(68)
ลาดับการเรยี นรู้ท่ี 4
กาหนดการใชป้ ระโยชนใ์ นพ้ืนที่
วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อรกู้ ารจนิ ตนาการของการใช้ประโยชนใ์ นพ้นื ที่
2. เพือ่ รสู้ ดั สว่ นการใชป้ ระโยชน์ในพ้ืนทีอ่ ย่างเหมาะสม
กระบวนการเรียนรู้
1. เรียนรูก้ ารจินตนาการการใช้ประโยชนใ์ นพนื้ ท่ี
1.1 เรียนร้กู ารก าหนดการใชป้ ระโยชน์ จากข้อมูลสภาพภมู ศิ าสตร์และธรรมชาติของ
พรรณไม้
1.2 เรยี นร้กู ารสรปุ จนิ ตนาการประกอบเหตผุ ลสนบั สนนุ จินตนาการน้นั ๆ
2. เรยี นรูส้ ดั ส่วนการใชป้ ระโยชนใ์ นพ้ืนทีศ่ ึกษาอยา่ งเหมาะสม
2.1 เรยี นรู้การน าข้อมูลที่ได้จากการสรปุ จินตนาการ มาก าหนดสัดสว่ นการใช้
ประโยชนใ์ นพื้นท่ีศกึ ษา
2.2 เรียนรู้การทาผงั กาหนดการใช้ประโยชนใ์ นพน้ื ที่ศึกษาแสดงรายละเอยี ดขนาด
พืน้ ที่ การใช้ ประโยชน์ เช่น บริเวณที่ 1 ไม้พมุ่ ขนาดพนื้ ท่ี 15 ตร.ม.
(69)
ลาดับการเรียนรู้ท่ี 5
กาหนดชนิดพรรณไม้ทจี่ ะปลูก
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพอ่ื รู้การกาหนดชนิดพรรณไม้ทจี่ ะปลูกใหเ้ หมาะสมกับการใช้ประโยชนใ์ นพนื้ ท่ี
กระบวนการเรยี นรู้
1. เรยี นรกู้ ารกาหนดชนิดพรรณไม้ที่จะปลกู ให้เหมาะสมกับการใช้ประโยชนใ์ นพื้นที่
1.) เรยี นรกู้ ารกาหนดชนิดพรรณไม้ท่ีจะปลกู ท่ีสอดคลอ้ งผังกาหนดการใช้ประโยชน์
ในพืน้ ท่ี เช่น บริเวณที่ 1 ไมพ้ ุ่ม ขนาดพนื้ ที่ 15 ตร.ม. กาหนดชนิดพรรณไม้เปน็ แกว้ จานวน 10 ตน้
1.2 เรียนรูว้ สั ดปุ ลูกทีเ่ หมาะสมกับพรรณไม้ท่ีจะปลูก เช่น ดนิ ป๋ยุ แกลบ ขยุ มะพร้าว
เปน็ ต้น
พน้ื ทีศ่ ึกษาท่ี 14 โรงเรียนอนุรกั ษพ์ ัฒนา จงั หวัดกรุงเทพมหานคร
กล่มุ ที่ 1 วนั / เดอื น/ ปี 20 กรกฎาคม 2560
บริเวณ/ สดั สว่ น แนวคดิ การ ชนิด การนาไปใช้ วสั ดปุ ลูก
จินตนาการ การใชพ้ นื้ ที กาหนดชนิด พรรณไมท้ ่จี ะ ประโยชน์ (ดนิ ปลกู /
การใช้ พรรณไม้ ปลกู ภาชนะปลูก)
ประโยชน์ในพ้ืน
ที
บรเิ วณท่ี 3 18 ตร.ม. โลง่ เรยี บ -ทากจิ กรรม 1.พน้ื ดาดแข็ง
ลาน กล่มุ 10-20 คน
อเนกประสงค์
บรเิ วณท่ี 4 ไม้ 20 ตร.ม. จัดแนวไม้พุ่ม 1.หญา้ แฝก -ป้องกันการ 1.หญ้าแฝก
พุม่ ใบแน่น ตามขอบถนน พังทลายของดนิ (สัดสว่ น 1 : 1)
ดนิ รว่ น : ปุ๋ย
หมกั
ภาพท่ี 3.100 ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล กาหนดชนดิ พรรณไมท้ ่จี ะปลูก
(70)
ลาดบั การเรียนรู้ที่ 6
ทาผงั ภูมทิ ัศน์
วัตถุประสงค์
1. เพ่อื รู้รปู แบบและวธิ ีการจัดทาผังภมู ิทัศน์
กระบวนการเรียนรู้
1. เรียนรรู้ ปู แบบการทาผังภูมิทัศน์
1.1. รปู แบบผงั แสดงผงั ทม่ี องจากมมุ มองดา้ นบน (Top view)
1.2 รปู แบบภาพ แสดงทัศนียภาพ (Perspective) รูปด้าน (elevation) รปู ตดั (section)
2. เรียนรวู้ ธิ ีการจัดทาผงั ภูมิทศั น์
2.1 กาหนดขอบเขตพ้นื ทจ่ี ัดทาผงั ภูมทิ ศั น์
2.2 กาหนดรายละเอียดการปลกู พรรณไม้ เช่น กาหนดตาแหนง่ พรรณไม้ทจ่ี ะปลกู
ชอื่ พรรณไม้ ขนาดและความสงู ของตน้ ระยะปลูก จานวนตน้ ฯลฯ
(71)
ลาดับการเรยี นร้ทู ี่ 7
จัดหาพรรณไม้ และวสั ดุปลูก
วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือร้วู ธิ ีการในการจัดหาพรรณไม้
2. เพือ่ รู้วิธกี ารจัดหาวัสดุปลกู
กระบวนการเรียนรู้
1. เรยี นร้วู ิธีการในการจดั หาพรรณไม้โดยการหาวธิ กี ารขยายพันธุไ์ มท้ ่ีไดจ้ ากการจัดหามาปลูก ตามผัง
ภูมิทัศน์ให้เหมาะสมกับสภาพพรรณไม้แต่ละชนิด และเหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ีท่ีจะปลูก โดยทาการบันทึก
ข้อมูลและวิเคราะห์ข้นั ตอนวธิ กี ารปลกู แตล่ ะวิธีของพรรณไมแ้ ตล่ ะชนิด พร้อมระบจุ านวนตน้
1.1 การมสี ่วนรว่ ม ชุมชน หน่วยงาน ผู้ปกครอง ฯลฯ คือ บคุ คลทม่ี สี ่วนร่วมในการ
สนบั สนนุ ต้นไม้ ตา่ ง ๆ ตามท่ีได้กาหนดจากผังภูมิทัศน์ โดยแสดงถึงท่ีมาของพรรณไม้ที่ได้จัดหามา พร้อมระบุ
ชนดิ และจานวนที่ ปลกู ตามแบบผงั ภมู ทิ ัศน์
1.2 การขยายพันธ์ุ การตอน การปกั ช า การเพาะเมลด็ การติดตา ฯลฯ คอื การกาหนด
วิธีการ ขยายพันธด์ุ ้วยวิธีตา่ ง ๆ ของพรรณไม้แตล่ ะชนดิ
2. เรยี นรูว้ ิธกี ารจัดหาวัสดุปลูก
2.1 เรียนรปู้ ระเภทวัสดปุ ลกู เช่น ดนิ เปลือกมะพร้าว ขยุ มะพรา้ ว ขีเ้ ถา แกลบ
ปุ๋ยคอก ฯลฯ
2.2 เรยี นรู้การเตรยี มวัสดุปลกู เช่น การกาหนดอตั ราสว่ นผสมของวัสดุปลูก
และหน่วยงานต่าง ๆ
(72)
ลาดบั การเรยี นรูท้ ี่ 8
ปลกู พรรณไมเ้ พิ่มเติม
วัตถุประสงค์
1. เพ่อื รวู้ ิธกี ารปลกู พรรณไม้
กระบวนการเรียนรู้
1. เรียนร้วู ธิ กี ารปลกู พรรณไม้ตามผงั ภมู ทิ ศั น์
1.1 การเตรียมหลุมปลูก แปลงปลูก เปน็ การเตรียมพ้ืนที่ศกึ ษาตามผังภูมิทัศน์ใหเ้ หมาะสม
กับชนดิ พรรณไม้ท่จี ดั หามาได้ โดยระบุและบนั ทึกข้อมูล ขั้นตอนการปลูกพันธไุ์ มช้ นิดต่าง ๆ ตามผังภูมิทัศน์
1.2 การปลกู แบบสลับ แบบแถว แบบคละ
1.3 การคา้ ยนั พรรณไม้ทีป่ ลูก
(73)
ลาดับการเรยี นรทู้ ี่ 9
ศึกษาพรรณไม้หลังการปลกู
วตั ถุประสงค์
1. เพื่อรขู้ ้อมูลพรรณไม้หลังการปลูก
กระบวนการเรียนรู้
1. เรียนรู้ บันทกึ การดูแลรักษา
1.1 การให้น้า
1.2 การให้ปยุ๋
1.3 การตัดแตง่
1.4 การพรวนดนิ โดยบันทึกข้อมลู การดูแลรักษาดว้ ยวิธีต่างๆ ระบจุ านวนครัง้ ในแต่ละ
ชว่ งเวลา เชน่ รายวัน รายสัปดาห์ และรายเดือน ของพรรณไม้ทกุ ชนดิ ท่ีปลูกแล้วตามผังภูมิทัศน์
2. เรยี นรู้ บันทึก การเปล่ียนแปลง การเจริญเติบโตของราก ลาตน้ ใบ ดอก ผล เมล็ด ของพรรณไม้
ท่ี ปลกู โดยเริ่มบันทึกขอ้ มลู พรรณไมต้ ้งั แต่เรม่ิ มกี ารเปลี่ยนแปลงในแตล่ ะช่วงระยะเวลา เชน่ การวดั ขนาด นับ
จานวน การเปล่ียนแปลงของสีความสูง เปน็ ตน้
3. เรยี นรู้ บนั ทึก ความสัมพันธ์ระหวา่ งปัจจยั ท่ีเก่ยี วข้องกับพืชทป่ี ลูกมีความสัมพันธก์ ับพืชทป่ี ลูก
อย่างไร เชน่ พืช : สงิ่ มชี วี ติ (พืช, สัตว,์ ชวี ภาพอน่ื ๆ ไดแ้ ก่ เห็ด รา สาหรา่ ย ไลเคน พชื : กายภาพ (น้า, แสง,
อากาศ, ส่ิงปลูกสรา้ งต่างๆ พรอ้ มแสดงภาพและผบู้ นั ทึก
3.1 เรียนรู้ปจั จัยทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ปจั จัยหลกั ปัจจยั รอง ปัจจัยเสริม และปัจจัยประกอบ
3.2 เรยี นรคู้ วามสัมพันธ์ระหว่างปจั จยั
4) เรียนรู้ บนั ทึก คุณ สนุ ทรยี ภาพของพรรณไม้
4.1 เรียนรู้คณุ ทเี่ กดิ แกส่ รรพสัตว์ แกค่ น แก่สถานศึกษา จากพรรณไม้ทปี่ ลูก
4.2 เรยี นร้สู ุนทรยี ภาพของพรรณไม้ท่ีปลกู
4.2.1 ศึกษาและบนั ทึกความงามของพรรณไม้ เชน่ ความกลมกลนื ความเด่น
ความสมดลุ เป็นต้น
4.2.2 สรปุ ข้อมลู สนุ ทรียภาพของพรรณไมแ้ ตล่ ะชนดิ (รวมถงึ พรรณไม้ทป่ี ลกู ตาม
ผังภูมิทศั น)์
(74)
ผลที่คาดวา่ จะได้รับ
ด้านวชิ าการ
1. การคดิ วเิ คราะหอ์ ยา่ งเปน็ ระบบ เช่น การวางแผนการปฏิบัตงิ าน การออกแบบตาราง บนั ทกึ
2. ภูมิศาสตร์เชน่ การวเิ คราะห์สภาพพ้นื ท่ี
3. สงั คมศาสตรเ์ ช่น การท างานรว่ มกนั ความสัมพนั ธก์ บั ชุมชน
4. การออกแบบภูมิทศั น์ เช่น หลกั การออกแบบ องค์ประกอบของศิลปะ
5. เกษตรศาสตร์เชน่ การขยายพันธ์ุพืช การปลกู การดูแลรักษาพรรณไม้
6. พฤกษศาสตร์ เชน่ โครงสรา้ งของพืช ลกั ษณะพรรณไม้
7. นิเวศวิทยา เชน่ ระบบนิเวศน์ ลักษณะพื้นที่ ความสมั พันธ์ระหวา่ งปัจจัย วฏั จกั ร หว่ งโซ่ อาหาร
ดา้ นภูมิปัญญา
1. การประยกุ ต์ใชว้ ัสดตุ ่าง ๆ ในการวเิ คราะห์พน้ื ที่ การปลูก
2. การจดั หา การปลกู การขยายพันธ์ุพชื การดแู ลรักษา และการจัดการ
3. ภมู ปิ ญั ญาที่เกยี่ วข้องกบั พืชพรรณ
ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม
1. ความอดทน
2. ความขยันหมั่นเพียร
3. การอยรู่ ่วมกนั อยา่ งเอ้อื อาทรตอ่ กนั
4. เมตตา กรุณา ต่อสตั ว์และส่งิ ตา่ ง ๆ
5. ความรับผิดชอบ โดยฝึกให้ดแู ลต้นไม้
6. การยอมรับความคดิ เห็นของผู้อื่น ความมเี หตุ มผี ล
(75)
องค์ประกอบท่ี 3 การศกึ ษาข้อมูลดา้ นต่าง ๆ
หลักการ รูก้ ารวเิ คราะห์ เหน็ ความต่าง รู้ความหลายหลาก
สาระการเรียนรู้
การศึกษาข้อมลู ด้านต่างๆ ทางดา้ นข้อมูลพื้นบา้ น ขอ้ มลู พรรณไม้ การสืบคน้ ขอ้ มลู ด้านพฤกษศาสตร์
การศกึ ษาพรรณไม้ที่สนใจอยา่ งละเอยี ดท้ังโครงสร้างภายนอกและภายใน การก าหนดเรื่องทจ่ี ะเรียนรใู้ น
องคป์ ระกอบสว่ นยอ่ ยของพรรณไมท้ ส่ี นใจ และเปรยี บเทียบความตา่ งแตล่ ะเรื่องกับพืชชนดิ เดยี วกัน โดยมกี าร
ตรวจสอบผลงานเปน็ ระยะ
ลาดับการเรยี นรู้
1. ศกึ ษาพรรณไมใ้ นสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (ก.7-003) ครบตามทะเบยี นพรรณไม้
1.1 มสี ว่ นร่วมของผู้ศึกษา
1.2) ศกึ ษาข้อมลู พน้ื บา้ น
1.3) ศึกษาข้อมลู พรรณไม้
1.4 สรุปลักษณะและขอ้ มลู พรรณไม้
1.5 สบื ค้นข้อมูลพฤกษศาสตร์
1.6 บนั ทึกข้อมลู เพิ่มเติม
1.7 ตรวจสอบผลงานเป็นระยะ
1.8 ความเปน็ ระเบียบ ความตัง้ ใจ
2. ศึกษาพรรณไม้ท่สี นใจ
2.1 ศึกษาลักษณะภายนอก ภายในของพืชแต่ละส่วนโดยละเอียด
2.2 กาหนดเร่ืองที่จะเรยี นรู้ในแตล่ ะสว่ นของพชื
2.3 เรียนรู้แต่ละเร่อื ง แต่ละส่วนขององคป์ ระกอบย่อย
2.4 นาขอ้ มลู มาเปรียบเทยี บความต่างในแตล่ ะเร่ือง ในชนิดเดียวกัน
อธบิ ายลาดบั การเรียนรู้
ลาดับการเรยี นรู้ท่ี 1
ศึกษาพรรณไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (ก.7-003) ครบตามทะเบียนพรรณไม้
วตั ถุประสงค์
1. เพ่ือรขู้ ้อมลู และลักษณะพรรณไมแ้ ตล่ ะตน้ ในพนื้ ทศ่ี ึกษาถูกต้องและชดั เจน
กระบวนการเรยี นรู้
1. มีสว่ นรว่ มของผู้ศึกษา (หนา้ ปก)
1.1 แบ่งกลมุ่ ผูศ้ ึกษา
1.1.1 โดยผศู้ กึ ษามสี ว่ นร่วมทั้งโรงเรยี น
(76)
1.1.2 โดยผู้ศกึ ษามสี ว่ นรว่ มในกลุ่มย่อยให้เหมาะสมกบั ระดับการเรยี นรโู้ ดยมผี ศู้ ึกษา และผู้
รว่ มศกึ ษา พร้อมระบหุ นา้ ท่ีให้ชดั เจน
1.2 แต่ละกลุ่มเลอื กพรรณไม้ในพนื้ ท่ีศึกษากลมุ่ ละ 1 ตน้
1.3 ศกึ ษาและบันทึกผล
1.3.1 ช่ือพนั ธุไมใ้ ห้บันทึกชื่อพน้ื เมอื ง ในระดับท้องถนิ่
1.3.2 รหสั พรรณไม้ใหเ้ ขยี นตามรูปแบบ อพ.สธ.
1.3.3 ภาพวาดทางพฤกษศาสตรโ์ ดยวาดลกั ษณะวิสยั ใหเ้ ห็นโครงสร้างของพชื ตงั้ แตร่ ะดับโคน
ต้นถึงปลายยอด มมี าตราส่วนกากบั
1.3.4 บริเวณทีส่ ารวจ บันทกึ ช่ือพ้นื ที่ศกึ ษาที่ทาการสารวจ
1.3.5 วันทสี่ ารวจ บนั ทกึ วนั ท่ีเริ่มศึกษา
1.3.6 ผู้สารวจและผ้รู ว่ มสารวจ เขียนชอื่ -สกุล ระบรุ ะดับชั้น ถา้ สมาชิกเกินจานวนท่กี าหนดไว้
ให้นาไปเขยี นทห่ี ลงั ปกหน้า
1.3.7 ทอ่ี ยู่สถานศกึ ษา บนั ทกึ ที่อย่สู ถานศึกษา โดยระบุ ชื่อโรงเรยี น ถนน ตาบล อาเภอ
จังหวดั และรหสั ไปรษณีย์
2. ศึกษาขอ้ มลู พ้นื บา้ น (หนา้ ท่ี 1)
2.1 เรียนรู้ทกั ษะการตั้งค าถามและสอบถามจากผ้รู ู้
2.2 สอบถามชอ่ื พ้ืนเมืองจากผรู้ ู้ในท้องถ่นิ
2.3 ไมท่ ราบชอ่ื พ้นื เมืองต้งั ช่ือเองได้
2.4 สอบถามและบันทึกข้อมูลการใช้ประโยชน์จากสว่ นตา่ งๆ ของพรรณไม้ ด้านอาหาร ยารกั ษา
โรค ก่อสรา้ งเคร่ืองเรือน เครื่องใช้ ยาฆา่ แมลง ยาปราบศัตรูพชื ความเกี่ยวข้องกับประเพณี วัฒนธรรม หรือ
ความเชอ่ื ทางศาสนา อน่ื ๆ (เชน่ การเปน็ พษิ อนั ตราย) และบนั ทกึ ช่ือ อายุ ท่ีอยผู่ ใู้ ห้ข้อมูล วนั ท่ี สถานท่ี
บันทึก
3. ศึกษาข้อมูลพรรณไม้ (หนา้ ท่ี 2–7)
3.1 ศึกษาลักษณะวิสยั และบนั ทึกลงในแบบศึกษาพรรณไม้
3.2 วดั ความสูง และความกว้างทรงพมุ่
3.3 ศกึ ษาสภาพแวดลอ้ มและแหลง่ ที่อยู่ของพรรณไม้
3.4 ศกึ ษาลักษณะภายนอกของลาต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด แล้วบนั ทกึ ลงในแบบศกึ ษาพรรณไม้
3.5 วาดภาพสว่ นประกอบตา่ ง ๆ ของพรรณไม้ ได้แก่ ลาต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด โดยมมี าตรา
สว่ นกากบั
4. สรุปลกั ษณะและขอ้ มลู พรรณไม้
4.1. บันทึกช่ือพืน้ เมืองและรหัสพรรณไม้ (จากหน้าปก)
4.2. นาขอ้ มลู หนา้ ที่ 2–7 เขียนเป็นความเรยี งในย่อหนา้ ที่ 1
4.3. นาข้อมูลหน้าที่ 1 เขียนเปน็ ความเรียงในยอ่ หน้าท่ี 2
(77)
5) สบื คน้ ขอ้ มลู พฤกษศาสตร์(หนา้ ท่ี 9)
5.1) หลักการสบื ค้นข้อมูลพรรณไม้จากเอกสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์
5.2) นาข้อมลู ทส่ี รปุ ในหน้าที่ 8 เปรยี บเทยี บกับข้อมลู ที่ไดจ้ ากการสืบคน้
5.3) ตรวจสอบความถกู ต้องของขอ้ มลู เพื่อบนั ทึกข้อมลู พฤกษศาสตรใ์ ห้ชดั เจน
5.4) บนั ทกึ ข้อมูล: ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อวงศ์ ชือ่ สามญั ชอ่ื พน้ื เมืองอื่นๆ ถน่ิ กาเนิด การกระจายพนั ธ์ุ
นเิ วศวทิ ยา เวลาออกดอก เวลาตดิ ผล การขยายพันธุ์ การใชป้ ระโยชน์ ประวัตพิ ันธไุ์ ม้ และเอกสารอ้างองิ
6. บันทกึ ขอ้ มูลเพ่มิ เติม (หน้าที่ 10)
6.1 สบื ค้น ศกึ ษา หรอื สอบถามข้อมูลต่าง ๆ ท่ีไม่มีการบันทึกในหน้าท่ี 1 – 9
6.2 บนั ทึกขอ้ มลู เพ่ิมเติม เช่น ประวัตกิ ารนาเขา้ มาปลูกในโรงเรยี น เวลาการออกดอกการติดผลนอก
ฤดกู าล หรอื อืน่ ๆ
7. ตรวจสอบผลงานเปน็ ระยะ
7.1 ตดิ ตามความกา้ วหนา้ ในการเรียนรู้ ตรวจสอบใหค้ าแนะน า ลงลายมือชือ่ ผู้ตรวจ ระบุวันที่
8. ความเป็นระเบยี บ ความตงั้ ใจ
8.1 ทาเครอื่ งหมายหรือสัญลกั ษณ์ในการบนั ทกึ ข้อมลู เป็นรปู แบบเดยี วกนั ทง้ั เล่ม
8.2 บันทึกขอ้ มลู ในแต่ละหนา้ แสดงถึงความตั้งใจ เช่น ความสวยงามของตัวหนงั สอื ความเปน็
ระเบียบในย่อหนา้ ในหนา้ ท่ี 8 ความสะอาดในการบนั ทึก ไมต่ กแต่ง ไม่วาดภาพเพิ่มเตมิ
ลาดบั การเรียนร้ทู ี่ 2 ศกึ ษาพรรณไมท้ ่สี นใจ (พืชศกึ ษา)
วัตถุประสงค์
1. เพอ่ื รโู้ ครงสร้างภายนอก ภายใน ของพชื แตล่ ะส่วนโดยละเอียด
2. เพ่ือรวู้ ิธกี ารกาหนดเร่ืองที่จะเรียนรู้
3. เพือ่ รู้วธิ กี ารเรยี นรู้
4. เพอ่ื รูว้ ิธกี ารวธิ ีการเปรยี บเทียบ
กระบวนการเรียนรู้
1. ศกึ ษาลักษณะภายนอก ภายในของพืชแตล่ ะสว่ นโดยละเอียด
1.1 ศึกษาลักษณะภายนอก
1.1.1 สังเกต บันทึกและวาดภาพ ให้ครบทัง้ ตน้ พรอ้ มระบสุ ่วนประกอบของพชื ศึกษาในโรงเรยี น
(78)
ดอก ผล และเมลด็ พร้อมระบมุ าตราส่วน
(79)
1.2 ศึกษาลกั ษณะภายใน
1.2.1 สงั เกต บันทึก วาดภาพหรอื ถา่ ยภาพลกั ษณะภายในของ แตล่ ะสว่ นประกอบ ไดแ้ ก่ ราก
ลาต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด โดยบนั ทกึ ข้อมูลทีส่ งั เกตเหน็ ภายใต้กล้องจุลทรรศนเ์ ชน่ รปู ร่าง รปู ทรง สี ขนาด
พรอ้ มระบชุ อ่ื สว่ นประกอบ และมาตราสว่ น
(80)
2. กาหนดเรอื่ งท่จี ะเรยี นรูใ้ นแต่ละสว่ นของพชื
2.1 วเิ คราะห์ส่วนประกอบของพืชท้ังภายนอกและภายในของพืช โดยแยกโครงสรา้ งท่สี ังเกตเหน็ ใน
แตล่ ะสว่ นประกอบ (ราก ล าตน้ ใบ ดอก ผล และเมล็ด)
2.2 กาหนดเรื่องที่จะเรยี นรเู้ ป็นการกาหนดหวั ข้อเรือ่ งเรยี นรู้ กบั ข้อมูลการสารวจโครงสรา้ งแต่ละ
สว่ นของพืชอยา่ งละเอียด
2.2.1 กาหนดเรอ่ื งทจ่ี ะเรยี นรู้ในแตล่ ะสว่ นประกอบย่อยของพืช ได้แก่ รูปร่าง รูปทรง
2.2.2 กาหนดเรือ่ งใหค้ รบทุกสว่ นของพชื ได้แก่ ราก ล าต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ดสี ผวิ เนอ้ื
ขนาด ตวั อย่างเชน่ รูปร่างแผ่นใบดา้ นบนตอนโคน
(81)
4. การเรียนรู้แตล่ ะเร่ือง แตล่ ะสว่ นขององค์ประกอบย่อย
4.1 เรยี นร้แู ตล่ ะเร่อื งท่ีได้วางแผน ออกแบบ การจดั การเรียนร้ตู ามขน้ั ตอน
4.2 บนั ทึกข้อมูลผลการเรยี นรูแ้ ตล่ ะเร่ือง โดยแสดงขอ้ มูลทีไ่ ด้จากการเรียนรูเ้ น้นความกระชับ
เข้าใจงา่ ย โดยบันทึกได้ท้งั บรรยาย ตาราง กราฟ และรูปภาพ
4.3 สรปุ และเรยี บเรียง ผลการเรยี นร้แู ต่ละเร่ือง และแต่ละส่วนประกอบของพืช คือ การนาผลการ
เรียนร้กู ารสรุปสนั้ ๆ โดยเนน้ ยา้ ถึงผลการเรียนรู้ท่สี าคัญ เด่น และน่าสนใจ หรือผลการเรียนรู้ท่เี กดิ ขึ้นแปลก
ใหม่ ควรเปน็ ขอ้ ความที่ไมซ่ ้าไปซ้ามา
(82)
5. นาขอ้ มูลมาเปรยี บเทยี บความต่างในแต่ละเรอื่ ง ในชนิดเดียวกัน เปน็ การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
ระหว่างตัวอย่างท่นี ามาศกึ ษา (ส่วนประกอบพชื ศึกษา) ท่นี ามาเรียนรู้ในเรื่องเดียวกนั ซง่ึ เปน็ การระบุเหตผุ ลวา่
ขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการเรียนรู้เปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ทีต่ ั้งไว้หรอื ไม่ ซง่ึ เปน็ การอธิบายขยายความจากผลการเรยี นรู้
ท่แี สดงจดุ สนใจ เพ่ือชนี้ าใหเ้ ข้าใจวัตถปุ ระสงค์ โดยเน้นแปลความหมาย
5.1 เปรียบเทยี บเร่อื งเดียวกนั สว่ นประกอบยอ่ ยเดียวกนั หรือตา่ งส่วนประกอบยอ่ ย
5.2 สรุปผลการเปรยี บเทยี บวา่ เหมอื นหรือต่างกันอย่างไร
(83)
ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ
ด้านวิชาการ
1. สัณฐานวทิ ยา เชน่ โครงสร้างภายนอก
2. กายวภิ าควทิ ยา เชน่ โครงสรา้ งภายใน
3. พฤกษศาสตร์ เช่น ขอ้ มลู ลักษณะพรรณไม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ชอื่ วงศ์
4. วิทยาศาสตร์ เชน่ การวเิ คราะห์ การบันทกึ สังเกต ทกั ษะการใช้เครื่องมือ
5. ภาษา เช่น การสอ่ื สาร การใช้ภาษาในการเรียบเรียงขอ้ มลู การก าหนดค า
6. ศิลปะ เชน่ การวาดภาพ
ดา้ นภูมิปญั ญา
1. การจดั เกบ็ ข้อมูลพืน้ บ้าน
2. การใช้เครื่องมือในการศกึ ษาข้อมลู
3. การวางแผนการปฏบิ ัตงิ าน
คุณธรรมและจริยธรรม
1. ความรบั ผิดชอบในการปฏบิ ตั ิงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย
2. ความซื่อตรง ในการศกึ ษาและรายงานผลทีถ่ ูกต้องเปน็ จริง
3. ความมีระเบยี บ รอบคอบ ละเอยี ด ถ่ีถ้วน ในการปฏบิ ัติงาน
4. ความอดทนต่อสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน
5. ความสามัคคี
6. ความเออ้ื เฟ้อื เผ่ือแผ่
7. มนษุ ยสัมพันธ์
(84)
องคป์ ระกอบท่ี 4
การรายงานผลการเรียนรู้
หลักการ รสู้ าระ รสู้ รปุ รสู้ อื่
สาระการเรียนรู้
การรายงานผลการเรยี นรู้ ท่ีได้จากการรวบรวมผลการเรียนรู้ คดั แยกสาระสาคญั จัดหมวดหมู่ จัดระบบ
ข้อมูล และการเขียนรายงานในรูปแบบวิชาการและแบบบูรณาการ โดยใช้ภาษาส่ือที่กระชับ ได้ใจความ
รวมถงึ วธิ กี ารรายงานในรูปแบบต่าง ๆ ท้ังแบบเอกสารแบบบรรยาย แบบศิลปะ และแบบนิทรรศการ เป็นตน้
ลาดับการเรียนรู้
1. รวบรวมผลการเรียนรู้
2. คดั แยกสาระสาคัญ และจัดใหเ้ ปน็ หมวดหมู่
2.1. วิเคราะห์ เรยี บเรียงสาระ
2.2. จดั ระเบียบข้อมลู สาระแต่ละด้าน
2.3. จัดลาดบั สาระหรือกลุม่ สาระ
3. สรปุ และเรยี บเรยี ง
4. เรียนรรู้ ปู แบบการเขียนรายงาน
4.1 แบบวชิ าการ
4.2 แบบบรู ณาการ
5. กาหนดรปู แบบการเขยี นรายงาน
6. เรยี นรู้วธิ กี ารรายงานผล
6.1 เอกสาร เช่น หนงั สอื แผ่นพับ
6.2 บรรยาย เช่น การเลา่ นิทาน อภิปราย สัมมนา
6.3 ศลิ ปะ เชน่ การแสดงศลิ ปะพื้นบ้าน ละคร รอ้ งเพลง ภาพวาดทางพฤกษศาสตร์
6.4 นทิ รรศการ
7. กาหนดวิธีการรายงานผล
(85)
อธิบายลาดบั การเรยี นรู้
ลาดับการเรียนรู้ท่ี 1 รวบรวมผลการเรียนรู้
วัตถุประสงค์
1. เพ่อื รแู้ หลง่ เรียนรูแ้ ละท่ีมาของผลการเรยี นรู้
2. เพอื่ รู้วิธีการรวบรวมผลการเรียนรู้
กระบวนการเรยี นรู้
1. เรียนรู้แหล่งเรยี นรูต้ า่ ง ๆ ภายในสถานศกึ ษา ตวั อยา่ งเชน่ พน้ื ท่ีศึกษา ห้องสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียน ห้องสมุด เวบไซต์ ฯลฯ ท่รี วบรวมผลการเรียนรู้จากงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น
2. เรยี นรูว้ ิธีการรวบรวมผลการเรียนรู้
2.1. รวบรวมผลทีไ่ ด้จากการเรียนร้ใู นองคป์ ระกอบท่ี 1, 2, 3 พืชศึกษา และ 3 สาระการเรยี นรู้
2.2 สรปุ ผลไดจ้ ากการเรียนรู้เชน่ ผลงาน ชนิ้ งาน ฯลฯ
ใบงานที่ 1.2 การรวบรวมผลการเรยี นรูจ้ ากเอกสาร ก.7-003
คาชี้แจง รวบรวมผลการเรยี นร้จู ากเอกสาร ก.7-003 ในแตล่ ะหนา้ (หนา้ ปก และหน้าท่ี 1-10 ใหค้ รบถ้วน
และชดั เจนย่งิ ขึ้น
ตัวอยา่ ง
บนั ทึกผล
ชือ่ พืช .............................................
(86)
ลาดับการเรยี นรู้ท่ี 2
คดั แยกสาระสาคัญและจัดใหเ้ ปน็ หมวดหมู่
วัตถปุ ระสงค์
1. เพือ่ รวู้ ิธกี ารคัดแยกสาระสาคัญ
2. เพือ่ ร้วู ิธีการจดั หมวดหมู่
กระบวนการเรยี นรู้
1. เรยี นรู้วธิ กี ารคัดแยกสาระสาคญั
1.1 วิเคราะหผ์ ลการเรยี นรู้โดยพิจารณาสาระสาคัญ เป็นสาระหลกั สาระรอง สาระย่อย และสาระ
ประกอบ
1.1.1 สาระหลัก คือ ส่ิงทจี่ ะรายงาน
1.1.2 สาระรอง คอื สิ่งทจี่ ะหนุนให้สาระหลักมีนา้ หนัก น่าเชื่อถอื มากข้ึน
1.1.3 สาระย่อย คือ ส่ิงที่ทาให้ สาระหลัก สาระรอง มีความน่าสนใจย่งิ ขน้ึ
1.1.4 สาระประกอบ คือ สง่ิ ทท่ี าให้ สาระหลัก สาระรอง และสาระย่อย มีความนา่ สนใจยงิ่ ขึน้
2. เรยี นร้วู ธิ ีการจัดใหเ้ ปน็ หมวดหมู่
2.1 นาสาระส าคญั ท่ผี ่านการวิเคราะห์มาจัดเป็นหมวดหมหู่ รอื กลุ่มข้อมูล เช่น หมวดช่อื หมวด
รปู ลกั ษณะ หมวดนิเวศนว์ ิทยา หมวดการขยายพันธุ์ หมวดการใช้ประโยชน์ ฯลฯ
2.2) จดั ระเบียบหรือลาดบั ข้อมลู สาระแตล่ ะหมวดที่เรียบเรยี งมาจัดเปน็ กลุ่มขอ้ มูลแต่ละหมวด
เชน่
หมวดชอื่ พรรณไม้ ช่อื พ้ืนเมือง ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ชือ่ วงศ์ ชอ่ื สามัญ
หมวดรปู ลักษณะ ลักษณะวิสัย ลาตน้ ใบ ดอก ผล เมลด็
ตวั อย่าง การจัดลาดบั สาระหรือกลุ่มสาระ
ลกั ษณะวิสัย ความสงู รปู ร่างทรงพุ่ม ความกวา้ งทรงพุ่ม
ลาตน้ ชนดิ ของลาตน้ ผวิ ลาตน้ การมียาง สขี องลาตน้
ใบ ชนดิ ของใบ การเรยี งตวั ของใบบนก่งิ รปู ร่างแผ่นใบ ขนาดแผ่นใบ
รูปรา่ งปลายใบ รปู รา่ งโคนใบ รูปร่างขอบใบ สขี องใบ ลกั ษณะพิเศษของใบ
ดอก ชนดิ ของดอก ตาแหน่งท่ีออกดอก รูปรา่ งของดอก สขี องดอก การมกี ลิน่
กา้ นดอก กลบี เลี้ยง กลบี ดอก เกสรเพศผู้ กา้ นชูอับเรณู อบั เรณู
ละอองเรณู เกสรเพศเมีย ตาแหน่งของรังไข่ก้านเกสรเพศเมยี
ยอดเกสรเพศเมีย
ผล ชนดิ ของผล รูปร่างของผล สีของผล ลักษณะพิเศษของผล
เมล็ด จานวนเมล็ดตอ่ ผล รูปรา่ งของเมลด็ การงอกของเมลด็
(87)
ลาดบั การเรยี นรทู้ ่ี 3
สรุปและเรียบเรียง
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อรู้วิธีการสรุปและเรยี บเรียงข้อมลู ในแต่ละหมวดหมู่
กระบวนการเรียนรู้
1. เรียนรู้วธิ กี ารตรวจคาผดิ ตดั คาซา้ คาซ้อน
2. เรยี นรู้การเชอ่ื มโยงเน้อื หา สาระให้ไดภ้ าษาทีก่ ระชับ ส้นั ได้ใจความ
(88)
ลาดบั การเรยี นรู้ท่ี 4
รปู แบบการเขยี นรายงาน
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่ือร้รู ูปแบบการเขียนรายงาน
2. เพอ่ื รวู้ ธิ กี ารเขียนรายงาน
กระบวนการเรยี นรู้
1. เรยี นร้รู ปู แบบการเขยี นรายงาน
1.1 รปู แบบการเขียนรายงานแบบวิชาการ
1.1.1 การเขยี นรายงานวิชาการแบบสมบรู ณ์สว่ นประกอบของรายงาน มคี วามถูกต้องเป็นไป
ตามมาตรฐานทางวิชาการ เช่น รายงานวชิ าการ รายงานวิจัย
1.1.2 การเขียนรายงานวชิ าการแบบสรุป ส่วนประกอบของรายงานไม่เต็มรปู แบบ เชน่
การรายงานเชงิ วชิ าการ
1.2 รปู แบบการเขยี นรายงานแบบบูรณาการ
1.2.1 แบบบรู ณการกลุม่ สาระ เชน่ หนังสอื เล่มเล็ก เพลง นทิ าน กลอน การแสดง กราฟเสน้
กราฟวงกลม ฯลฯ
1.2.2 แบบบูรณาการแห่งชีวิต ส่วนประกอบของรายงานแสดงบรู ณาภาพแหง่ ชวี ติ เชน่ แรง
บนั ดาลใจ จนิ ตนาการ ปัจจยั และเปาู หมายการเรียนร้วู ิธกี ารท่ใี ช้ในการเรียนรู้จติ อารมณ์ พฤตกิ รรมของตน
และงานทเ่ี นื่องต่อ
2. เรยี นรวู้ ธิ กี ารเขียนรายงาน
2.1 วธิ กี ารเขียนรายงานแบบวิชาการ
2.1.1 การเขียนรายงานทางวชิ าการแบบสมบูรณ์
1. สว่ นประกอบของรายงานทางวิชาการแบบสมบูรณม์ ลี ักษณะ ดงั น้ี
1.1. สว่ นประกอบตอนตน้ มสี ว่ นประกอบตามลาดบั ดังน้ี
1.1.1. หนา้ ปก (ปกนอก)
1.1.2. หนา้ ช่อื เรอื่ ง (ปกใน)
1.1.3. คานา (กิตตกิ รรมประกาศ)
1.1.4. สารบญั
1.1.5. สารบัญตาราง
1.1.6. สารบัญภาพประกอบ
1.2. สว่ นประกอบตอนกลาง (เนื้อเรื่อง) เป็นส่วนสาคญั ทสี่ ุดของรายงาน แบง่ แยกเนอื้ หาทเ่ี ขียนเปน็
บทอยา่ งมีระบบระเบยี บ ตามลาดบั เช่น รายงานทางวชิ าการมีโครงสร้างมาตรฐาน 5 บท คือ
1.2.1. บทที่ 1 บทน า
1.2.2. บทท่ี 2 เอกสารและรายงานการศกึ ษาที่เกีย่ วข้อง
1.2.3. บทที่ 3 วิธีดาเนนิ การศกึ ษา
1.2.4 บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา
1.2.5 บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ
(89)
นอกจากนี้ ยงั มสี ว่ นประกอบ ท่สี าคัญของเนื้อเร่ือง ได้แก่ การอา้ งอิงจากการศึกษาคน้ คว้า แบบ
เชิงอรรถท้ายหนา้ หรืออ้างอิงแทรกในเน้ือหา (นามป)ี ข้อมูลสารสนเทศตารางประกอบ แผนภมู ิ ภาพประกอบ
1.3. สว่ นประกอบตอนท้าย ได้แก่ บรรณานุกรม ภาคผนวก และอภิธานศัพท์ เปน็ รายละเอียด
เพิ่มเติมจากเน้ือเรือ่ ง เชน่ การอา้ งอิงที่ไดร้ ะบุไว้ในเชงิ อรรถ ก็นามาระบุไว้ในบรรณานกุ รมท้ายเลม่
รายละเอียดต่าง ๆ เช่น ตารางข้อมูลแผนงานโครงการ บันทกึ ประจาวัน สาหรบั ผูส้ นใจรายละเอยี ด
2. ลกั ษณะของรายงานวิชาการแบบสมบูรณท์ ่ีดี
2.1. มกี ารนาหลกั การและ / หรอื ทฤษฎมี าใช้อยา่ งเหมาะสมเนื่องจากในการศึกษาคน้ คว้า จะต้องมี
การวเิ คราะห์เน้ือหา โดยมหี ลกั การหรอื ทฤษฎมี ารองรับอย่างเหมาะสม หลกั การหรือทฤษฎดี งั กลา่ วควรเปน็ ที่
ยอมรบั ในแวดวงสาขาวชิ าการนั้น ๆ พอควรและตรงกับเรือ่ งท่ศี ึกษาค้นคว้า
2.2. มกี ารแสดงความคิดริเรม่ิ สร้างสรรค์อยา่ งเหมาะสม เชน่ เสนอแนวทางการแก้ปัญหาที่ไม่เคยมี
ผู้ทามากอ่ น หรือเคยมีผ้ทู าตไ่ ม่ชัดเจนเพยี งพอ
2.3. ความสมบรู ณ์และความถกู ต้องของเนอื้ หาสาระ เนื้อหาสาระต้องสมบูรณต์ ามช่อื เรอื่ งที่กาหนด
และถูกตอ้ งในข้อเท็จจรงิ การอา้ งองิ ท่ีมาหรือแหลง่ ค้นคว้าตอ้ งถกู ต้องเพื่อแสดงจรรยามารยาทของผเู้ ขยี น
และเปน็ แหล่งชีแ้ นะให้ผู้สนใจไดต้ ิดตามศกึ ษาค้นควา้ ต่อไป การคน้ ควา้ ควรศึกษามาจากหลายแหล่ง
2.4. ความชัดเจนของการเขยี นรายงานจะตอ้ งมคี วามชดั เจนในดา้ นลาดับการเสนอเร่อื งมี
ความสามารถในการใชภ้ าษา และการนาเสนอตาราง แผนภูมิ/ ภาพประกอบท้ังน้เี พ่ือให้การนาเสนอเน้ือหา
ชดั เจน เขา้ ใจงา่ ย เป็นระเบยี บไม่ซ้าซ้อนสบั สน
3. การใชภ้ าษาในการเขียนรายงาน
3.1. ควรใชภ้ าษาหรอื ส านวนโวหารเป็นของตนเองทีเ่ ขา้ ใจงา่ ยและถกู ต้อง
3.2. ใช้ประโยคส้นั ๆ ใหไ้ ดใ้ จความชัดเจน สมบูรณ์ ตรงไปตรงมาไม่วกวน
3.3. ใช้ภาษาทเี่ ปน็ ทางการไม่ใช้ภาษาพูด คาผวน คาแสลง อักษรย่อ คาย่อ
3.4. ใช้คาทีม่ คี วามหมายชดั เจน ละเว้นการใชภ้ าษาฟุ่มเฟือย การเล่นสานวน
3.5. ระมดั ระวังในเรอื่ งการสะกดคา การแบง่ วรรคตอน
3.6. ระมดั ระวงั การแยกคาดว้ ยเหตุทเ่ี นื้อที่ในบรรทดั ไมพ่ อหรือหมดเนื้อที่ในหนา้ ที่นั้นเสียกอ่ น เช่น
ไม่แยกคาวา่ “ละเอยี ด” ออกเป็น “ละ” ในบรรทัดหนึง่ สว่ น “ละเอยี ด” อยู่อีกบรรทัดต่อไปหรือหนา้ ต่อไป
3.7. ใหเ้ ขยี นเปน็ ภาษาไทยไมต่ ้องมคี าภาษาองั กฤษกากับ ถ้าเป็นาใหม่หรอื ศพั ทว์ ิชาการในการ
เขยี นครง้ั แรกให้กากบั ภาษาอังกฤษไว้ในวงเลบ็ ครงั้ ต่อ ๆ ไปไม่ต้องกากับภาษาอังกฤษ
มีลักษณะต่อไปนี้
3.7.1. เป็นงานเขยี นทเี่ ปน็ งานเปน็ การ ค่อนขา้ งจริงจัง หนกั แนน่
3.7.2. การให้ความคดิ ความรู้ มากกวา่ เรียงความทว่ั ไป
3.7.3. เปน็ ความเรียงร้อยแกว้ ใชภ้ าษาเขียนถูกต้องตามหลักวิชาการ
3.7.4. มีหลักฐาน ขอ้ เท็จจรงิ อา้ งองิ ประกอบ
3.7.5. ไม่ต้องใช้สานวนโวหารใหไ้ พเราะเพราะไม่ใชง่ านประพนั ธ์
3.7.6. มคี วามกระชับ รัดกุม กะทดั รัด ชดั เจน ตามทน่ี ยิ มกันตามปกติ
3.7.7. ไมใ่ ชค้ าท่ีอาจมคี วามหมายได้หลายประการ
(90)
3.7.8. หลีกเลี่ยง การใช้ภาษาพูด ภาษาแสลง หรือภาษาตลาด
3.7.9. หลีกเลยี่ งการใชภ้ าษาท้องถน่ิ
3.7.10. เลอื กใชภ้ าษาสามัญท่ีเข้าใจง่าย
3.7.11. ตัวสะกดการนั ต์ถูกต้องตามพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน
3.7.12. การใชค้ าศัพท์ เชน่ การใชค้ าสุภาพ คาราชาศพั ท์ คาที่ใช้กบั ภิกษุ ล้วนตอ้ งเลอื กใชใ้ ห้
ถูกต้อง ตามหลกั การใชภ้ าษา และความนิยมในปจั จุบนั
ตัวอย่างการใชค้ าศัพทเ์ ช่น
- สไลด์ เปลยี่ นเป็น ภาพเลือ่ น ให้ถูกต้องตามศัพท์บญั ญตั ิ
- ตรรกวิทยา (Logic) มวี งเลบ็ ภาษาองั กฤษต่อท้าย
- รอ้ ยละ ไม่ต้องวงเลบ็ (Percent) เพราะใช้กนั แพรห่ ลายแลว้
- ไมค่ วรใช้ ศธ. หรือเขยี นยอ่ วา่ กระทรวงศึกษา ฯ แทน “กระทรวงศึกษาธกิ าร”
- ไม่ควรใช้ ร.ร. แทน โรงเรียน ยกเวน้ กรณที นี่ ิยมใชแ้ บบยอ่ กันแพรห่ ลายแล้ว เช่น พ.ศ.
- การใช้คา กบั แด่ แต่ ตอ่ ใหถ้ ูกต้อง ตวั อยา่ งเช่น
- กับ ใชก้ ับสง่ิ ของหรือคนท่ที ากรยิ าเดยี วกนั เช่น ครกู ับนกั เรยี นอา่ นเอกสาร เด็กเลน่ กบั ผใู้ หญ่
- แด่ ต่อ ใช้กบั กริยา ให้รับ บอก ถวาย ต่อบุคคลทีส่ มควร เชน่ กล่าวรายงานตอ่ ประธานถวาย
ของแด่พระสงฆ์
- แก่ ใชเ้ ชน่ เดียวกบั แด่ตอ่ แตใ่ ช้กับบุคคลทั่วไป เช่น พระราชทานแก่ ให้แก่ บอกแกแ่ จ้งแก่
- เขียนเนือ้ หาให้แจ่มแจง้ ชัดเจน มีการเนน้ เน้ือหาท่ีสาคัญ โดยใช้ คา วลี และข้อความทสี่ าคญั
ขนึ้ ต้นประโยค หรอื จบประโยค กลา่ วซา้ เพ่ือใหค้ วามสาคัญกับคาท่ีกล่าวซ้าเปรยี บเทียบ
- เพือ่ ให้ขอ้ ความชัดเจน และใหร้ ายละเอียดเป็นตัวอยา่ ง รปู ภาพประกอบ ทาใหช้ ัดเจน เขา้ ใจงา่ ย
และถ้าต้องการใหม้ ผี ลในทางปฏบิ ตั ิ จะตอ้ งใช้ ตัวอย่าง ข้อความ สนับสนนุ หลักการแนวคดิ ท่เี สนอ ให้ชดั เจน
อยา่ งมีศิลปะในการเขยี น
- มีเอกภาพ ในการเสนอเนอ้ื หาทกุ สว่ นของรายงาน เพอ่ื ตอบสนองวัตถปุ ระสงคข์ องการเขียน
- มีสมั พันธภาพ ในการจัดลาดบั เนื้อหา คือเขยี นให้สมั พนั ธก์ นั เช่น ตามลาดบั เวลา ตามลาดับเหตุ
และผล จัดลาดับ ระหวา่ ง หัวขอ้ ใหญ่ หัวข้อย่อย ระหว่างย่อหน้า เรียงตามความสาคัญ หัวขอ้ ทส่ี าคัญเท่ากัน
หรือระดบั เดียวกนั เขียนให้ย่อหนา้ เทา่ กัน ตรงกัน ย่อหนา้ หนงึ่ ควรมีใจความสาคญั เดียว
- รายงานทางวิชาการ เนน้ ความจรงิ ความถูกต้อง ไมค่ วรเขยี นเกินความจริงที่ปรากฏ
- รายงานตามข้อมูลทพี่ บ ไม่ควรเขยี นคาคณุ ศพั ท์ เชน่ ดมี าก ดที ่สี ดุ เหมาะสม ดี โดยไม่มขี ้อมลู
หลักเกณฑ์ชดั เจน แสดงถึงการวินิจฉยั ประเมินค่าเกนิ จริง
- คณุ สมบัติของผู้เขียนรายงาน ทจี่ ะชว่ ยใหร้ ายงานมคี ณุ คา่ ได้แก่ความรู้ทวั่ ไปในเรอ่ื งทเี่ ขยี น จะ
ทาใหเ้ ตรียมการอยา่ งรอบคอบ เขยี นได้ครอบคลุม ต่อเน่ือง ชดั เจน มีความสามารถในการวิเคราะห์ ใหค้ ุณค่า
ขอ้ มลู อยา่ งแมน่ ตรงมวี ิจารณญาณในการเลือกเสนอสงิ่ ท่สี าคัญ สามารถใช้เทคนคิ ผสมผสานความรู้
ประสบการณ์ออกมาเปน็ ความคิด แล้วถ่ายทอด ออกมาเป็นภาษาเขียน
(91)
2.1.2 การเขยี นรายงานแบบวิชาการ ประกอบดว้ ย
1. ปกนอก
2. ปกใน
3. คานา
4. สารบัญ
5. วธิ ดี าเนนิ การเรียนรู้
6. ผลการเรยี นรู้
7. สรปุ
8. บรรณานกุ รม / เอกสารอา้ งอิง
2.2 วิธีการเขียนรายงานแบบบรู ณาการ
2.2.1 การเขียนรายงานแบบบูรณาการกลุ่มสาระ
1. เรยี นรรู้ ูปแบบการเขียนรายงานแบบบูรณาการ
2. เขยี นรายงานแบบบรู ณาการ
3. ตรวจสอบ แก้ไข และให้ข้อเสนอแนะการเขียนรายงานแบบบรู ณาการ
(92)
2.2.2 การเขยี นรายงานแบบบูรณาการแห่งชีวิต
การเรียนรแู้ บบบูรณาการเป็นการนาเอาวิชาต่างๆ มาผสมผสานเขา้ ด้วยกัน สาหรับการเขียนรายงาน
แบบบรู ณาการได้จากการเรยี นรสู้ ัมผัสปจั จยั ชีวภาพ พร้อมให้อารมณค์ วามรู้สึกทัง้ ก่อน ขณะ และหลัง
การศึกษา เพ่ือใหร้ ู้ตวั เองทุกเวลาแลว้ จะส่งผลดตี อ่ ตน
1. แรงบันดาลใจ เป็นเหตทุ ่ีเกิดมีขึน้ ด้วยแรงอานาจของสิง่ ใดสิ่งหน่ึง ทีจ่ ุดประกายความคดิ ให้รเิ ริ่มที่
นาไปสกู่ ารเรียนรู้
2. จินตนาการ เปน็ การสรา้ งภาพในจิตใจกอ่ นที่จะสร้างสรรค์ออกมาเป็นผลงาน ซึ่งการจนิ ตนาการนี้ใช้
พน้ื ฐานจากการไดส้ ัมผัสโดยใช้หู ตา จมกู ลน้ิ ผิวกาย และจติ ใจ รับรพู้ ืชพรรณธรรมชาติ
3. ปัจจัยและเปูาหมายการเรยี นรู้
4. วิธกี ารทใ่ี ช้ในการเรียนรู้(เหต)ุ เปน็ วิธีการท่ีคิดข้นึ เองหรอื น าวธิ ีการของผู้อ่นื มาประยุกตใ์ ช้
5. จิต อารมณ์ พฤตกิ รรมของตน (ก่อนศึกษา ขณะศกึ ษา และหลังศึกษา) ในการบันทึกจิต อารมณ์
พฤติกรรมของตน เพอ่ื ใหร้ ตู้ ัวทกุ เวลาแล้วจะสง่ ผลดีต่อตน
6. ผลการเรียนรู้ เป็นผลทสี่ รปุ จากการเรยี นรู้ในทกุ ข้ันตอน
7. งานทเี่ นอื่ งต่อ เปน็ การเรยี นรู้ท่ีมคี วามสมั พนั ธ์ และเกีย่ วข้องกับองค์ความรเู้ ดิม
ลาดบั การเรียนรทู้ ี่ 5
กาหนดรูปแบบการเขียนรายงาน
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่ือรูว้ ิธกี ารกาหนดรปู แบบการเขียนรายงานท่ีเหมาะสม
กระบวนการเรียนรู้
1. เรยี นร้วู ธิ ีการกาหนดรูปแบบการเขยี นรายงานทเ่ี หมาะสม
1.1 เลอื กรูปแบบการเขียนรายงานให้เหมาะสม
1.2 นาข้อมลู ท่สี รุปและเรยี บเรียงแลว้ มาเขยี นรายงานตามรูปแบบทก่ี าหนด
1.3) จัดทาข้อมลู เพ่ิมเติมใหค้ รบตามรูปแบบรายงาน
เปน็ การพจิ ารณาเน้ือหา / ปริมาณ ขอ้ มูลทไี่ ด้จากการคดั แยกสาระให้เปน็ หมวดหมู่จนสรปุ ได้เป็นองค์
ความรู้ และนาข้อมูลมากาหนดรูปแบบเขยี นรายงานท่ีเหมาะสมและถูกต้อง โดยรูปแบบรายงานควรมจี ดุ เด่น
อ่านเขา้ ใจงา่ ย และดึงดูดความสนใจของอา่ น
(93)
ลาดับการเรยี นรู้ที่ 6
เรยี นร้วู ธิ กี ารรายงานผล
วัตถุประสงค์
1. เพื่อรรู้ ปู แบบและวิธีการรายงานผล
กระบวนการเรียนรู้
1. เรยี นรู้รูปแบบการรายงานผล
1.1 รูปแบบการรายงานแบบเอกสาร เช่น หนงั สือ แผน่ พบั ซีดี
1.2 รูปแบบการรายงานแบบบรรยาย เชน่ เช่น การสนทนา เสวนา สมั มนา อภิปราย การเล่านทิ าน
1.3 รปู แบบการรายงานแบบศลิ ปะ เชน่ การแสดงศิลปะพน้ื บ้าน ละคร ร้องเพลง ภาพวาดทาง
พฤกษศาสตร์การถ่ายภาพทางพฤกษศาสตร์
1.4 รปู แบบการรายงานแบบนทิ รรศการ เช่น นิทรรศการ นิทรรศการประกอบการบรรยายสรปุ
นิทรรศการเฉพาะเรื่อง เฉพาะประเภท และเวบ็ ไซต์
2. เรยี นรู้วิธกี ารรายงานผล
2.1 วธิ ีการรายงานแบบเอกสาร ให้แสดงขน้ั ตอนวธิ ีการในแตล่ ะรปู แบบ เชน่ หนงั สือ แผ่นพับ ซดี ี
2.2 วธิ ีการรายงานแบบบรรยาย ใหแ้ สดงขน้ั ตอนวิธีการในแต่ละรปู แบบ เชน่ การสนทนา เสวนา
สัมมนา อภิปราย การเล่านิทาน
2.3 วิธีการรายงานแบบศิลปะ ใหแ้ สดงข้ันตอนวิธีการในแต่ละรปู แบบ เชน่ การแสดงศิลปะพ้นื บ้าน
ละคร รอ้ งเพลง ภาพวาดทางพฤกษศาสตร์ การถา่ ยภาพทางพฤกษศาสตร์
การแสดงพ้ืนเมือง เป็นการแสดงท่ีแสดงออกถงึ การสืบทอดทางศลิ ปะและวัฒนธรรมของแตล่ ะท้องถน่ิ
ท่ีสบื ทอดกันตอ่ ๆ มาอย่างช้านาน ต้งั แตส่ มยั โบราณจนถึงปัจจบุ นั การแสดงจะออกมาในรูปแบบใดนนั้ ขึน้ อยู่
กบั สภาพทางภูมิศาสตร์ สง่ิ แวดล้อม อาชีพ และความจาเป็นทางเศรษฐกิจ ตลอดจนอปุ นิสัยของประชาชนใน
ทอ้ งถิ่น จงึ ทาให้การแสดงพื้นเมอื ง มลี ลี าท่าทางท่ีแตกต่างกนั ออกไป แต่ก็มีจุดมงุ่ หมายอย่างเดยี วกนั เพอ่ื
ความสนกุ สนานร่ืนเรงิ และพักผ่อนหย่อนใจ
ดนตรี (อังกฤษ: music) คอื เสยี งและโครงสร้างท่จี ัดเรียงอย่างเปน็ ระเบยี บแบบแผน ซง่ึ มนษุ ย์ใช้
ประกอบกิจกรรมศิลปะทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับเสยี ง โดยดนตรีน้ันแสดงออกมาในดา้ นระดับเสยี ง (ซงึ่ รวมถงึ ท่วงทานอง
และเสยี งประสาน) จังหวะ และคณุ ภาพเสียง (ความตอ่ เนื่องของเสยี ง พ้ืนผิวของเสยี ง ความดังค่อย) นอกจาก
ดนตรจี ะใชใ้ นด้านศิลปะไดแ้ ล้ว ยงั สามารถใชใ้ นด้านสุนทรียศาสตร์ การส่อื สาร ความบนั เทิง รวมถึงใชใ้ นงาน
พิธีการตา่ ง ๆ ได้
2.4 วิธกี ารรายงานแบบนทิ รรศการ ใหแ้ สดงข้ันตอนวิธกี าร การออกแบบนิทรรศการ เช่น
นิทรรศการ การจัดบอรด์ โปสเตอร์ นทิ รรศการประกอบการบรรยายสรปุ นิทรรศการเฉพาะเร่ือง เฉพาะ
ประเภท และเว็บไซต์
(94)
ลาดับการเรียนรูท้ ่ี 7
กาหนดวธิ ีการรายงานผล
วัตถุประสงค์
1. เพ่อื รู้วิธีการ กาหนดวิธกี ารรายงานผล
กระบวนการเรียนรู้
1. เรยี นรู้วธิ กี าร กาหนดวธิ กี ารรายงานผลท่เี หมาะสม
1.1 เลอื กรูปแบบวิธีการรายงานผลให้เหมาะสม
1.2 นาข้อมลู ท่สี รปุ และเรยี บเรียงแลว้ มาแสดงขั้นตอนวธิ กี ารรายงานผลตามรูปแบบทกี่ าหนด
1.3 จัดทาข้อมลู เพมิ่ เตมิ ให้ครบตามรูปแบบวธิ กี ารรายงานผล
ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ
ด้านวชิ าการ
1. ภาษา เช่น การวเิ คราะห์สาระ การรวบรวมสาระ การจดั กลุ่มสาระ การเรยี บเรียงสาระเปน็ ผล
การจดบันทึก การสรปุ ผลการการเรียนรู้ทุกเรื่องที่เกิดจากกระบวนการเรียนรู้
2. ศลิ ปะ เช่น การแสดงศลิ ปะพื้นบ้าน การเลา่ นิทาน การเขยี นการ์ตนู การวาดภาพ
3. วทิ ยาศาสตร์ เช่น การค้นควา้ ด้วยตวั เอง การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ การจนิ ตนาการบนฐานของ
ความเป็นจรงิ
ด้านภมู ปิ ัญญา
1. รูว้ ธิ ีการถา่ ยทอดความรู้
2. ฝึกความกล้าแสดงออก
3. เกดิ ความคดิ สรา้ งสรรค์
4. รูจ้ กั ใช้และพฒั นาส่ือ
คุณธรรมและจริยธรรม
1. ร้กู ารแบง่ ปนั
2. มคี วามซ่ือตรง
3. มีสมาธิ
4. เหน็ คุณค่าในตนเองและผูอ้ ื่น เช่น การเข้าใจถงึ แกน่ สาระของวิชาการ
5. มคี วามรบั ผดิ ชอบ
(95)
องคป์ ระกอบที่ 5
การนาไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
หลกั การ นาองค์ความรู้ ที่เป็นวทิ ยาการ เผยแพรเ่ พ่ือใหเ้ กิดองค์ความรู้ใหม่
สาระสาคัญ
การนาไปใชป้ ระโยชน์ทางการศึกษาโดยการบรู ณาการสู่การเรียนการสอน การใช้สวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียนเปน็ แหล่งเรยี นรู้ บนั ทึกข้อมูล รวบรวมเป็นพิพิธภณั ฑเ์ ฉพาะเรื่อง พิพิธภัณฑ์ธรรมชาตวิ ิทยา รวมถงึ
การเผยแพร่องค์ความรู้ การใช้และพฒั นาแหล่งเรยี นรู้อยา่ งตอ่ เนื่อง
ลาดับการเรยี นรู้
1. นาสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นบรู ณาการสูก่ ารเรียนการสอน
1.1 จัดทาหลักสูตรและการเขยี นแผนการสอนใหส้ อดคล้องกับหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั
พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
1.2 จัดเก็บผลการเรียนรู้
2 เผยแพร่องค์ความรู้
2.1 บรรยาย
2.1.1 สนทนา
2.1.2 เสวนา
2.1.3 สัมมนา/อภิปราย
2.2 จัดแสดง
2.2.1 จดั แสดงนิทรรศการ
2.2.2 นิทรรศการประกอบบรรยายสรุป
2.2.3 จดั นิทรรศการเฉพาะเรื่อง/ประเภท
3. จัดสร้างแหลง่ เรยี นรู้
3.1 จดั แสดงพิพิธภัณฑ์
3.2 จดั แสดงพพิ ิธภัณฑเ์ ฉพาะเรอ่ื ง
3.3 จัดแสดงพพิ ิธภัณฑธ์ รรมชาติวทิ ยา
(หมายเหตุ : จดั สร้างแหลง่ เรยี นรตู้ ามศักยภาพ)
4. ใช้ ดูแลรกั ษา และพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้
(96)
อธิบายลาดบั การเรยี นรู้
ลาดับการเรียนรทู้ ี่ 1
นาสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นบูรณาการสกู่ ารเรยี นการสอน
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพอ่ื รวู้ ธิ กี ารนางานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นบูรณาการสกู่ ารเรยี นการสอน
กระบวนการเรียนรู้
1. เรียนรวู้ ธิ ีการนางานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียนบูรณาการส่กู ารเรียนการสอน
1.1 วเิ คราะห์ความสอดคล้องงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียนกับหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้
พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551
1.2 จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ บรู ณาการทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้
1.3 จัดเกบ็ ผลการเรียนรู้ผลงาน จานวนชิน้ งาน ท่ีผ้เู รยี นแต่ละระดับ แต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้
ที่ได้ดาเนนิ การตามแผนการจัดการเรียนรู้
ลาดับการเรยี นรูท้ ี่ 2
เผยแพร่องค์ความรู้
วัตถปุ ระสงค์
1. เพือ่ รวู้ ิธีการเผยแพร่องค์ความรู้ให้เหมาะสม
กระบวนการเรยี นรู้
1. เรยี นร้วู ธิ ีการเผยแพรอ่ งค์ความร้ใู หเ้ หมาะสม
1.1 การเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้แบบเอกสาร เชน่ หนังสือ แผ่นพับ ซีดี
1.2 การเผยแพร่องคค์ วามรู้ แบบบรรยาย เชน่ การสนทนา เสวนา สัมมนา อภปิ ราย การเลา่ นทิ าน
1.3 การเผยแพร่องค์ความรู้ แบบศิลปะ เชน่ การแสดงศลิ ปะพน้ื บา้ น ละคร รอ้ งเพลง ภาพวาดทาง
พฤกษศาสตร์ การถ่ายภาพทางพฤกษศาสตร์
1.4 การเผยแพร่องคค์ วามรู้ แบบนิทรรศการ เช่น นทิ รรศการ นทิ รรศการประกอบการบรรยาย
สรุป นิทรรศการเฉพาะเรอ่ื ง เฉพาะประเภท และเวบ็ ไซต์
(97)
(98)
ลาดบั การเรยี นรู้ท่ี 3
จัดสร้างแหล่งเรยี นรู้
วัตถุประสงค์
1. เพ่ือเพ่ิมจานวนแหล่งเรียนรูใ้ นสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
2. เพื่ออนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
กระบวนการเรียนรู้
1. หลักการการจดั สร้างแหลง่ เรยี นร้ใู นสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
2. เรียนร้วู ิธีการจดั สรา้ งแหล่งเรียนร้ใู นสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
3. กาหนด และออกแบบ แหล่งเรียนรใู้ นสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น
4. รวบรวม องคค์ วามรู้จากงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
5. คดั เลือก องค์ความร้จู ากงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
6. เตรยี ม วสั ดุ อุปกรณ์ สาหรับใชจ้ ัดทาแหล่งเรียนรู้
7. จดั ทาแหลง่ เรยี นรตู้ ามที่ออกแบบไว้
(99)
(100)
ลาดับการเรยี นรทู้ ่ี 4
ใช้ ดูแลรกั ษา และพัฒนาแหลง่ เรียนรู้
วตั ถุประสงค์
1. เพอื่ ร้แู ละสรุป การใช้ การดูแลรักษา และพฒั นาแหลง่ เรียนรใู้ นสวนพฤษศาสตร์โรงเรยี น
กระบวนการเรียนรู้
1. การใชแ้ หล่งเรียนรู้
1.1 วางแผน และกาหนดการใช้แหลง่ เรียนรู้
1.2 เรียนรตู้ ามแหลง่ เรยี นรทู้ ่ีกาหนด
1.3 สรุปความรทู้ ไี่ ด้รับ จานวนคร้ัง และจานวนนกั เรียนทใ่ี ช้ในรอบปี
2 การดูแลรักษาแหล่งเรียนรู้
2.1 วางแผน และกาหนดการดแู ลรกั ษาแหลง่ เรยี นรู้
2.2 เรียนรูก้ ารดูแลรกั ษาแหลง่ เรียนรู้ตามท่ีกาหนด
2.3) สรุปความร้ทู ี่ได้รับ จานวนครง้ั และจานวนนักเรียนทีด่ แู ลรกั ษาแหลง่ เรยี นรู้ในรอบปี
3 การพฒั นาแหลง่ เรียนรู้
3.1 วางแผน และกาหนด การพฒั นาแหล่งเรียนรู้
3.2 เรยี นรพู้ ฒั นาแหลง่ เรียนรู้ตามที่กาหนด
3.3 สรุปความรกู้ ารพัฒนา และแนวทางการพฒั นาตอ่ ไป จานวนครั้ง และจานวนนกั เรียนทร่ี ่วม
พฒั นาแหลง่ เรยี นรใู้ นรอบปี
ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ บั
ดา้ นวิชาการ
1. การพัฒนาดา้ นการศึกษา เชน่ การจดั ทาหลักสตู ร การเขียนแผนจดั การเรียนรู้
2. ศิลปะ เชน่ การจดั แสดงผลงานทางวิชาการ การออกแบบแหล่งเรียนรู้
3. การสอื่ สารทางการศกึ ษา เช่น การสนทนา เสวนา สมั มนา อภิปราย การจัดแสดงในรปู แบบต่าง ๆ
และเอกสาร
ดา้ นภมู ปิ ัญญา
1. การเรยี นรู้ตลอดชีวิต
2. การสร้างองค์ความรู้ขนึ้ ใหม่
3. การใชอ้ งค์ความรู้
คุณธรรมและจรยิ ธรรม
1. ความรบั ผดิ ชอบ
2. ความเออ้ื อาทร เออ้ื เฟ้อื เผื่อแผ่
3. ความสามัคคี
4. มนุษยสัมพนั ธ์
(101)
สาระการเรียนร้ธู รรมชาตแิ หง่ ชวี ติ
หลักการ รกู้ ารเปลย่ี นแปลง รคู้ วามแตกต่าง รู้ชีวติ
สาระการเรียนรู้
การเรียนรวู้ งจรชวี ติ ของชีวภาพน้นั ๆ ไดข้ ้อมลู การเปล่ียนแปลงและความแตกตา่ งดา้ นรูปลกั ษณ์
คณุ สมบัติ และพฤตกิ รรม แลว้ นามาเปรียบเทยี บตนเองและผอู้ นื่ กบั ชวี ภาพรอบกาย เพ่ือประยุกต์ใชใ้ นการ
ดาเนนิ ชวี ติ
ลาดบั การเรียนรู้
1. สัมผสั เรยี นรวู้ งจรชวี ิตของชีวภาพ
1.1 ศึกษาดา้ นรปู ลักษณ์ ได้ข้อมูลการเปลยี่ นแปลงและความแตกต่างด้านรูปลักษณ์
1.2 ศึกษาด้านคุณสมบตั ิ ได้ข้อมูลการเปล่ยี นแปลงและความแตกต่างดา้ นคุณสมบตั ิ
1.3 ศึกษาดา้ นพฤติกรรม ได้ข้อมูลการเปล่ยี นแปลงและความแตกตา่ งด้านพฤติกรรม
2. เปรียบเทียบการเปลย่ี นแปลงและความแตกต่าง
2.1 รูปลักษณ์กบั รูปกายตน
2.2 คุณสมบตั ิกับสมรรถภาพของตน
2.3 พฤติกรรมกับจิต อารมณ์และพฤติกรรมของตน
3. สรุปองค์ความรทู้ ่ีไดจ้ ากการศกึ ษาธรรมชาตแิ หง่ ชีวติ
4. สรุปแนวทางเพ่ือน าไปสู่การประยกุ ต์ใช้ในการด าเนนิ ชวี ิต
อธิบายลาดับการเรยี นรู้
ลาดับการเรียนรู้ท่ี 1
สัมผัสเรยี นรู้วงจรชีวิตของชีวภาพ
วตั ถุประสงค์
1. เพื่อรวู้ งจรชวี ิตของชีวภาพ
กระบวนการเรียนรู้
1. เรียนรวู้ งจรชวี ิตของชีวภาพ
1.1 เรียนรู้วงจรชวี ติ ดา้ นรปู ลกั ษณ์
1.1.1 เรยี นรู้ด้านรปู ลักษณ์
เป็นการเรียนรู้ปัจจยั ชวี ภาพ (พืช) ในช่วงท่ีมีการเจริญเตบิ โตเตม็ ทแี่ ละระบุอายทุ ุกสว่ นประกอบของพืช
ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล เมลด็ โดยมีการเรยี นรูเ้ ร่ือง รูปร่าง รปู ทรง สี ผวิ เนือ้ ขนาด จานวน ฯลฯ
1. การกาหนดปจั จยั ในการเรยี นรู้
1.1. เลอื กพชื ศึกษาในระยะท่ีมกี ารเจริญเติบโตเต็มท่ี ครบทุกส่วนประกอบและระบอุ ายุของพชื
1.2. กาหนดจานวนของพชื ศึกษาให้เพียงพอกบั จานวนผูเ้ รยี น โดยพจิ ารณาจากการจัดกลมุ่ และการ
วางแผนการทดลอง ซง่ึ รวมถึงการเก็บขอ้ มูลซ้าเพ่ือให้ไดข้ ้อมูลทีม่ คี วามแม่นยาและนา่ เชื่อถือ เช่น ระดับ
ประถมศึกษา อย่างน้อยจานวน 5 ซ้า ระดับมัธยมศึกษา อย่างนอ้ ยจานวน 10 ซ้า
2. การกาหนดเรื่องทีจ่ ะเรยี นรู้
2.1. เรือ่ งทจ่ี ะเรยี นรู้ เช่น รปู รา่ ง รปู ทรง สี ผิว เนอื้ ขนาด จานวน ฯลฯ
2.2. สว่ นประกอบของพชื เชน่ ราก ลาตน้ ใบ ดอก ผล เมลด็
2.3. นาส่วนประกอบของพืชมากาหนดเร่ืองที่จะเรียนรู้
(102)
ตัวอยา่ งเรอื่ งท่จี ะเรยี นรู:้
การเรียนร้รู ูปรา่ งของแผน่ ใบหม่อน ในระยะที่มกี ารเจริญเติบโตเต็มที่ (ระบุอายุ)
วธิ ีการศกึ ษา : การเรียนรู้
ตัวแปรท่ีศึกษา : รูปรา่ งของแผน่ ใบหม่อน
ขอบเขตของการศกึ ษา : ในระยะที่มีการเจริญเตบิ โตเต็มที่ (ระบุอายุ) และสถานท่ี
3. เรียนรู้ดา้ นรูปลกั ษณ์
เป็นการเรียนรูเ้ รื่องที่ไดก้ าหนด โดยแสดงวสั ดุ อุปกรณ์ วธิ กี ารเรียนรู้ ผลการเรียนร้(ู ออกแบบตาราง
บนั ทึก) และสรุปผลการเรียนรู้
(103)
1.1.2 เรียนรกู้ ารเปล่ยี นแปลงด้านรปู ลักษณ์
เปน็ การเรียนรปู้ จั จยั ชวี ภาพ (พชื ) ในแตล่ ะช่วงอายุอยา่ งน้อย 4 ช่วงอายุ ทกุ ส่วนประกอบของพืช
ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล เมล็ด โดยมกี ารเรียนรูเ้ รื่อง รปู ร่าง รปู ทรง สี ผวิ เนื้อ ขนาด จานวน ฯลฯ
1. การกาหนดปัจจัยในการเรียนรู้
1.1 เลือกพชื ศกึ ษาในระยะท่ีมีการเจริญเติบโตเตม็ ท่ี ครบทุกสว่ นประกอบ
1.2 ระบุอายุของพืช อยา่ งน้อย 4 ชว่ งอายุ
1.3 กาหนดจานวนของพืชศกึ ษาใหเ้ พยี งพอกับจานวนผ้เู รียน โดยพิจารณาจากการจัดกลุ่มและ
การวางแผนการทดลอง ซ่งึ รวมถึงการเก็บข้อมูลซ้าเพื่อให้ได้ข้อมลู ที่มีความแมน่ ยาและน่าเช่อื ถอื เชน่ ระดับ
ประถมศกึ ษา อย่างนอ้ ยจานวน 5 ซา้ ระดับมธั ยมศกึ ษา อย่างน้อยจานวน 10 ซา้
2. การกาหนดเร่ืองท่ีจะเรียนรู้
2.1 เรื่องทจ่ี ะเรยี นรู้ เช่น รปู ร่าง รูปทรง สี ผวิ เนือ้ ขนาด จานวน ฯลฯ
2.2 สว่ นประกอบของพชื เช่น ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล เมลด็
2.3 นาส่วนประกอบของพชื มากาหนดเร่ืองทจี่ ะเรยี นรู้
วิธีการศกึ ษา ตวั แปรทศ่ี ึกษา ขอบเขตทศี่ ึกษา
ตัวอย่างเรอ่ื งท่จี ะเรยี นรู้ :
การเรียนรรู้ ปู ร่างของแผ่นใบหม่อน ในระยะท่ีมกี ารเจรญิ เติบโตในแต่ระยะช่วงอายุ (ระบุช่วงอาย)ุ
วธิ ีการศกึ ษา : การเรียนรู้การเปลีย่ นแปลง
ตัวแปรทีศ่ กึ ษา : รูปร่างของรากพริกขหี้ นู
ขอบเขตของการศกึ ษา : ในแต่ระยะช่วงอายุ (ระบชุ ว่ งอาย)ุ และสถานท่ี
3. เรียนรกู้ ารเปลี่ยนแปลงด้านรูปลกั ษณ์
เป็นการเรียนรู้เร่อื งที่ไดก้ าหนด โดยแสดงวสั ดุ อปุ กรณ์ วิธกี ารเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ออกแบบตาราง
บันทกึ ) และสรปุ ผลการเรยี นรู้
(104)
1.2 เรยี นรูว้ งจรชีวิตด้านคุณสมบัติ
1.2.1 เรยี นรูด้ า้ นคณุ สมบตั ิ
เปน็ การเรยี นรูป้ ัจจัยชวี ภาพ (พชื ) ในช่วงทมี่ ีการเจริญเตบิ โตเตม็ ที่ทุกส่วนประกอบของพชื ราก ลาตน้
ใบ ดอก ผล เมล็ด โดยมีการเรยี นรดู้ า้ นเคมี เช่น รสชาติ กลน่ิ การติดสี สารต่าง ๆ ดา้ นฟสิ กิ ส์ เช่น ความแขง็
ความเหนียว การลอยนา้ การยดื หยุน่ ฯลฯ
1. การกาหนดปัจจัยในการเรยี นรู้
1.1 เลอื กพชื ศกึ ษาในระยะท่มี ีการเจรญิ เตบิ โตเตม็ ที่ ครบทุกส่วนประกอบ
1.2 กาหนดจานวนของพืชศึกษาให้เพยี งพอกับจานวนผเู้ รยี น โดยพจิ ารณาจากการจัดกลมุ่ และ
การวางแผนการทดลอง ซงึ่ รวมถงึ การเกบ็ ข้อมูลซ้าเพ่ือให้ได้ขอ้ มลู ทีม่ คี วามแมน่ ยาและน่าเชอ่ื ถอื เชน่ ระดับ
ประถมศกึ ษา อยา่ งนอ้ ยจานวน 5 ซา้ ระดบั มัธยมศกึ ษา อย่างนอ้ ยจานวน 10 ซา้
2. การกาหนดเรื่องท่ีจะเรียนรู้
2.1 เรื่องทจ่ี ะเรยี นรู้ เช่น รสชาติ กลน่ิ การติดสี ความแขง็ ความเหนียว การลอยนา้ การยืดหยุ่น
ฯลฯ
2.2 สว่ นประกอบของพืช เช่น ราก ลาตน้ ใบ ดอก ผล เมล็ด
2.3 นาสว่ นประกอบของพืชมากาหนดเร่ืองที่จะเรียนรู้
วิธีการศึกษา ตวั แปรทีศ่ ึกษา ขอบเขตทศ่ี ึกษา
(105)
ตวั อย่างเรือ่ งที่จะเรียนรู้ :
การเรียนร้กู ารไดก้ ลิ่นของผลหม่อนในระยะที่มีการเจริญเตบิ โตเต็มท่ี (ระบุช่วงอายุ)
วิธีการศกึ ษา : การเรียนรู้
ตัวแปรท่ศี ึกษา : การได้กลน่ิ ของผลหมอ่ น
ขอบเขตของการศกึ ษา : ในระยะท่ีมีการเจรญิ เติบโตเตม็ ที่ (ระบุชว่ งอายุ) และสถานท่ี
3. เรียนรดู้ า้ นคุณสมบัติ
เปน็ การเรียนรู้เรอื่ งท่ีไดก้ าหนด โดยแสดงวัสดุ อุปกรณ์ วธิ ีการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ออกแบบตาราง
บันทกึ ) และสรุปผลการเรยี นรู้
1.2.3 เรียนรูก้ ารเปลี่ยนแปลงดา้ นคณุ สมบตั ิ
เป็นการเรยี นรูป้ จั จัยชวี ภาพ (พชื ) ในแต่ละช่วงอายุ อย่างนอ้ ย 4 ช่วงอายุ ทกุ ส่วนประกอบของพืช
รากลาต้น ใบ ดอก ผล เมล็ด โดยมีการเรยี นรู้ดา้ นเคมี เช่น รสชาติ กล่นิ การติดสีสารตา่ ง ๆ ด้านฟิสกิ ส์ เชน่
ความแข็ง ความเหนยี ว การลอยน้ า การยืดหยุ่น ฯลฯ
(106)
1. การกาหนดปจั จัยในการเรียนรู้
1.1 เลือกพชื ศึกษาในระยะท่ีมกี ารเจรญิ เตบิ โตเต็มท่ี ครบทกุ ส่วนประกอบ
1.2 ระบุอายขุ องพืช อย่างน้อย 4 ช่วงอายุ
1.3 กาหนดจานวนของพืชศึกษาให้เพียงพอกับจานวนผู้เรียน โดยพจิ ารณาจากการจดั กล่มุ และ
การวางแผนการทดลอง ซึง่ รวมถึงการเก็บข้อมลู ซ้าเพื่อให้ได้ขอ้ มูลทม่ี ีความแมน่ ยาและน่าเชอื่ ถือ เชน่ ระดับ
ประถมศึกษา อยา่ งนอ้ ยจานวน 5 ซ้า ระดบั มธั ยมศกึ ษา อย่างน้อยจานวน 10 ซา้
2. การกาหนดเร่ืองท่ีจะเรยี นรู้
2.1 เรื่องท่ีจะเรียนรู้ เชน่ รสชาติ กลน่ิ การตดิ สี ความแข็ง ความเหนียว การลอยน้า
การยดื หยุ่น ฯลฯ
2.2 ส่วนประกอบของพชื เช่น ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล เมล็ด
2.3 นาสว่ นประกอบของพืชมากาหนดเรอ่ื งทีจ่ ะเรียนรู้
วธิ ีการศึกษา ตัวแปรท่ีศึกษา ขอบเขตทศี่ ึกษา
ตัวอยา่ งเรอ่ื งท่ีจะเรยี นรดู้ า้ นเคมี :
การเรยี นรกู้ ารเปลี่ยนแปลงกลน่ิ ของผลหม่อนในแตล่ ะช่วงอายุ(ระบุชว่ งอายุ)
วิธกี ารศกึ ษา : การเรียนรูก้ ารเปลย่ี นแปลง
ตัวแปรทศี่ ึกษา : กลนิ่ ของผลหม่อน
ขอบเขตของการศกึ ษา : ในแต่ละช่วงอายุ(ระบุช่วงอายุ) และสถานที่
ตวั อยา่ งเรื่องท่ีจะเรยี นร้ดู ้านฟสิ กิ ส์ :
การเรียนรู้การเปลยี่ นแปลงการลอยน้าของผลหม่อนในแต่ละช่วงอาย(ุ ระบชุ ว่ งอายุ)
วธิ ีการศึกษา : การเรียนรู้การเปลย่ี นแปลง
ตัวแปรทีศ่ กึ ษา : การลอยน้ าของผลหม่อน
ขอบเขตของการศกึ ษา : ในแต่ละชว่ งอาย(ุ ระบชุ ่วงอายุ) และสถานที่
3. เรียนร้กู ารเปลี่ยนแปลงดา้ นคุณสมบตั ิ
เป็นการเรยี นรเู้ รอ่ื งที่ได้กาหนด โดยแสดงวสั ดุ อุปกรณ์ วิธีการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ออกแบบตาราง
บันทกึ ) และสรุปผลการเรียนรู้
(107)
1.3 เรียนรวู้ งจรชวี ิตด้านพฤตกิ รรม
1.3.1 เรียนรู้ดา้ นพฤตกิ รรม
เปน็ การเรียนรูป้ ัจจยั ชวี ภาพ (พชื ) ในช่วงทม่ี ีการเจริญเติบโตเต็มทท่ี ุกสว่ นประกอบของพชื ราก
ลาตน้ ใบ ดอก ผล เมล็ด โดยมีการเรียนรู้พฤตกิ รรมทม่ี ีการตอบสนองตอ่ ปจั จัยภายใน และภายนอก ท่ีมีผลต่อ
การเจรญิ เติบโตของพชื การตอบสนองต่อปจั จัยภายนอก เชน่ การหบุ การบาน การคายน้า การรว่ ง การโน้ม
เขา้ หาแสง การลลู่ ม การเปลี่ยนสี การตอบสนองต่อปจั จัยภายใน เชน่ ฮอรโ์ มน
1. การกาหนดปจั จัยในการเรียนรู้
1.1 เลอื กพืชศกึ ษาในระยะทม่ี ีการเจรญิ เตบิ โตเต็มที่ ครบทุกสว่ นประกอบ
1.2 กาหนดจานวนของพชื ศกึ ษาใหเ้ พยี งพอกับจานวนผู้เรยี น โดยพจิ ารณาจากการจัดกลมุ่ และการ
วางแผนการทดลอง ซง่ึ รวมถึงการเกบ็ ข้อมูลซ้าเพื่อให้ไดข้ ้อมูลทม่ี คี วามแมน่ ยาและนา่ เช่ือถือ เช่น ระดับ
ประถมศกึ ษา อยา่ งนอ้ ยจานวน 5 ซา้ ระดับมธั ยมศกึ ษา อย่างนอ้ ยจานวน 10 ซ้า
2. การกาหนดเรื่องที่จะเรยี นรู้
2.1 เร่อื งที่จะเรยี นรู้ เชน่ การหุบ การบาน การคายนา้ การรว่ ง การโนม้ เข้าหาแสง การลลู่ ม
การเปลยี่ นสฯี ลฯ
2.2 สว่ นประกอบของพชื เช่น ราก ลาตน้ ใบ ดอก ผล เมลด็
2.3 นาสว่ นประกอบของพชื มากาหนดเร่อื งท่จี ะเรียนรู้
วธิ กี ารศกึ ษา ตัวแปรทีศ่ ึกษา ขอบเขตทศี่ ึกษา
(108)
ตวั อย่างเรื่องทจ่ี ะเรียนรู้การตอบสนองต่อปัจจัยภายใน :
การเรียนรกู้ ารคายน้าของใบหม่อนในระยะท่ีมีการเจริญเติบโตเต็มที่ (ระบชุ ่วงอายุ)
วธิ ีการศึกษา : การเรียนรู้
ตวั แปรท่ีศึกษา : การคายน้าของใบหม่อน
ขอบเขตของการศกึ ษา : ในระยะที่มีการเจริญเตบิ โตเต็มท่ี (ระบุชว่ งอายุ) และสถานท่ี
3. เรียนรูด้ ้านพฤตกิ รรม
เป็นการเรียนรเู้ รอ่ื งที่ไดก้ าหนด โดยแสดงวสั ดุ อุปกรณ์ วธิ ีการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ (ออกแบบตาราง
บนั ทึก) และสรุปผลการเรียนรู้
1.3.2 เรยี นรกู้ ารเปล่ียนแปลงด้านพฤตกิ รรม
เป็นการเรยี นรปู้ ัจจัยชีวภาพ (พชื ) ในแตล่ ะชว่ งอายุ อย่างน้อย 4 ชว่ งอายุ ทกุ ส่วนประกอบของพืช
ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล เมลด็ โดยมกี ารเรยี นรพู้ ฤตกิ รรมท่ีมกี ารตอบสนองต่อปัจจัยภายใน และภายนอก ทมี่ ี
ผลต่อการเจรญิ เตบิ โตของพืช การตอบสนองต่อปจั จยั ภายนอก เช่น การหบุ การบาน การคายน้ า การรว่ ง
การโน้มเขา้ หาแสง การลูล่ ม การเปล่ยี นสี การตอบสนองต่อปัจจัยภายใน เช่น ฮอรโ์ มน
1. การกาหนดปจั จยั ในการเรียนรู้
1.1 เลอื กพชื ศึกษาในระยะที่มีการเจริญเติบโตเต็มที่ ครบทุกส่วนประกอบ
วิธกี ารศกึ ษา ตวั แปรทศี่ กึ ษา ขอบเขตการศกึ ษา
1.2 ระบุอายขุ องพืช อย่างนอ้ ย 4 ชว่ งอายุ
1.3 กาหนดจานวนของพืชศกึ ษาให้เพียงพอกับจานวนผู้เรียน โดยพจิ ารณาจากการจดั กลุ่มและการ
วางแผนการทดลอง ซง่ึ รวมถงึ การเก็บขอ้ มูลซ้าเพ่ือให้ได้ข้อมูลท่มี ีความแมน่ ยาและน่าเชื่อถือ เช่น ระดบั
ประถมศกึ ษา อย่างนอ้ ยจานวน 5 ซ้า ระดับมธั ยมศกึ ษา อย่างนอ้ ยจานวน 10 ซา้
2. การกาหนดเร่อื งท่ีจะเรยี นรู้
2.1 เรื่องที่จะเรยี นรู้ เชน่ การหุบ การบาน การคายน้า การรว่ ง การโนม้ เขา้ หาแสง การล่ลู ม
การเปล่ยี นสฯี ลฯ
2.2 สว่ นประกอบของพืช เช่น ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล เมล็ด
2.3 นาสว่ นประกอบของพืชมากาหนดเร่อื งทจ่ี ะเรยี นรู้
วิธีการศึกษา ตัวแปรท่ศี ึกษา ขอบเขตทศี่ ึกษา
ตัวอยา่ งเร่อื งทจ่ี ะเรียนรู้:
การเรยี นรู้การคายน้าของใบหม่อนในแตล่ ะช่วงอายุ(ระบุชว่ งอายุ)
วิธีการศึกษา : การเรียนรู้
ตัวแปรท่ศี ึกษา : การตอบสนองต่อฮอรโ์ มนของรากพริกข้ีหนู
ขอบเขตของการศึกษา : ในแต่ละช่วงอายุ (ระบุชว่ งอาย)ุ และสถานที่
3. เรียนรกู้ ารเปลยี่ นแปลงดา้ นพฤติกรรม
เปน็ การเรยี นร้เู ร่ืองท่ีไดก้ าหนด โดยแสดงวัสดุ อุปกรณ์ วิธีการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ (ออกแบบตาราง
บนั ทึก) และสรปุ ผลการเรยี นรู้
(109)
ลาดับการเรียนรู้ท่ี 2
เปรียบเทยี บการเปลี่ยนแปลงและความแตกต่าง
วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่อื ร้กู ารเปรยี บเทยี บการเปล่ียนแปลงและความแตกตา่ งระหวา่ งพืชกับตน / คน
กระบวนการเรยี นรู้
1. เรียนรวู้ ธิ กี ารเปรยี บเทยี บการเปลย่ี นแปลงและความแตกต่างระหว่างพืชกบั ตน / คน
1.1 วิธกี ารสรุปผลการเรียนรกู้ ารเปล่ยี นแปลงของพืช โดยน าผลการเรยี นรูก้ ารเปลีย่ นแปลง
(รูปลักษณ์ คณุ สมบตั ิ พฤติกรรม) มาสรุปผลในแตล่ ะระยะการเจรญิ เตบิ โต
1.2 วิธีการเรยี นรกู้ ารเปล่ียนแปลงของคนในเรื่องของรูปกายตน / คน สมรรถภาพจติ อารมณ์
พฤติกรรม ของตน / คน
1.2.1 รูปกายตน / คน เป็นการเรยี นรู้รูปกาย เชน่ รปู ร่าง รปู ทรง สี ผวิ ขนาด ลักษณะ เป็น
ตน้ ของผู้เรียน (ตน) 1 ระยะ และผอู้ ่ืน (คน) ในระยะตา่ ง ๆ บนั ทึกผลเพ่ือน าข้อมูลท่ีได้มาเปรียบเทียบกบั
รปู ลักษณ์ของพืช
(110)
1.2.2 สมรรถภาพ เปน็ การเรยี นรสู้ มรรถภาพ เชน่ ความสามารถในการเดิน ความสามารถใน
การวิ่ง ความสามารถทางความคดิ ความจา เปน็ ต้น ของผู้เรียน (ตน) 1 ระยะ และผู้อน่ื (คน) ในระยะต่าง ๆ
บนั ทึกผลเพื่อนาข้อมูลที่ได้มาเปรยี บเทียบกบั คุณสมบตั ิของพชื
สมรรถภาพ คือ น. ความสามารถ (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2542 หน้า 1128)
1.2.3 จติ อารมณ์ และพฤติกรรม เป็นการเรียนรู้ จติ อารมณแ์ ละพฤตกิ รรมของตน เช่น
การดีใจ การเสยี ใจ การไมส่ บายใจ การหงุดหงิด เป็นต้น ของผู้เรยี น (ตน) และผูอ้ ่นื (คน) ในช่วงเวลาหน่งึ
บันทึกผลเพ่ือนาข้อมูลท่ีได้มาเปรียบเทยี บกบั พฤติกรรมของพืช
จิต คอื น. ใจ สิ่งท่มี หี น้าที่รู้ คิดและนึกถึง (พจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน 2542 หนา้ 312)
อารมณ์ คือ น. สง่ิ ทย่ี ดึ หนว่ งจิตโดยผา่ นทางสายตา หจู มูก ลน้ิ กายและใจ (พจนานุกรม ฉบับ
ราชบณั ฑิตยสถาน 2542 หน้า 1367)
พฤติกรรม คือ น. เหตกุ ารณท์ เี่ ปน็ มาหรือท่จี ะเป็นไป ความเป็นไปในเวลากระทาการ (พจนานุกรม
ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน 2542 หน้า 768)
2. เรยี นรกู้ ารเปรยี บเทยี บการเปลย่ี นแปลงและความแตกตา่ งระหว่างพืชกบั ตน / คน
2.1 เรียนรกู้ ารเปรยี บเทยี บข้อมลู ด้านการเปลี่ยนแปลงด้านรปู ลกั ษณ์กับรูปกายตน / คน เป็นการ
นาผลการเรยี นรกู้ ารเปลย่ี นแปลงดา้ นรูปลักษณ์ของพชื ในส่วนประกอบต่างๆ นามาพจิ ารณาเปรยี บเทยี บกับ
ส่วนต่าง ๆ ของรูปกายตน / คน
2.2 เรียนรู้การเปรียบเทียบข้อมูลดา้ นการเปลย่ี นแปลงคุณสมบัตกิ บั สมรรถภาพของตน / คน เปน็
การน าผลการเรยี นร้กู ารเปล่ียนแปลงดา้ นคุณสมบัตขิ องพืชในส่วนประกอบต่าง ๆ น ามาพิจารณา
เปรยี บเทียบกับสมรรถภาพของตน / คน
(111)
2.3 เรยี นรกู้ ารเปรยี บเทียบข้อมลู ด้านการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมกับจติ อารมณ์และพฤติกรรมของ
ตน / คน เปน็ การนาผลการเรียนรูก้ ารเปล่ียนแปลงด้านพฤติกรรมของพืชในสว่ นประกอบตา่ ง ๆ นามา
พจิ ารณาเปรยี บเทยี บกับจิต อารมณ์ พฤติกรรมของตน / คน
ลาดบั การเรยี นร้ทู ี่ 3
สรปุ องค์ความรทู้ ี่ไดจ้ ากการศกึ ษาธรรมชาติแห่งชีวิต
วตั ถุประสงค์
1. เพอ่ื รู้วธิ กี ารสรุปองค์ความรูจ้ ากการศกึ ษาธรรมชาติ
แห่งชวี ิต
กระบวนการเรียนรู้
1. เรยี นรู้วธิ ีการสรปุ องค์ความรูก้ ารศึกษาดา้ นรปู ลกั ษณ์
1.1 สรุปความรู้ ดา้ นรูปลักษณ์ของพืชศกึ ษา
นาความรูท้ ั้งหมดที่ไดจ้ ากผลการศึกษาด้านรปู ลักษณ์ของพืชมาสรุปและบันทกึ ผล
1.2 สรุปความรู้ ดา้ นรปู กายของตน / คน
นาความรทู้ ง้ั หมดทีไ่ ด้จากผลการศึกษาด้านรปู กายของตน / คน มาสรุปและบนั ทกึ ผล
1.3 สรุปองคค์ วามรู้ดา้ นรปู ลกั ษณ์
นาความร้ทู ัง้ หมด ดา้ นรูปลักษณ์ของพืชศึกษา และความรู้ดา้ นรปู กายของตน / คน มาสรปุ
เปน็ องค์ความรดู้ ้านรปู ลักษณ์ เพอื่ ใหเ้ ห็นการเปลย่ี นแปลง มีความแตกต่างสามารถนาไปสรุปใหเ้ กิดเปน็ องค์
ความรู้และสิ่งท่ีผ้เู รียนคน้ พบนาไปสูค่ วามเขา้ ใจในชวี ติ
2. เรียนรูว้ ธิ กี ารสรปุ องคค์ วามรกู้ ารศึกษาดา้ นคุณสมบัติ
2.1 สรุปความรู้ ด้านรูค้ ณุ สมบัติของพืชศกึ ษา
นาความรทู้ ง้ั หมดทไ่ี ดจ้ ากผลการศึกษาด้านคุณสมบัติของพืชมาสรปุ และบันทึกผล
2.2 สรปุ ความรู้ ดา้ นสมรรถภาพของตน/คน
นาความรู้ทั้งหมดทไี่ ดจ้ ากผลการศึกษาด้านสมรรถภาพของตน/คน มาสรุปและบนั ทึกผล
2.3 สรุปองค์ความรู้ด้านคุณสมบตั ิ
นาความรูท้ ้งั หมด ดา้ นคณุ สมบตั ิของพชื ศึกษา และความรู้ดา้ นสมรรถภาพของตน/คน มาสรุป
เป็นองค์ความรดู้ า้ นคุณสมบัติ เพื่อใหเ้ หน็ การเปลี่ยนแปลง มีความแตกต่างสามารถนาไปสรปุ ให้เกดิ เปน็ องค์
ความร้แู ละสงิ่ ท่ีผเู้ รียนคน้ พบนาไปสู่ความเขา้ ใจในชีวติ
3. เรยี นร้วู ธิ ีการสรปุ องค์ความรู้การศกึ ษาดา้ นพฤติกรรม
3.1 สรุปองคค์ วามรู้ ด้านพฤติกรรมของพชื ศกึ ษา
นาความรทู้ ้ังหมดที่ไดจ้ ากผลการศึกษาด้านพฤตกิ รรมของพชื มาสรุปและบันทึกผล
3.2 สรปุ องค์ความรู้ ดา้ นจิต อารมณ์ และพฤติกรรมของตน/คน
นาความร้ทู ั้งหมดท่ไี ด้จากผลการศึกษาด้านจิต อารมณ์ และพฤตกิ รรมของตน/คน มาสรปุ และ
บนั ทกึ ผล
(112)
3.3 สรปุ องคค์ วามรู้ดา้ นพฤติกรรม
นาความรทู้ งั้ หมด ด้านพฤติกรรมของพืชศึกษา และความรู้ดา้ นจิต อารมณ์ และพฤตกิ รรมของ
ตน/คน มาสรุปเปน็ องคค์ วามรู้ด้านพฤติกรรม เพอ่ื ใหเ้ หน็ การเปลี่ยนแปลง มคี วามแตกต่างสามารถนาาไปสรุป
ใหเ้ กดิ เปน็ องค์ความรแู้ ละสิ่งทผ่ี เู้ รยี นคน้ พบนาไปสคู่ วามเข้าใจในชีวิต
ลาดับการเรียนรทู้ ่ี 4
สรุปแนวทางเพ่ือนาไปสู่การประยกุ ตใ์ ช้ในการดาเนนิ ชีวิต
วตั ถุประสงค์
1. เพ่อื รู้วธิ กี ารนาองค์ความรไู้ ปประยกุ ต์ใช้ในการดาเนนิ ชีวติ
กระบวนการเรียนรู้
1. เรียนรูว้ ธิ กี ารน าองค์ความรดู้ ้านรปู ลักษณ์ไปประยุกต์ใชใ้ นการด าเนินชวี ติ
นาองคค์ วามรู้และส่ิงทผ่ี ู้เรียนคน้ พบดา้ นรปู ลักษณ์ไปกาหนดเป็นแนวคิด แนวทาง ใหส้ ามารถดาเนนิ
ชีวิตอย่างเข้าใจ เข้าใจธรรมชาติรอบตน รู้และเข้าใจคนรอบขา้ ง เพื่อนรว่ มงาน มีความเขา้ ใจตน ดารงตนอยา่ ง
มคี วามสขุ
2. เรยี นรวู้ ธิ กี ารนาองค์ความร้ดู า้ นคุณสมบตั ิไปประยุกต์ใชใ้ นการดาเนินชีวติ
นาองคค์ วามรแู้ ละส่ิงทผี่ เู้ รยี นคน้ พบด้านคุณสมบัติไปกาหนดเปน็ แนวคดิ แนวทาง ใหส้ ามารถดาเนนิ
ชวี ิตอยา่ งเขา้ ใจ เข้าใจธรรมชาตริ อบตน รู้และเข้าใจคนรอบข้าง เพ่ือนรว่ มงาน มีความเข้าใจตน ดารงตนอยา่ ง
มคี วามสขุ
3. เรียนรูว้ ธิ กี ารนาองค์ความรูด้ า้ นพฤติกรรมไปประยกุ ต์ใช้ในการดาเนนิ ชวี ิต
นาองค์ความรู้และส่ิงที่ผู้เรยี นค้นพบดา้ นพฤตกิ รรมไปกาหนดเปน็ แนวคดิ แนวทาง ให้สามารถ
ดาเนนิ ชวี ิตอยา่ งเข้าใจ เข้าใจธรรมชาตริ อบตน รแู้ ละเข้าใจคนรอบข้าง เพื่อนร่วมงาน มีความเข้าใจตน ดารง
ตนอยา่ งมีความสขุ
ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ
ดา้ นวิชาการ
1. พฤกษศาสตรเ์ ชน่ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ชอ่ื วงศ์ข้อมลู ลักษณะพรรณไม้
2. ชวี วทิ ยา เชน่ วงจรชีวติ
3. นเิ วศวทิ ยา เชน่ ขอ้ มูลถิ่นอาศยั ดิน นา้ ลม แสงแดด ความสมั พนั ธ์ระหว่างปัจจัย
4 สรีรวิทยา เช่น การเปลีย่ นแปลงรูปลักษณ์การเจริญเติบโต การคายนา้ การสังเคราะห์
ดว้ ยแสง
5. เกษตร เชน่ การปลูก การดแู ลรกั ษา
6. วทิ ยาศาสตร์เชน่ การสังเกต การบันทึก การเปรียบเทียบ
7. ภาษา เชน่ การเขยี นบรรยาย
8. สงั คม เชน่ พฤติกรรมการตอบสนองและแสดงออก
9. ศลิ ปะ เชน่ การวาดภาพ การถ่ายภาพ
(113)
ด้านภมู ปิ ญั ญา
1. การสรา้ งองค์ความรู้ข้นึ ใหม่
2. การจัดการชวี ติ เข้าใจชวี ติ
คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
1. ความรบั ผดิ ชอบงานทีไ่ ด้รับมอบหมาย
2. ความซื่อตรง ในการศึกษาและรายงานผลทีถ่ กู ต้องเปน็ จรงิ
3. ความมรี ะเบียบความรอบคอบ ละเอยี ด ถ่ีถว้ น ในการปฏบิ ตั งิ าน
4.. ความอดทนต่อสภาพแวดลอ้ มในการปฏบิ ตั ิงาน เชน่ อดทนต่อความร้อนของแสงแดด
(114)
สาระการเรียนร้สู รรพสิง่ ลว้ นพนั เกีย่ ว
หลักการ รสู้ ัมพันธ์ รู้ผูกพัน รู้ดลุ ยภาพ
สาระการเรียนรู้
การวิเคราะหอ์ งค์ความร้ธู รรมชาตขิ องปัจจัยหลัก การเรยี นรู้ธรรมชาตขิ องปัจจยั ทเ่ี ขา้ มาเกี่ยวข้อง
การเรียนรูธ้ รรมชาติของความพันเกี่ยวระหว่างปจั จัย การวเิ คราะหส์ มั พนั ธภาพระหวา่ งปัจจยั เพือ่ เข้าใจ
ดุลยภาพและความพนั เก่ียวของสรรพสิ่ง
ลาดับการเรยี นรู้
1. รวบรวมองคค์ วามรู้ท่ีได้จากการเรยี นรูธ้ รรมชาติแห่งชวี ติ
2. เรยี นร้ธู รรมชาตขิ องปัจจัยชวี ภาพอ่ืนทเี่ ขา้ มาเกย่ี วขอ้ งกบั ปัจจยั หลกั
2.1 เรยี นรู้ด้านรูปลกั ษณ์ คุณสมบตั ิ พฤติกรรม
2.2 สรุปผลการเรียนรู้
3. เรียนรู้ธรรมชาติของปจั จัยกายภาพ (ดนิ น้า แสง อากาศ)
3.1 เรยี นรูด้ า้ นรูปลกั ษณ์ คุณสมบัติ
3.2 สรปุ ผลการเรยี นรู้
4 เรียนรธู้ รรมชาตขิ องปัจจัยอ่ืน ๆ (ปจั จัยประกอบ เชน่ วัสดุอุปกรณ์ อาคารสถานท่)ี
5. เรยี นรู้ธรรมชาติของความพันเก่ียวระหว่างปัจจัย
5.1 เรียนรู้ วิเคราะหใ์ หเ้ ห็นความสัมพันธแ์ ละสมั พันธภาพ
5.2 เรยี นรู้ วเิ คราะห์ใหเ้ หน็ ความผูกพัน
6. สรปุ ผลการเรียนรู้ ดลุ ยภาพของความพนั เก่ียว
อธบิ ายลาดบั การเรยี นรู้
ลาดบั การเรียนรทู้ ่ี 1
รวบรวมองคค์ วามรู้ที่ไดจ้ ากการเรยี นรู้ธรรมชาตแิ ห่งชวี ิต
วัตถปุ ระสงค์
1. เพอื่ รอู้ งค์ความรูธ้ รรมชาตแิ ห่งชีวิตของพชื ศึกษา
กระบวนการเรียนรู้
1. เรียนรู้การรวบรวมองคค์ วามรูด้ ้านรปู ลักษณ์ของพืช
นาความรู้และองค์ความรู้จากการศึกษาในแต่ละเรื่องมาสรุปเปน็ องค์ความรู้ดา้ นรปู ลักษณข์ องพชื
2. เรียนรกู้ ารรวบรวมองคค์ วามรู้ดา้ นคุณสมบัติของพืช
นาความรแู้ ละองค์ความรจู้ ากการศึกษาในแตล่ ะเร่ืองมาสรุปเป็นองค์ความรดู้ ้านคุณสมบัติของพชื
3. เรยี นรกู้ ารรวบรวมองคค์ วามรดู้ ้านพฤตกิ รรมของพชื
นาความรู้และองคค์ วามรู้จากการศกึ ษาในแต่ละเร่ืองมาสรุปเป็นองค์ความร้ดู ้านพฤติกรรมของพชื
(115)
ลาดับการเรียนรูท้ ี่ 2
เรยี นรู้ธรรมชาติของปัจจยั ชีวภาพอ่ืนๆ ที่เข้ามาเก่ยี วข้องกับปจั จัยหลกั
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อรูธ้ รรมชาติของปัจจยั ชีวภาพอนื่ ทเี่ ขา้ มาเกย่ี วข้องกับปัจจัยหลกั
(116)
กระบวนการเรียนรู้
1. เรยี นรดู้ า้ นรูปลกั ษณ์ คณุ สมบตั ิ และพฤตกิ รรม
1.1 เรยี นรดู้ ้านรปู ลกั ษณ์
เปน็ การเรยี นร้ดู า้ นรปู ลักษณ์ภายนอก และภายใน ของปัจจยั ชวี ภาพอนื่ ๆ ทุกอวัยวะของชวี ภาพ
เชน่ รปู รา่ ง รปู ทรง สี ผวิ เนือ้ ขนาด จานวน ฯลฯ
1.1.1 การกาหนดปจั จยั ในการเรยี นรู้
1.1.2 เลือกชีวภาพอืน่ ๆ ทุกอวัยวะของชีวภาพ
1.1.3 กาหนดจานวนของชีวภาพอื่น ๆ
1.1.4 การกาหนดเรื่องท่ีจะเรียนรู้
1. เรอ่ื งทจี่ ะเรยี นรู้ เช่น รูปร่าง รูปทรง สี ผวิ เนอื้ ขนาดจานวน ฯลฯ
2. อวยั วะของชีวภาพอืน่ ๆ เชน่ หัว อก ท้อง ฯลฯ
3. นาอวยั วะของชีวภาพอ่นื ๆ มากาหนดเรือ่ งท่จี ะเรยี นรู้
วิธีการศกึ ษา ตัวแปรที่ศึกษา ขอบเขตการศกึ ษา
ตัวอยา่ งเรอื่ งทจี่ ะเรยี นรู้ :
การเรยี นรกู้ ารเรยี นรรู้ ปู ร่างของหัวมดดา ในระยะที่มีการเจริญเติบโตเตม็ วัย (ระบุอายุ)
วิธีการศกึ ษา : การเรยี นรู้
ตวั แปรท่ีศกึ ษา : รูปร่างของหัวมดดา
ขอบเขตของการศึกษา : ในระยะท่ีมีการเจรญิ เติบโตเต็มที่ (ระบอุ ายุ) และสถานที่
1.1.5 เรียนรู้ดา้ นรูปลักษณ์
เป็นการเรียนรูเ้ ร่ืองที่ไดก้ าหนด โดยแสดงวัสดุ อปุ กรณ์ วธิ กี ารเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ออกแบบ
ตารางบันทึก) และสรปุ ผลการเรียนรู้
(117)
1.2 เรียนร้ดู า้ นคุณสมบัติ
เป็นการเรยี นรู้ดา้ นคุณสมบตั ภิ ายนอก และภายใน ของปจั จยั ชีวภาพอน่ื ๆ มีการเรยี นรเู้ รื่องดา้ นเคมี
เช่น รสชาติ กลนิ่ การตดิ สี สารต่าง ๆ ดา้ นฟสิ ิกส์ เชน่ ความแข็ง ความเหนยี ว การลอยน้า การยืดหยุ่น ฯลฯ
1.2.1 การกาหนดปัจจยั ในการเรียนรู้
1. เลอื กชีวภาพอ่ืน ๆ ทุกอวัยวะของชวี ภาพ
2. กาหนดจานวนของชีวภาพอ่ืน ๆ
1.2.2 การกาหนดเร่อื งทจ่ี ะเรียนรู้
1. เรอ่ื งท่จี ะเรยี นรู้ เชน่ ดา้ นเคมี เช่น รสชาติ กลิน่ การตดิ สีสาร ต่าง ๆ ด้านฟิสิกส์ เช่น
ความแขง็ ความเหนยี ว การลอยนา้ การยืดหยุ่น ฯลฯ
2. อวัยวะของชีวภาพอ่ืน ๆ เช่น หวั อก ท้อง ฯลฯ
3. นาอวยั วะของชวี ภาพอื่น ๆ มาก้าหนดเรอ่ื งทจี่ ะเรยี นรู้
วิธีการศึกษา ตวั แปรทีศ่ กึ ษา ขอบเขตการศึกษา
ตวั อยา่ งเรื่องทจี่ ะเรียนรู้ :
การเรยี นรู้การเรยี นรู้กลิน่ ของมดดาในระยะที่มีการเจริญเติบโตเต็มวยั (ระบุอายุ)
วธิ ีการศึกษา : การเรียนรู้
ตัวแปรท่ศี กึ ษา : กลนิ่ ของมดดา
ขอบเขตของการศึกษา : ในระยะทม่ี ีการเจริญเตบิ โตเตม็ ท่ี (ระบุอายุ) และสถานท่ี
1.2.3 เรยี นร้ดู ้านคณุ สมบตั ิ
เป็นการเรยี นรู้เรือ่ งท่ีไดก้ าหนด โดยแสดงวัสดุ อปุ กรณ์ วธิ ีการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้
(ออกแบบตารางบนั ทึก) และสรปุ ผลการเรยี นรู้
1.3 เรียนรดู้ ้านพฤตกิ รรม
เปน็ การเรียนรดู้ า้ นพฤติกรรมของปจั จัยชีวภาพอ่ืน ๆ เช่น การเดิน การกนิ การตอ่ สู้ การขับถ่าย
การขยบั การขยบั หนวด การบิน การกระโดด การพักผอ่ น ฯลฯ
1.3.1 การกาหนดปัจจยั ในการเรยี นรู้
1. เลอื กชีวภาพอน่ื ๆ ทุกอวยั วะของชีวภาพ
2. กาหนดจานวนของชวี ภาพอนื่ ๆ
1.3.2 การกาหนดเรอื่ งท่จี ะเรียนรู้
1. เร่อื งท่จี ะเรยี นรู้ เชน่ การเดิน การกิน การตอ่ สู้ การขบั ถ่าย การขยบั การขยับหนวด
การบิน การกระโดด การพกั ผ่อน ฯลฯ
2. อวยั วะของชวี ภาพอน่ื ๆ เชน่ หัว อก ท้อง ฯลฯ
3. นาอวยั วะของชีวภาพอื่น ๆ มากาหนดเรื่องท่จี ะเรยี นรู้
วธิ ีการศกึ ษา ตัวแปรท่ีศึกษา ขอบเขตการศึกษา