(118)
1.3.3 เรียนรู้ด้านด้านพฤติกรรม
เปน็ การเรยี นรูเ้ รอ่ื งที่ได้กา้ หนด โดยแสดงวัสดุ อุปกรณ์ วธิ กี ารเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ออกแบบ
ตารางบันทึก) และสรุปผลการเรยี นรู้
2. สรปุ ผลการเรยี นรู้ ดา้ นรปู ลักษณ์ คุณสมบัติ และพฤติกรรม เป็นการนาผลการเรยี นรดู้ า้ นรูปลกั ษณ์
คุณสมบตั ิและพฤตกิ รรม ของชวี ภาพอืน่ ๆ มาสรปุ ผลการเรียนรู้
ลาดบั การเรียนรทู้ ี่ 3
เรยี นร้ธู รรมชาตขิ องปัจจยั กายภาพ (ดิน นา้ แสง อากาศ)
วัตถุประสงค์
1. เพอื่ รู้ธรรมชาติของปจั จยั กายภาพที่เขา้ มาเกย่ี วข้องกบั ปจั จัยหลกั
(119)
กระบวนการเรยี นรู้
1. เรียนรูด้ ้านรปู ลักษณ์ และคุณสมบัติ
1.1 เรยี นรดู้ า้ นรูปลกั ษณ์
เปน็ การเรยี นรดู้ า้ นรปู ลกั ษณ์ ของกายภาพ เช่น รปู ร่าง รูปทรง สี ผวิ เน้อื ขนาด จานวน ฯลฯ
1.1.1 การกาหนดปจั จยั ในการเรยี นรู้
1.1.2 เลอื กกายภาพอ่ืน
1.1.3 กาหนดจานวนของภายภาพอ่ืน
1.1.4 การกาหนดเร่ืองท่ีจะเรยี นรู้
1. เรือ่ งที่จะเรยี นรู้ เชน่ รปู ร่าง รูปทรง สี ผิว เนอื้ ขนาด จานวน ฯลฯ
2. องคป์ ระกอบของกายภาพ เช่น โครงสร้าง อนภุ าค สี ฯลฯ
3. นาองคป์ ระกอบของกายภาพ มากาหนดเรื่องที่จะเรียนรู้
วิธกี ารศึกษา ตัวแปรท่ีศกึ ษา ขอบเขตการศกึ ษา
ตวั อยา่ งเร่ืองทจ่ี ะเรียนรู้ :
การเรยี นรู้สขี องดนิ ในบรเิ วณทพี่ บพืชศกึ ษา
วธิ กี ารศึกษา : การเรียนรู้
ตัวแปรท่ีศกึ ษา : สขี องดนิ
ขอบเขตของการศึกษา : ในบรเิ วณท่ีพบพชื ศึกษา และสถานที่
(120)
1.2 เรยี นรู้ด้านคุณสมบัติ
เปน็ การเรยี นรดู้ ้านคุณสมบตั ิ ของกายภาพ (ดนิ น้า แสง อากาศ) มีการเรียนรู้เรอ่ื งดา้ นเคมี เชน่
รสชาติ กล่นิ การติดสี ด้านฟิสิกส์ เชน่ ความแขง็ ความเหนียว การลอยนา้ การอมุ้ น้าของดิน ฯลฯ
1.2.1 การกา้ หนดปัจจัยในการเรียนรู้
1. เลอื กปจั จยั กายภาพ (ดิน นา้ แสง อากาศ)
2. กาหนดจานวนของกายภาพ (ดิน นา้ แสง อากาศ)
1.2.2 การกาหนดเร่ืองท่จี ะเรยี นรู้
1. เรอ่ื งทีจ่ ะเรียนรู้ เชน่ ดา้ นเคมี เชน่ รสชาติ กล่นิ ความเปน็ กรด-ดา่ ง ฯลฯ ดา้ นฟสิ ิกส์
เชน่ ความแข็ง ความเหนียว ความหนาแน่น ฯลฯ
2. องคป์ ระกอบของกายภาพ (ดิน นา้ แสง อากาศ)
3. กาหนดเรือ่ งท่ีจะเรยี นรู้
วิธีการศึกษา ตวั แปรทศี่ ึกษา ขอบเขตการศึกษา
ตวั อยา่ งเร่ืองท่ีจะเรยี นรู้ :
การเรยี นรู้กลน่ิ ของดนิ ของดนิ ในบริเวณที่พบพชื ศึกษา
วธิ ีการศึกษา : การเรยี นรู้
ตัวแปรทศี่ ึกษา : กลน่ิ ของดนิ
ขอบเขตของการศึกษา : ในบรเิ วณท่พี บพชื ศึกษา และสถานท่ี
2. สรุปผลการเรียนรู้ ดา้ นรปู ลักษณ์ และคุณสมบตั ิ
เป็นการน้าผลการเรียนรดู้ ้านรูปลกั ษณ์ และคุณสมบัตขิ องกายภาพ (ดนิ นา้ แสง อากาศ) มาสรุปผล
การเรียนรู้
(121)
ลาดับการเรียนร้ทู ี่ 4
เรยี นร้ธู รรมชาตขิ องปัจจยั อ่ืน ๆ (ปจั จัยประกอบ เชน่ วัสดอุ ปุ กรณ์ อาคารสถานท่)ี
วตั ถปุ ระสงค์
1 เพ่อื รสู้ ่วนประกอบปัจจยั อนื่ ๆ
2. เพ่ือรวู้ ธิ กี ารใชป้ ัจจัยอ่ืน ๆ
กระบวนการเรียนรู้
1. เรียนรกู้ ารวิเคราะห์สว่ นประกอบของปจั จัยอ่นื ๆ
1.1 สารวจ ศกึ ษา สว่ นประกอบ ของปจั จัยอนื่ ๆ ทีเ่ ขา้ มาเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลัก (ปัจจัยอนื่ ๆคือ
คอื สง่ิ ทม่ี าสนบั สนุนการเรยี นรพู้ ชื สตั วก์ ายภาพ)
1.2 วเิ คราะห์ จาแนก สว่ นประกอบของปจั จยั อนื่ ๆ
2. เรยี นรูว้ ธิ กี ารใชข้ องปัจจยั อ่นื ๆ
2.1 เรียนรู้ด้านรูปลักษณ์
เป็นการเรียนรดู้ ้านรูปลักษณ์ ของปัจจยั อ่นื ๆ เชน่ รูปรา่ ง รูปทรง สี ผวิ เน้ือ ขนาด จา้ นวน ฯ
2.1.1 การกาหนดปัจจยั อ่ืนๆในการเรียนรู้
1. เลือกปัจจยั อืน่ ๆ
2. กาหนดจานวนปจั จัยอนื่ ๆ
2.1.2 การกาหนดเรอ่ื งทจ่ี ะเรยี นรู้
1. เรือ่ งทจี่ ะเรียนรู้ เช่น รปู รา่ ง รปู ทรง สี ผวิ เนอ้ื ขนาด จานวน ฯลฯ
2. องคป์ ระกอบของปจั จัยอืน่ ๆ เชน่ โครงสร้าง อนภุ าค สี ฯลฯ
3. นาองคป์ ระกอบของปัจจัยอนื่ ๆ มากาหนดเรอื่ งที่จะเรยี นรู้
วิธกี ารศกึ ษา ตัวแปรท่ีศกึ ษา ขอบเขตการศกึ ษา
ตัวอยา่ งเร่อื งท่ีจะเรยี นรู้ :
การเรียนรสู้ ีของผนงั คอนกรีตในบรเิ วณที่พบพืชศึกษา
วธิ กี ารศกึ ษา : การเรยี นรู้
ตวั แปรท่ีศึกษา : สขี องผนงั คอนกรีต
ขอบเขตของการศึกษา : ในบริเวณท่พี บพืชศึกษา และสถานท่ี
2.2. เรียนรู้ด้านคณุ สมบตั ิ
เปน็ การเรียนรู้ดา้ นคณุ สมบตั ิ ของปจั จัยอืน่ ๆ มีการเรยี นรูเ้ รื่องด้านเคมี เช่น รสชาติ กลน่ิ การติดสี
ด้านฟสิ กิ ส์ เช่น ความแขง็ ความเหนียว การลอยนา้ การอมุ้ นา้ ของดิน ฯลฯ
2.2.1 การกาหนดปัจจยั ในการเรยี นรู้
1. เลอื กของปัจจัยอ่ืน ๆ
2. กา้ หนดจ้านวนปัจจยั อื่น ๆ
(122)
2.2. การกาหนดเร่อื งทจี่ ะเรยี นรู้
1. เรือ่ งท่ีจะเรยี นรู้ เชน่ ด้านเคมี เช่น รสชาติ กลิน่ ความเป็นกรด-ด่าง ฯลฯ ด้านฟสิ ิกส์
เชน่ ความแขง็ ความเหนียว ความหนาแน่น ฯลฯ
2. องค์ประกอบของปจั จยั อนื่ ๆ มากา้ หนดเรื่องท่จี ะเรยี นรู้
วิธกี ารศึกษา ตัวแปรท่ีศกึ ษา ขอบเขตการศกึ ษา
ตว้ อย่างเรื่องท่จี ะเรยี นรู้ :
การเรยี นรูก้ ลิ่นของผนังคอนกรตี ในบริเวณท่พี บพืชศึกษา
วธิ กี ารศึกษา : การเรยี นรู้
ตวั แปรท่ีศกึ ษา : กล่ินของผนงั คอนกรตี
ขอบเขตของการศึกษา : ในบรเิ วณทพี่ บพชื ศกึ ษา และสถานที่
ลาดับการเรียนรูท้ ่ี 5
เรียนรูธ้ รรมชาติของความพนั เกีย่ วระหว่างปจั จัย
วัตถุประสงค์
1. เพ่อื รู้ความพนั เกีย่ วระหวา่ งปจั จัย
กระบวนการเรยี นรู้
1. เรียนรู้ความสัมพันธ์
ใหเ้ รียนรเู้ รอื่ งความสมั พันธพ์ ฤติกรรม การตอบสนองต่อกนั ระหว่างปัจจัยในสภาวะต่าง ๆ เช่น
การศกึ ษาความผูกพันของหม่อนกบั มดดาในสภาวะที่มแี สงและไม่มีแสง เป็นตน้
1.1 การกาหนดเรื่องท่ีจะเรียนรู้
1. ปัจจยั หลัก (พชื ศึกษา)
2. ปจั จยั กายภาพและปัจจยั อื่นๆ
วธิ กี ารศกึ ษา ตัวแปรท่ีศกึ ษา ขอบเขตการศึกษา
ตว้ อยา่ งเรอื่ งท่ีจะเรยี นรู้ :
การศกึ ษาความสัมพันธ์หม่อนกับมดดาในสภาวะทม่ี แี สงและไมม่ แี สง
วิธีการศึกษา : การเรียนรู้
ตัวแปรทีศ่ ึกษา : ความสัมพนั ธ์หม่อนกับมดดา
ขอบเขตของการศึกษา : ในสภาวะทม่ี แี สงและไม่มีแสง
(123)
ให้เรยี นร้เู ร่ืองความผูกพนั พฤตกิ รรม การตอบสนองตอ่ กัน ระหวา่ งปจั จยั ในสภาวะต่าง ๆ เช่น
การศกึ ษาความผูกพันของหม่อนกบั มดดาในสภาวะท่ีมีแสงและไมม่ แี สง เป็นตน้
2.1 การกาหนดเร่อื งท่ีจะเรยี นรู้
1. ปัจจยั หลกั (พืชศึกษา)
2. ปัจจัยกายภาพและปัจจยั อื่นๆ
วธิ ีการศึกษา ตวั แปรท่ีศึกษา ขอบเขตการศกึ ษา
(124)
ตวั อยา่ งเร่อื งทจ่ี ะเรียนรู้ :
การศึกษาความผกู พนั หม่อนกบั มดดาในสภาวะที่มีแสงและไมม่ แี สง
วธิ กี ารศกึ ษา : การเรยี นรู้
ตัวแปรทศ่ี กึ ษา : ความผกู พนั หม่อนกบั มดดา
ขอบเขตของการศึกษา : ในสภาวะทม่ี แี สงและไมม่ ีแสง
3. เรียนรดู้ ลุ ยภาพ ความสมดุล
ให้เรียนรูด้ ลุ ยภาพ ความสมดลุ ที่เกิดข้นึ ระหวา่ งปัจจัยศึกษา เชน่ การศกึ ษาดลุ ยภาพ ความสมดุล
ของหม่อนกบั มดดา้ ในสภาวะท่มี แี สงและไม่มีแสง เป็นต้น
2.1 การก้าหนดเรือ่ งท่จี ะเรยี นรู้
1. ปจั จยั หลัก (พชื ศกึ ษา)
2. ปัจจัยกายภาพและปัจจัยอ่ืน ๆ
วิธีการศึกษา ตวั แปรทศี่ ึกษา ขอบเขตการศึกษา
ต้วอยา่ งเร่อื งทีจ่ ะเรียนรู้ :
การศกึ ษาดุลยภาพ ความสมดลุ หม่อนกับมดดาในสภาวะที่มแี สงและไม่มแี สง
วิธีการศกึ ษา : การเรยี นรู้
ตัวแปรทศ่ี กึ ษา : ดุลยภาพ ความสมดุลหม่อนกบั มดดา
ขอบเขตของการศกึ ษา : ในสภาวะท่ีมีแสงและไม่มีแสง
ลาดับการเรยี นรทู้ ี่ 6
สรุปผลการเรียนรู้ ดุลยภาพของความพนั เกย่ี ว
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่อื รู้ความสมดุลของความพันเกี่ยว
กระบวนการเรียนรู้
1. เรยี นรกู้ ารสรปุ ผลความสัมพนั ธ์ ความผูกพนั ดลุ ยภาพ ความสมดลุ ระหว่างปัจจัยศึกษา
2. เรียนรกู้ ารสรปุ ผลดลุ ยภาพในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ การท้าแอนเิ มช่ัน แผนภาพ อินโฟกราฟฟิก
ภาพวาด แผนภมู ิ วฏั จกั ร ฯลฯ
(125)
ผลที่คาดวา่ จะไดร้ บั
ด้านวชิ าการ
1. พฤกษศาสตร์เช่น รูปลกั ษณ์ของพชื ชอ่ื วิทยาศาสตร์การจาแนกชนดิ
2. สตั วศาสตรเ์ ชน่ รูปลักษณค์ ุณสมบัติและพฤติกรรมของสตั ว์ชือ่ วิทยาศาสตร์
การจาแนกชนิด
3. จลุ ชวี วทิ ยา เชน่ ส่งิ มีชวี ิตขนาดเล็ก แบคทีเรยี เชอื้ รา
4. ชวี วิทยา เชน่ วงจรชวี ิต การเจริญเตบิ โต
5. ปฐพวี ิทยา เชน่ รปู ลกั ษณ์ และคุณสมบัติของดนิ
6. สังคมศาสตร์เช่น ความสัมพนั ธ์ ความผูกพนั การอยูร่ ว่ มกัน การพ่ึงพาอาศัยกนั
7. กฎี วิทยา เชน่ แมลงตา่ ง ๆ
8. นิเวศวทิ ยา เช่น ห่วงโซอ่ าหาร ความสมั พันธ์ระหวา่ งปจั จยั
ดา้ นภูมิปัญญา
1. การจดั การธรรมชาตใิ หส้ มดลุ
2. การจัดการชวี ิต เข้าใจชวี ติ และอยู่กบั ธรรมชาติได้อยา่ งเหมาะสม
คณุ ธรรมและจริยธรรม
1. มคี วามเมตตา กรุณา ไมท่ ้าร้ายทา้ ลาย
2. ความรับผิดชอบในการปฏบิ ตั ิงานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
3. ความซ่ือตรง ในการศึกษาและรายงานผลทีถ่ ูกต้องเปน็ จรงิ
4. ความมรี ะเบียบความรอบคอบ ละเอียดถี่ถว้ น
5. ความอดทนต่อสภาพแวดลอ้ มในการปฏบิ ตั ิงาน เช่น อดทนต่อความร้อนของแสงแดด
6. ความเพยี รในการปฏิบัตงิ าน
7. มีความเอื้ออาทร เก้ือหนนุ
(126)
สาระการเรียนรู้ประโยชนแ์ ท้แกม่ หาชน
หลักการ รูศ้ ักยภาพ รู้จินตนาการ รูป้ ระโยชน์
สาระการเรียนรู้
การวเิ คราะหศ์ ักยภาพของปจั จัยศึกษา จินตนาการเห็นคณุ สรรสร้างวิธีการ เพ่อื ประโยชนแ์ ท้แก่มหาชน
ลาดับการเรียนรู้
1. เรยี นร้กู ารวิเคราะหศ์ กั ยภาพของปัจจัยศึกษา
1.1 พจิ ารณาศักยภาพดา้ นรปู ลกั ษณ์
1.2 วเิ คราะห์ศักยภาพดา้ นคุณสมบตั ิ
1.3 จินตนาการศกั ยภาพด้านพฤติกรรม
2. เรียนรู้ จินตนาการเห็นคณุ ของศักยภาพ ของปัจจัยศกึ ษา
2.1 จินตนาการจากการวิเคราะห์ศักยภาพ
2.2 เรียนรสู้ รุปคุณของศักยภาพ ที่ได้จากจินตนาการ
3. สรรสร้างวิธีการ
3.1 พจิ ารณาคุณทเี่ กิดจากจินตนาการ
3.2 สรา้ งแนวคิด แนวทาง วธิ กี าร
4. สรปุ ผลการเรียนรู้ ประโยชน์แท้แก่มหาชน
(127)
อธิบายลาดบั การเรียนรู้
ลาดบั การเรยี นรทู้ ี่ 1
เรียนรู้การวเิ คราะหศ์ กั ยภาพของปัจจัยศึกษา
วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือรู้การวเิ คราะห์ศักยภาพ
กระบวนการเรียนรู้
1. เรียนรูศ้ กั ยภาพ
ศกั ยภาพ คือ ภาวะแฝง อ านาจหรอื คณุ สมบตั ิที่มีแฝงอยูใ่ นสงิ่ ต่าง ๆ อาจท าให้พฒั นาหรือให้
ปรากฎเปน็ ส่ิงทปี่ ระจักษ์ได้
1.1 เรียนรู้การวเิ คราะห์ด้านรปู ลกั ษณ์
1.1.1 พจิ ารณารปู ลกั ษณ์พชื ศึกษา ชวี ภาพ และกายภาพ
1.1.2 สรปุ ศักยภาพของรูปลกั ษณ์
1.2 เรียนร้กู ารวเิ คราะหด์ า้ นคุณสมบตั ิ
1.2.1)จินตนาการคณุ สมบัติพชื ศกึ ษา ชวี ภาพ และกายภาพ
1.2.2)สรุปศักยภาพของคุณสมบตั ิ
1.3 เรียนรู้การวิเคราะห์ดา้ นพฤติกรรม
1.3.1 วเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมพชื ศึกษา และชีวภาพ
1.3.2 สรุปศักยภาพของพฤติกรรม
ลาดบั การเรยี นรู้ที่ 2
เรยี นรู้ จนิ ตนาการเห็นคณุ ของศักยภาพ ของปัจจยั ศึกษา
วตั ถุประสงค์
1 เพ่ือร้กู ารจนิ ตนาการเหน็ คณุ ของศักยภาพ
(128)
กระบวนการเรยี นรู้
1. เรียนรู้การจนิ ตนาการ
จนิ ตนาการ คือ การสรา้ งภาพขน้ึ ในจติ ใจ
2. เรยี นรกู้ ารจินตนาการเห็นคุณจากการวเิ คราะห์ศกั ยภาพด้านรปู ลักษณ์
2.1 จินตนาการเหน็ คณุ ดา้ นรปู ลักษณ์พชื ศกึ ษา ชวี ภาพ และกายภาพ
2.2 สรุปคณุ ของศักยภาพที่ไดจ้ ากการจนิ ตนาการด้านรปู ลักษณ์
3. เรยี นรกู้ ารจินตนาการเห็นคณุ ด้านคุณสมบตั ิ
3.1 จนิ ตนาการเหน็ คุณด้านคุณสมบตั พิ ืชศกึ ษา ชวี ภาพ และกายภาพ
3.2 สรุปคุณของศักยภาพที่ไดจ้ ากการจินตนาการด้านคุณสมบตั ิ
4. เรยี นรู้การจนิ ตนาการเห็นคณุ ด้านพฤติกรรม
4.1 จินตนาการเห็นคุณดา้ นพฤติกรรมพืชศกึ ษา และชวี ภาพ
4.2 สรุปคุณของศกั ยภาพท่ีได้จากการจินตนาการดา้ นพฤติกรรม
ลาดับการเรียนรูท้ ี่ 3 สรรค์สร้างวธิ ีการ
วัตถุประสงค์
1. เพื่อรกู้ ารพจิ ารณาคุณ
2. เพื่อรวู้ ธิ ีการสร้างแนวคดิ แนวทาง วธิ ีการ
กระบวนการเรยี นรู้
1. พิจารณาคณุ ทเี่ กิดจากจินตนาการ
2. สร้างแนวคิด แนวทาง วธิ ีการ
2.1 แนวคดิ คอื ความคดิ ท่ีมีแนวทางปฏิบัติ
2.2. แนวทาง คือ ทางปฏิบตั ทิ ่วี างไวเ้ ป็นแนว
2.3 วิธกี าร คอื วิธปี ฏิบัติตามหลักการ เปน็ ข้ันตอนอยา่ งมีระบบ
ลาดบั การเรียนรทู้ ี่ 4 สรปุ ผลการเรียนรู้ ประโยชนแ์ ท้แก่มหาชน
วัตถุประสงค์
1. เพอ่ื ให้สามารถสรปุ ผลการเรียนรู้ ประโยชน์แทแ้ ก่มหาชนได้
กระบวนการเรียนรู้
1. เรียนรู้ประโยชนแ์ ก่มหาชน
1.1 ประโยชน์
ประโยชน์ คอื สงิ่ ท่มี ีผลใช้ไดด้ ีสมกับที่คดิ มุ่งหมายไว้
1.2 ประโยชนแ์ ท้
ประโยชน์แท้ คอื สง่ิ ที่มีผลใช้ได้ดีสมกับทค่ี ิดม่งุ หมายไว้
1.3 ประโยชนแ์ ก่มหาชน
ประโยชนแ์ กม่ หาชน คอื ผลประโยชนน์ ้นั เมื่อเกดิ ข้ึนแลว้ บารงุ จิตให้เบิกบาน ขจดั ความขาด
แคลนทางกาย สบื เนอ่ื งยาวนานไมร่ จู้ บ ตกอยูก่ ับมหาชนคนสว่ นใหญ่ และ
2. นาผลงานจากการเรียนรู้ มาสรุปประโยชนแ์ ก่มหาชน
พพืชชื ศศกึ กึ ษษาา
งาข้มี ้อน
ชื่อสามญั Perilla
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Perilla frutescens (L.) Britton
ชอ่ื วงศ์ LAMIACEAE หรอื LABIATAE
ชื่อท้องถิ่นอืน่ งาปกุ งานก (คนเมือง) งามอ้ น งาหอม งามน (แม่ฮ่องสอน), งาขีม้ อ้ น
แง (กาญจนบุรี), น่อง (กะเหรย่ี ง-กาญจนบรุ ี), นอ (กะเหร่ยี งแมฮ่ ่องสอน,
กะเหร่ยี งเชียงใหม)่ , งา้ (ลวั ะ), งาเจียง (ลาว), จีนเรยี กว่า ชซิ ู (Chi-ssu),
ญป่ี ุน่ เรยี กวา่ ชโิ ซะ (Shiso), เกาหลี เรยี กวา่ เคนนปิ (Khaennip) อินเดยี
เรยี กว่า พันจีร่า (Bhanjira), เบงกอล เรียก Babtulsi เปน็ ตน้
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
ต้นงาข้ีม้อน ลาต้นต้ังตรง ความสูงของต้นประมาณ 1-2 เมตร แตกกิ่งก้านสาขา ลาต้นส่ีเหล่ียมมน
ต้นมีกล่ินน้ามัน มีขนยาวละเอียดสีขาว ระหว่างเหล่ียมที่ต้นมีร่องตามยาว เมื่อโตเต็มท่ีลาต้นเคยเป็นเหล่ียมท่ี
โคนต้นจะหาย แต่ละข้อตามลาต้นท่ีจะแตกเป็นใบห่างกัน 4-11 เซนติเมตร ส่วนโคนต้นและโคนก่ิงจะแข็ง
รากแขง็ เหนยี ว
ใบงาข้ีม้อน ใบใหญ่คล้ายกับใบยี่หร่าอย่างมาก แต่มีสีอ่อนกว่าใบยี่หร่า หรือคล้ายใบฤๅษีผสม ใบเป็น
ใบเดี่ยว ใบออกเป็นคู่อยู่ตรงข้าม คู่ใบในข้อถัดไปใบจะออกเป็นมุมฉากกับใบคู่ก่อนสลับกันตลอดท้ังต้น
ลักษณะของใบคล้ายใบโพธ์ิหรือรูปไข่กว้าง ปลายใบเรียวแหลมหรือเป็นติ่งยาว โคนใบกลมป้าน หรือโคนตัด
สว่ นขอบใบหยักเปน็ ฟนั เลอ่ื ย ความกวา้ งของใบประมาณ 3-10 เซนติเมตร และยาวประมาณ 6-14 เซนติเมตร
ใบเป็นสีเขียวอ่อน ท้องใบมีสีอ่อนกว่าหลังใบ แผ่นใบมีขนส้ันๆ นุ่มสีขาวทั้งสองด้าน เมื่อไปสัมผัสจะไม่รู้สึก
ระคายเคืองหรือคัน ตามเส้นใบมีขน ท้องใบมีต่อมน้ามัน ส่วนก้านใบยาวประมาณ 1-6 เซนติเมตร และมีขน
ยาวข้ึนแน่น เส้นใบ 7-8 คู่ แตกเป็นคู่ตรงข้ามกันจากเส้นกลางใบ ใบเหี่ยวเร็วมากเมื่อเด็ดจากต้น และไม่ควร
นาใบใหว้ วั ควายกนิ จะเกดิ พษิ ได้
ดอกงาขี้มอ้ น
ออกดอกเป็นช่อกระจุกตามง่ามใบแต่ละข้อและที่ยอด ช่อดอกมีดอกย่อยเต็มก้านดอก ดอกย่อย
ขนาดเลก็ จานวนมากเปน็ กลุ่ม ชอ่ ดอกตั้งเป็นช่อรูปส่ีเหล่ียม ดอกย่อยเช่ือมติดกันรอบก้านดอกไม่เป็นระเบียบ
ชูช่อดอกข้ึนไป ช่อดอกยาว 1.5-15 เซนติเมตร ช่อดอกคล้ายช่อดอกโหระพา ช่อดอกแมงลัก ดอกย่อยคล้าย
รูปไขเ่ ล็กๆ ไมม่ ีก้าน ดอกย่อยมรี ้ิวใบประดับอยู่ แต่ละดอกยอ่ ยมีกลบี ดอก 5 กลีบ ดอกมีสีขาว สีขาวอมม่วงถึง
สีม่วง มขี นสขี าวขนึ้ ปกคลุม
ผลงาข้มี ้อน
ผลมลี ักษณะเป็นรปู ไขก่ ลมขนาดเล็ก ผลออ่ นสขี าวหรอื เขียวออ่ น ผลแก่เปน็ สนี ้าตาลหรือสเี ทาเมลด็
งาข้ีม้อนในดอกย่อยแตล่ ะดอกมีเมลด็ อยู่ 1-4 เมลด็ เมลด็ มีขนาดเล็กลักษณะกลม เสน้ ผา่ ศนู ย์กลางประมาณ
1.5 มิลลิเมตร มสี ีท่ตี า่ งกนั เป็นลายตั้งแต่สีดาหรือสนี ้าตาลเขม้ สนี ้าตาลอ่อน สีน้าตาลไหม้ สเี ทาเขม้ สเี ทา
ออ่ นไปจนถึงสีขาว และมลี ายเปน็ รูปตาขา่ ย น้าหนกั เมล็ดประมาณ 4 กรัม ต่อ 1,000 เมล็ด
การเกบ็ เกยี่ ว
เมือ่ งาขี้ม้อนมีอายุได้ 4-5 เดอื น งาจะเริ่มแก่ สงั เกตช่อดอกส่วนลา่ งเรม่ิ เปลีย่ นเปน็ สนี า้ ตาลบ้างจงึ เกบ็
เกยี่ วได้ เก่ยี วดว้ ยเคยี วขณะท่ีตน้ ยงั เขยี ว ลาต้นท่ยี ังออ่ นซึง่ ทาใหง้ ่ายต่อการเกีย่ ว วางตน้ งาทเี่ กีย่ วแล้วเพ่ือตาก
แดดทง้ิ ไว้บนตอซังทเ่ี กย่ี วหรือวางบนรา้ นไม้ไผ่ ตากแดด 3-4 วนั ต้นงาที่แห้งแล้วนามาตดี ว้ ยไมใ้ หเ้ มลด็ หลดุ
ออกลงในภาชนะรองรับ ฝัดทาความสะอาดตากแดดอกี ครง้ั แล้วเกบ็ ใส่กระสอบ เพอ่ื รอการจาหน่ายหรือเก็บไว้
บริโภคเอง
ประโยชนข์ องงาขมี้ ้อน
เมล็ดและใบงาข้ีม้อนใช้เป็นอาหารได้หลายอย่าง คนภาคเหนือใช้ประโยชน์จากเมล็ดงาข้ีม้อนมาช้า
นาน โดยนาเมลด็ มาบรโิ ภคทาเป็นอาหารว่างหรือของหวานชนิดหนึ่งท่ีทาได้อย่างง่ายๆ ใช้เมล็ดงาตากับเกลือ
คลุกกับขา้ วเหนยี วขณะท่ียงั ร้อนๆ ตาใหเ้ ขา้ เปน็ เนอื้ เดียวกนั กับงา หรือคั่วงาให้สุกแล้วตางากับเกลือในครกจน
เขา้ กันดแี ละคลกุ กับข้าวเหนียวร้อนๆ จะได้กลิ่นหอมของข้าวสุกใหม่และกล่ินของงา หากต้องการขบเมล็ดปน
อยู่บ้างก็ไม่ต้องตาจนละเอียด แต่ถ้าไม่ชอบให้เป็นเมล็ดก็ตาให้ละเอียดได้ ใส่ข้าวเหนียวที่นึ่งสุกใหม่ๆ ลงตา
คลกุ เคลา้ กบั งาในครก ถ้าทาครงั้ ละมากๆ จะตาในครกกระเด่ือง หรือจะคลุกเคล้าข้าวเหนียวอุ่นๆ กับงาให้เข้า
กนั ดกี อ่ นแลว้ เตมิ เกลอื และตาใหเ้ ขา้ กันอกี ทีก็ได้ เรยี กว่า “ข้าวนกุ งา”
: พชื แนะนาศกึ ษา
ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี พน้ื ทีศ่ กึ ษา พชื แนะนาศกึ ษา
ช่ือสามัญ Teak
ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Tectona grandis L.f.
วงศ์ LAMIACEAE
ชือ่ พ้ืนเมือง ปฮี ี ปฮี ือ เปอ้ ยี (กะเหรย่ี ง-แม่ฮ่องสอน), ปาย้ี (กะเหร่ียง-กาญจนบรุ ี),
เสบ่ าย้ี (กะเหร่ียง-กาแพงเพชร), เคาะเยยี โอ (ละว้า-เชยี งใหม)่
ลักษณะทวั่ ไป
ไม้ ตนขนาดใหญ สงู ถึง 50 เมตร ผลดั ใบลาตนเปลาตรงมักมีพูพอน เปลือกสนี า้ ตาลปนเทา
ใบ เปนใบเดยี่ วตดิ ตรงขามเปนคูๆ มีขนาดใหญ โคนใบมน หรือ สอบแคบ ปลายใบแหลม
หรอื เรียวแหลม เนือ้ ใบสากคาย
ดอก เลก็ สีขาวนวล ออกรวมกนั เปนชอขนาดใหญตามปลายกิ่ง หรือ ตามงามใบใกลๆ ปลายก่ิง
กลีบเล้ยี งจะเชอื่ มตดิ กันบรเิ วณโคนกลีบสวนปลายจะแยกเปนแฉก 5-7 แฉก กลีบดอกจะเช่อื มติดกนั เป
นหลอดเกล้ียงๆ ปลายแยกเปน 5-7 แฉก
ผล เปนผลแหงคอนขางกลม ภายในมเี มลด็ 1-3 เมล็ด
การกระจายพันธุ
เปนไมถนิ่ เดมิ ของไทยและพมา พบตามปาเบญจพรรณภาคเหนอื ที่สงู จากระดบั น้าทะเลไมเกิน 900 เมตร
และมเี ปนหยอมๆ ทางภาคตะวันตก ขยายพนั ธุโดยเมลด็ ออกดอกเดือน มิถุนายน – ตุลาคม
ประโยชน
ราก เนื้อไม และ ใบ ใหสีแดง เขียว ใชยอมผา และ กระดาษ เน้ือไม ทนทาน สวยงาม ใชกอสรางบานเรือน
เคร่ืองแกะสลัก เฟอรนิเจอร เคร่ืองมือเกษตร เครื่องดนตรี ด านสมุนไพร เนื้อไมและใบ ใชทายาแก
โรคเบาหวาน ปสสาวะพิการ ขบั ลมในลาไส แกไตพิการ ใชตมและเอาน้าอาบเด็กท่ีเปนโรคอีสุกอีใส เปลือกใช
เปนยาคมุ ธาตุ
ชื่อสามญั Golden Fig, Weeping Fig, Weeping or Java Fig,
Weeping Chinese Bonyan, Benjamin Tree, Benjamin's fig, Ficus tree.
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Ficus benjamina L.
ชอื่ วงศ์ MORACEAE
ชื่อท้องถิ่นอืน่ ไทรพนั (ลาปาง), ไทร (นครศรีธรรมราช), ไทรกระเบื้อง (ประจวบครี ีขนั ธ์),
ไฮ (ภาคตะวนั ตกเฉยี งเหนือ), ไทรยอ้ ยใบแหลม (กรุงเทพฯ), จาเรย (เขมร), ไซรยอ้ ย
ลกั ษณะของไทรยอ้ ย
ตน้ ไทรย้อย มีถนิ่ กาเนดิ ในทวีปเอเชีย อินเดยี และภูมิภาคมาเลเซีย จัดเป็นไม้ยืนต้นหรือพุ่มไม้ผลัดใบ
ขนาดกลาง ท่ีมีความสูงได้ประมาณ 5-15 เมตร ลาต้นแตกเป็นพุ่มหนาทึบและแผ่กิ่งก้านสาขาท้ิงใบห้อยย้อย
ลง เปลือกต้นเป็นสีนา้ ตาล ก่ิงกา้ นห้อยย้อยลง มีลาต้นท่ีสูงใหญ่ ตามลาต้นจะมีรากอากาศแตกย้อยลงสู่พ้ืนดิน
เปน็ จานวนมากดสู วยงาม รากอากาศเปน็ รากขนาดเลก็ เป็นเส้นสนี า้ ตาล ลักษณะรากกลมยาวเหมือนเส้นลวด
ย้อยลงมาจากต้น รากอากาศท่ีมีขนาดใหญ่จะมีเนื้อไม้ด้วย มีรสจืดและฝาด ขยายพันธ์ุด้วยวิธีการเพาะเมล็ด
การตอนกิ่ง และวิธีการปักชา เป็นพรรณไม้กลางแจ้งท่ีชอบแสงแดดจ้า ชอบดินร่วนซุย ต้องการน้าและความ
ชุ่มช้ืนในระดับปานกลาง ไทรย้อยมีเขตการกระจายพันธ์ุกว้างในประเทศเขตร้อน พบได้ท่ีอินเดีย เนปาล
ปากสี ถาน จนี ตอนใต้ พม่า ภมู ิภาคอินโดจนี และมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบได้ท่ัว
ทุกภาคของประเทศ โดยมักข้ึนกระจายในป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา และบางครั้งอาจพบได้ตามเขา
หินปูน จนถงึ ระดบั ความสงู ประมาณ 1,300 เมตร
ใบ
ไทรย้อยแต่ละสายพันธ์ุน้ันจะมีลักษณะของใบท่ีแตกต่างกันเล็กน้อย ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ
ลักษณะของใบเป็นรูปรีแกมรูปไข่ บางต้นลักษณะของใบเป็นรูปกลมป้อม ส่วนบางพรรณก็เป็นรูปยาวรี แต่
โดยทัว่ ไปแล้วใบจะมขี นาดกว้างประมาณ 2.5-5 เซนติเมตร และยาวประมาณ 5-11 เซนติเมตร ปลายใบเรียว
แหลม โคนใบสอบ ส่วนขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย แผ่นใบค่อนข้างหนาเป็นสีเขียวเรียบเป็นมัน
เหมือนกันหมด เส้นแขนงใบมีข้างละประมาณ 6-16 เส้น ส่วนเส้นแขนงใบย่อยเรียงขนานกัน มีต่อมไขที่โคน
เส้นกลางใบ ก้านยาวประมาณ 0.5-2 เซนติเมตร มีหูใบยาวประมาณ 0.5-2.8 เซนติเมตร ร่วงได้ง่าย เกล้ียง
หรอื มีขนขน้ึ ประปราย
ดอก
ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบ ดอกมีขนาดเล็ก เกิดภายในฐานรองดอกที่มีรูปทรงกลมคล้ายผล
ออกเป็นคู่จากจ้างก่ิง ไม่มีกลีบดอก[3] ถ้าจะพูดให้เข้าใจง่าย ๆ ช่อดอกของไทรก็คือผลท่ียังไม่สุกนั่นเอง แต่
เป็นช่อดอกท่ีได้รับการออกแบบมาให้ม้วนดอกท้ังหลายกลับนอกเข้าในเพื่อทาหน้าที่พิเศษ ถ้านามาผ่าดูก็จะ
พบวา่ ขา้ งในกลวง ทีผ่ นงั มีดอกขนาดเล็ก ๆ จานวนนับร้อย ๆ ดอก ด้านตรงข้ามกับขั้วผลไทรมีรูเปิดขนาดเล็ก
มาก และมีเกล็ดเล็ก ๆ ปิดซ้อนกันอยู่ โดยดอกไทรจะมีอยู่ด้วย 3 ประเภท คือ ดอกเพศผู้ ดอกเพศเมีย และ
ดอกกอลล์ ซึ่งดอกกอลล์ (Gall flower) จะมีหน้าท่ีเป็นท่ีวางไข่และเล้ียงตัวอ่อนของ "ตัวต่อไทร" (เป็นแมลง
ชนดิ เดยี วเทา่ นัน้ ทช่ี ว่ ยผสมเกสรใหต้ ้นไทร)
ผล
ลักษณะของผลเป็นรูปทรงกลมหรือรี ออกผลเป็นคู่ ๆ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.8
เซนติเมตร ผลอ่อนเปน็ สเี ขียว เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีแดงเข้ม สีน้าตาล สีชมพู สีส้มแดง หรือสีม่วงดาเมื่อ
แก่ ไรก้ า้ น
ประโยชน์ของไทรยอ้ ย
1.รากไทรย้อยมีสรรพคุณเปน็ ยาแกก้ าฬโลหติ (รากอากาศ)
2.รากอากาศมสี รรพคุณบารงุ โลหิต แกต้ กโลหิต (รากอากาศ)
3.รากใช้เป็นยาแก้กระษัย (อาการป่วยที่เกดิ จากหลายสาเหตุ ทาใหร้ า่ งกายเส่ือมโทรม ซูบผอม ปวด
เม่ือย โลหติ จาง)
4.รากนามาตม้ กับนา้ กนิ เปน็ ยาบารุงน้านมใหส้ มบูรณ์ (รากอากาศ)
5.ชว่ ยแกอ้ าการทอ้ งเสยี (รากอากาศ
6.ใชเ้ ป็นยาขับพยาธิ (รากอากาศ)[5]
7.ใชเ้ ปน็ ยาขับปัสสาวะ แก้ขดั เบา ขับปัสสาวะใหค้ ล่อง แก้นว่ิ แกป้ สั สาวะมีสีต่าง ๆ (รากอากาศ
8.ชว่ ยแก้ไตพิการ (โรคเกี่ยวกับทางเดนิ ปสั สาวะท่ีมีปัสสาวะขุ่นข้นเปน็ สเี หลืองหรือแดง และมกั มี
อาการแน่นท้อง รบั ประทานไมไ่ ด้รว่ มดว้ ย) (รากอากาศ)
9.ช่วยแก้อาการอักเสบหรือลดการติดเช้อื เชน่ ฝหี รอื รอยฟกชา้ (รากอากาศ)
10.ตารายาไทยจะใชร้ ากไทรย้อยใน “พกิ ดั ตรธี ารทิพย์” (ประกอบไปด้วยรากไทรยอ้ ย รากราชพฤกษ์
และรากมะขามเทศ) มีสรรพคณุ เปน็ ยาบารุงน้านม แก้กษัย แก้ท้องรว่ ง ชว่ ยฆา่ เช้ือคุดทะราด (รากอากาศ)
ชอื สามัญ Sunrose Willow และ Creeping Water Primrose.
ชือวิทยาศาสตร์ Cleistocalyx nervosum var. paniala.
ชือวงศ์ MYRTACEAE
ชือทอ้ งถินอืน หว้าส้ม,หว้านา
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
ลาต้น
มะเก๋ียง เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ลาต้นสูงประมาณ 10-15 เมตร หรือมากกว่า ขนาดลาต้น
เมื่อมีอายุมากจะมีขนาดเส้นรอบวงได้ถึง 1.5 เมตร ลาต้นแตกกิ่งมาก เปลือกลาต้นมีสีเทาหรือน้าตาลอมเทา
เปลือกแก่ด้านนอกหลุดล่อนออกเป็นแผ่น เม่ือใช้มีดสับเปลือกด้านในจะมีสีน้าตาลอมชมพู แต่เมื่อแห้งจะมีสี
นา้ ตาล สว่ นเนอื้ ไมค้ ่อนขา้ งแขง็ มสี ขี าวนวลหรอื เหลอื งอ่อน และมีเสีย้ นคอ่ นข้างมาก
ใบ
ใบมะเก๋ียงออกเป็นใบเด่ยี วตรงขา้ มกนั เป็นคู่บนก่ิงย่อย จานวน 4-6 คู่ ในแต่ละก่ิงย่อย ใบมีรูปรีถึงรูป
หอก ขนาดใบกว้าง 8-10 เซนติเมตร ยาว 15-25 เซนติเมตร แผ่นใบ และขอบใบเรียบ ใบมีลักษณะเป็นคล่ืน
และเป็นมันเล็กน้อย แผ่นใบด้านบนมีสีเขียวเข้ม ส่วนด้านล่างมีสีเขียวอ่อน ก้านใบยาว 1.5-3 เซนติเมตร มี
เส้นกลางใบดา้ นบนเปน็ รอ่ งตนื้ สว่ นเสน้ กลางใบดา้ นล่างนนู ขนึ้ มเี ส้นแขนงใบแยกออกซ้ายขวาสลับกัน ข้างละ
7-15 เสน้ ภายในใบมจี ุดสีเหลอื งกระจายไปทัว่ ใบอ่อน มีสีเขียวอมแดง ใบแก่มีสีเขียว
ดอก
ดอกมะเก๋ยี ง เป็นดอกสมบูรณ์เพศ แทงออกเป็นช่อ บริเวณปลายกิ่ง แต่ละกิ่งมีจานวน 5-15 ช่อดอก
ช่อดอกยาว 5-10 เซนติเมตร ช่อดอกมีดอกประมาณ 20-80 ดอก ดอกมีสีขาวอมเหลือง มีกลีบเลี้ยง 4 กลีบ
และมกี ลบี ดอก 4 กลีบ ขนาด 0.35-0.45 เซนติเมตรมีเกสรตัวผู้ประมาณ 150-300 อัน มีรังไข่อยู่บริเวณฐาน
ดอก ดอกมะเกี๋ยงจะเร่ิมออกดอกในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ซึ่งเป็นช่วงหลังที่มีการแตกใบใหม่ และดอก
จะบานหลงั จากแทงตาดอกประมาณ 2 เดือน
ผล
ผลมะเกยี๋ ง
มีลักษณะเป็นรูปไข่คล้ายผลหว้า แต่เล็ก และป้อมกว่าเล็กน้อย ผลมีเปลือกบาง ผลอ่อนมีสีเขียวอม
เหลือง และค่อยๆเปลย่ี นเปน็ สีเหลืองอมชมพู ตอ่ มาเปน็ สีแดงเม่ือห่าม เม่ือสุกเป็นสีแดงม่วง และสุกมากเป็นสี
ดา ขนาดผลประมาณ 1-2 เซนติเมตร ยาวประมาณ 1.5-2.5 เซนติเมตร เนื้อผลมีสีขาว หนาประมาณ 3–5
มิลลิเมตร เมื่อรับประทานจะให้รสเปร้ียวอมฟาดเล็กน้อย และมีกลิ่นหอม ตรงกลางผลมีเมล็ด 1 เมล็ด ผล
มะเกี๋ยงเร่มิ สุก หลงั ดอกบาน ประมาณเกือบ 3 เดือน และสามารถเก็บผลได้ในช่วงเดือนมิถุนายน-กันยายน มี
ผลต่อช่อประมาณ 5-10 ผล และจะเรมิ่ ตดิ ผลไดเ้ มอ่ื ตน้ มอี ายปุ ระมาณ 3-5 ปี
เมล็ดมะเกี๋ยง
มีลักษณะกลมหรือค่อนข้างเป็นรูปไข่ ขนาดประมาณ 0.7-8 เซนติเมตร 0.8-1 เซนติเมตร เปลือก
เมลด็ มีสีน้าตาลอ่อน เนือ้ เมล็ดภายในมสี ีเขยี ว
ประโยชนม์ ะเกีย๋ ง
1. ผลมะเกย๋ี งใชร้ ับประทานเป็นผลไม้ ใหร้ สเปรี้ยวอมหวาน
2. ผลดบิ มะเกย๋ี งนามาใสอ่ าหารประเภทตม้ ยา ให้รสเปร้ียวจัดจ้าน
3. ผลมะเกย๋ี งใชแ้ ปรรูปเป็นผลติ ภณั ฑอ์ าหาร
– นา้ มะเก๋ยี งพรอ้ มดม่ื
– ไวนม์ ะเกย๋ี ง
– เนคต้ารเ์ กย๋ี ง
– มะเกี๋ยงแชอ่ ม่ิ
– ชามะเกยี๋ ง
– เยลลี่มะเกีย๋ ง
– มะเกีย๋ งดอง
– โยเกริ ์ตมะเกยี๋ ง
4. ผลมะเกี๋ยงใช้สกัดทาสีผสมอาหาร ซ่งึ ให้สีม่วงแดง
5. ใบมะเกยี๋ งนามาต้มเปน็ นา้ ย้อมผ้า ให้สีนา้ ตาลอ่อนหรือนา้ ตาลเข้ม
6. เปลือกมะเกีย๋ งนามาต้มน้ายอ้ มผ้า ใหส้ ีน้าตาลอมแดง
7. เมลด็ มะเกี๋ยงใชส้ กดั น้ามันสาหรบั ใช้ประกอบอาหารหรือใชเ้ ป็นสว่ นผสมเครื่องสาอาง และน้าหอม
8. เนื้อไม้มะเกย๋ี งมีลักษณะค่อนข้างแข็ง ใช้แปรรูปเปน็ ไม้ปูพน้ื ไมช้ ายคา ไมว่ งกบ รวมถึงแปรรปู
เป็นเฟอรน์ ิเจอร์ตา่ งๆ
9. กงิ่ นามาทาเปน็ ฟืน
10. ตน้ มะเกยี๋ งตามป่าหรอื หวั ไร่ปลายนาเปน็ ประโยชน์ตอ่ สัตวป์ า่ ในด้านเปน็ แหลง่ อาหารสาคัญ
ชอ่ื สามัญ Golden shower, Indian laburnum, Pudding-pine tree, Purging Cassia
ช่ือวิทยาศาสตร์ Cassia fistula L.
ชอ่ื วงศ์ FABACEAE
ชื่อพืน้ เมอื ง กเุ พยะ คนู ชัยพฤกษ ปอยู ปูโย เปอโซ แมะหลาหยู ลมแลง
ลกั ษณะท่ัวไป
ไมต้ น้ ผลดั ใบ สูง 8-15 เมตร
ใบ ใบประกอบแบบขนนกออกสลบั มีใบยอย 3-8 คู รปู ปอม รปู ไข หรอื รปู ขอบขนานแกมรูปไข
กวาง 4-8 เซนติเมตร ยาว 7-15 เซนติเมตร ปลายแหลมโคนมน เสนแขนงใบถี่ เนอ้ื ใบคอนขางบาง
ดอก สเี หลอื ง ออกเปนชอหอยตามซอกใบ หรอื ตามกงิ่ ยาว 20-45 เซนตเิ มตร กวาง 4-5
เซนตเิ มตร กลีบเล้ยี งรปู รีแกมรปู ไข ผิวนอกมีขนคลมุ กลบี ดอก 5 กลีบ รูปไข หรือ รปู ไขกลับ เมอ่ื บานเสน
ผาศนู ยกลาง 5-8 เซนตเิ มตร เกสรตัวผู อัน ขนาดไมเทากัน รังไขและกานเกสรตัวเมีย มีขนคลุม ออกดอก
เดือนกมุ ภาพนั ธ – พฤษภาคม
ผล เปนฝกทรงกระบอกยาว 20-60 เซนติเมตร เสนผาศูนยกลาง 1.5-2.5 เซนตเิ มตร ฝกแกสีดา
การกระจายพันธ ถ่ินกาเนดิ เอเชียเขตรอนขน้ึ ตามปาเบญจพรรณแลงทว่ั ไป
ประโยชน
เปลือก เนอ้ื ไม ผล ใหสีเหลอื ง ใชยอมไหมและฝาย
ราก ฝนทาแกกลาก และ เปนยาระบาย
ราก และ แกน เปนยาขบั พยาธิ
เปลอื กและไม ใชฟอกหนงั
เปลือก และ ใบ บดผสมกันใชทาฝและเมด็ ผ่ืนตามรางกาย
เนือ้ ไม สแี ดงแกมเหลอื ง แข็ง ทนทาน ใชทาเสา ลอเกวยี น คันไถ
ใบ ตมรับประทานเปนยาระบาย ฆาพยาธิ
ดอก แกไข ระบาย แกแผลเรอ้ื รงั
ฝก เนอื้ ในฝกรสหวาน เปนยาระบาย ชวยบรรเทาอาการแนนหนาอก
ฟอก หรือ ชาระนา้ ดี แกลมเขาขอ และขัดขอ
ช่ือสามญั Bengal almond, Indian almond, Olive-bark tree, Sea almond,
Singapore almond, Tropical Almond, Umbrella Tree
ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Terminalia catappa L.
วงศ์ COMBRETACEAE
ช่ือท้องถ่ินอนื่ ตาปัง (พษิ ณโุ ลก, สตูล), โคน (นราธวิ าส), หลุมปัง (สรุ าษฎรธ์ านี), คดั มือ ตัดมือ (ตรงั ),
ตาแปห์ (มลายู-นราธวิ าส) เปน็ ตน้
ลักษณะของต้นหูกวาง
ตน้ หูกวาง จัดเปน็ ไมย้ ืนต้นผลัดใบขนาดกลาง ท่ีมีความสูงของต้นประมาณ 10-15 เมตร บางครั้งอาจ
สงู ไดถ้ งึ 30-35 เมตร (แตไ่ ม่ค่อยพบตน้ ที่ใหญ่มากในประเทศไทย) มีเรือนยอดหนาแน่น แตกกิ่งก้านแผ่ออกใน
แนวราบเป็นชนั้ ๆ คลา้ ยฉัตร ลาต้นเปลาตรง ต้นที่มอี ายุมากและมขี นาดใหญ่จะเป็นพพู อนทีโ่ คนต้น เปลือกลา
ต้นเป็นสีน้าตาลปนเทาเกือบเรียบ แตกเป็นร่องแบบต้ืน ๆ ตามแนวนอนและแนวตั้ง และลอกออกเป็นสะเก็ด
เลก็ ๆ ท่วั ไป ก่ิงอ่อนมีขนสนี ้าตาล ส่วนเนอื้ ไมเ้ ปน็ สีแดง เปน็ กลีบเล็กน้อย มีเส้ียนไม้ละเอียดสามารถขัดชักเงา
ไดด้ ี
ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด บางคร้ังน้าหรือค้างคาวก็ช่วยในกระจายพันธุ์ได้ด้วยเช่นกัน และสามารถ
เจรญิ เตบิ โตไดด้ ใี นดนิ ทม่ี ีการระบายน้าได้ดอี ย่างดนิ ร่วนพอควรหรือปนทราย หูกวางเป็นพันธ์ุไม้ในป่าชายหาด
ท่ีพบข้ึนกระจายตามชายฝั่งทะเล พบปลูกทั่วตั้งแต่ประเทศอินเดียจนถึงตอนเหนือของทวีปออสเตรเลียทาง
ตอนเหนือ ต้นหูกวางเป็นพืชทิ้งใบ โดยท่ัวไปแล้วจะทิ้งใบ 2 ครั้ง ในรอบ 1 ปี หรือในช่วงประมาณเดือน
มกราคมถึงเดอื ยกมุ ภาพันธ์ และอกี ชว่ งในชว่ งเดอื นกรกฎาคมถึงเดือนสิงหาคม ซึ่งก่อนขจะทิ้งใบ ใบหูกวางจะ
เปล่ียนเป็นสีเหลืองหรือสีส้มแดง ในปัจจุบันน้ีได้มีการนาต้นหูกวางมาปลูกทั่วไปในพื้นที่เขตร้อนอย่างทวีป
เอเชีย ส่วนในประเทศไทยมักพบขึ้นตามชายฝ่ังทะเลทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ (ตราดและชลบุรี) ภาค
ตะวนั ตกเฉยี งใต้ (ประจวบคีรขี นั ธแ์ ละกาญจนบรุ )ี และภาคใต้ (นราธิวาส ตรัง และสุราษฎรธ์ าน)ี
ใบหกู วาง
ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงเวียนสลับกันเป็นกระจุกหนาแน่นบริเวณปลายก่ิง ลักษณะของใบเป็นรูปไข่
กลบั ปลายใบแหลมเปน็ ติ่งสั้น ๆ (ปลายใบกว้างกว่าโคนใบ) โคนใบมนเว้าหรืแสอบแคบเป็นรูปลิ่ม และมีต่อม
เลก็ ๆ หนง่ึ คูอ่ ยูท่ ีโ่ คนใบบริเวณทอ้ งใบ สว่ นขอบใบเรียบเป็นคล่ืนหยักเล็กน้อย ใบมีขนาดกว้างประมาณ 8-15
เซนติเมตร และยาวประมาณ 12-25 เซนติเมตร หลังใบและท้องใบมีขน เน้ือใบหนา ใบอ่อนเป็นสีเขียวอ่อน
เม่ือแก่แล้วจะเปล่ียนเป็นเขียวเข้ม แล้วจะเปลี่ยนเป็นสีส้มแดงเม่ือใกล้ร่วงหรือผลัดใบ มีก้านใบยาวประมาณ
0.5-1.5 เซนตเิ มตร มีขน มกั ผลัดใบในช่วงฤดูหนาวในช่วงเดอื นตลุ าคมถงึ เดือนพฤศจิกายน
ดอกหกู วาง
ออกดอกเป็นช่อยาวแบบติดดอกสลับ โดยจะออกตามซอกใบ ลักษณะเป็นแท่งยาวประมาณ 8-12
เซนติเมตร มีดอกย่อยเป็นสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน ดอกมีขนาดเล็กและไม่มีกลิ่นหอม (บางข้อมูลว่ามีกล่ินฉุน
ด้วยเล็กนอ้ ย) ดอกเป็นแบบแยกเพศแต่อยใู่ นช่อเดียวกัน ดอกเพศผู้จะอยู่บริเวณปลายช่อ ส่วนดอกเพศเมียจะ
อยู่บริเวณโคนช่อ (อีกข้อมูลระบุว่าดอกแบบสมบูรณ์จะอยู่โคนช่อ) ไม่มีกลีบดอก มีแต่กลีบเลี้ยงดอก 5 กลีบ
โคนกลีบเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็นแฉกรูปสามเหล่ียม 5 แฉก มีขนด้านนอก ดอกเกสรเพศผู้มี 10 ชั้น ดอก
เมอ่ื บานเตม็ ที่จะมีขนาดกว้างประมาณ 0.4-0.6 เซนติเมตร โดยดอกจะออกดอกสองครั้งรอบ 1 ปี คือ ในช่วง
ฤดูหนาวหลงั จากแตกใบใหม่ (เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม) และอีกครั้งในช่วงฤดูฝน (เดือนมิถุนายนถึง
เดอื นสิงหาคม)
ผลหกู วาง
ผลเปน็ ผลเดย่ี วในแต่ละผลมีเมลด็ 1 เมล็ด ลักษณะของผลเป็นรูปทรงรีค่อนข้างแบนเล็กน้อย ผลแข็ง
มขี นาดกว้างประมาณ 2-5 เซนติเมตร และยาวประมาณ 3-7 เซนติเมตร ผลด้านข้างเป็นแผ่นหรือเป็นสันบาง
ๆ นูนออกรอบผล ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อแก่แล้วจะเปล่ียนเป็นสีเหลืองหรือสีเหลืองอมเขียว และมีกล่ินหอม
ผิวผลเรียบ ผลเม่ือแห้งจะเป็นสีดาคล้า เปลือกผลมีเส้นใย ภายในมีเมล็ดเดี่ยว เมล็ดมีขนาดใหญ่ เหนียว และ
เปลือกในแข็ง โดยผลจะแก่ในช่วงในช่วงแรกประมาณเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน และอีกช่วงหน่ึง
ประมาณพฤษภาคมถึงเดอื นมิถนุ ายน
เมลด็ หกู วาง
ลักษณะของเมล็ดเป็นรปู ไขห่ รอื รูปรี แบนปอ้ มเลก็ นอ้ ยคล้ายกบั ผล เมอื่ เมลด็ แห้งจะเป็นสีน้าตาล แข็ง
ภายในมีเน้ือมาก
ประโยชน์ของหกู วาง
1.เมล็ดหูกวางสามารถนามารับประทานได้ และยงั มโี ปรตีนท่ีให้ประโยชน์แกร่ า่ งกายของเราอีกดว้ ย
2.เมลด็ สามารถนาเอาไปทาเปน็ นา้ มันเพ่ือนาไปใชบ้ ริโภคหรือทาเคร่ืองสาอางได้
3.เปลือกและผลมีสารฝาดมาก สามารถนามาใช้ในอุตสาหกรรมย้อมสีผ้า ฟอกหนังสัตว์ และทาหมึก
ได้ ในอดีตมีการนาเอาเปลือกผลซึ่งมีสารแทนนินมาใช้ในการย้อมหวาย และได้มีการทดลองใช้ใบเพ่ือย้อมสี
เสน้ ไหม พบวา่ สีทไี่ ด้คอื สีเหลอื ง สเี ขียวขม้ี า้ หรือสนี า้ ตาลเขยี ว
4.ใบแก่นามาแช่น้าใช้รักษาบาดแผลของปลาสวยงาม อย่างเช่น ปลากัด ปลาหางนกยูงได้ อีกท้ังยัง
ช่วยบารุงสุขภาพปลาและสีสันของปลา ช่วยทาให้ตับของปลาน้ันดีขึ้น จึงส่งผลให้ปลาแข็งแรง ช่วยป้องกัน
ไม่ใหป้ ลาเปน็ โรค
5.เนื้อไม้หกู วาง สามารถนามาใช้ในการก่อสรา้ ง ทาบ้านเรือน หรอื เคร่ืองเรอื นได้ดี เพราะเป็นไม้ที่ไม่มี
มอดและแมลงมารบกวน หรือนามาใชท้ าฟนื และถา่ นกไ็ ด้
ชือ่ สามญั Asian bulletwood, Bullet wood, Bukal, Tanjong tree, Medlar, Spanish cherry
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Mimusops elengi L.
ช่อื วงศ์ SAPOTACEAE
ชื่อท้องถ่นิ อน่ื ซางดง (ลาปาง), พกิ ลุ เขา พกิ ลุ เถอ่ื น (นครศรีธรรมราช), พกิ ลุ ป่า (สตูล), แกว้ (ภาคเหนอื ),
กนุ (ภาคใต้), ไกรทอง, ตนั หยง, มะเมา, พกุล, พิกลุ ทอง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ไม่ผลัดใบ มีความสูงของต้นประมาณ 10-25 เมตร ลาต้นแตกก่ิง
กา้ นเปน็ พมุ่ กว้างหนาทบึ เปลือกตน้ เป็นสีเทาอมสนี ้าตาลและแตกเป็นรอยแตกระแหงตามแนวยาว ทั้งต้นมีน้า
ยางสขี าว สว่ นกงิ่ ออ่ นและตามขี นสีน้าตาลข้นึ ปกคลมุ ขยายพนั ธ์ุด้วยวิธกี ารเพาะเมลด็ การตอนกิ่ง และวิธีการ
ปกั ชากิง่ ชอบขึ้นในพน้ื ทดี่ นิ ดี ชอบแสงแดดจัด ทนทานต่อสภาพน้าท่วมขังได้นานถึง 2 เดือน มีการเพาะปลูก
มากในมาเลเซีย เกาะโซโลมอน นิวแคลิโดเนีย วานูอาตู และออสเตรเลียทางตอนเหนือ รวมไปถึงเขตร้อนทั่ว
ๆ ไป(เปลือกต้น พบว่ามีสารในกลุ่มไตรเทอร์ปีน ได้แก่ Beta amyrin, Betulinic acid, Lupeol,
Mimusopfarnanol, Taraxerone, Taraxerol, Ursolic acid, สารในกลุ่มกรดแกลลิก ได้แก่ Phenyl
propyl gallate, น้ามันหอมระเหย ได้แก่ Cadinol, Diisobutyl phthalate, Hexadecanoic acid,
Octadecadienoic acid, Taumuurolol, Thymol)
ใบพิกุล มีใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกันแบบห่าง ๆ ลักษณะของใบเป็นรูปไข่หรือรูปรี ใบมีความ
กว้างประมาณ 3-6 เซนติเมตรและยาวประมาณ 5-12 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลมหรือหยักเป็นติ่งสั้น ๆ
โคนใบมน ส่วนขอบใบเรียบและเป็นคล่ืนเล็กน้อย หลังใบเป็นสีเขียวเรียบเป็นมัน ท้องใบจะเป็นสีเขียวอ่อน
และเน้ือใบมลี ักษณะค่อนข้างเหนยี ว สว่ นก้านใบยาวประมาณ 4-6 เซนติเมตร หูใบมีลักษณะเป็นรูปเรียวแคบ
ยาวประมาณ 3-5 มิลลเิ มตร และหลุดร่วงไดง้ ่าย
ดอกพิกลุ
ออกดอกเป็นดอกเด่ียวหรือเป็นกระจุกประมาณ 2-6 ดอก โดยจะออกตามซอกใบหรือตามปลายก่ิง
ดอกพิกุลจะมีขนาดเล็กสีขาวนวล มีกล่ินหอม (กลิ่นยังคงอยแู่ ม้ตากแหง้ แล้ว) และหลุดร่วงได้ง่าย เม่ือดอกบาน
เต็มทจ่ี ะกว้างประมาณ 0.7-1 เซนติเมตร ก้านดอกย่อยมีความยาวประมาณ 2 เซนติเมตร มีกลีบเลี้ยง 8 กลีบ
เรียงซ้อนกัน 2 ช้ัน ช้ันละ 4 กลีบ ส่วนกลีบเล้ียงด้านนอกมีลักษณะเป็นรูปใบหอก ปลายแหลม มีขนส้ันสี
น้าตาลนุ่ม ยาวประมาณ 7-8 มิลลิเมตร โดยกลีบดอกจะส้ันกวากลีบเล้ียงเล็กน้อย กลีบดอกมี 8 กลีบ ที่โคน
กลีบเช่ือมกันเล็กน้อย กลีบดอกแต่ละกลีบจะมีส่วนยื่นออกมาด้านหลัง 2 ช้ิน ซ่ึงแต่ละชิ้นจะมีลักษณะ ขนาด
และสีคล้ายคลึงกับกลีบดอกมาก ดอกมีเกสรตัวผู้สมบูรณ์ 8 ก้าน อับเรณูเป็นรูปใบหอกและยาวกว่าก้านชูอับ
เรณู เกสรตัวผู้เป็นหมัน 8 อัน และรังไข่มี 8 ช่อง เม่ือดอกใกล้โรยจะเป็นสีเหลืองอมสีน้าตาล สามารถออก
ดอกไดต้ ลอดปี (ดอกมีน้ามันหอมระเหย ซึ่งประกอบไปด้วย 3-hydroxy-4-phenyl-2-butanone 4.74%, 2-
phenylethanol 37.80%, 2-phenylethyl acetate 7.16%, (E)-cinnamyl alcohol 13.72%, Methyl
benzoate 13.40%, p-methyl-anisole 9.94%)
ผลพิกลุ
ลักษณะของผลเป็นรูปไข่ถึงรี ผิวผลมีลักษณะเรียบ ผลอ่อนเป็นสีเขียวมีขนสั้นนุ่ม เมื่อสุกแล้วจะ
เปลี่ยนเป็นสีแสด ที่ขั้วผลมีกลีบเลยี้ งติดคงทน ผลมีขนาดกวา้ งประมาณ 1.5 เซนตเิ มตรและยาวประมาณ 2.5-
3 เซนติเมตร เนื้อในผลเป็นสีเหลืองมีรสหวานอมฝาดและมีเมล็ดอยู่ 1 เมล็ด ลักษณะแบนรี แข็ง สีดาเป็นมัน
ติดได้ตลอดปี[1],[2],[3],[4] (ผลและเมล็ดพบ Dihydro quercetin, Quercetin, Quercitol, Ursolic acid,
สารในกลมุ่ ไตรเทอรป์ นี ซึง่ ไดแ้ ก่ Mimusopane, Mimusops acid, Mimusopsic acid ส่วนเมล็ดพบสารไตร
เทอร์ปีนซาโปนินได้แก่ 16-alpha-hydroxy Mi-saponin, Mimusopside A and B, Mi-saponin A และยัง
มสี ารอน่ื ๆ อีก ได้แก่ Alpha-spinasterol glucoside, Taxifolin)
ประโยชน์ของพิกลุ
1.ผลพิกลุ สามารถใชร้ ับประทานเปน็ อาหารหรือผลไมข้ องคนและสตั วไ์ ด้
2.ดอกพิกุลมกี ลิน่ หอมเย็น นยิ มนามาใชบ้ ูชาพระ
3.น้าจากดอกใชล้ ้างปากล้างคอได้
4.เน้อื ไม้พกิ ลุ สามารถนามาใช้ในการก่อสร้างทาเคร่ืองมือได้ เช่น ทาเฟอร์นิเจอร์ เครื่องดนตรี การขุด
เรือทาสะพาน โครงเรือ ไม้คาน ไม้กระดาน วงลอ้ ครก สาก ด้ามเครื่องมือ เคร่ืองมือทางการเกษตร ฯลฯ และ
ยังใช้เนอื้ ไม้ในงานพธิ มี งคลได้เป็นอย่างดี เช่น การนามาทาเปน็ ดา้ มหอกท่ีใช้เป็นอาวธุ เสาบา้ น พวงมาลยั เรอื
5.เปลือกตน้ พิกุลใชส้ กัดทาสยี ้อมผ้า
6.ดอกมีกล่นิ หอมเย็น สามารถนามาสกัดเป็นน้ามันหอมระเหยได้ ซ่ึงสามารถนามาใช้ในการแต่งกลิ่น
อาหาร ใช้เปน็ ส่วนผสมในน้าหอม ใชแ้ ตง่ กลิ่นทาเคร่ืองสาอาง
ช่ือสามัญ Thai bungor
ช่ือวิทยาศาสตร์ Lagerstroemia loudonii Teijsm. & Binn.
วงศ์ LYTHRACEAE
ชื่อพ้นื เมอื งอ่ืน เกรยี บ ตะเกรียบ ตะแบกขน เสลาใบใหญ อินทรชติ
ลกั ษณะท่ัวไป
ไม ตนสูง 10-20 เมตร เรอื นยอดเปนพมุ กลมหรอื ทรงกระบอก กิง่ โนมหอยลงรอบ ทรงพุม
เปลือก สดี ามรี อยแตกเปนทางยาวตลอดลาตน
ใบ ใบเดย่ี ว เรียงตรงขาม รปู ขอบขนานกวาง 6-10 เซนตเิ มตร ยาว 16-24 เซนติเมตร ปลาย
เรียวแหลมเปนติ่ง โคนมน เนอ้ื ใบหนาปานกลาง เสนใบมขี นนุมท้งั 2 ดาน
ดอก สีมวง มวงอมชมพูหรือมวงกับขาว ออกเปนชอแบบชอแยกแขนงท่ีปลายก่ิง กลีบเล้ียงเชื่อม
กันเปนรูปถวย ลายแยกเปน 5-8 แฉก กลีบดอกมี 6 กลีบ รูปกลมบางยับยนขอบยวย เม่ือบานเสนผาศูนย
กลาง 3-4 เซนตเิ มตร ออกดอกเดือนธนั วาคม – มีนาคม
ผล รูปเกอื บกลมผิวแข็งยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ผลแหงแตกตามยาว 5-6 พู มีเมล็ดจานวนมากมี
ปกบางๆ
การกระจายพนั ธุ
พบข้ึนตามปาเบญจพรรณ ปาดิบและปาชายหาด พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก
และภาคกลางลงไปถึงจงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ
ประโยชน
เนื้อไม ทาเครื่องแกะสลัก ดามเครื่องมือการเกษตร ใบ บดกับกายาน ใชทาผดผื่นคัน ผล ใชทาไม
ประดบั แหง
ชือ่ สามัญ Burmese Padauk, Burmese ebony, Burma Padauk, Narva
ชื่อวิทยาศาสตร์ Pterocarpus macrocarpus Kurz
วงศ FABACEAE
ช่ือพน้ื เมอื ง ด,ู ดูปา (ภาคเหนอื ) ฉะนอง (เชียงใหม ประดปู า (ภาคกลาง)
ประดูเสน (ราชบรุ ี, สระบุรี)
ลักษณะทั่วไป
ไม้ ไมตนขนาดใหญสูง 15-30 เมตร เรือนยอดแผกวาง เปลือกหนาสีน้าตาลดาแตกเปนรองลึก
หรือเปนแผนหนา สบั เปลอื กมนี ้ายางสีแดง
ใบ ใบประกอบแบบขนนกปลายค่ี เรียงสลับ
ดอก ดอกชอกระจะ สเี หลือง ผล ผลมปี กโดยรอบ
การกระจาย
พบในประเทศพมา กัมพูชา ไทย และเวียดนาม ในประเทศไทยพบไดทุกภาคยกเวนภาคใต พบ
บริเวณปาเบญจพรรณ ปาเตง็ รงั และปาดิบแลงทร่ี ะดับความสูงไมเกิน 800 เมตร
ประโยชน
เนอ้ื ไม้ สแี ดงอมเหลอื ง มลี วดลายสวยงาม แขง็ แรง ใชในงานกอสราง ทาเสา พน้ื ตอเรอื เครื่องเรือน
เครอ่ื งดนตรี
เปลือก สมานแผล แกทองเสีย แกน รักษาคุดทะราด แกไข บารุงกาลัง แกพิษเบื่อเมา แกผดผื่นคัน
และทาใหเลอื ดลมซาน ใชยอมผา เปลอื ก ใชฟอกหนงั
ใบ พอกฝ รักษาบาดแผล แกผดผ่ืนคนั
ชอ่ื สามัญ Ebony tree
ชื่อวิทยาศาสตร์ Diospyros mollis Griff.
วงศ์ EBENACEAE
ชอ่ื ทอ้ งถนิ่ อน่ื มักเกลอื (เขมร-ตราด), มกั เกลือ หมกั เกลอื มะเกลือ (ตราด), ผีเผา ผผี า
(ฉาน-ภาคเหนอื ), มะเกือ มะเกีย (ภาคเหนือ), เกลือ (ภาคใต้), มะเกล้ือ (ท่ัวไป)
ลกั ษณะของมะเกลอื
ต้นมะเกลือ มีถ่ินกาเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น พม่าและไทย จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึง
ขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 10-30 เมตร มีเรือนยอดเป็นพุ่ม ลาต้นเปลา ท่ีโคนต้นมักขึ้นเป็นพูพอน ท่ีผิว
เปลอื กเป็นรอยแตกเปน็ สะเก็ดเล็ก ๆ ตามยาว สดี า เปลือกดา้ นในมีสเี หลอื ง ส่วนกระพี้มีสีขาว แก่นมีสีดาสนิท
เน้อื มคี วามละเอยี ดเป็นมันสวยงาม ท่ีกิ่งอ่อนมีขนนุ่มข้ึนอยู่ประปราย โดยทุกส่วนของมะเกลือเมื่อแห้งแล้วจะ
เปลี่ยนเป็นสีดา และต้นมะเกลือจะขยายพันธ์ุด้วยวิธีการเพาะเมล็ด สามารถพบต้นมะเกลือได้ทั่วไปทุกภาค
ของประเทศไทย ยกเว้นภาคใต้ โดยต้นไม้ชนิดนี้จะพบได้มากในจังหวัดลพบุรี ราชบุรี สระบุรี นครราชสีมา
ขอนแกน่ ชัยภมู ิ สกลนคร และอุดรธานี นอกจากนี้ต้นมะเกลือยังเปน็ ตน้ ไม้ประจาจงั หวดั สพุ รรณบุรีอีกดว้ ย
ใบมะเกลือ ใบเป็นใบเด่ียวขนาดเล็ก ลักษณะของใบเป็นรูปไข่หรือรี เรียงแบบสลับ โคนใบกลมหรือ
มน ปลายใบสอบเข้าหากัน ผิวใบเกลี้ยง ใบกว้างประมาณ 3.5-4 เซนติเมตรและยาวประมาณ 9-10
เซนตเิ มตร ใบอ่อนจะมขี นปกคลมุ อยูท่ ้งั สองด้าน
ดอกมะเกลือ ออกดอกเป็นชอ่ ตามซอกใบ ดอกเป็นแบบแยกเพศต่างต้นกัน ดอกตัวผู้จะมีขนาดเล็ด สี
เหลืองอ่อน ในหนึ่งช่อจะมีอยู่ 3 ดอก ส่วนดอกตัวเมียจะเป็นดอกเด่ียว ลักษณะของดอกเหมือนกัน คือ กลีบ
รองดอกจะยาวประมาณ 0.1-0.2 เซนติเมตร ท่โี คนกลีบดอกจะเช่ือมติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายกลีบดอกจะแยก
เป็น 4 กลบี มีสีเหลือง เรยี งเวียนซ้อนทับกัน ที่กลางดอกจะมเี กสร
ผลมะเกลอื ลกั ษณะของผลกลม มขี นาดเสน้ ผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร ผิวเรียบเกลี้ยง ผล
ออ่ นมีสเี ขียว ผลสกุ มีสเี หลือง สว่ นผลแกเ่ ป็นสีดา ผลเม่อื แก่จดั จะแห้ง ที่ผลมกี ลีบเล้ียงตดิ อยบู่ นผล 4 กลีบ ผล
จะแก่ในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม ในผลมีเมล็ดแบนสีเหลืองประมาณ 4-5 เมล็ด มีขนาดกว้าง
ประมาณ 0.5-0.7 เซนตเิ มตรและยาวประมาณ 1-2 เซนตเิ มตร
ประโยชน์ของมะเกลือ
1.ไม้มะเกลือ มีความละเอียดและแข็งแรงทนทาน สามารถนามาใช้ทาเคร่ืองเรือนได้เป็นอย่างดี หรือ
จะใช้ทาเป็นเคร่ืองดนตรี เคร่อื งประดับมกุ เครอ่ื งเขยี น เฟอรน์ ิเจอร์ไม้มะเกลอื ตะเกยี บกไ็ ด้เชน่ กนั
2.เปลือกนาไปปิ้งไฟให้เหลือง ใช้ใส่ผสมรวมกับน้าตาล นาไปหมัก ก็จะได้แอลกอฮอล์หรือที่เรียกว่า
น้าเมา
3.เปลือกตน้ มะเกลอื ใช้ทาเปน็ ยากันบูดได้
4.ผลมะเกลือมสี ดี า สามารถนามาใช้ประโยชน์ในด้านอุตสาหกรรมได้ ซ่ึงสามารถนามาใช้ย้อมผ้าหรือ
ยอ้ มแห โดยจะให้สีดา สีทไ่ี ด้จะเขม้ และตดิ ทนนาน (ผลสุก)
5.สีดาท่ีได้จากผลมะเกลือยังสามารถนามาใช้ทาไม้ให้มีสีดาเป็นมันในการฝังมุกโต๊ะและเก้าอ้ี ช่วยทา
ใหม้ ลี วดลายสวยงามและเด่นมากขึน้
ช่ือสามญั Tamarind, Indian date
ชอ่ื วิทยาศาสตร Tamarindus indica L.
ชอ่ื วงศ FABACEAE
ชอ่ื พื้นเมืองอื่น ขาม (ภาคใต)้ ตะลูบ(ชาวบน-นครราชสมี า) ม่องโคลง้ (กะเหรย่ี ง-กาญจนบุร)ี
อาเปยี ล (เขมร-สรุ ินทร)์ หมากแกง (เง้ียว-แม่ฮ่องสอน) ส่ามอเกล
(กะเหรยี่ ง-แม่ฮอ่ งสอน)
ลักษณะท่ัวไป
ไมต้ ้น สูง 15-30 เมตร เปลือกสีเทาหรือสํนี ้าตาลเขม
ใบ ใบประกอบแบบขนนก ยาว 5-10 เซนติเมตรกวาง 2-4 เซนติเมตร ใบยอย รปู ขอบขนาน
จานวน 10-20 คู ออกตรงขาม ยาว 1.2-2 เซนติเมตร กวาง 3-5 มิลลิเมตร ขอบใบเรยี บ ปลายเปนตง่ิ แหลม
ดอก ชอดอก แบบชอเชงิ ลดหอยลง ออกทง่ี ามใบและปลายก่ิง สีเหลืองออน
ผล เปนฝกยาว รปู รางยาวหรือโคง ยาว 3-20 ซม. ฝกออนมเี ปลือกสีเขียวอมเทา สีนา้ ตาล
เกรยี ม เนอื้ ในตดิ กบั เปลอื ก เมือ่ แกฝกเปลี่ยนเปนเปลือกแขง็ กรอบหักงาย สนี า้ ตาล เน้ือในกลายเปนสํีน้าตาล
หมุ เมลด็ เนื้อมรี สเปรยี้ ว และหวานการกระจาย มถี นิ่ กาเนิดท่ีเกาะมาดากสั กาแพรกระจายแอฟรกิ าตะวนั ออก
และอินเดีย
ประโยชน
1.ราก แกทองเสยี
2.เปลอื ก แกไข แกทองเสยี สมานแผล รกั ษาแผลเรื้อรงั
3.ใบ ชวยยอยอาหาร ใชอบ อาบสมนุ ไพร
4.เนอื้ ในฝก เปนยาระบาย ขับเสมหะ บารุงผิวพรรณ กระตุนการสรางเซลลผวิ ใหม ลบรอยแผล
เปนและเหย่ี วยน
ช่ือสามญั Cork Tree , Indian Cork
ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Millingtonia hortensis L.f.
ชอ่ื วงศ์ BIGNONIACEAE
ชื่อพื้นเมืองอื่น กาซะลอง กาดสะลอง เตก็ ตองโพ
ลกั ษณะท่วั ไป
ไมต้น ผลัดใบสูง 6-12 เมตร เรือนยอดเปนพุมทบึ กิ่งมักหอยลง เปลอื กสีเทา แตกเปนรองลกึ
เนือ้ หยนุ คลายไมกอก
ใบ ประกอบแบบขนนก 2-3 ช้ัน ออกตรงขาม ใบยอยรปู ไข หรอื รปู ไขแกมรูปใบหอก กวาง
1.5-3 เซนติเมตร ยาว 2.5-8 เซนติเมตร ปลายเรยี วแหลมโคนกลม ขอบจัก
ดอก สขี าวกล่นิ หอม ออกเปนชอใหญทป่ี ลายก่ิง ยาว 10-40 เซนติเมตร ทยอยบานกลบี เลี้ยง 5
กลีบ โคนเชอื่ มกนั เปนรปู ระฆัง กลีบดอกเช่อื มกนั เปนหลอดยาว ปลายบานออกเปนรูปแตร กวางประมาณ 2
เซนติเมตร มี 5 กลบี เกสรตวั ผู 4 อัน ออกดอกเดือนกันยายน – ธันวาคมบานเวลาเย็น
ผล เปนฝกแบน กวาง 1.5-2 เซนติเมตร ยาว 28-36 เซนตเิ มตร เมอื่ แกแตก 2 ซกี เมลด็ จานวน
มากมีปกการกระจายพันธุ ข้ึนในปาเบญจพรรณ และ เขาหินปนู ขยายพันธุโดยเมล็ด และ หนอ
ประโยชน
1.เปลือก เนอ้ื ไม ใหสีเหลือง น้าตาล ใชยอมฝาย
2.ราก เปนยาบารุงปอด รกั ษาวัณโรค เปลอื ก ทาจุกกอก ดอก สบู แกหืด
ชื่อสามัญ West Indian Red Jasmine
ช่ือวิทยาศาสตร์ Plumeria acuminata Aiton
ชื่อวงศ์ APOCYNACEAE
ชอ่ื ทอ้ งถ่ินอื่น ล่นั ทมแดง ลนั่ ทมเหลือง ลลี าวดี
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไม้ต้น ขนาดเล็ก สงู 3-8 ม. ขนาดทรงพ่มุ 6-8 ม. ผลัดใบ ทรงพมุ่ รูปไข่ หรือรูปร่ม แผก่ วา้ ง โปรง่
ลาต้นและก่ิงอวบนา้ เปลือกต้นสนี ้าตาลปนเทา เรียบ ทุกส่วนมนี ้ายางสขี าว
ใบ ใบเดี่ยว เรยี งเวยี นสลบั ถ่ที ่ีปลายก่ิง รูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน มีลักษณะป้อมส้นั กว้าง 10-15 ซม. ยาว
20-35 ซม.ปลายใบเป็นติ่ง แหลมโคนใบสอบ แผ่นใบคอ่ นข้างหนาและย่นเป็นลอนผวิ ใบดา้ นบน สเี ขยี วเขม้
เป็นมนั ผวิ ใบด้านล่างสีเขียวนวลและมขี นละเอียด ก้านใบอวบยาว 4-8 ซม.
ดอก สเี หลือง ชมพู สม้ แดง มว่ ง หรอื มหี ลายสปี นกันในดอกเดียว มีกล่นิ หอม ออกเป็นชอ่ แบบช่อเชงิ
ลดที่ปลายกง่ิ ช่อดอกตั้งยาว 15-25 ซม. ดอกยอ่ ย 8 -16 ดอก กลบี เลีย้ งเช่ือมติดกนั ปลายแยกเปน็ 5 แฉก
กลบี ดอกโคนเชื่อมติดกนั เปน็ หลอด ภายในมีขน ปลายแยกเป็น 5 แฉก ซ้อนเหลอ่ื มกนั ปลายกลบี ดอกมีติ่ง
แหลมและโคง้ ออกเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 4-5 อนั เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางดอก 5-7 ซม.
ผล ผลแหง้ แตกตะเข็บเดยี ว เปน็ ฝักคู่ รูปยาวรี กวา้ ง 1.5 ซม. ยาว 15 ซม. สเี ขยี วเขม้ เม่ือสกุ สี
นา้ ตาลอมดา เมล็ดแบน และมปี ีก เมล็ดสีน้าตาลจานวนมาก ออกดอกตดิ ผลตลอดปี ขยายพนั ธุโ์ ดยการเพาะ
เมลด็ หรือปกั ชาก่ิงควรปกั ชาในทราย
การใชป้ ระโยชน์
เปลือกรากใชเ้ ป็น ยาขับน้าเหลอื ง ยาระบาย เมล็ด ใช้เปน็ ยาหา้ มเลือด ยาง แกง้ ูสวัด หิด ใชใ้ ส่แผล
เอกสารอ้างองิ
กอ่ งกานดา ชยามฤต. (2548). ลักษณะประจาวงศ์พรรณไม้.กรงุ เทพฯ :
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพันธ์ุพชื .
------------------------. (2549). ลกั ษณะประจาวงศพ์ รรณไม้ 2. กรงุ เทพฯ :
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพนั ธ์ุพชื .
ปา่ ไม้,กรม. (2558). พรรณไม้ในพระราชบญั ญัตสิ วนปา่ (ฉบบั ที่ 2). พ.ศ.2558. ม.ป.ท.
ศริ วิ รรณ สทุ ธจติ ต์. (2550). ผลติ ภัณฑ์ธรรมชาติเพ่อื สุขภาพ. (พมิ พ์ครั้งท่ี 4). กรุงเทพฯ :
บรษิ ัท ส.เอเชียนเพรส (1989) จากดั .
ไทยเกษตรศาสตร.์ (2556).ลั่นทมแดง. สืบค้นเม่อื 19 ตลุ าคม 2564 จาก https://www.thaikasetsart.com.
นัย บารุงเวช. (2562).เทคโนโลยีการเกษตร. สบื ค้น 19 สงิ หาคม 2564 จาก
https://www.technologychaoban.com/agricultural-technology/article_119025.
MedThai.สมุนไพร : มะเกลือ. สืบคน้ เมื่อ 19 ตลุ าคม 2564. จาก https://medthai.com.
Puechkaset. (2559). มะเกี๋ยง สรรพคุณ และประโยชน์มะเก๋ียง. สบื คน้ เมื่อ 18 ตุลาคม 2564
จาก https://puechkaset.com.
องคประกอบท1่ี
การจดั ทาปายชือ่ พรรณไม
ใบงานที่ 1.1
กาหนดพืน้ ท่ีศึกษา
วัตถปุ ระสงค
1. เพือ่ รูขอบเขต ขนาดพน้ื ที่ทั้งหมดของโรงเรียน
2. เพือ่ รูลักษณะทางกายภาพในโรงเรยี น
3. เพอื่ รูการแบงพน้ื ทเี่ ปนสวนยอยและการจดั การพื้นที่ศกึ ษาในการเขาไปเรยี นรูทเ่ี หมาะสม
คาชแ้ี จง
1. นาพืน้ ทีข่ องโรงเรียนท้งั หมด มาวัดพืน้ ท่ี
2. เรยี นรูลักษณะทางกายภาพ
3. กาหนดขอบเขตพืน้ ทศ่ี ึกษา
ผงั พ้นื ท่ีท้ังหมดของโรงเรียน
สญั ลกั ษณ์ ผังพื้นท่ีทั้งหมดของโรงเรียน
N พืน้ ทีศ่ ึกษา..........................................................
มาตราสว่ น..........................................................
วันที.่ ....................................................................
ผู้ศกึ ษา................................................................
กาหนดขอบเขตพ้ืนทีศ่ กึ ษาไดทัง้ หมด6 พ้นื ท่ี ดังนี้
1. พ้ืนที่ศึกษาที่ 1 บรเิ วณ............................................ ขนาดพน้ื ท.่ี .............................ตารางเมตร
2. พ้นื ที่ศกึ ษาท่ี 2 บริเวณ............................................ ขนาดพน้ื ที่..............................ตารางเมตร
3. พน้ื ทศ่ี ึกษาที่ 3 บรเิ วณ............................................ ขนาดพน้ื ท.ี่ .............................ตารางเมตร
4. พืน้ ท่ศี กึ ษาที่ 4 บริเวณ............................................ ขนาดพ้นื ท.่ี .............................ตารางเมตร
5. พ้นื ทศี่ ึกษาที่ 5 บรเิ วณ............................................ ขนาดพน้ื ท่ี..............................ตารางเมตร
6. พน้ื ท่ีศึกษาที่ 6 บรเิ วณ............................................ ขนาดพ้นื ท.่ี .............................ตารางเมตร
ใบงานท่ี 1.2
การสารวจพรรณไม
วตั ถปุ ระสงค
1. เพอ่ื ทราบชนิดของพรรณไม
2. เพื่อทราบจานวนตนในแตละชนดิ
3. เพ่ือจาแนกลกั ษณะวิสยั ของพรรณไม ทีส่ ารวจในพนื้ ทีศ่ ึกษา
คาชแ้ี จง
1. ใหสารวจ ชนิดของพรรณไมในพืน้ ท่ศี ึกษา
2. ใหจาแนกลกั ษณะวิสัยของพรรณไม ทส่ี ารวจในพ้ืนท่ีศกึ ษา
ตารางการสารวจพรรณไมในพ้นื ทศ่ี ึกษา
ลาดบั ชื่อพรรณไม ลักษณะวิสัย จานวนตน
ตารางการสารวจพรรณไมในพนื้ ทศ่ี ึกษาในโรงเรียน
พน้ื ท่ศี ึกษาที่ ..... บรเิ วณ........................................................... ขนาดพืน้ ท่ี..............................ตารางเมตร
ท่ี ชอื่ พรรณไม้ ลกั ษณะวิสัย
ไมตน ไมพมุ ไม ไมรอ ไผ เฟรน ปาลม กลวย
เลือ้ ย เลื้อย ไม้
สรุป จานวน ..................... ตน จานวน .................... ชนิด
1. ไมตน จานวน ..................... ตน จานวน .................... ชนิด
2. ไมพมุ จานวน ..................... ตน จานวน .................... ชนิด
3. ไมเลอื้ ย จานวน ..................... ตน จานวน .................... ชนดิ
4. ไมรอเล้ือย จานวน ..................... ตน จานวน .................... ชนดิ
5. ไผ จานวน ..................... ตน จานวน .................... ชนดิ
6. เฟรน จานวน ..................... ตน จานวน .................... ชนิด
7. ปาลม จานวน ..................... ตน จานวน .................... ชนิด
8. กลวยไม
ใบงานที่ 1.3
ทาและติดปายรหัสประจาตน
วตั ถุประสงค
1. เพอื่ รูรปู แบบปายรหัสประจาตนตามแบบ อพ.สธ.
2. เพอ่ื ใหเลือกวัสดทุ าปายรหัสประจาตนทเ่ี หมาะสม
3. เพ่ือติดปายรหัสประจาตนใหถูกตอง
คาช้แี จง
1. ใหเรยี นรูรูปแบบปายรหัสประจาตนตามแบบ อพ.สธ.
2. ใหเลอื กใชวัสดใุ นการทาปายรหัส
3. ใหนาปายรหสั ไปตดิ ประจาตนใหถูกตอง
วัสด/ุ อปุ กรณ ในการทาปายรหสั
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ใบงานท่ี 1.4
ตั้งชอ่ื หรอื สอบถามชื่อ และศึกษาขอมูลพน้ื บาน (ก.7-003 หนา ปก - 1)
วตั ถปุ ระสงค
1. เพ่ือรูชือ่ พ้ืนเมืองของพรรณไม
2. เพ่อื รูขอมลู พน้ื บานของพรรณไม
คาชีแ้ จง
1. ใหเรยี นรู สอบถามชอ่ื พืน้ เมอื งของพรรณไม
2. ใหเรียนรู สอบถามขอมลู พื้นบานของพรรณไม้
ใบงานท่ี 1.5
ทาผังแสดงตาแหนงพรรณไม
วตั ถปุ ระสงค
1. เพ่ือรูวธิ ีการหาและบันทึกตาแหนงพิกดั พรรณไม
2. เพอื่ รูความกวางของทรงพุมและจัดทาผงั พรรณไม
คาช้แี จง
1. ใหหาและบนั ทึกตาแหนงพิกดั พรรณไม
2. ใหวดั ความกวางของทรงพุมและจดั ทาผงั พรรณไม้
ตารางพกิ ัดพรรณไม
บรเิ วณพนื้ ที่ศึกษา...................................................... วนั /เดอื น/ป กลมุ ท่.ี .................
จุดอางองิ ................................................................................................................................................
รหัสประจาตน้ ชอ่ื พื้นเมือง พิกดั พรรณไม้
คา X คา Y
ตารางความกวางทรงพุมพรรณไม
บริเวณพืน้ ที่ศึกษา...................................................... วัน/เดอื น/ป กลมุ ท่.ี .................
จุดอางอิง........................................................................................................... ......................................
รหัสประจาตน ชื่อพ้ืนเมือง ความกวางทรงพุม (เมตร)
ทศิ เหนอื (N) ทิศใต S) ทิศตะวนั ออก (E) ทศิ ตะวนั ตก (W)
ผงั พ้ืนท่ีท้งั หมดของโรงเรยี น
สญั ลกั ษณ์ ผงั พกิ ัดพรรณไม้
N พ้ืนทศ่ี ึกษา..........................................................
มาตราสว่ น..........................................................
วันท่ี.....................................................................
ผศู้ กึ ษา................................................................
ใบงานที่ 1.6
ศึกษาและบันทึกลักษณะทางพฤกษศาสตร (ก.7-003 หนา 2-7)
วตั ถุประสงค
1. เพอ่ื ใหรโู ครงสรางและลกั ษณะทางพฤกษศาสตร
2. เพอื่ ใหรวู ิธกี าร อุปกรณ การวัด ขนาด สวนตางๆของพชื
3. เพื่อใหรูการวาดภาพทางพฤกษศาสตร
คาชแ้ี จง
1. ใหศึกษา เรียนรู โครงสรางและลักษณะทางพฤกษศาสตร
2. ใหศกึ ษา เรยี นรู วธิ กี าร อุปกรณ การวัด ขนาด สวนตางๆของพืช
3. ใหวาดภาพทางพฤกษศาสตร์