอน
นบั ตงั้ แต่ก่อนการเรียนการสอน ระหว่างการเรียนการสอน และหลังการเรยี นการสอน โดยใช้เครื่องมือที่
หลากหลาย เหมาะสมกับวัยของผเู้ รยี น มคี วามสอดคล้องและเหมาะสมกบั พฤติกรรมทตี่ ้องการวดั
นาผลทไี่ ด้มาตีคา่ เปรียบเทยี บกบั เกณฑท์ ่ีกาหนดในตวั ชว้ี ดั ของมาตรฐานสาระการเรยี นรู้ของหลักสตู ร
ประเภทของการวดั และประเมินผลการเรียนรู้
๑. การประเมนิ เพื่อจดั วางตาแหน่ง (Placement Assessment) เปน็ การประเมนิ ก่อนเริ่มเรยี น
เพื่อต้องการข้อมลู ที่แสดงความพรอ้ มความสนใจระดับความร้แู ละทักษะพื้นฐานทจ่ี าเป็นตอ่ การเรียนเพ่ือให้
ผู้สอนนาไปใช้กาหนดวตั ถปุ ระสงคข์ องการเรยี นรู้วางแผนและออกแบบกระบวนการเรียนการสอนท่ีเหมาะสม
กับผ้เู รียนทง้ั รายบคุ คลรายกลุ่มและรายช้ันเรียน
๒. การประเมินเพื่อวินจิ ฉยั (Diagnostic Assessment) เปน็ การเกบ็ ข้อมลู เพื่อค้นหาว่าผู้เรยี นรู้อะไร
มาบา้ งเก่ียวกบั สิง่ ที่จะเรยี นสิง่ ที่ร้มู าก่อนน้ถี ูกต้องหรอื ไมจ่ งึ เป็นการใชใ้ นลักษณะประเมินก่อนเรยี นนอกจากนี้
ยังใชเ้ พ่อื หาสาเหตขุ องปัญหาหรอื อุปสรรคต่อการเรียนรู้ของผูเ้ รยี นเป็นรายบุคคลท่ีมกั จะเป็นเฉพาะเรอื่ งเช่น
ปัญหาการออกเสียงไมช่ ดั แล้วหาวิธีปรบั ปรงุ เพื่อใหผ้ ู้เรยี นสามารถพัฒนาและเรียนรู้ขัน้ ต่อไปวธิ ีการประเมิน
ใชไ้ ดท้ ้งั การสงั เกตการพดู คยุ สอบถามหรอื การใชแ้ บบทดสอบกไ็ ด้
๓. การประเมนิ เพื่อการพฒั นา (Formative Assessment) เปน็ การประเมินเพ่ือพฒั นาการเรยี นรู้
(Assessment for Learning) ท่ีดาเนินการอย่างต่อเน่ืองตลอดการเรียนการสอนโดยมิใชใ่ ชแ้ ต่การทดสอบ
ระหวา่ งเรยี นเป็นระยะๆอย่างเดยี วแตเ่ ป็นการท่ีครเู กบ็ ข้อมูลการเรยี นรู้ของผู้เรียนอยา่ งไม่เป็นทางการด้วย
ขณะทีใ่ หผ้ เู้ รยี นทาภาระงานตามท่ีกาหนดครูสงั เกตซักถามจดบันทกึ แล้ววิเคราะห์ข้อมลู ว่าผูเ้ รียนเกิดการ
เรียนรหู้ รือไมจ่ ะต้องให้ผู้เรียนปรับปรุงอะไรหรือผ้สู อนปรับปรุงอะไรเพื่อให้เกิดความกา้ วหน้าในการเรียนรู้
ตามมาตรฐาน/ตวั ช้วี ัดการประเมนิ ระหว่างเรียนดาเนินการได้หลายรปู แบบเชน่ การให้ข้อแนะนาข้อสังเกต
ในการนาเสนอผลงานการพูดคุยระหว่างผสู้ อนกบั ผู้เรียนเป็นกล่มุ หรือรายบุคคลการสัมภาษณ์ตลอดจนการ
วเิ คราะห์ ผลการสอบเป็นต้น
๔. การประเมินเพ่ือสรปุ ผลการเรียนรู้ (Summative Assessment) มักเกิดขึ้นเม่อื จบหน่วย
การเรียนรเู้ พ่ือตรวจสอบผลการเรยี นรูข้ องผ้เู รยี นตามตวั ช้วี ัดและยงั ใช้เป็นขอ้ มูลในการเปรียบเทยี บกบั
การประเมินก่อนเรียนทาให้ทราบพฒั นาการของผเู้ รียนการประเมินสรปุ ผลการเรียนรยู้ ังเปน็ การตรวจสอบ
ผลสัมฤทธิข์ องผูเ้ รียนตอนปลายป/ี ปลายภาคอีกดว้ ยการประเมินสรุปผลการเรยี นรู้ใช้วิธีการและเครื่องมือ
ประเมินไดอ้ ยา่ งหลากหลายโดยปกตมิ ักดาเนนิ การอยา่ งเป็นทางการมากกวา่ การประเมินระหวา่ งเรียน
การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรูจ้ าแนกตามวิธีการแปลความหมายผลการเรยี นรู้ ๒ ประเภทดังน้ี
๑. การวดั และประเมนิ แบบอิงกลมุ่ (Norm-Referenced Assessment) เปน็ การวัดและประเมินผล
การเรยี นรู้เพื่อนาเสนอผลการตัดสินความสามารถ หรือผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน โดยเปรยี บเทียบกันเองภายใน
กลุ่มหรอื ในชน้ั เรียน
๒. การวัดและประเมนิ แบบอิงเกณฑ์ (Criterion-Referenced Assessment) เป็นการวดั และ
ประเมนิ ผลการเรียนรเู้ พือ่ นาเสนอผลการตดั สินความสามารถหรือผลสมั ฤทธขิ์ องผู้เรียนโดยเปรยี บเทียบกบั
เกณฑ์ทกี่ าหนดขน้ึ มักจะเปน็ เฉพาะเรอ่ื งเชน่ ปญั หาการออกเสียงไมช่ ดั แล้วหาวิธปี รบั ปรุงเพื่อใหผ้ เู้ รยี นสามารถ
พัฒนาและเรยี นรู้ข้นั ต่อไปวิธกี ารประเมินใชไ้ ด้ท้ังการสังเกตการพดู คุยสอบถามหรือการใช้แบบทดสอบกไ็ ด้
นอกจากนห้ี ลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ เนน้ การเรียนการสอนเพื่อให้
ผู้เรียนไดก้ ระทาลงมือปฏบิ ัติแสดงความสามารถ มิใช่เพยี งการบอกความรู้ในเรื่องที่ได้เรยี นมา การออกแบบ-
กิจกรรมการเรียนการสอนจึงเปน็ มากกว่าการกาหนดความรู้ หรอื เรอื่ งทจี่ ะต้องเรยี น ดังนั้น เมอื่ การเรียน-
การสอนถูกกาหนดดว้ ยกิจกรรม ผลงาน ภาระงาน ทใี่ ห้ผเู้ รียนทาเพ่ือแสดงพัฒนาการการเรยี นรู้
ตามมาตรฐาน/ตวั ชี้วัดในแต่ละสาระการเรียนรู้หลักฐานการเรียนรู้ (Evidence of Learning) จึงเป็นสิ่งท่ี
แสดงให้เหน็ ผลการเรียนร้ขู องผู้เรยี นที่เป็นรปู ธรรม ว่ามีร่องรอย/หลกั ฐานใดบา้ งทแ่ี สดงถึงผลการเรยี นรู้
ของผเู้ รียนทสี่ มั พันธ์โดยตรงกับมาตรฐาน/ตวั ชี้วัด โดยท่วั ไปจาแนกหลกั ฐานการเรียนร้เู ป็น ๒ ประเภท
คือ ผลผลิต : รายงานท่เี ป็นรูปเล่มส่งิ ประดษิ ฐ์แบบจาลองแผนภูมิแฟม้ สะสมงานผงั มโนทศั นก์ ารเขียนอนุทิน
การเขียนความเรียงคาตอบท่ีผ้เู รยี นสรา้ งเองโครงงานฯลฯ และผลการปฏิบัติ : การรายงานดว้ ยวาจาการสาธติ
การทดลองการปฏิบัติการภาคสนามการอภิปรายการจดั นิทรรศการการสังเกตพฤติกรรมผู้เรยี นของครรู ายงาน
การประเมินตนเองของผเู้ รียนฯลฯ ซง่ึ การประเมินมักใช้เกณฑก์ ารประเมนิ (Rubrics) และตัวอยา่ งชิ้นงาน
(Exemplars) และการประเมินแบบภาพรวม (Holistic Rubric) เชน่ ตอ้ งการประเมินการเขยี นเรียงความ
แตไ่ ม่ได้พิจารณาแยกแต่ละประเด็น ว่าเขียนนาเรื่อง สรปุ เร่ือง การผูกเร่ือง แต่ละประเด็นเปน็ อยา่ งไร
แต่เปน็ การพิจารณาในภาพรวม
ประโยชนข์ องเกณฑก์ ารประเมิน
๑. เป็นเครอ่ื งมือท่ีมปี ระสิทธิภาพมาก ท้ังในการเรยี นการสอนและการประเมนิ ช่วยปรับปรงุ
พัฒนาการปฏบิ ัตหิ รือการแสดงออกของผเู้ รียน
๒. ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นตัดสนิ คณุ ภาพผลงานของตนเองและของคนอนื่ อย่างมเี หตผุ ล
๓. ช่วยลดเวลาผสู้ อนในการประเมินงานของผูเ้ รยี น
๔. สามารถยืดหยุ่นตามสภาพของผูเ้ รียน
๕. ใชง้ ่ายและอธิบายได้ง่าย
คณะผู้จดั ทำ
ท่ปี รึกษำ ผ้อู านวยการโรงเรยี นไชยวานวิทยา ประธาน
๑. นางสาวประภสั สร ทามาลี รองผ้อู านวยการโรงเรียนไชยวานวทิ ยา รองประธาน
๒. นางสาวปวริศา นามสพี ันธ์ หัวหน้ากลมุ่ บริหารวิชาการ เลขานกุ าร
๓. นางอภญิ ญา ดิเรกศรี
ผ้จู ดั ทำ หัวหนา้ กลมุ่ สาระวชิ าภาษาไทย ประธาน
๑. นางมินตรา โดเวอร์ รองหวั หน้ากล่มุ สาระวิชาภาษาไทย รองประธาน
๒. นางสาวนงค์นุช ศรดี ามาตย์ เลขานุการกลุ่มสาระวิชาภาษาไทย เลขานุการ
๓. นางปานใจ หมสู่ งู เนิน