The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานหลักสูตรฐานสมรรถนะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานหลักสูตรฐานสมรรถนะ

รายงานหลักสูตรฐานสมรรถนะ

Keywords: รายงาน

๗. ใช้การวัดผลประเมินผลเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ (Formative Assessment) ที่เน้นการประเมิน
ความสามารถมากกวา่ การวัดความรู้ โดยหลอมรวมตวั ชว้ี ัดที่สอดคลอ้ งกนั กบั สมรรถนะ เพ่อื การวัดผลประเมนิ ผล
เป็นองคร์ วม เพอ่ื ลดภาระการประเมนิ ตวั ชี้วดั เป็นรายยอ่ ยๆ
๘. ไมใ่ ห้มีการทดสอบในลกั ษณะทเี่ ป็นการตดั สนิ ผเู้ รยี นในชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑-๒ เพ่อื ให้ครูสามารถ
พฒั นาเด็กตามความพร้อมของเด็ก
ขอ้ เสนอการจดั โครงสรา้ งเวลาเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูแ้ ละการวดั ผลประเมินผลในระดบั
ประถมศึกษาตอนตน้

การก�ำหนดแนวทางการจัดโครงสร้างเวลาเรียนระดับประถมศึกษาตอนต้นได้ก�ำหนดตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ ลงวันท่ี ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑ และค�ำสั่ง สพฐ. ลงวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๖๑ โดย
สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการเวลาเรียนได้ตามที่สถานศึกษาก�ำหนด โดยก�ำหนดรายวิชาพื้นฐานไม่เกิน
๘๔๐ ชวั่ โมง/ปี และกำ� หนดเวลาเรยี นทง้ั หมด ไมน่ อ้ ยกว่า ๑,๐๐๐ ชัว่ โมง/ปี
จากประกาศกระทรวงศึกษาธิการดังกล่าว สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการหลักสูตร ให้สามารถ
ลด-เพม่ิ เวลาเรยี นในรายวชิ าพื้นฐานใหเ้ หมาะสมกบั ความต้องการของผู้เรียนได้ ดังตัวอย่างต่อไปน้ี

รายวิชาพืน้ ฐาน รวม ราย กิจกรรม รวม
ช้นั รายวิชา วิชา พฒั นา เวลา
เวลาเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานหลัก เวลาเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐาน พ้ืนฐาน เพ่ิม ผเู้ รยี น เรยี น
เตมิ ท้ังหมด
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ภาษา วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ประวัติ ศลิ ปะ สุขศึกษา การงาน
อังกฤษ ศาสตร์ พลศกึ ษา อาชพี

ป.๑ เตรยี มความพร้อม ๕-๖ สปั ดาห์ โดยเน้นการเชอ่ื มต่อกบั หลักสูตรปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ไมเ่ กิน ไม่เกิน
๘๔๐ ๘๐
ไม่น้อยกว่า ไมน่ ้อยกวา่ ๑๒๐- บูรณาการ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชม./ปี ชม./ปี ๑๒๐ ไม่น้อย
๒๐๐ชว่ั โมง/ ๒๐๐ ๒๐๐ ชม./ปี กว่า

ปี ชั่วโมง/ปี ชว่ั โมง/ปี

ป.๒ ไมน่ อ้ ยกว่า ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๒๐- ไม่นอ้ ยกว่า บูรณาการ ๕ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ไมเ่ กนิ ไม่เกิน ๑๒๐ ๑,๐๐๐
๘๔๐ ๘๐ ชม./ปี ชม/ปี
๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๘๐ ชม./ปี ชม./ปี
ช่วั โมง/ปี ช่วั โมง/ปี ช่วั โมง/ปี ชั่วโมง/ปี

ป.๓ ไม่นอ้ ยกวา่ ไม่นอ้ ยกว่า ๑๒๐- ไมน่ อ้ ยกวา่ บรู ณาการ ๕ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ไมเ่ กิน ไม่เกิน ๑๒๐
๘๔๐ ๘๐ ชม./ปี
๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๘๐ ชม./ปี ชม./ปี
ชวั่ โมง/ปี ชว่ั โมง/ปี ช่ัวโมง/ปี ชว่ั โมง/ปี

ขอ้ เสนอการจดั สาระการเรียนรแู้ ละกิจกรรมการเรียนรู้

๑. ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑
๑.๑ จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อม ประมาณ ๕-๖ สัปดาห์ เน้นการเช่ือมต่อกับหลักสูตร
สถานศึกษาปฐมวัย ซึ่งเป็นการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการ ๔ ด้าน และจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการ
ด้านภาษา ด้านทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยผ่านกิจกรรม
การเล่นและการปฏบิ ัตจิ ริง (Active Learning) และนวตั กรรมทางการสอนอน่ื ๆ รวมทั้งการจัดประสบการณ์

42 รายงานเฉพาะเรื่องท่ี ๑๒ หลักสูตรและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ

ด้วยกิจกรรมหลัก ๖ กิจกรรม ตามแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในระดับปฐมวัย สถานศึกษาควรมี
การประชุมวางแผนร่วมกันในการน�ำสมรรถนะที่จ�ำเป็นมาวางแผนจัดกิจกรรมในช่วงเตรียมความพร้อมให้กับ
ผู้เรียนในช่วงเวลาน้ี เพื่อให้การออกแบบการจัดกิจกรรมน้ีเป็นช่วงเวลาท่ีผู้เรียนได้พัฒนาสมรรถนะท่ีจ�ำเป็นต่อ
การเรียนรู้เชื่อมต่อกับหลักสูตรในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ ได้อย่างสอดคล้องกลมกลืนกัน เพื่อส่งเสริม
สมรรถนะทจ่ี ำ� เปน็ และเหมาะสมกบั พฒั นาการใหก้ บั ผเู้ รยี น อาทิ สมรรถนะดา้ นทกั ษะชวี ติ และความเจรญิ แหง่ ตน
สมรรถนะด้านการทำ� งานแบบรวมพลงั เป็นทมี และภาวะผนู้ ำ�
๑.๒ จัดการเรียนการสอนรายวิชาพ้ืนฐาน ๓ รายวิชา โดยให้ความส�ำคัญในการวางพ้ืนฐานเพื่อ
ส่งเสริมสมรรถนะหลักที่สถานศึกษาสามารถจัดเวลาเรียนรายวิชาพื้นฐานท่ียืดหยุ่นมากข้ึน แต่ไม่เกิน ๘๔๐
ชวั่ โมง/ปี ประกอบด้วยรายวชิ าพื้นฐานหลกั ๓ รายวชิ า ดงั น้ี
๑) รายวิชาภาษาไทย เน้นสมรรถนะหลกั ด้านภาษาไทยเพ่อื การส่ือสาร และบรู ณาการสมรรถนะ
หลกั อ่นื ๆ ทส่ี อดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชี้วดั ชั้นปีของกลมุ่ สาระการเรียนรู้
๒) รายวิชาคณิตศาสตร์ เน้นสมรรถนะหลักด้านคณิตศาสตร์ในชีวิตประจ�ำวัน และบูรณาการ
สมรรถนะหลักอ่นื ๆ ที่สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชวี้ ัดช้นั ปีของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
๓) รายวิชาภาษาอังกฤษ เน้นสมรรถนะหลักด้านภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารและบูรณาการ
สมรรถนะหลกั อ่ืน ๆ ทส่ี อดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวช้ีวดั ชนั้ ปีของกลมุ่ สาระการเรียนรู้
๔) รายวชิ าอ่นื ๆ ประกอบดว้ ย วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์
ศิลปะ สุขศึกษาและพลศึกษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ และเน้น
การนำ� สมรรถนะ ๑๐ สมรรถนะมาใชเ้ ป็นฐานในการออกแบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนแบบบรู ณาการ
ทส่ี อดคล้องกับมาตรฐานและตวั ชีว้ ัดของกลุ่มสาระการเรยี นรู้
ท้ังนี้ ในการปรับโครงสร้างเวลาเรียน และสาระการเรียนรู้ตามข้อเสนอข้างต้น สามารถศึกษา
รายละเอียดได้จากภาคผนวก ข เรื่อง โมเดลเสนอแนะการปรับโครงสร้างเวลาเรียน และสาระการเรียนรู้
สำ� หรบั หลักสูตรช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑
๒. ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๒-๓
จัดการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐาน ๔ รายวิชา โดยให้ความส�ำคัญในการวางพื้นฐานเพ่ือส่งเสริม
สมรรถนะหลกั ตอ่ เน่ืองจากชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ซึ่งสถานศึกษาสามารถจัดเวลาเรยี นรายวิชาพนื้ ฐานท่ียดื หยนุ่
มากขนึ้ แตไ่ ม่เกิน ๘๔๐ ชั่วโมง/ปี ประกอบด้วยรายวิชาพน้ื ฐานหลัก ๔ รายวิชา ดงั นี้
๑) รายวิชาภาษาไทย เนน้ สมรรถนะหลกั ดา้ นภาษาไทยเพ่ือการสื่อสาร และบูรณาการสมรรถนะหลัก
อน่ื ๆ ท่ีสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชีว้ ัดชนั้ ปีของกลุ่มสาระการเรยี นรู้
๒) รายวิชาคณิตศาสตร์ เน้นสมรรถนะหลักด้านคณิตศาสตร์ในชีวิตประจ�ำวัน และบูรณาการ
สมรรถนะหลักอ่นื ๆ ท่ีสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้วี ัดชัน้ ปีของกลุ่มสาระการเรียนรู้

รายงานเฉพาะเรือ่ งท่ี ๑๒ หลกั สูตรและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 43

๓) รายวิชาภาษาอังกฤษ เน้นสมรรถนะหลักด้านภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร และบูรณาการ
สมรรถนะหลกั อนื่ ๆ ท่ีสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวชีว้ ดั ชนั้ ปขี องกลุม่ สาระการเรียนรู้
๔) รายวิชาวิทยาศาสตร์ เน้นสมรรถนะหลักด้านการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์
และบูรณาการสมรรถนะหลักอ่ืน ๆ ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดช้ันปีของกลุ่มสาระ
การเรียนรู้
๕) รายวชิ าพื้นฐานอืน่ ๆ ประกอบดว้ ย สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตร์ ศิลปะ
สุขศึกษาและพลศึกษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ และเน้นการน�ำ
สมรรถนะ ๑๐ สมรรถนะมาใช้เป็นฐานในการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีสอดคล้องกับ
มาตรฐานและตัวชว้ี ดั ของกลุ่มสาระการเรยี นรูท้ ก่ี �ำหนดผา่ นการจัดหนว่ ยการเรยี นรูต้ ลอดปีการศึกษา
ท้ังน้ี ปัจจัยส�ำคัญที่ควรมีการด�ำเนินการเก่ียวกับแนวทางการวัดผลประเมินผลผู้เรียนระดับ
ประถมศึกษาตอนตน้ คอื แนวทางการวัดผลประเมินผลทเ่ี น้นสมรรถนะ เพื่อตรวจสอบทบทวนวา่ ผู้เรียนระดบั
ประถมศึกษาตอนต้นได้รับการพัฒนาความรู้ ทักษะ และความสามารถได้ตามเป้าหมายของหลักสูตรหรือไม่
ด้วยข้อเสนอดังต่อไปน้ี

การวัดผลประเมินผลผู้เรียนในระดับสถานศึกษา ซึ่งครูผู้สอนเป็นผู้ด�ำเนินการในชั้นเรียน
ให้เน้น สมรรถนะหลัก ๑๐ สมรรถนะ ท่ีใช้หลักการบูรณาการในลักษณะการหลอมรวม
มาตรฐานและตัวช้ีวัดที่สอดคล้องกับสมรรถนะหลักตามจุดประสงค์การเรียนรู้ท่ีก�ำหนด
และใช้การประเมินตามสภาพจริง อาทิ การสังเกต การสนทนา การสัมภาษณ์ การประเมิน
การปฏิบัติงาน ผลงาน ช้ินงาน ภาระงาน การใช้แฟ้มสะสมงาน ซึ่งครูผู้สอนจะด�ำเนินการวัดผลผู้เรียน
ในช่วงเวลาก่อนเรียน ระหว่างเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียนแต่ละหน่วยการเรียนรู้และน�ำผลไปใช้เพ่ือ
การจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนได้เต็มศักยภาพและเพื่อรายงานผลต่อผู้บริหารสถานศึกษาและ
ผู้ปกครองต่อไป

การ “ปลดล็อก” การวัดผลประเมินผลผู้เรียนในระดับชาติ โดยพิจารณาทบทวนหลักการ

ประเมนิ คุณภาพผูเ้ รยี นในชน้ั ประถมศึกษาตอนตน้ ดังนี้
๑. ปลดล็อกการใช้ขอ้ สอบกลางทีเ่ ป็นการตัดสนิ ผ้เู รียนในระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๑ และ ๒
ให้เป็นเพยี งการคดั กรองผ้เู รยี นดว้ ยวิธกี ารและในเวลาทีเ่ หมาะสม เพือ่ การดูแลช่วยเหลือและพฒั นา
ผู้เรียน ท้ังน้ี เพราะผู้เรียนในระดับช้ันนี้ควรได้รับการวางพ้ืนฐานเบ้ืองต้นเพ่ือพัฒนาความสามารถ
ด้านภาษาไทย คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ซ่ึงเป็นพื้นฐานส�ำคัญในการเรียนรู้และการน�ำไปใช้ใน
ชีวิตประจ�ำวัน เพ่ือให้สถานศึกษามีช่วงเวลาส�ำคัญมากพอที่จะพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ และ
ความสามารถท่เี ปน็ สมรรถนะสำ� คัญ ๆ ต่อการด�ำรงชวี ิตของผู้เรียนไดอ้ ยา่ งเกิดประสทิ ธิผล

44 รายงานเฉพาะเรอ่ื งที่ ๑๒ หลักสูตรและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ

รายละเอียดใน ภาคผนวก ค. แนวคิดเชิงเหตุผลของข้อเสนอ “ปลดล็อก” การวัดประเมินผล
ด้านคุณภาพผเู้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑-๒ โดยใชข้ ้อสอบกลางของสำ� นกั งานคณะกรรมการการศึกษา
ขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

๒. การประเมนิ คุณภาพผเู้ รียนระดับชาติ (National Test : NT) ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๓
เป็นการประเมนิ ด้านความสามารถดา้ นภาษา (Literacy) ความสามารถด้านค�ำนวณ (Numeracy) และ
ความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning Ability) ซึ่งเป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนดังกล่าวมีความ
ที่สอดคล้องกับสมรรถนะหลัก จึงควรด�ำเนินการต่อไป เพราะเป็นข้อมูลส�ำคัญในการตรวจสอบคุณภาพ
ผู้เรียนของสถานศกึ ษาทกุ แหง่ เม่ือเรยี นจบในระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ตามเปา้ หมายทก่ี �ำหนดไว้

รายงานเฉพาะเรื่องท่ี ๑๒ หลกั สูตรและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 45

ขอ้ เสนอ ชุดท่ี ๒

การด�ำเนินการเพ่ือใหพ้ ฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ (Competency- Based Curriculum)
……………………………………………………………………………………………………

แนวคิด หลักการ เหตุผล ปัญหา สถานการณ์ ข้อมูล รวมท้ังผลการวิจัยดังกล่าว น�ำมาสู่ข้อเสนอใน
การปรับเปล่ียนหลักสูตร การเรียนการสอน และการวัดผลประเมินผล ไปสู่ฐานสมรรถนะ ซึ่งจ�ำเป็นต้องมี
การดำ� เนนิ การอยา่ งเปน็ ระบบ โดยมหี ลกั การ กระบวนการ และผู้ดำ� เนนิ การ ดังน้ี

๑. หลกั การเพ่ือการปฏิรูปหลกั สูตร (Curriculum) การเรียนการสอน (Instruction) และ
การวดั ผลประเมินผล (Assessment) : CIA

๑.๑ หลกั การทวั่ ไปในการจดั หลกั สตู ร การเรียนการสอน และการวดั ประเมินผล
ในการพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน และการวัดประเมินผลโดยใช้สมรรถนะเป็นฐานหลักมี
หลักการสำ� คัญที่พงึ พิจารณา ดงั นี้
๑. ให้หลักสูตรมีความยืดหยุ่น เอ้ือให้สถานศึกษาและครูสามารถตอบสนองต่อปัญหาและ
ความตอ้ งการของผเู้ รยี นและบรบิ ทท่มี ีความแตกต่างหลากหลาย
๒. ให้หลักสูตรกำ� หนดสมรรถนะหลักท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับผู้เรียนแต่ละช่วงชั้น รวมท้ังก�ำหนดสาระความรู้
และทักษะที่เป็นเกณฑ์ขั้นต่�ำซ่ึงผู้เรียนทุกคนควรจะได้รับ โดยมีพ้ืนท่ีและเวลาเหลือให้สถานศึกษาสามารถ
น�ำไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนได้ตามความต้องการของผู้เรียนและบริบทท่ีแตกต่างกันและมีสัดส่วนที่เหมาะสม
กับความต้องการของผู้เรียนตามชว่ งวยั
๓. ให้หลักสูตรส่งเสริมผู้เรียนให้ได้เรียนรู้ตามความสนใจ ความถนัด ความสามารถ และได้มีโอกาส
พัฒนาตนเองสูค่ วามเชยี่ วชาญตามความถนดั ของตน
๔. ให้หลกั สตู รจัดใหผ้ เู้ รียนได้พัฒนาตนเองในดา้ นตา่ ง ๆ อยา่ งสมดุล
๕. ให้หลักสตู รเตรยี มผเู้ รียนให้มีความพรอ้ มสำ� หรบั การประกอบอาชพี
๖. ใหห้ ลักสูตรจดั สาระและประสบการณ์เรียนรู้ทมี่ คี วามหมายตอ่ ผู้เรยี น
๗. ให้หลกั สูตรมกี ารจัดรายวชิ าและกิจกรรมทเ่ี ออื้ ตอ่ ผ้เู รียนในชว่ งรอยเช่ือมตอ่ เมื่อจบการศกึ ษาแต่ละ
ระดับและช่วงวัย เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปรับตัว มีความพร้อมในการศึกษาต่อได้ตามความสนใจเฉพาะสาขา
และการประกอบอาชพี ในอนาคต
๘. ใหม้ ีการจัดการเรยี นการสอนเชงิ รุกทสี่ ่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นได้คิด ได้ลงมือทำ� สะทอ้ นคดิ ปรับปรงุ และ
พัฒนาตนเองอยู่เสมอ ได้เรียนรู้จากการลงมือท�ำ การท�ำงานร่วมกับผู้อื่น การคิดสร้างสรรค์ สามารถผลิต
ช้ินงาน สิง่ ประดษิ ฐ์ กระบวนการ วธิ กี ารและนวตั กรรมตามความเหมาะสมกบั วยั และความสามารถ
๙. ให้มีการจัดการเรียนการสอนท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาสมรรถนะหลักในระดับที่เหมาะสมกับช่วงวัย
ให้ผู้เรียนมีโอกาสได้ใช้ความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณลักษณะต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานให้ได้ผลลัพธ์ในระดับที่
ต้องการ

46 รายงานเฉพาะเรือ่ งท่ี ๑๒ หลักสตู รและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ

๑๐. ให้มีการจัดการเรยี นการสอนทตี่ อบสนองความแตกต่างทีห่ ลากหลายของผู้เรียน บริบท ภมู สิ งั คม
และวัฒนธรรม โดยคำ� นึงถึงความเสมอภาคและการใหโ้ อกาสที่เท่าเทยี มกนั
๑๑. มีการสอบในลักษณะของการสอบเพ่ือตัดสินและการแข่งขันให้น้อยท่ีสุด และส่งเสริม
การประเมนิ เพอ่ื การเรียนรู้ (Assessment for Learning) ทีใ่ ช้ผลการประเมนิ เพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ของผู้เรยี น
เป็นส�ำคญั สง่ เสริมให้ผเู้ รียนประเมนิ การเรยี นร้ขู องตน (Assessment as Learning) เพ่อื การพฒั นาปรับปรุง
และวางแผนการเรียนรูข้ องตน
๑๒. การประเมินผลการเรียนรู้ระดับชาติทั้ง NT และ O-NET ให้เป็นการประเมินสมรรถนะ
ความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะต่างๆ ในการปฏิบัติงานและแก้ปัญหาใน
สถานการณต์ า่ ง ๆ ให้ประสบความส�ำเรจ็
๑.๒ หลกั การในการปฏิรปู CIA ในระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ชนั้ ประถมศึกษาปี ที่ ๑-๓)
ในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะในระดับประถมศึกษาตอนต้น มีหลักการส�ำคัญท่ีพึงน�ำมา
พจิ ารณาดำ� เนนิ การ ดังนี้
๑. จัดโครงสร้างเวลาเรียนและสาระการเรียนรู้ให้มีความยืดหยุ่น ให้สถานศึกษาและครูสามารถ
ตอบสนองความตอ้ งการท่แี ตกต่างกนั ของผเู้ รียนและบรบิ ท
๒. จัดสภาพแวดล้อม กิจกรรม ประสบการณ์และแหล่งเรียนรู้ใกล้ตัวที่หลากหลาย ให้เอ้ือต่อ
การปรับตัวของผู้เรียนในช่วงรอยต่อระหว่างการศึกษาปฐมวัยกับการศึกษาระดับประถมศึกษา โดยจัดให้มี
ช่วงเวลาในการเตรียมความพร้อมในช่วงเปิดภาคเรียนท่ี ๑ (ประมาณ ๔-๖ สัปดาห์) เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้รับ
การพัฒนาอยา่ งราบรื่นต่อเน่ือง
๓. ให้ความสำ� คัญกับการวางพน้ื ฐานทางดา้ นภาษา คณติ ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
๔. ให้มุ่งพฒั นาสมรรถนะหลกั ท่สี �ำคัญอย่างสอดคลอ้ งต่อเน่ืองกันกับสมรรถนะของเดก็ ปฐมวัย
๕. ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนเชิงรุกที่เน้นการปฏิบัติจริง (Active Learning) ในชีวิตประจ�ำวัน
และการจัดการเรยี นการสอนท่ตี อบสนองความแตกต่างของผู้เรยี น (Differentiate Instruction)
๖. ให้ความส�ำคญั กับการพัฒนาลกั ษณะนิสัยอนั ดงี าม การเป็นคนดี มวี ินยั และมีความรบั ผิดชอบ
๗. ใช้การวัดผลประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Formative Assessment) ที่เน้นการประเมิน
สมรรถนะและความสามารถอยา่ งเปน็ องคร์ วม
๘. ไม่ควรให้มีการทดสอบในลักษณะที่เป็นการตัดสินผู้เรียนในช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑-๒ ซ่ึงส่ง
ผลกระทบทางลบต่อครูและเด็ก แต่สามารถคัดกรองเด็กด้วยวิธีการและในเวลาท่ีเหมาะสม เพื่อให้
ความช่วยเหลือเดก็ ตามความตอ้ งการจำ� เปน็
๑.๓ หลกั การในการปฏิรปู CIA ในระดบั ประถมศึกษาตอนปลาย (ชน้ั ประถมศึกษาปี ท่ี ๔-๖)
หลกั การในการปฏิรูป CIA ในระดบั ประถมศกึ ษาตอนปลายเป็นการกำ� หนดหลกั สตู รเชอ่ื มต่อกบั ระดับ
ประถมศึกษาตอนต้นท่ีเป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีเติมความเข้มข้นในรายวิชาพ้ืนฐานและรายวิชาเพิ่มเติมมากข้ึน
และเพือ่ เป็นการสร้างรอยเชอ่ื มตอ่ ทกี่ ลมกลืนในการเรียนต่อระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ดังนี้

รายงานเฉพาะเร่อื งท่ี ๑๒ หลักสูตรและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ 47

๑. เพม่ิ ความเขม้ ข้นในรายวชิ าพน้ื ฐานและลดความซ้ำ� ซ้อนของเน้ือหาสาระ
๒. พัฒนาสมรรถนะหลักให้หลากหลายเพ่ิมขึ้นจากระดับประถมศึกษาตอนต้นในลักษณะองค์รวมที่
เน้นส่งเสริมการบูรณาการสมรรถนะหลัก ๑๐ สมรรถนะ ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการพัฒนาศักยภาพที่สอดคล้อง
กับความสามารถและความสนใจ
๓. จดั สภาพแวดล้อม กิจกรรม ประสบการณ์และแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลายมากขนึ้
๔. ให้ความส�ำคัญกับการวางพื้นฐานท่ีเข้มข้นข้ึนทางด้านภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และ
วทิ ยาศาสตร์
๕. มงุ่ พัฒนาสมรรถนะหลกั ทสี่ �ำคญั อย่างสอดคลอ้ งตอ่ เนอ่ื งกันกับสมรรถนะระดับประถมศึกษาตอนต้น
๖. จัดการเรียนการสอนให้มุ่งพัฒนาสมรรถนะหลักอย่างเป็นองค์รวมโดยเน้นการจัดการเรียนการ
สอนเชงิ รกุ ท่เี นน้ การปฏบิ ัติจรงิ (Active Learning) และการจัดการเรยี นการสอนตอบสนองความแตกต่างของ
ผเู้ รยี น (Differentiate Instruction)
๗. ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาลักษณะนิสัยอันดีงาม การเป็นคนดี มีวินัย มีความรับผิดชอบ
มีจิตสาธารณะและมคี วามใสใ่ จตอ่ วถิ ชี ีวติ ชมุ ชน และภมู ิสงั คมทต่ี นอาศยั อยู่
๘. ใช้การวัดผลประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Formative Assessment) ที่เน้นการประเมิน
สมรรถนะความสามารถเป็นองค์รวม
๙. สง่ เสรมิ การแสวงหาความรูด้ ้วยตนเองในสิง่ ท่สี นใจโดยใช้สื่อ สารสนเทศ และดจิ ทิ ัลเพ่ือการเรียนรู้
อยา่ งเทา่ ทัน
๑๐. จัดกิจกรรมส่งเสริมความถนัดและความสนใจ เพื่อการวางพ้ืนฐานเรียนต่อตามความถนัดและ
การประกอบอาชพี ทใ่ี ฝ่ฝนั ในอนาคต
๑.๔ หลกั การในการปฏิรปู CIA ในระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ชน้ั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๑-๓)

หลักการในการปฏิรูป CIA ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นการก�ำหนดหลักสูตรเชื่อมต่อกับระดับ
ประถมศึกษาตอนปลายท่ีเป็นการจัดการเรียนรู้ที่ใช้เวลาตามโครงสร้างเวลาเรียนท่ีเข้มข้นในรายวิชาพื้นฐาน
และรายวิชาเพิ่มเติมมากขึ้น และเพื่อการวางพื้นฐานในการเรียนต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ
การเรียนต่อสายอาชีวศึกษา หรอื การประกอบอาชีพ หลักการในการปฏิรูป CIA มีดังนี้
๑. เพ่ิมความเข้มข้นในรายวิชาพ้ืนฐานและรายวิชาเพิ่มเติม ที่เป็นทางเลือกให้กับผู้เรียนได้อย่าง
หลากหลายตามความถนดั และความสนใจมากขนึ้ ลดความซ�ำ้ ซอ้ นของเนื้อหาสาระ
๒. พัฒนาสมรรถนะหลักให้หลากหลายเพ่ิมข้ึนจากระดับประถมศึกษาตอนต้นในลักษณะองค์รวม
เน้นการบูรณาการสมรรถนะหลัก ๑๐ สมรรถนะ เน้นการปฏิบัติจริงและส่งเสริมความสามารถและศักยภาพ
ผเู้ รยี นท่ีสอดคล้องกบั ความถนัดและความสนใจ
๓. จัดหลักสูตรที่ตอบสนองต่อความสามารถพิเศษและความสนใจของผู้เรียนที่มีความแตกต่างกัน
ให้มากข้ึน โดยค�ำนึงถึงการจัดรายวิชาพ้ืนฐานและรายวิชาเพิ่มเติมท่ีสอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจ
ทางอาชพี และการเรยี นตอ่ ไวใ้ นแผนการเรียนเฉพาะทเ่ี ปน็ ทางเลือกตามความต้องการของผเู้ รียน
๔. จัดสภาพแวดล้อม กิจกรรม และประสบการณ์ท่ีเน้นการพัฒนาสมรรถนะหลัก โดยการปฏิบัติจริง
จากสถานประกอบการใกลเ้ คียงและภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น และพฒั นาแหลง่ เรียนรทู้ ีห่ ลากหลายมากขึ้น

48 รายงานเฉพาะเรือ่ งที่ ๑๒ หลักสูตรและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ

๕. ใหค้ วามสำ� คญั กับการวางพนื้ ฐานท่เี ข้มข้นข้นึ ทางดา้ นวิชาการและวชิ าชพี โดยมงุ่ พัฒนา สมรรถนะ
หลกั ท่สี ำ� คญั เปน็ การเฉพาะ
๖. จัดการเรยี นการสอนเชงิ รกุ ที่เนน้ การปฏบิ ตั จิ รงิ (Active Learning)
๗. ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาลักษณะนิสัยอันดีงาม การเป็นคนดี มีวินัย มีความรับผิดชอบ
มีจิตสาธารณะและมีความใส่ใจต่อวิถีชีวิตชุมชนและภูมิสังคมที่ตนอาศัยอยู่เป็นสมาชิกที่ดีของสังคมไทยและ
สังคมโลก
๘. ใช้การวัดผลประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Formative Assessment) ท่ีเน้นการประเมิน
สมรรถนะความสามารถอย่างเป็นองค์รวม เน้นการคิดสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ๆ และท่ีเป็นประโยชน์ต่อชุมชน
สงั คมไทยและสงั คมโลก
๙. ส่งเสริมการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองในสิ่งที่สนใจโดยใช้ส่ือ สารสนเทศ และดิจิทัล เพ่ือ
การเรยี นรู้อยา่ งเท่าทนั สามารถน�ำมาใชใ้ นเรียนรู้และการด�ำรงชวี ิตประจำ� วนั
๑๐. จัดกิจกรรมส่งเสริมความถนัดและความสนใจ เพื่อการเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
การอาชวี ศกึ ษา หรือการประกอบอาชพี ทใ่ี ฝฝ่ นั ในอนาคต
๑.๕ หลกั การในการปฏิรปู CIA ในระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๔-๖)

หลกั การในการปฏริ ปู CIA ในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เปน็ การกำ� หนดหลกั สตู รเชอ่ื มตอ่ กบั ระดบั
มัธยมศึกษาตอนต้นท่ีเป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีใช้เวลาตามโครงสร้างเวลาเรียนที่เข้มข้นในรายวิชาพ้ืนฐานและ
รายวชิ าเพมิ่ เตมิ มากขนึ้ และเพอ่ื การวางพน้ื ฐานในการเรยี นตอ่ ในระดบั ทสี่ งู ขนึ้ หลกั การในการปฏริ ปู CIA มดี งั นี้
๑. เพ่ิมความเข้มข้นในรายวิชาพ้ืนฐานและรายวิชาเพ่ิมเติม ท่ีเป็นการสร้างทางเลือกให้กับผู้เรียนได้
อยา่ งหลากหลายตามความถนดั และความสนใจมากข้ึน ลดความซ้�ำซ้อนของเนือ้ หาสาระ
๒. พัฒนาสมรรถนะหลักให้เข้มข้นข้ึน เพิ่มความซับซ้อนในการประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และ
คณุ ลักษณะ
๓. จัดหลักสูตรที่ตอบสนองต่อความสามารถพิเศษและความสนใจของผู้เรียนที่มีความแตกต่างกันให้
มากขึ้น โดยค�ำนึงถึงการจัดรายวิชาพ้ืนฐานและรายวิชาเพ่ิมเติมท่ีสอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจทาง
อาชพี และการเรียนตอ่ ไว้ในแผนการเรียนเฉพาะที่เป็นทางเลอื กตามความตอ้ งการของผู้เรียน
๔. จัดสภาพแวดล้อม กิจกรรม และประสบการณ์ที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะหลัก โดยการปฏิบัติจริง
จากสถานประกอบการใกล้เคยี งและภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน และพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ทีห่ ลากหลายมากขน้ึ
๕. ให้ความส�ำคัญกับการวางพื้นฐานที่เข้มข้นขึ้นทางด้านวิชาการและวิชาชีพ โดยมุ่งพัฒนาสมรรถนะ
หลกั ท่สี �ำคญั เป็นการเฉพาะ
๖. จัดการเรยี นการสอนเชิงรกุ ท่ีเนน้ การปฏิบตั ิจรงิ (Active Learning)
๗. ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาลักษณะนิสัยอันดีงาม การเป็นคนดี มีวินัย มีความรับผิดชอบ
มีจติ สาธารณะและมคี วามใสใ่ จตอ่ วิถชี ีวติ ชุมชนและภูมสิ ังคมทต่ี นอาศยั อยเู่ ปน็ สมาชกิ ทีด่ ขี องสังคมโลก
๘. ใช้การวัดผลประเมินผลเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ (Formative Assessment) ท่ีเน้นการประเมิน
สมรรถนะความสามารถอย่างเป็นองค์รวม ที่เน้นการคิดสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ๆ และนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อ
ชมุ ชนและสงั คม

รายงานเฉพาะเรอื่ งท่ี ๑๒ หลกั สูตรและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 49

๙. ส่งเสริมการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองในส่ิงที่สนใจโดยใช้สื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล
เพอื่ การเรยี นรู้อย่างเท่าทันสามารถน�ำมาใช้ในการเรยี นรู้และการดำ� รงชีวติ ประจ�ำวัน
๑๐. จัดกิจกรรมส่งเสริมความถนัดและความสนใจ โดยเฉพาะกิจกรรมแนะแนวและกิจกรรมชุมนุมที่
ส่งเสริมความสนใจเฉพาะให้ผู้เรียนได้เลือกเรียนตามความสนใจเฉพาะอย่างแท้จริง เพ่ือการเรียนต่อในระดับ
อุดมศกึ ษา หรือการประกอบอาชพี ท่ีใฝ่ฝนั ในอนาคต
๑๑. จัดกิจกรรมการแนะแนวเพื่อการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ โดยการเปิดโอกาสให้ผู้เรียน
ได้วางแผนเลือกตัดสินใจตั้งแต่เร่ิมการเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ เพื่อให้มีช่วงเวลาการฝึกทักษะและ
ความชำ� นาญ พฒั นาสมรรถนะหลักทีจ่ �ำเปน็ ตอ่ การน�ำไปใชใ้ นชวี ิตประจำ� วัน
๑๒. แสวงหาความร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาและสถานประกอบการที่ผู้เรียนสนใจในการประกอบ
อาชีพในอนาคต เพ่ือการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกสมรรถนะท่ีจ�ำเป็นและส�ำคัญต่อการเรียนต่อและการ
ประกอบอาชีพ ซ่ึงเปน็ การเรยี นรทู้ ผ่ี ู้เรียนสามารถน�ำไปใชไ้ ดใ้ นชีวิตจรงิ
ทัง้ นี้การน�ำหลกั สูตรฐานสมรรถนะมาใชใ้ นระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานโดยเริม่ ทดลองใชน้ �ำรอ่ งในระดบั
ประถมศกึ ษาตอนต้นกอ่ น จะทำ� ให้สถาบนั หลักสูตรและการเรียนรซู้ งึ่ มหี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบการจัดท�ำหลักสตู รฐาน
สมรรถนะ มีช่วงเวลาในการยกร่างหลักสูตรฐานสมรรถนะในระดับชั้นอื่นๆ และเตรียมการด้านเอกสาร/คู่มือ
ประกอบหลกั สตู ร คมู่ ือการจัดเรยี นการสอน และเอกสารการวดั ผลประเมนิ ผลทเ่ี น้นสมรรถนะในระดบั ประถม
ศึกษาตอนปลาย ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลายได้อย่างมีคุณภาพ นอกจากน้ัน
ข้อมูลสารสนเทศและข้อค้นพบส�ำคัญจากผลการน�ำมาใช้ทดลองน�ำร่องในระดับประถมศึกษาตอนต้นจะเป็น
ประโยชนต์ อ่ การจดั ทำ� หลักสูตรฐานสมรรถนะในระดบั ชั้นอืน่ ๆ ตอ่ ไป

๒. กระบวนการพฒั นาหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานฐานสมรรถนะ

ภารกิจส�ำคัญในการด�ำเนินการปฏิรูปหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนสู่ฐานสมรรถนะ
(Competency-Based Curriculum and Instruction) ประกอบดว้ ย
ขนั้ ท่ี ๑ มีการจัดต้ังองคก์ รและคณะกรรมการเพอ่ื ดำ� เนนิ งานอย่างเปน็ ระบบ
ขั้นท่ี ๒ สรา้ งความเข้าใจ เตรียมความพรอ้ มและศึกษานำ� ร่อง
ขั้นที่ ๓ การด�ำเนินการพัฒนาหลักสตู รฐานสมรรถนะ
ขน้ั ที่ ๔ การนำ� รอ่ งและการใช้หลักสตู รฐานสมรรถนะ
ข้นั ท่ี ๕ การพัฒนาศักยภาพครูในการน�ำหลกั สตู รฐานสมรรถนะไปใช้ในการพัฒนาผ้เู รยี น
ขนั้ ที่ ๖ การรวบรวม การผลติ และการส่งเสรมิ การผลิต เอกสาร ส่ือ และทรัพยากรการเรียนรู้
รายละเอียดของแต่ละขั้น ประกอบด้วยภารกิจส�ำคัญ หลักการ/เหตุผล/อ้างอิง ของภารกิจดังกล่าว
และผู้รับผิดชอบทจี่ ะเปน็ ผูด้ �ำเนนิ การตามภารกจิ ดังกล่าว มีรายละเอยี ด ดงั นี้

50 รายงานเฉพาะเรื่องท่ี ๑๒ หลกั สตู รและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ

ขั้นท่ี ๑ การจัดตง้ั องคก์ รและคณะกรรมการเพ่ือดำ� เนนิ งานอย่างเป็นระบบ

ภารกิจสำ�คญั หลักการ/เหตผุ ล/อา้ งอิง ผูด้ ำ�เนนิ การ

๑.๑ จดั ต้งั สถาบันหลกั สูตรและ มีองค์กรหลักในการพัฒนาหลักสูตร วิธี l คณะรฐั มนตรี
การเรยี นรู้แหง่ ชาติ (ปี ๒๕๖๒) การจัดการเรียนรู้ การวัดประเมินผล เพื่อ
วางกรอบทิศทาง ส่งเสริมสนับสนุนการน�ำ
หลักสูตรไปใช้ในทุกระดับการศึกษาให้มี
ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล

๑.๒ จัดตัง้ คณะกรรมการพัฒนา การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะท่ีมี l สถาบันหลักสูตรและ
หลกั สตู รฐานสมรรถนะ ประสิทธิภาพ ควรมีการศึกษาข้อมูลรอบ การเรียนรู้
(ปี ๒๕๖๒-๒๕๖๔) ด้านเพื่อเป็นฐานของการพัฒนา และควรมี
ศึกษาข้อมลู พนื้ ฐาน ผลจากการวจิ ัย การด�ำเนินงานขับเคล่ือน หนุนเสริม ก�ำกับ
น�ำรอ่ งและงานวจิ ัยอืน่ ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ติดตาม โดยองค์คณะบุคคลท่ีมีความรู้
เพอ่ื การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ ความสามารถและมีประสบการณ์ใน
ท่ีสอดคล้องกับเปา้ หมายการปฏิรูป การปฏิบัติงานด้านการจัดการศึกษาจาก
การศึกษาตามท่ีพระราชบัญญัติ ผู้แทนทุกหน่วยงานการศึกษาทั้งในส่วนกลาง
การศกึ ษากำ� หนด และส่วนภมู ิภาค

ข้นั ที่ ๒ การสรา้ งความเขา้ ใจ เตรียมความพรอ้ มและศกึ ษานำ� ร่อง

ภารกจิ สำ�คัญ หลกั การ/เหตุผล/อา้ งอิง ผู้ดำ�เนินการ

๒.๑ ประชาสัมพนั ธส์ รา้ งความเข้าใจ สมรรถนะเป็นมโนทัศน์ใหม่ ที่คนในสังคมยัง l สถาบันหลักสูตรฯ และ
ให้ผู้วางนโยบาย ผูบ้ ริหาร ครู บคุ ลากร เข้าใจไม่ตรงกัน จึงจ�ำเป็นต้องมีการสื่อสารให้ ภาคเี ครอื ข่ายร่วมกบั องคก์ ร
ทางการศึกษา ผปู้ กครอง ผู้เก่ียวข้อง เข้าใจตรงกันก่อนเพ่ือการยอมรับ และเตรียม สอ่ื มวลชน
และประชาชนทั่วไปให้คนุ้ เคยกบั ความพรอ้ มสูก่ ารปฏิบตั ิ
แนวคิดสำ� คัญ อาทิ สมรรถนะหลักสตู ร
สมรรถนะ การเรียนการสอนเน้น
สมรรถนะ

๒.๒ ประชาสมั พันธ์เชงิ ลกึ ใหก้ บั นักการศึกษา สถาบันผลิตครู หน่วยงาน l สถาบนั หลักสูตรฯ และ
นักการศึกษา สถาบันผลิตครู ตน้ สงั กดั สถาบนั การศกึ ษารวมทงั้ องคก์ รพฒั นา ภาคีเครือข่ายร่วมกับ
หนว่ ยงานตน้ สงั กัดสถาบันการศกึ ษา วิชาชีพครูมีบทบาทส�ำคัญในการเตรียมการ หนว่ ยงานตน้ สงั กดั
ในระดับตา่ ง ๆ องค์กรพัฒนาวิชาชพี ครู การขับเคล่ือนการน�ำหลักสูตรฐานสมรรถนะ
เพอ่ื แลกเปลี่ยนเรียนรู้รว่ มกนั เก่ยี วกับ ไปใช้ในสถานศึกษาจึงควรมีการแลกเปล่ียน
การจดั การเรยี นการสอนโดยเนน้ เรียนรู้ร่วมกันเพื่อสร้างความเข้าใจเชิงลึกและ
สมรรถนะและการวัดและประเมนิ ผล ประสานความร่วมมอื กันทุกฝา่ ย
โดยเนน้ สมรรถนะ

รายงานเฉพาะเรื่องที่ ๑๒ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 51

ภารกิจสำ�คญั หลกั การ/เหตผุ ล/อา้ งองิ ผ้ดู ำ�เนินการ
๒.๓ สรา้ งภาคเี ครอื ขา่ ย
ในการจดั การเรยี นการสอนโดยเนน้ การจัดการศึกษาจะประสบความส�ำเร็จ l สมัชชา/สภาการศึกษา
สมรรถนะและการวัดผลประเมินผล ได้อย่างแท้จริงทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต้องมี ระดบั จังหวดั
โดยเน้นสมรรถนะ ความรู้สึกเป็นเจ้าของซ่ึงน�ำไปสู่การให้ความ
ร่วมมือ การรว่ มคดิ ร่วมท�ำ รว่ มรบั ผดิ ชอบ
๒.๔ สง่ เสรมิ ใหโ้ รงเรียนจัดกจิ กรรม
การเรียนการสอนเนน้ สมรรถนะ ส่งเสริมให้โรงเรียนจัดการเรียนการสอนเน้น l สถาบันหลักสตู รและ
โดยใหค้ วามรู้ ความเขา้ ใจ และ สมรรถนะ จะช่วยเตรียมความพร้อมให้แก่ครู การเรียนรู้
แนวทางการจดั การเรยี นการสอน และผู้บริหารสถานศึกษาในการรองรับ l กระทรวงศึกษาธิการ
รวมท้ังการนิเทศให้ความชว่ ยเหลอื หลักสูตรฐานสมรรถนะ เมื่อหลักสูตรเสร็จ และหนว่ ยงานตน้ สงั กัด
อยา่ งเพยี งพอแกค่ รแู ละผู้บรหิ าร และประกาศใช้ l สถานศกึ ษา
สถานศึกษา

ขน้ั ท่ี ๓ การด�ำเนนิ การพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ

ภารกจิ สำ� คญั หลักการ/เหตผุ ล/อา้ งองิ ผู้ดำ� เนนิ การ

๓. การด�ำเนนิ การพัฒนาหลกั สูตร l เนอื่ งจากประเทศไทยยงั มปี ระสบการณน์ อ้ ย l สถาบนั หลกั สตู รและ
ฐานสมรรถนะระดบั ชาติ (ฉบับร่าง) ในการจดั หลกั สตู รฐานสมรรถนะ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ ง การเรียนรู้
๓.๑ ศกึ ษาข้อมูลพ้นื ฐาน ผลจาก เรยี นรจู้ ากผเู้ ชย่ี วชาญตา่ งประเทศและรวมพลงั l คณะกรรมการพัฒนา
การวิจัยน�ำร่องและงานวจิ ยั อน่ื ๆ ท่ี ผเู้ ชย่ี วชาญไทยทม่ี ปี ระสบการณใ์ นเรอ่ื งนี้ (เชน่ หลกั สตู ร
เกย่ี วข้อง รวมถึงศกึ ษาข้อมูลจาก จากผู้ท�ำหลักสูตรอาชีวศึกษาและโรงเรียนที่มี
ผ้เู ชีย่ วชาญด้านการพัฒนาหลักสูตร ประสบการณใ์ นการใชแ้ นวคดิ น)ี้ รวมทง้ั ขอ้ มลู
ท้ังไทยและต่างประเทศ จากโครงการวิจัยและพัฒนาสมรรถนะหลักผู้
เรยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ สามารถนำ� มา
ใชป้ ระโยชนไ์ ด้

๓.๒ ก�ำหนดกรอบสมรรถนะหลกั ของ เน่ืองจากหลักสูตรฐานสมรรถนะจ�ำเป็นต้องมี l สถาบันหลกั สูตรและ
ผู้เรยี นระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน กรอบสมรรถนะเป็นฐาน การก�ำหนดกรอบ การเรยี นรู้
โดยพิจารณาทบทวนกรอบสมรรถนะ สมรรถนะจึงเป็นงานส�ำคัญ ซึ่งโครงการวิจัย l คณะกรรมการพฒั นา
ที่โครงการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะฯ และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียนได้ศึกษา หลักสตู รร่วมกับ
ได้เสนอไว้ นำ� ไปดำ� เนนิ การประชาพิจารณ์ น�ำร่องให้แล้วโดยกรอบสมรรถนะได้ผ่าน ผ้ทู รงคณุ วฒุ แิ ละ
รวมท้ังตรวจสอบตามหลกั การวจิ ัย การตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างแล้ว ผู้เชี่ยวชาญ ครู อาจารย์
ให้เกดิ ความมั่นใจ จึงอาจน�ำไปพิจารณาใช้และด�ำเนินการให้เกิด ผ้บู ริหารสถานศึกษา
ความเช่ือมั่นเพ่ิมข้ึน จะช่วยลดเวลาใน
การพฒั นาหลักสตู รไดร้ ะดับหนงึ่

52 รายงานเฉพาะเรื่องท่ี ๑๒ หลกั สูตรและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ

ภารกิจส�ำคญั หลกั การ/เหตผุ ล/อา้ งองิ ผูด้ ำ� เนินการ

๓.๓ จดั ท�ำสมรรถนะหลกั และ เปน็ งานทจ่ี ำ� เป็นสำ� หรับหลักสตู รฐานสมรรถนะ l สถาบันหลักสตู รและ
สมรรถนะย่อย ในทกุ สมรรถนะให้ การเรียนรู้
ครบทกุ ช่วงชน้ั ซ่ึงในแต่ละช่วงชัน้ l คณะกรรมการพฒั นา
อาจมีการเน้นสมรรถนะบางสมรรถนะ หลักสูตรและผู้เชี่ยวชาญ
แตกตา่ งกนั ตามความเหมาะสมกบั ชว่ งวยั แต่ละสมรรถนะ

๓.๔ จดั ทำ� รายละเอียดของหลกั สตู ร การจัดท�ำหลกั สตู รให้สมบรู ณ์จะตอ้ งมี l สถาบันหลักสตู รและ
ฐานสมรรถนะใหค้ รบทกุ องค์ประกอบครบถ้วน การเรียนรู้และผมู้ ีส่วนร่วม
องค์ประกอบทสี่ �ำคัญคือ ทกุ ฝา่ ย
๑) จัดท�ำหลกั สูตรฐานสมรรถนะ
(Competency-Based Curriculum)
๒) ก�ำหนดสาระการเรียนรูข้ ัน้ ต�ำ่ ท่ี
จำ� เป็นต่อการเรยี นรู้ ทั้งดา้ นความรู้
ทักษะ เจตคติ และคณุ ลกั ษณะ โดยมี
พ้นื ทใี่ หส้ ถานศกึ ษาสามารถพัฒนา
ผเู้ รียนได้ตามความตอ้ งการท่ีแตกตา่ ง
กันของผู้เรียนและบรบิ ท ในสัดส่วน
ท่เี หมาะสมกับแต่ละชว่ งชัน้
๓) จัดระดับสาระการเรยี นรใู้ น
ลกั ษณะของการไตร่ ะดบั เพือ่
การเรยี นรตู้ ามความสามารถ
๔) จดั ทำ� จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
เชิงสมรรถนะ (Learning
Competencies)

๓.๕ เสนอแนะแนวการสอนและ แนวทางการสอนเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นมากส�ำหรับ l สถาบันหลกั สูตรและ
วิธีการสอนท่เี นน้ การพัฒนา ครู หากไม่มีแนวทางทีช่ ดั เจนพอและครู การเรยี นรู้
สมรรถนะ รวมทั้งการซอ่ มเสริม ไมเ่ ขา้ ใจ การสอนจะไม่ประสบความส�ำเร็จ
สมรรถนะ จึงจ�ำเป็นต้องมแี นวทางหลากหลาย
ใหค้ รเู ลือกตามความเหมาะสม

๓.๖ เสนอแนะวิธีการวดั ผลประเมิน ครูส่วนใหญ่จะวิตกกังวลในเร่ืองน้ี เพราะต้อง l สถาบนั หลกั สตู รและ
ผลฐานสมรรถนะ รวมทงั้ เครอื่ งมอื รายงานผลต่อผู้บริหารสถานศึกษา นักเรียน การเรียนรรู้ ่วมกบั
คมู่ ือการประเมิน เชน่ และผ้ปู กครองซึง่ มผี ลกระทบต่อตน จึงจ�ำเปน็ ผเู้ ชีย่ วชาญและ
๑) การวัดและประเมนิ ผลตาม ต้องสร้างความเข้าใจให้แกค่ รู นกั วิชาการด้านการวัดผล
สภาพจรงิ การวัดและการประเมนิ ประเมนิ ผล
พฤตกิ รรมการปฏิบตั ิ
(Performance Assessment)

รายงานเฉพาะเรือ่ งที่ ๑๒ หลกั สูตรและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 53

ภารกิจส�ำคัญ หลักการ/เหตผุ ล/อ้างอิง ผู้ด�ำเนนิ การ

๒) การวดั และประเมนิ ผลโดยใช้
แฟ้มสะสมงานแสดงใหเ้ ห็นถงึ
ผลสมั ฤทธิ์ ความพยายามและ
ความกา้ วหน้า (effort and achieve)
ในการท�ำงาน

๓) ด�ำเนนิ การประสานงานกบั
สทศ. สมศ. และ สกอ. เพือ่ ให้การ
ส่งต่อผเู้ รยี นและการประเมิน
มีความสอดคล้องกัน

๓.๗ เสนอแนะแนวทางการบรหิ าร ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นตัวแปรส�ำคัญท่ีมี l สถาบนั หลกั สตู รและ
จัดการหลกั สูตรฐานสมรรถนะ อทิ ธพิ ลสงู ตอ่ การทำ� งานของครู ผบู้ รหิ าร การเรียนรู้
จำ� เปน็ ตอ้ งมคี วามเขา้ ใจทงั้ ทางดา้ นวชิ าการและ
การบรหิ ารจดั การทส่ี ง่ เสรมิ การทำ� งานของครู

๓.๘ ผลิตคมู่ อื เอกสาร และสอ่ื คู่มือ เอกสารและสื่อประกอบ เปน็ ประโยชนต์ ่อ l สถาบนั หลกั สตู รและ
ประกอบหลกั สูตรฐานสมรรถนะ ครูมาก ช่วยให้ครูมีความเข้าใจและมีแนวทาง การเรียนรู้ร่วมกับ
การน�ำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมี ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เช่ียวชาญ
ประสทิ ธภิ าพตามหลักการ และนกั วิชาการ

๓.๙ ตรวจสอบและประเมินหลกั สูตร เพื่อความรอบคอบและม่ันใจก่อนน�ำหลักสูตร l สถาบนั หลกั สูตรและ
ก่อนน�ำไปใช้ สมรรถนะไปใช้ การเรยี นรู้

ขน้ั ท่ี ๔ การน�ำร่องและการใช้หลักสตู รฐานสมรรถนะ

ภารกจิ สำ� คญั หลกั การ/เหตผุ ล/อา้ งอิง ผู้ด�ำเนนิ การ

๔.๑ นำ� ร่องการใชห้ ลกั สตู ร l การน�ำหลักสูตรฐานสมรรถนะท่ีพัฒนาข้ึน l กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ฐานสมรรถนะในโรงเรียนตน้ แบบ ไปทดลองใช้ในสถานศึกษาท่ีมีบริบทแตกต่างกัน และหนว่ ยงานตน้ สงั กัด
ในบรบิ ททแี่ ตกต่างกัน เปน็ เวลา ๑ ปี จะท�ำให้ได้ข้อมูลส�ำคัญท่ีสะท้อนให้เห็น l สถานศกึ ษาน�ำร่อง
และนำ� ผลมาปรบั ปรุงก่อนการประกาศ กระบวนการน�ำหลักสูตรไปใช้ในสถานศึกษา
ใช้หลักสตู รฐานสมรรถนะ ซ่ึงข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลเบ้ืองต้นที่เกิดจาก
สภาพการด�ำเนินการจริงจึงเป็นข้อมูลส�ำคัญใน
การน�ำมาปรับปรุงร่างหลักสูตรฐานสมรรถนะ
ให้สมบรู ณย์ งิ่ ขนึ้
l นอกจากน้ีการด�ำเนินการใช้หลักสูตรฐาน
สมรรถนะของโรงเรียนต้นแบบต่างๆ จะท�ำให้
ได้เห็นตัวอย่างการใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ
ที่เป็นรูปธรรม ซ่ึงจะช่วยสร้างความมั่นใจให้
ผู้ปกครองและสถานศึกษาอื่นๆ ในการน�ำ

54 รายงานเฉพาะเรอื่ งท่ี ๑๒ หลักสูตรและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ

ภารกิจสำ� คญั หลกั การ/เหตผุ ล/อา้ งอิง ผดู้ ำ� เนนิ การ

๔.๒ ประกาศใชห้ ลกั สตู ร หลักสูตรฐานสมรรถนะไปใช้รวมถึงมีโรงเรียน
ฐานสมรรถนะ ต้นแบบที่จะช่วยขยายเครือข่าย พร้อมมีส่ือ
๔.๓ ใช้หลกั สตู รฐานสมรรถนะ ตน้ แบบใหก้ บั สถานศึกษาอนื่ ๆ
- ประชาสัมพันธ์
- ให้ความรแู้ ละพัฒนาครู เพือ่ ให้สถานศึกษาและครทู วั่ ประเทศ l กระทรวงศึกษาธกิ าร
- เตรยี มความพร้อมให้โรงเรียน นำ� หลกั สตู รไปใชอ้ ยา่ งม่ันใจ
- จดั ตั้งภาคีเครือข่าย
๔.๔ กำ� กับ ติดตาม การใชห้ ลักสูตร ผลการวิจัยการน�ำหลักสูตรไปใช้ พบว่า มี l กระทรวงศึกษาธิการ
ปัญหาด้านการสร้างความเข้าใจที่ชัดเจนให้กับ และหน่วยงานตน้ สงั กัด
สถานศึกษาและครู จึงใช้หลักสูตรไม่ตรงกับ
เป้าหมายและวัตถุประสงค์ ในการน�ำหลักสูตร
ฐานสมรรถนะไปใช้จึงต้องมีการประชาสัมพันธ์
และสรา้ งความเขา้ ใจอย่างเข้มข้น

เพื่อให้การใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะเกิด l กระทรวงศึกษาธิการ
ประสทิ ธภิ าพ จำ� เปน็ ตอ้ งมีการก�ำกับ ติดตาม และหนว่ ยงานต้นสงั กดั
การใช้หลักสตู ร โดย หนว่ ยงานตน้ สังกัด และ l สถานศึกษาน�ำร่อง
ศึกษานิเทศก์ต้องให้การช่วยเหลือ ติดตาม
สนับสนุน และส่งเสริมสถานศึกษาและครู
ในการใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะให้ตรงตาม
เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของหลักสูตรฐาน
สมรรถนะ จึงจะส่งผลให้เกิดประสิทธิผลใน
การใชห้ ลักสูตรฐานสมรรถนะ

ขั้นท่ี ๕ การพัฒนาศักยภาพครูในการน�ำหลักสูตรฐานสมรรถนะไปใชใ้ นการพัฒนาผู้เรียน

ภารกจิ ส�ำคัญ หลักการ/เหตผุ ล/อา้ งองิ ผู้ด�ำเนนิ การ
๕.๑ พัฒนาครู โดยสรา้ งความรู้
ความเข้าใจในการออกแบบหนว่ ย จากการศึกษาวิจัย พบว่า ครูมีปัญหาด้าน l สถาบนั หลักสูตรและ
การเรียนรูแ้ ละการวดั ผลประเมนิ ผล การออกแบบการเรียนการสอนและการวัดผล การเรยี นรู้
เพอื่ ให้เกิดสมรรถนะ ประเมินผลมาก จึงจ�ำเป็นต้องมีการพัฒนาใน l กระทรวงศึกษาธิการ
เร่ืองดังกล่าว เพื่อเพิ่มคุณภาพในการจัดการ l สพฐ./หน่วยงาน
เรียนรู้ ต้นสงั กัด

๕.๒ จัดท�ำคมู่ ือครู เอกสารความรู้ เป็นส่ิงจ�ำเป็นที่ครูใช้ในการปฏิบัติงาน จาก l สถาบันหลักสตู รและ
และส่ือส�ำหรบั ครู การวิจัยครใู ห้ขอ้ มลู ว่า สิ่งท่ีชว่ ยครูไดม้ ากทสี่ ุด การเรยี นรู้
คือ คูม่ ือครู l กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

รายงานเฉพาะเรือ่ งที่ ๑๒ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 55

ภารกิจสำ� คัญ หลกั การ/เหตุผล/อา้ งอิง ผู้ดำ� เนินการ

๕.๓ สรา้ งระบบหนนุ เสริมและ l เพอ่ื ขบั เคลื่อนการท�ำงานและพัฒนาวิชาชพี l กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ติดตาม ครทู ยี่ ่งั ยนื l สพฐ./เขตพน้ื ที่
๕.๓.๑ สร้างระบบเครือขา่ ย l กระตุ้นให้เกิดการต่ืนตัวในการการน�ำ l ท้องถิน่ /เอกชน
การเรียนรู้รว่ มกันของครู ในระหวา่ ง สมรรถนะไปสู่การพัฒนาผู้เรียนในสถานศึกษา
กลุม่ โรงเรยี น/เขตพน้ื ท/ี่ หนว่ ยงาน และพัฒนาวิชาชีพอยู่เสมอรวมท้ังท�ำให้ครู
ทีส่ งั กัด ได้เรียนรูจ้ ากกนั และกัน
๕.๓.๒ หนว่ ยงานตน้ สงั กัดของ
สถานศึกษาเข้าเย่ียมโรงเรยี น การติดตามให้ความช่วยเหลือครู ช่วยให้ครู l กระทรวงศึกษาธิการ
ให้ค�ำแนะนำ� ช่วยเหลือ สนับสนุน สามารถปฏิบัติงานก้าวหน้าไปได้อย่างต่อเนื่อง l สพฐ./เขตพนื้ ท่ี
ทง้ั ด้านองคค์ วามร้แู ละทรัพยากรต่างๆ รวมทั้งเป็นขวัญกำ� ลังใจให้แก่ครู l ทอ้ งถ่ิน/เอกชน

รวมทง้ั นเิ ทศ กำ� กับ ติดตาม ในการน�ำ
สมรรถนะไปสูก่ ารพัฒนาผูเ้ รียนใน
สถานศกึ ษา โดยโรงเรยี นตน้ แบบ และ
ศกึ ษานิเทศกจ์ ากต้นสงั กดั ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นตัวชี้วัดความส�ำเร็จ l ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา
๕.๓.๓ ผบู้ รหิ ารสรา้ งระบบ ที่ส�ำคัญในการจัดการศึกษาของโรงเรียน
การทำ� งานทีเ่ อ้อื ใหค้ รูเกดิ การ ผบู้ ริหารท่ีเอาใจใสช่ ่วยเหลอื ครู เป็นพลงั หนุน
แลกเปล่ียนเรียนรรู้ ว่ มกัน โดยมีการ เสริมใหค้ รูปฏิบัติงานได้ดีและมีประสทิ ธิภาพ
วางแผนเร่ืองเวลา ภาระงาน
หนุนเสริม ใหก้ �ำลังใจ ให้คำ� แนะนำ� กระบวนการ PLC ท่ีมีคุณภาพเป็นเคร่ืองมือ l ครแู กนน�ำ
และสนับสนนุ ทรพั ยากร ส�ำคัญที่ช่วยให้ครูมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
๕.๓.๔ ครูใชก้ จิ กรรม PLC ส่งผลต่อการพฒั นาผ้เู รยี น
เพอ่ื ใหเ้ กดิ การแลกเปลยี่ นเรียนรรู้ ว่ มกัน

ขนั้ ท่ี ๖ การรวบรวม การผลิตและสง่ เสรมิ การผลติ เอกสาร ส่ือ และทรพั ยากรการเรยี นรู้

ภารกจิ สำ� คญั หลักการ/เหตผุ ล/อ้างองิ ผู้ดำ� เนนิ การ
๖.๑ ผลิตและสง่ เสรมิ การผลติ
เอกสารทางวชิ าการ หนังสือเรียน สอื่ สงิ่ พมิ พ์สอื่ ดจิ ทิ ลั ทงั้ หลายเปน็ สอื่ ทม่ี อี ทิ ธพิ ล l สถาบันหลักสตู รและ
หนงั สอื อ่านประกอบ แบบฝกึ หัด สูงต่อการเรียนรู้ จ�ำเป็นต้องมีการส่งเสริม การเรยี นรู้แห่งชาติ
คมู่ ือ วดี ิทศั น์ คลปิ รายการ เกม ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร ดู แ ล เ ร่ื อ ง คุ ณ ภ า พ l กระทรวงศึกษาธิการ
การศึกษา รายการวทิ ย/ุ โทรทศั น์ เพ่ือประโยชน์ในการเรียนรู้ของครูและ
ทม่ี คี ณุ ภาพและมปี ระโยชนส์ �ำหรบั นักเรยี น
นักเรียนและครู

56 รายงานเฉพาะเร่ืองท่ี ๑๒ หลักสตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ

ภารกจิ ส�ำคัญ หลักการ/เหตุผล/อ้างอิง ผูด้ �ำเนินการ
๖.๒ ปรับปรุงการตรวจพจิ ารณา
หนังสือเรยี นใหเ้ ข้มขน้ โดยให้ เพื่อให้ได้หนังสือเรียนท่ีมีคุณภาพอย่างแท้จริง l กระทรวงศกึ ษาธิการ
ความส�ำคญั ในการปรบั ปรุงเน้ือหา เนอ่ื งจากการนำ� สมรรถนะหลกั มาใชเ้ ปน็ ฐานใน
ที่สอดคลอ้ งกับการพัฒนาสมรรถนะ การเรยี นรู้ จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารปรบั เนอ้ื หาสง่ เสรมิ
ผู้เรยี น การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียน
ทเี่ ออื้ ตอ่ การนำ� ไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ ตามบรบิ ทและ
วฒั นธรรมในทอ้ งถน่ิ ทผี่ เู้ รยี นอาศยั อยู่

๖.๓ ปรบั ระเบียบขอ้ กำ� หนดของ เนอื่ งจากผเู้ รยี นและโรงเรยี นมบี รบิ ททแี่ ตกตา่ งกนั l กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการใหม้ คี วาม หลากหลาย หนงั สอื เรยี นควรสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ l สถานศกึ ษา
ยืดหยนุ่ ทีส่ ถานศึกษา ครู ร่วมกับ ทเ่ี หมาะสมกบั บรบิ ทของตน
คณะกรรมการสถานศกึ ษา สามารถ
พิจารณาเลือกหนังสอื เรียนและส่อื
ทเี่ หมาะสมกบั ผู้เรียนและบริบท
โรงเรยี นได้เอง

๖.๔ พัฒนาครู และส่งเสริมใหค้ รใู ช้ จากผลการวิจัยพบว่าครูยังใช้สื่อเทคโนโลยีน้อย l หน่วยงานพฒั นาครู
เทคโนโลยีในการเรยี นการสอน เนื่องจากขาดทักษะการใช้งาน ประกอบกับ และบุคลากร
การมีภาระงานมาก จึงควรมีการพัฒนาครู l สถานศึกษา
ทางด้านน้ีอย่างจรงิ จงั

๖.๕ รวบรวมและเผยแพรท่ รพั ยากร ประเทศไทยมีของดีมากมายกระจายอยู่ทั่วไป l สถาบันหลกั สูตรและ
การเรยี นรแู้ บบปฏิบตั ิทเ่ี ป็นเลิศ ซ่ึงควรได้รับการน�ำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ใน การเรียนรู้
(Best Practices) ผลงานวจิ ยั ความรู้ วงกว้างการส�ำรวจรวบรวมผลงาน จัดกลุ่ม l กระทรวงศกึ ษาธิการ
ทกุ กลุม่ สาระการเรียนรู้ ความรูส้ ำ� หรบั จัดประเภท และวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน l เขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา
ครู สอื่ สิ่งพมิ พ์ สอ่ื ดิจิทลั สงิ่ ประดิษฐ์ ของผลงานตามหลักวิชา คัดเลือกและ l สถานศกึ ษา
และนวตั กรรมต่างๆ ท่เี ปน็ ประโยชน์ เผยแพร่แก่สถานศึกษาและครูให้เป็นทางเลือก
ต่อนักเรยี น ครู และบุคลากรทาง ในการเรียนการสอน จะเป็นประโยชน์อย่างยง่ิ
การศึกษา แกน่ กั เรยี น

๖.๖ สง่ เสริมการจัดต้ังและการ หากประเทศไทยมี National Digital l สถาบันหลักสตู รและ
ดำ� เนินการของ National Digital Learning Platform ท่ีเอื้อประโยชน์ให้ การเรยี นรู้
Learning Platform ทัง้ ทางดา้ น การเรียนรู้เป็นไปอย่าง Active ต่อเนื่อง l กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
แหลง่ ทรัพยากรการเรียนรู้ และการ จะพลิกโฉมประเทศและคนไทยให้เป็นสังคม l หนว่ ยงานทีร่ ับผดิ ชอบ
แลกเปล่ียนเรยี นรู้ การมีสว่ นรว่ มของ แห่งการเรียนรู้ และบุคคลแห่งการเรียนรู้ ดา้ นสื่อและเทคโนโลยี
ครู ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา และนักเรียน ทพี่ งึ ปรารถนาย่ิง

รายงานเฉพาะเรื่องท่ี ๑๒ หลักสตู รและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ 57

58 รายงานเฉพาะเรอ่ื งท่ี ๑๒ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ ๓. กิจกรรมและ TIMELINE การขบั เคล่ือนการปรบั และพฒั นาหลกั สตู รส่ฐู านสมรรถนะ

การขับเคล่อื นการปรับและพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕ ปี ๒๕๖๖ -
๒๕๗๒
๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔

ขน้ั ท่ี ๑ การจดั ตงั้ องคก์ รและคณะกรรมการเพอ่ื ดำ� เนนิ งานอยา่ งเปน็ ระบบ
๑.๑ จดั ตั้งสถาบนั หลักสูตรและการเรยี นรู้
ผู้ด�ำเนินการ คณะรัฐมนตรี
๑.๒ จดั ต้งั คณะกรรมการพัฒนาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ
ศึกษาขอ้ มูลพ้ืนฐาน ผลจากการวิจยั นำ� รอ่ งและงานวจิ ยั อืน่ ๆ ท่ี
เกย่ี วข้อง เพื่อการพฒั นาหลักสตู รฐานสมรรถนะท่ีสอดคล้องกับเปา้ หมาย
การปฏิรปู การศึกษาตามทพ่ี ระราชบญั ญัติการศึกษากำ� หนด
ผูด้ �ำเนินการ สถาบันหลักสูตรและการเรียนรู้
ข้ันที่ ๒ การปรบั หลกั สตู รระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น
๒.๑ พิจารณาข้อเสนอจากการวิจัย (ขอ้ เสนอชุดท่ี ๑)
หลกั การท่ัวไป และหลักการ เฉพาะระดับการศึกษาในการปฏริ ปู
หลักสูตร การเรียนการสอน และการวดั ผลประเมนิ ผล
ผู้ด�ำเนินการ สถาบันหลกั สตู รและการเรียนรู้
๒.๒ พจิ ารณาทบทวนการทดสอบตามนโยบายโดยใช้ข้อสอบกลาง
ในการประเมินความสามารถผู้เรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑-๒
เพ่อื การตรวจสอบผเู้ รยี นทผ่ี ่านเกณฑ์กำ� หนดตามนโยบาย โดยควร
ปรับเป็นการทดสอบเพ่อื การสำ� รวจและนำ� ผลมาพัฒนาผเู้ รียนแทน
ผู้ด�ำเนินการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร / สถาบันทดสอบแห่งชาติ
ส�ำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ. / เขตพื้นท่ีการศึกษาและหนว่ ยงานตน้
สังกดั

การขบั เคล่อื นการปรบั และพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕ ปี ๒๕๖๖ -
๒๕๗๒
๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔

รายงานเฉพาะเรื่องท่ี ๑๒ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 59 ๒.๓ ประชาสมั พันธ์สรา้ งความเข้าใจหลักสูตรฉบบั ปรับปรุง (ป.๑-๓)
ผูด้ ำ� เนนิ การ สถาบนั พัฒนาหลกั สตู รและการเรียนรูแ้ หง่ ชาติ
หน่วยงานทรี่ บั ผดิ ชอบของคณะกรรมการพฒั นาหลกั สูตร
๒.๔ ประกาศใชห้ ลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑
ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖….(ระดบั ประถม ศกึ ษาตอนตน้ )
ผูด้ ำ� เนินการ กระทรวงศกึ ษาธิการ
ข้ันท่ี ๓ การสรา้ งความเขา้ ใจ เตรยี มความพร้อมและศึกษาน�ำร่อง
๓.๑ ประชาสัมพนั ธ์สร้างความเข้าใจ ให้ผูว้ างนโยบาย ผ้บู ริหาร ครู
บคุ ลากรทางการศกึ ษา ผปู้ กครอง ผเู้ ก่ียวข้องและประชาชนทั่วไป
ใหค้ ุน้ เคยกับแนวคดิ ส�ำคญั อาทิ สมรรถนะ หลกั สูตรสมรรถนะ
การเรียนการสอนเน้นสมรรถนะ
ผ้ดู �ำเนินการ สถาบันหลกั สูตรฯ และภาคีเครือข่ายรว่ มกับ
องค์กรสอ่ื ฯ
๓.๒ ประชาสัมพันธเ์ ชิงลกึ ใหก้ บั นกั การศึกษา สถาบนั ผลิตครู หนว่ ย
งานตน้ สงั กดั สถาบันการศึกษาในระดบั ต่างๆ องคก์ รพฒั นาวชิ าชีพครู
เพื่อแลกเปล่ยี นเรียนรู้รว่ มกันเกย่ี วกับการจัดการเรียนการสอนโดยเนน้
สมรรถนะและการวดั และประเมนิ ผลโดยเนน้ สมรรถนะ
ผดู้ �ำเนนิ การ สถาบันหลกั สตู รฯ และภาคีเครือข่ายร่วมกับหน่วยงาน
ตน้ สงั กัด

60 รายงานเฉพาะเรอ่ื งท่ี ๑๒ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ การขับเคลื่อนการปรบั และพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕ ปี ๒๕๖๖ -
๒๕๗๒
๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔

๓.๓ สรา้ งภาคเี ครอื ขา่ ย ในการจัดการเรยี นการสอนโดยเนน้ สมรรถนะ
และการวดั ผลประเมนิ ผลโดยเนน้ สมรรถนะ
ผดู้ �ำเนนิ การ สมชั ชา/สภาการศึกษาระดับจังหวัด
๓.๔ สง่ เสรมิ ให้โรงเรียนจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนเนน้ สมรรถนะ
โดยให้ความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางการจดั การเรียนการสอน รวมทัง้
การนิเทศให้ความชว่ ยเหลอื อยา่ งเพยี งพอแก่ครูและผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
ผดู้ �ำเนนิ การ สถาบนั หลกั สตู รและการเรยี นรูก้ ระทรวงศึกษาธิการ
หน่วยงานตน้ สงั กัด และสถานศกึ ษา
ข้ันที่ ๔ การดำ� เนินการพฒั นาหลกั สูตรฐานสมรรถนะ (ฉบบั ร่าง)
๔.๑ ศึกษาข้อมูลพ้ืนฐาน ผลจากการวจิ ัยนำ� ร่องและงานวจิ ยั อื่นๆ
ทเ่ี กย่ี วข้อง รวมถึงศกึ ษาขอ้ มลู จากผเู้ ช่ยี วชาญดา้ นการพัฒนาหลักสูตร
ทั้งไทยและตา่ งประเทศ
ผู้ดำ� เนินการสถาบนั หลกั สตู รและการเรียนรู้ และคณะกรรมการ
พัฒนาหลกั สตู รและการเรียนรู้แหง่ ชาติ
๔.๒ ก�ำหนดกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
โดยพิจารณาทบทวนกรอบสมรรถนะท่โี ครงการวจิ ัยและพัฒนากรอบ
สมรรถนะฯ ได้เสนอไว้ นำ� ไปด�ำเนนิ การประชาพิจารณ์ รวมทั้งตรวจสอบ
ตามหลักการวิจยั ใหเ้ กดิ ความมั่นใจ
ผดู้ ำ� เนนิ การ สถาบนั หลกั สูตรและการเรียนรู้ คณะกรรมการพฒั นา
หลักสูตรร่วมกบั ผูท้ รงคณุ วุฒิและผ้เู ชยี่ วชาญ ครู อาจารย์ ผูบ้ ริหาร
สถานศึกษา

การขับเคลอ่ื นการปรับและพัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะ ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕ ปี ๒๕๖๖ -
๒๕๗๒
๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔

รายงานเฉพาะเรื่องท่ี ๑๒ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 61 ๔.๓ จัดท�ำสมรรถนะหลกั และสมรรถนะย่อยในทุกสมรรถนะใหค้ รบ
ทกุ ช่วงชั้น ซึ่งในแต่ละชว่ งช้นั อาจมกี ารเน้นสมรรถนะบางสมรรถนะ
แตกต่างกันตามความเหมาะสมกับช่วงวัย
ผ้ดู �ำเนินการ สถาบันหลกั สูตรและการเรยี นรู้ และคณะกรรมการ
พัฒนาหลักสูตร และผู้เชย่ี วชาญแตล่ ะสมรรถนะ
๔.๔ จดั ท�ำรายละเอียดของหลักสตู รฐานสมรรถนะให้ครบทกุ องค์
ประกอบ ทสี่ �ำคญั คอื
๑) จัดท�ำหลักสตู รฐานสมรรถนะ (Competency-Based Curriculum)
๒) กำ� หนดสาระการเรยี นรขู้ ้นั ต�ำ่ ท่จี �ำเป็นตอ่ การเรียนรู้ ทงั้ ดา้ นความรู้
ทกั ษะ เจตคติ และคณุ ลกั ษณะ โดยมีพ้ืนที่ให้สถานศึกษาสามารถพัฒนาผู้
เรยี นได้ตามความต้องการท่แี ตกต่างกันของผ้เู รียนและบริบท ในสดั ส่วนท่ี
เหมาะสมกับแต่ละช่วงช้ัน
๓) จัดระดบั สาระการเรียนรใู้ นลกั ษณะของการไตร่ ะดบั เพ่ือการเรยี นรู้
ตามความสามารถ
๔) จดั ทำ� จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรเู้ ชงิ สมรรถนะ (Learning Competencies)
ผดู้ ำ� เนนิ การ สถาบันหลักสตู รและการเรียนรู้และผ้มู ีสว่ นร่วม
๔.๕ เสนอแนะแนวการสอนและวิธกี ารสอนทเี่ นน้ การพฒั นาสมรรถนะ
รวมท้งั การซ่อมเสริมสมรรถนะ
ผ้ดู ำ� เนนิ การ สถาบันหลกั สตู รและการเรียนรู้

62 รายงานเฉพาะเรอ่ื งท่ี ๑๒ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ การขบั เคลอื่ นการปรับและพัฒนาหลักสตู รฐานสมรรถนะ ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕ ปี ๒๕๖๖ -
๒๕๗๒
๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔

๔.๖ เสนอแนะวิธีการวัดผลประเมินผลฐานสมรรถนะ รวมทงั้ เครอ่ื งมอื /
คูม่ ือการประเมิน เช่น
๑) การวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจริง การวดั และการประเมิน
พฤตกิ รรมการปฏบิ ัติ (Performance Assessment)
๒) การวัดและประเมินผลโดยใช้แฟม้ สะสมงานแสดงใหเ้ หน็ ถงึ
ผลสัมฤทธ์ิ ความพยายามและความก้าวหนา้ (effort and achieve)
ในการท�ำงาน
๓) ด�ำเนินการประสานงานกับ สทศ. สมศ. และ สกอ. เพือ่ ใหก้ าร
ส่งตอ่ ผเู้ รียนและการประเมนิ มคี วามสอดคล้องกนั
ผู้ดำ� เนินการ สถาบนั หลกั สตู รและการเรยี นรู้รว่ มกับผู้เชีย่ วชาญและ
นักวชิ าการด้านการวัดผลประเมินผล
๔.๗ เสนอแนะแนวทางการบรหิ ารจดั การหลกั สตู รฐานสมรรถนะ
ผดู้ ำ� เนินการ สถาบนั หลกั สตู รและการเรยี นรู้
๔.๘ ผลิตคมู่ อื เอกสาร และส่อื ประกอบหลกั สูตรฐานสมรรถนะ
ผูด้ �ำเนินการ สถาบนั หลกั สูตรและการเรียนรูร้ ่วมกับผทู้ รงคณุ วุฒิ
ผเู้ ช่ยี วชาญและนักวชิ าการ
๔.๙ ตรวจสอบและประเมนิ หลกั สตู รก่อนน�ำไปใช้
ผดู้ �ำเนินการ สถาบนั หลักสูตรและการเรียนรู้

การขับเคลอื่ นการปรับและพัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะ ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕ ปี ๒๕๖๖ -
๒๕๗๒
๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔

รายงานเฉพาะเรื่องท่ี ๑๒ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 63 ขัน้ ที่ ๕ การนำ� รอ่ งและการใชห้ ลักสตู รฐานสมรรถนะ
๕.๑ น�ำร่องการใชห้ ลักสตู รฐานสมรรถนะในโรงเรยี นตน้ แบบในบรบิ ท
ท่ีแตกต่างกัน เป็นเวลา ๑ ปี และน�ำผลมาปรบั ปรงุ กอ่ นการประกาศใช้
หลักสตู รฐานสมรรถนะ
ผดู้ ำ� เนินการ กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานต้นสังกัด และ
สถานศึกษาน�ำร่อง
๕.๒ ประกาศใชห้ ลักสตู รฐานสมรรถนะ
ผดู้ ำ� เนินการ กระทรวงศกึ ษาธิการ
๕.๓ ใชห้ ลักสูตรฐานสมรรถนะประชาสมั พนั ธใ์ หค้ วามรู้และพฒั นาครู
เตรยี มความพร้อมใหโ้ รงเรยี น จัดต้งั ภาคีเครือข่าย
ผู้ดำ� เนนิ การ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและหน่วยงานต้นสังกดั
๕.๔ ก�ำกบั ติดตาม การใชห้ ลกั สตู ร
ผดู้ �ำเนนิ การ กระทรวงศึกษาธกิ ารและหนว่ ยงานต้นสังกัด และ
สถานศกึ ษาน�ำรอ่ ง
ข้ันท่ี ๖ การพฒั นาศักยภาพครูในการนำ� หลักสูตรฐานสมรรถนะไปใช้ใน
การพัฒนาผ้เู รียน
๖.๑ พฒั นาครู โดยสรา้ งความรู้ ความเข้าใจในการออกแบบ
หน่วยการเรยี นรู้และการวัดผลประเมินผล เพือ่ ให้เกดิ สมรรถนะ
ผู้ด�ำเนินการ สถาบนั หลกั สตู รและการเรยี นรู้ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
และสพฐ./หนว่ ยงานตน้ สงั กดั

64 รายงานเฉพาะเรอ่ื งท่ี ๑๒ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ การขบั เคล่อื นการปรับและพฒั นาหลกั สูตรฐานสมรรถนะ ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕ ปี ๒๕๖๖ -
๒๕๗๒
๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔

๖.๒ จัดท�ำคูม่ อื ครู เอกสารความรู้ และสอ่ื ส�ำหรบั ครู
ผู้ดำ� เนินการสถาบนั หลักสูตรและการเรียนรู้ และกระทรวง
ศึกษาธกิ าร
๖.๓ สรา้ งระบบหนนุ เสรมิ และตดิ ตาม
ผดู้ ำ� เนนิ การ กระทรวงศึกษาธิการ สพฐ. /เขตพ้นื ที่ และทอ้ งถนิ่ /
เอกชน
๑) สร้างระบบเครอื ข่ายการเรยี นรรู้ ่วมกนั ของครใู นระหวา่ งกล่มุ
โรงเรยี น/เขตพืน้ ท/ี่ หนว่ ยงานทส่ี งั กดั
ผดู้ �ำเนินการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สพฐ./เขตพนื้ ที่ และท้องถ่ิน/
เอกชน
๒) หน่วยงานต้นสังกดั ของสถานศึกษาเข้าเย่ียมโรงเรยี น ใหค้ �ำแนะนำ�
ชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ ท้งั ด้านองคค์ วามร้แู ละทรัพยากรตา่ งๆ รวมทง้ั นิเทศ
กำ� กับ ตดิ ตาม ในการนำ� สมรรถนะไปสู่การพฒั นาผเู้ รียนในสถานศกึ ษา
โดยโรงเรียนตน้ แบบ และศึกษานิเทศก์จากต้นสังกดั
ผ้ดู ำ� เนินการ กระทรวงศึกษาธิการ สพฐ./เขตพน้ื ที่ และท้องถนิ่ /
เอกชน
๓) ผู้บรหิ ารสรา้ งระบบการท�ำงานท่ีเออ้ื ใหค้ รเู กดิ การแลกเปลี่ยน
เรียนรรู้ ว่ มกัน โดยมกี ารวางแผนเร่ืองการเวลา ภาระงาน หนุนเสริม
ใหก้ ำ� ลงั ใจ ใหค้ �ำแนะน�ำ และสนบั สนนุ ทรพั ยากร
ผดู้ ำ� เนนิ การ ผู้บริหารสถานศึกษา

การขับเคลื่อนการปรับและพฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะ ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕ ปี ๒๕๖๖ -
๒๕๗๒
๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔

รายงานเฉพาะเรื่องท่ี ๑๒ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 65 ๔) ครใู ช้กิจกรรมชมุ ชนแหง่ การเรียนร้เู ชงิ วิชาชีพ (Professional
Learning Community: PLC) เพอื่ ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรยี นรรู้ ่วมกนั
ผู้ดำ� เนนิ การ ครูแกนน�ำ
ขัน้ ที่ ๗ การรวบรวม การผลติ และสง่ เสรมิ การผลิต เอกสาร สือ่ และ
ทรัพยากรการเรยี นรู้
๗.๑ ผลติ และสง่ เสรมิ การผลติ เอกสารทางวิชาการ หนงั สอื เรยี น
หนงั สืออา่ นประกอบ แบบฝึกหัด คูม่ อื วีดิทศั น์ คลปิ รายการ เกม
การศกึ ษา รายการวิทย/ุ โทรทัศน์ที่มคี ุณภาพและมปี ระโยชนส์ ำ� หรบั
นกั เรยี นและครู
ผ้ดู �ำเนินการ สถาบันหลักสตู รและการเรยี นรู้ และกระทรวง
ศึกษาธิการ
๗.๒ ปรบั ปรงุ การตรวจพจิ ารณาหนงั สอื เรยี นใหเ้ ขม้ ขน้ โดยใหค้ วามสำ� คญั
ในการปรบั ปรงุ เนอ้ื หาทส่ี อดคลอ้ งกบั การพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี น
ผู้ด�ำเนินการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
๗.๓ ปรับระเบียบข้อก�ำหนดของกระทรวงศึกษาธิการ ให้มีความยืดหยุน่
ท่ีสถานศึกษา ครู รว่ มกับคณะกรรมการสถานศกึ ษา สามารถพิจารณา
เลือกหนงั สอื เรยี นและสือ่ ท่เี หมาะสมกบั ผเู้ รยี นและบรบิ ทโรงเรยี นไดเ้ อง
ผ้ดู �ำเนินการ กระทรวงศึกษาธิการ และสถานศกึ ษา

66 รายงานเฉพาะเรอ่ื งท่ี ๑๒ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ การขับเคลอ่ื นการปรับและพฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะ ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕ ปี ๒๕๖๖ -
๗.๔ พัฒนาครู และสง่ เสริมให้ครใู ช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน ๒๕๗๒
ผู้ดำ� เนนิ การ หนว่ ยงานพฒั นาครูและบคุ ลากร และสถานศกึ ษา ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔
๗.๕ รวบรวมและเผยแพรท่ รพั ยากรการเรยี นรู้แบบปฏบิ ตั ิท่ีเป็นเลิศ
(Best Practices) ผลงานวจิ ัย ความร้ทู กุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ความรู้
สำ� หรบั ครู ส่ือสง่ิ พิมพ์ สือ่ ดจิ ทิ ัล ส่ิงประดษิ ฐ์ และนวัตกรรมต่างๆ ท่เี ป็น
ประโยชนต์ อ่ นักเรียน ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา
ผ้ดู ำ� เนนิ การ สถาบนั หลกั สตู รและการเรยี นรู้ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา และสถานศกึ ษา
๗.๖ ส่งเสริมการจัดตั้งและการด�ำเนนิ การของ National Digital
Learning Platform ทง้ั ทางดา้ นแหลง่ ทรพั ยากรการเรยี นรู้ และ
การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ การมสี ว่ นรว่ มของครู ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา และ
นกั เรยี น
ผู้ดำ� เนนิ การ สถาบนั หลักสูตรและการเรยี นรู้ กระทรวงศึกษาธกิ าร
และหน่วยงานทีร่ ับผดิ ชอบดา้ นสอื่ และเทคโนโลยี

เอกสารอา้ งอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๒). หลักสูตรแกนกลางกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณแ์ หง่ ประเทศไทย จ�ำกดั .
จรัส สุวรรณเวลา. (๒๕๖๑). กอบกู้วิกฤตการศึกษาไทยความหวังการสร้างชาติท่ีย่ังยืน. [PowerPoint].
การประชุมวิชาการประจ�ำปี ครั้งท่ี ๑๐, ชมรมพัฒนาการและพฤติกรรมเด็กแห่งประเทศไทย
๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
คณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ, ส�ำนักงาน. (๒๕๔๒). การประเมินตามสภาพท่ีแท้จริง.กรุงเทพฯ:
โรงพิมพค์ ุรุสภาลาดพรา้ ว.
คณะกรรมการปฏิรูปหลักสูตรแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๗). ร่างหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ภาคบังคบั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ - มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๗. อัดสำ� เนา.
คณะอนุกรรมการด้านการเรยี นการสอนในคณะกรรมการอสิ ระเพอ่ื การปฏริ ปู การศึกษา. (๒๕๖๑).
คู่มือครูการน�ำกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ ไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน.
อัดสำ� เนา.
ทิศนา แขมมณี. (๒๕๔๗). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพ่ือการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ.
(พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๓). กรุงเทพฯ : ส�ำนกั พิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
________ . (๒๕๔๙). ปฏิรูปการเรียนรทู้ ัง้ โรงเรยี น: เรอ่ื งยากท่ีท�ำได้จริง. กรุงเทพฯ: เกรท เอ็ดดูเคชั่น จำ� กัด.
มาเรยี ม นลิ พนั ธ์ุ และคณะ. (๒๕๕๖). การประเมินผลหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ในโรงเรยี นต้นแบบการใชห้ ลกั สูตร.นครปฐม: คณะศกึ ษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ยศวีร์ สายฟ้า. (๒๕๕๗). รอยเชื่อมต่อการเรียนรู้ระหว่างชั้นเรียนอนุบาลและประถมศึกษา: ก้าวย่างที่ส�ำคัญ
ของเด็กประถมศึกษา. วารสารครศุ าสตร์. ๔๒ (กรกฎาคม-กนั ยายน): หนา้ ๑๔๓-๑๕๙.
วจิ ารณ์ พานชิ . (๒๕๕๘). เรยี นรสู้ กู่ ารเปลย่ี นแปลง. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั เอส.อาร.์ พรน้ิ ตงิ้ แมสโปรดกั ส์ จำ� กดั .
สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (๒๕๕๖). หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช ๒๕๕๖.
กรุงเทพฯ : สอศ.
ส�ำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ. (๒๕๖๑). ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๕๖๑-๒๕๘๐.
ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๖๐). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศกั ราช ๒๕๖๐.
__________. (๒๕๖๐). แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๙.
__________. (๒๕๖๑). มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑.
__________. (๒๕๖๑). รายงานผลวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น
ส�ำหรับหลกั สูตรการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน. กรงุ เทพฯ: อดั สำ� เนา.
สุธีระ ประเสริฐสรรค์. (๒๕๕๗. โครงงานฐานวิจัย: กระบวนการเรียนรู้ใหม่ของการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ:
สำ� นักงานกองทุนสนับสนุนการวจิ ัย.
สุธีระ ประเสริฐสรรค์ และ คงวุฒิ นิรันตสุข. (๒๕๖๑). เพาะพันธ์ปัญญาด้วย PLC. หนังสือในโครงการ
เพาะพนั ธป์ุ ญั ญา ลำ� ดับที่ ๒๔. สงขลา: บรษิ ัท นำ� ศลิ ป์โฆษณา จำ� กัด.

รายงานเฉพาะเร่ืองที่ ๑๒ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 67

Alvin Toffler. (๑๙๗๐). Future Shock. Bantam Book: New York.
Ananiadou, K. and Claro, M. (๒๐๐๙). ๒๑st Century Skills and Competence for New
Millennium Learner in OECD Countries. OECD Education. Working Press. No.๔๑. Paris OECD
Publishing Press.
Bristow, S.F. and Patrick, S. (๒๐๑๔). An Introduction Study in Competency Education:
Postcard from Abroad. Vienna: INACOL Competency Works.
Collaboration for Academic, Social and Emotional Learning (CASAL). (๒๐๑๒). ๒๐๑๓ CASEL
Guide: Effective Social and Emotional Learning Programs. Pre-school and
Elementary School Editions.
Gov. UK. A Brief Guide to Competencies. [Website]. Retrieved from https://www.gov.uk/
guidance/a-brief-guide-to-competencies
Kenya Institute and Curriculum Development, Republic of Kenya. (๒๐๑๗). Basic Education
Curriculum Framework.
Ministry of Education. (๒๐๑๖). Towards Defining ๒๑st Century for Ontario: ๒๑st Century
Competencies. Canada: Ontario.
Ministry of Education, Republic of Rwanda. (๒๐๑๕). Competency-Based Curriculum:
Summary of Curriculum Framework Pre-Primary to Upper Secondary ๒๐๑๕.
Worldcore Communication Limited.
Ministry of Education, New Zealand. (๒๐๐๑). The New Zealand Curriculum: Reading and
Writing Standard for Year ๑-๘. Wellington, New Zealand, Learning Media Limited.
New Zealand Council for Educational Research (NZCER). (๒๐๑๗). Weaving a Coherent
Curriculum. Wellington: NZCER.
OECD. (๒๐๑๘). Curriculum Flexibility and Autonomy in Portugal.
OECD. (๒๐๑๘). Education Policy Outlook: Mexico.
Outi Kallioinen (ed.). (๒๐๐๗). Competency-Based Curriculum at Laurea. Laurea University of
Applied Science. Edita Prima Oy, Helsinki: Laurea Publications.
Queensland Studies Authority. (๒๐๑๕). Year๑ Mathematics Australian Curriculum in
Queensland. (March ๒๐๑๓ amended April ๒๐๑๕). Australian Curriculum Assessment
and Reporting Authority (ACARA), Australia.
UNESCO. Glossary of Curriculum Terminology. [Website]. Retrieved from http://www.ibe.
unesco.org/en/glossary-curriculum-terminology
UNESCO International Bureau of Education (IBE UNESCO). (๒๐๑๗). The Why, What and How
of Competency-Based Curriculum Reforms: The Kenya Experience.
Urie Bronfenbrenner. (๑๙๗๙). The Ecology of Human Development: Experiment by Nature
and Design. The president and Follows of Harvard College: The United States of America.

68 รายงานเฉพาะเร่ืองที่ ๑๒ หลกั สูตรและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก. เข้าใจสมรรถนะอยา่ งงงา่ ย ๆ ฉบับประชาชน
เข้าใจหลักสูตรฐานสมรรถนะอยา่ งง่าย ๆ ฉบบั ครู ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศกึ ษา
ภาคผนวก ข. โมเดลเสนอแนะการปรับโครงสรา้ งเวลาเรียน และสาระการเรยี นรู้สำ� หรับหลักสตู ร
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑
ภาคผนวก ค. แนวคิดเชงิ เหตผุ ลของขอ้ เสนอการ “ปลดลอ็ ก” การวัดและประเมนิ ผล ดา้ นคณุ ภาพผูเ้ รียน
ระดับช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๑-๒ โดยใชข้ ้อสอบกลางของส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ภาคผนวก ง. รายการเอกสารและผลผลติ ของคณะท�ำงานจดั ทำ� กรอบสมรรถนะหลกั ผ้เู รียนระดับ
การศกึ ษาขัน้ พื้นฐานในคณะอนกุ รรมการจัดการเรียนการสอน คณะกรรมการอิสระเพ่ือ
การปฏริ ูปการศกึ ษา

รายงานเฉพาะเรอ่ื งที่ ๑๒ หลักสูตรและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 69

70 รายงานเฉพาะเรอ่ื งท่ี ๑๒ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ

ภาคผนวก ก.

เข้าใจสมรรถนะและหลักสูตรฐานสมรรถนะอยา่ งงงา่ ย ๆ

เข้าใจสมรรถนะอย่างงา่ ยๆ ฉบับประชาชน

ประเด็นสำ� คัญ สาระสำ� คญั

การจดั การ จากปัญหาความดอ้ ยคุณภาพของผูเ้ รียนที่ไม่สามารถนำ� ความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะและ
ศึกษาฐาน คุณลักษณะต่าง ๆ ทต่ี นเรยี นร้ไู ปประยุกต์ใช้ในการท�ำงานและการดำ� รงชวี ติ ประจำ� วันได้
สมรรถนะ ส่งผลให้การศกึ ษาจำ� เปน็ จะต้องปรบั เปลย่ี นจุดเน้นจากฐานเนือ้ หา (Content-Based)
ไปเป็น (Competency-Based) ดงั นั้น จึงจ�ำเป็นที่ผู้เก่ยี วข้องและผู้สนใจท้ังหลายจะต้อง
เข้าใจวา่ “สมรรถนะ” คืออะไร

ตวั อย่าง ในชีวิตประจำ� วันท่วั ๆ ไป เราคงไดเ้ คยพบเห็นเหตกุ ารณ์ทำ� นองนเ้ี กิดข้ึน
สมรรถนะต่างๆ
ในชวี ติ ประจำ� วัน ๑. ตวั อยา่ งสมรรถนะภาษาไทยเพอื่ การสือ่ สาร เธอทักทายถามไถ่
เด็กหญิงคนเหนงึ่ ว่งิ เข้ามากอดคุณยายซึ่งก�ำลงั จะออกไปซือ้ ของ
คุณยายดว้ ยถ้อยคำ� ที่ไพเราะนา่ รัก และออดอ้อนใหค้ ณุ ยายซ้อื ของเล่นมาฝาก เธอไม่รวู้ า่
ของเล่นท่เี ธอเห็นเพอื่ นเลน่ และอยากได้นัน้ เรยี กวา่ อะไร แต่เธอกพ็ ยายามอธบิ ายใหค้ ุณยาย

เขา้ ใจดว้ ยภาษาของเธอเอง จนคุณยายเข้าใจวา่ หลานสาวตอ้ งการอะไร
l เดก็ หญงิ คนนีน้ บั วา่ เปน็ ผมู้ สี มรรถนะภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

๒. ตัวอยา่ งสมรรถนะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร
กระเป๋ารถสองแถว เหน็ คนตา่ งชาติยืนงงอยู่ จงึ ถามเป็นภาษาองั กฤษแบบ
ชาวบ้าน ๆ วา่ จะไปไหน Where you go? ชาวตา่ งชาตเิ ข้าใจ ตอบกลับ กระเป๋ารถก็เชญิ
ขน้ึ รถ บอกวา่ คนั นไี้ ปยงั ทเ่ี ขาต้องการ
l กระเปา๋ รถคนน้ี ถอื วา่ มสี มรรถนะการใช้ภาษาองั กฤษเพ่ือการสอ่ื สาร ใน
ระดบั พน้ื ฐานใชง้ านไดใ้ นชวี ิตประจ�ำวัน

๓. ตัวอยา่ งสมรรถนะคณิตศาสตรใ์ นชวี ติ ประจ�ำวัน
เม่อื โรงเรียนตอ้ งจดั งาน ทตี่ อ้ งเชญิ แขกมาทัง้ ส้ิน ๒๐๐ คนคณุ ครใู ห้นกั เรยี นชน้ั
ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ชว่ ยวางแผนในการจดั โตะ๊ วา่ ควรจัดจ�ำนวนเทา่ ไหร่ นักเรยี นไดอ้ ภปิ ราย
รว่ มกัน มฝี ่ายหนึ่งเสนอใหจ้ ัดน้อยกวา่ ๒๐๐ เพราะโดยส่วนใหญ่แขกทม่ี างานยอ่ มน้อยกว่า
จ�ำนวนท่ีเชิญเสมอ เพราะอาจมแี ขกบางคนซึ่งตดิ ธุระมาในวนั งานไม่ได้ อกี ฝา่ ยก็ค้านว่าควร
จดั โต๊ะใหค้ รบตามจ�ำนวนทเี่ ชิญ เหลอื ดีกว่าขาด อีกฝ่ายคา้ นวา่ การเหลือท่ีนง่ั เอาไว้ เป็นการ
สนิ้ เปลอื งงบประมาณ ท้งั ปรมิ าณอาหาร ปริมาณโต๊ะและเกา้ อ้ี น้องแจนเสนอให้ใช้ฟังกช์ ัน
ของไมโครซอฟท์เอกซเ์ ซล ทไ่ี ด้เรยี นมาคือ = binomdist ในการคำ� นวณหาจ�ำนวนของ
ทีน่ ่งั ทจ่ี ะจดั ให้มคี วามเสยี่ งตอ่ แขกล้นงานน้อยท่ีสุด ทกุ คนเหน็ ดว้ ยเพราะเปน็ วธิ ที มี่ ีเหตุผล
รองรับ ไม่ได้ใช้เพียงความรู้สกึ ในการแกป้ ญั หา

รายงานเฉพาะเร่อื งท่ี ๑๒ หลักสูตรและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 71

ประเด็นสำ� คญั สาระสำ� คญั

l น้องแจนมีสมรรถนะคณิตศาสตรใ์ นชีวติ ประจำ� วนั เพราะแก้ปญั หาของ
โรงเรยี นโดยใช้ความรทู้ างคณติ ศาสตรท์ ี่เรียน เช่อื มโยงกบั ปัญหาทีต่ นเองพบในชวี ติ จรงิ ได้
อย่างมีเหตุผลตามวัย

๔. ตวั อย่างสมรรถนะดา้ นการสืบสอบทางวิทยาศาสตรแ์ ละความเปน็ ผ้มู ีจิตวทิ ยา
ศาสตร์
ชายหนุ่มคนหนึ่งเป็นนกั ศึกษาในมหาวิทยาลัย เขาเป็นคนมีความสนใจใฝร่ ู้ เมอ่ื
สนใจหรอื สงสยั ในเรื่องใด เขาจะพยายามหาค�ำตอบใหแ้ กต่ นเอง โดยการค้นควา้ หาข้อมลู
ความรจู้ ากแหลง่ ต่าง ๆ ท่ีน่าเชือ่ ถือ แลว้ วเิ คราะหแ์ ละนำ� เสนอผลท่ีได้ผ่านสื่อออนไลน์ เพื่อ
รับฟงั ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ
l นักศกึ ษาคนน้มี สี มรรถนะด้านการสบื สอบทางวทิ ยาศาสตร์และเป็นผู้มี
จติ วิทยาศาสตรส์ นใจศึกษาหาคำ� ตอบในเร่ืองที่สงสัย สามารถระบุส่งิ ที่สงสัย ตัง้ ค�ำถาม
วเิ คราะห์ข้อมลู สบื สอบความรู้ได้ด้วยตนเอง รวมทั้งเปน็ ผ้มู ีจติ วทิ ยาศาสตร์ มีความใฝ่รู้
และมุง่ ม่ันหาคำ� ตอบให้แกต่ นเอง

๕. ตวั อยา่ งสมรรถนะทักษะชวี ิต
สาวท�ำงานออฟฟิศ ๒ คน ท�ำงานท่เี ดยี วกัน เงนิ เดอื นเทา่ กัน แต่คนหนึง่ รู้จัก
วางแผนเก็บออม อกี คนใช้จ่ายโดยไมม่ แี ผน
l สาวคนแรกน่าจะมีอนาคตที่ม่นั คงกวา่ สาวคนท่ี ๒ เพราะเธอเป็นผ้มู สี มรรถนะ
ทักษะชีวติ รู้จกั การบรหิ ารจดั การการเงิน และใชช้ วี ิตอย่างพอเพียง
วนั หนงึ่ เจา้ กาแฟสนุ ขั ของทมิ ถกู รถชนตาย ทมิ เสยี ใจและมคี วามโศกเศรา้ มาก หลงั
จากฝงั เจา้ กาแฟแลว้ เขากเ็ กดิ ความคดิ วา่ ถงึ อยา่ งไรเจา้ กาแฟกจ็ ากไปแลว้ การเสยี ใจไมเ่ กดิ
ประโยชนใ์ ด ๆ เขาคดิ วา่ เขานา่ จะไปหาสนุ ขั ทไ่ี มม่ เี จา้ ของมาเลยี้ งแทนเจา้ กาแฟ จะดกี วา่
เพราะเทา่ กบั วา่ เขาไดช้ ว่ ยชวี ติ สนุ ขั อกี ตวั หนงึ่ รวมทง้ั เปน็ การทำ� บญุ ใหเ้ จา้ กาแฟดว้ ย
l ทิมมีสมรรถนะทกั ษะชีวิต เปน็ ผพู้ รอ้ มรับการเปลี่ยนแปลง สามารถเผชิญ
ปัญหา แกป้ ญั หา ยอมรับผลที่เกดิ ขนึ้ และฟน้ื คนื สภาพจากปัญหาไดอ้ ย่างรวดเรว็

๖. ตวั อยา่ งสมรรถนะการคิด
ขา้ ราชการ ๒ คน คนหนง่ึ ทำ� งานตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย อกี คนหนง่ึ ทำ� เชน่ เดยี วกนั
แตม่ ักท�ำได้ดีกว่า และมากกว่าที่สั่ง รวมท้งั มีความคิดดี ๆ เสนอมาดว้ ย
l ขา้ ราชการคนท่ี ๒ เป็นผู้ท่ีทำ� งานโดยใชส้ มรรถนะการคดิ ร้จู กั แสวงหาความรู้
และใช้ความรู้ในการทำ� งาน คิดริเรมิ่ มีความรับผิดชอบและความตั้งใจในการทำ� งานสูงท�ำให้
ไดผ้ ลงานท่ดี ี ขา้ ราชการผ้นู ้นี า่ จะมีอนาคตทส่ี ดใสเจรญิ ร่งุ เรอื งในหนา้ ทกี่ ารงาน

๗. ตัวอย่างสมรรถนะดา้ นทกั ษะอาชีพและการเปน็ ผ้ปู ระกอบการ
แจ่มใสมฝี มี อื เกีย่ วกบั การทำ� อาหาร โดยเฉพาะสนใจเรอื่ งการท�ำน�ำ้ พริกเป็นพเิ ศษ
เนื่องจากหมู่บา้ นของแจม่ ใสมกี ารเลย้ี งปลาสลิด และมสี นิ คา้ ล้นตลาด แจม่ ใสจงึ คดิ สูตร
น้ำ� พรกิ ปลาสลดิ หลากหลายสตู รและมีการจัดจำ� หน่ายในหลายช่องทางท้งั ศนู ย์ผลิตภัณฑ์
ของหมูบ่ า้ นและขายออนไลน์

72 รายงานเฉพาะเรื่องท่ี ๑๒ หลกั สูตรและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ

ประเดน็ ส�ำคญั สาระส�ำคญั

l แจ่มใสมีสมรรถนะดา้ นทกั ษะอาชีพและการเปน็ ผูป้ ระกอบการ เพราะ
สามารถคดิ สร้างงาน สรา้ งนวตั กรรมที่เปน็ ประโยชน์ตอ่ ตน ครอบครวั หรือสงั คม

๘. ตัวอยา่ งสมรรถนะการรู้เทา่ ทันสือ่ และสารสนเทศ
กลมุ่ แมบ่ า้ น ๔-๕ คน ไปเดินหา้ งสรรพสนิ ค้าเพ่อื ซือ้ ของ พบว่ามีร้านขึน้ ป้าย
“ลดสูงสดุ ๗๐%” จงึ ชวนกันเขา้ ไปเลือกซื้อ แมบ่ ้านท่านหนึ่งเตอื นสติเพอื่ นวา่ ความหมาย
ของป้ายอาจมสี นิ ค้าเพยี งไม่ก่ชี นิ้ ท่ลี ดราคา ๗๐% การใชป้ า้ ยตวั โตสแี ดงเปน็ การจูงใจให้
คนเขา้ ไปเลอื กซื้อ เมอ่ื มลี กู คา้ จ�ำนวนมาก อาจทำ� ใหเ้ ราลมื ตรวจสอบราคาลดของสินคา้
แตล่ ะช้ิน
l แม่บ้านทา่ นนมี้ สี มรรถนะการรู้เท่าทนั สือ่ และสารสนเทศ และชว่ ยใหเ้ พื่อนท่ี
ไปดว้ ยกันให้มหี ลักและสติในการเลือกซ้ือสนิ คา้

๙. ตัวอย่างสมรรถนะการท�ำงานแบบรวมพลงั เป็นทมี และมีภาวะผู้นำ�
ในชว่ งเวลาทเ่ี กิดพายปุ าบกึ ปา้ สายได้รวบรวมแม่บา้ นในหมบู่ ้าน ๑๐ คน ชว่ ย
เจ้าหน้าทใ่ี นการดแู ลเดก็ ๆ และคนแก่ ในศูนยอ์ พยพ ป้าสายแบ่งหนา้ ท่ีใหท้ ำ� ตามถนดั
ทงั้ การจดั หาอาหาร การจัดยาดแู ลผูเ้ จบ็ ป่วย และให้ก�ำลงั ใจแก่ผทู้ ีเ่ ป็นหว่ งกังวลเก่ยี วกับ
ทรพั ย์สนิ ทเ่ี สยี หาย โดยมปี ้าสายเป็นผู้ประสานงาน ซง่ึ ท�ำให้ทกุ คนมีสขุ ภาพกายใจที่ดี
พรอ้ มรับมอื กับปัญหาที่เกิดขน้ึ ต่อไป
l ป้าสาย และกล่มุ แม่บา้ นมสี มรรถนะการท�ำงานแบบรวมพลงั เป็นทมี เพราะ
มีทกั ษะในการทำ� งานรว่ มกนั และปฏิบตั ติ ามบทบาทเพ่ือการทำ� งานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย
ในส่วนปา้ สายนนั้ มสี มรรถนะการเป็นผูน้ ำ� และใชภ้ าวะผ้นู ำ� อยา่ งเหมาะสม สามารถ
ประสานและน�ำกล่มุ แมบ่ ้านใหป้ ฏิบัติงานได้ โดยน�ำความสามารถของสมาชิกแตล่ ะคนมาใช้
เพื่อการปฏิบตั ิงานใหป้ ระสบความสำ� เรจ็
๑๐. ตวั อยา่ งสมรรถนะในการเป็นพลเมอื งต่ืนรู้
นักเรยี นพบว่า แหลง่ นำ้� ของหมู่บ้านเริ่มส่งกลิ่นเหม็น เพราะมคี นนำ� ส่งิ ปฏกิ ลู ไป
ท้งิ เมอื่ ศึกษาระเบยี บของหมู่บา้ นพบวา่ มขี ้อห้ามอยแู่ ตไ่ ม่ได้บังคับใช้จรงิ จัง จงึ รวมตัวกนั
กบั เพอ่ื น ๆ ไปปรึกษากับผู้ใหญบ่ า้ น เพอ่ื หาวิธีการแก้ปัญหา สรุปไดว้ ่า ควรมีการแจ้งขอ้ มลู
ผ่านเสยี งตามสายของหมบู่ ้านและติดป้ายประกาศเตอื นพรอ้ มแจ้งบทลงโทษผูฝ้ ่าฝนื
l ปญั หาสาธารณะไมใ่ ชเ่ รอ่ื งของใครคนใดคนหนงึ่ แตเ่ ปน็ เรอ่ื งของทกุ คน ทตี่ อ้ งมี
คนกลา้ คดิ และรวมตวั กนั เพอ่ื พจิ ารณาหาชอ่ งทางแกไ้ ข และนำ� เสนอผมู้ อี ำ� นาจหนา้ ทใี่ นการ
ดำ� เนนิ การแกไ้ ขปญั หาตามระบบ นกั เรยี นกลมุ่ นจ้ี ดั วา่ เปน็ ผมู้ สี มรรถนะการเปน็ พลเมอื งตนื่ รู้

รายงานเฉพาะเร่ืองท่ี ๑๒ หลักสตู รและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ 73

ประเดน็ ส�ำคัญ สาระสำ� คญั

คุณสมบตั หิ รือ จากตวั อยา่ งท่ยี กมาดงั กลา่ ว แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ลกั ษณะของผูม้ ีสมรรถนะ ๑๐ ดา้ น ซง่ึ คงไมม่ ี
ลักษณะสำ� คัญ ใครปฏิเสธว่า เป็นคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ และหากวิเคราะหเ์ จาะลกึ ลงไปอีกจะเห็นได้วา่
ของสมรรถนะ ผู้ท่มี ีสมรรถนะต่าง ๆ ดังกลา่ วนนั้ มคี ณุ สมบัตริ ว่ มทเ่ี หมือนกัน คือ

สามารถ ท�ำ (งาน / กจิ กรรม) ได้ ส�ำเรจ็
การทบี่ ุคคลจะสามารถท�ำงานใด ๆ ไดส้ �ำเร็จนัน้ ตอ้ งอาศยั ปัจจัยส�ำคัญหลายประการ
ได้แก่
๑. มีความรู้และน�ำความร้มู าใช้ในสถานการณ์ได้ เชน่ เดก็ ผ้หู ญงิ ไมร่ ้วู ่าของเล่น
มีช่อื เรียกวา่ อะไร แตเ่ ธอกใ็ ชค้ วามรู้จากคำ� ทีเ่ ธอรู้ พยายามชี้แจง จนคณุ ยายเข้าใจ
๒. มที กั ษะ เดก็ หญิงมที กั ษะการใชภ้ าษาสือ่ สารเปน็ ทุนเดมิ และพยายามใช้ทักษะ
การพดู ของเธอชีแ้ จงจนคุณยายเข้าใจ
๓. มเี จตคติ แรงจูงใจ และคุณลักษณะทส่ี ่งเสริมพฤตกิ รรม การกระท�ำ ใหบ้ รรลผุ ล
เช่น ความอยากได้ของเลน่ เป็นแรงจูงใจท่ที �ำใหเ้ ดก็ หญงิ พยายามอธิบายจนยายเข้าใจ

ความหมายของ ดังน้ัน สมรรถนะจงึ เปน็ ความสามารถของบุคคลในระดบั ทีป่ ฏบิ ตั งิ านใดงานหนึ่งไดส้ ำ� เร็จ
สมรรถนะ โดยใช้ความร้ทู กั ษะ เจตคต/ิ คณุ ลักษณะ ทต่ี นมอี ยู่

หรอื สมรรถนะเป็นพฤตกิ รรมที่แสดงออกถงึ ความสามารถของบคุ คลในการน�ำความรู้
ทักษะ และคณุ ลักษณะเฉพาะของตน มาประยุกต์ใช้ในงาน หรอื ในสถานการณต์ ่าง ๆ ไดจ้ น
ประสบความส�ำเรจ็

สมรรถนะจงึ เป็นผลรวมของความรู้ ทักษะ เจตคติ หรือคุณลักษณะ ท่ีท�ำให้บคุ คลประสบ
ความสำ� เร็จในการท�ำงาน การแกป้ ัญหา และการด�ำรงชวี ิต

อะไร ไม่ใช่ สรุปว่า
สมรรถนะ คนทมี่ สี มรรถนะ คือ คนท่ีทำ� งานได้ส�ำเร็จ โดยใช้ความรู้ ทักษะ เจตคติ/คณุ ลักษณะต่างๆ
ที่ตนมีอยู่
แต่
l คนมีความรู้ แต่ไมใ่ ชค้ วามรหู้ รือไมส่ ามารถใชค้ วามรูใ้ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ
ยงั ไมถ่ ือวา่ มีสมรรถนะ (เชน่ ผมู้ คี วามรู้ภาษาอังกฤษ แต่ไม่สามารถพดู คุยกบั ชาวต่างชาติ
หรือใชค้ วามรู้ภาษาอังกฤษในการปฏบิ ัตงิ านได)้
l คนมที ักษะ แต่ไม่น�ำทกั ษะนน้ั มาใชใ้ นสถานการณต์ ่าง ๆ กย็ ังไมถ่ อื ว่ามีสมรรถนะ
(เชน่ มีทกั ษะการอา่ น เขียน ฟงั พดู ภาษาอังกฤษ สอบผา่ นการทดสอบ แตไ่ ม่กล้า หรือ
ไมส่ ื่อสารกบั ชาวตา่ งชาติได้)
l คนมเี จตคตทิ ด่ี ี แตไ่ มน่ ำ� มาใชใ้ นสถานการณต์ า่ ง ๆ กถ็ อื วา่ ยงั ไมม่ สี มรรถนะ (เชน่
ชอบภาษาองั กฤษ มเี จตคตทิ ดี่ ตี อ่ ภาษาองั กฤษ แตอ่ าย หรอื ไมก่ ลา้ พดู สอื่ สารกบั ชาวตา่ งชาต)ิ

74 รายงานเฉพาะเร่ืองที่ ๑๒ หลักสูตรและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ

ประเดน็ ส�ำคัญ สาระสำ� คญั

สมรรถนะ สรุปว่า สมรรถนะเกดิ ข้นึ ได้ เม่อื บคุ คลมโี อกาสได้ฝึกใช้ความรู้ ทกั ษะ และคณุ ลกั ษณะทต่ี น
เกิดข้นึ ได้ มีในการท�ำงาน การแก้ปญั หา ในสถานการณต์ ่าง ๆ จนเกิดความชำ� นาญ และความม่นั ใจ
อยา่ งไร ทำ� ใหส้ ามารถท�ำงานต่าง ๆ ได้ส�ำเรจ็

ดังตัวอยา่ ง
เด็กในชนบท พ่อแมม่ ักใชใ้ ห้ช่วยท�ำงานต่างๆ ในชีวติ ประจ�ำวนั ตั้งแต่เล็ก โดยการสง่ั /
สอนให้ท�ำบา้ ง ท�ำใหด้ ูหรือใหเ้ ห็นเป็นตัวอยา่ งบ้าง เดก็ ต้องท�ำตาม เมื่อทำ� บ่อย ๆ กจ็ ะเกดิ
ความชำ� นาญ ท�ำไดเ้ องและเรียนรู้การใชท้ กั ษะที่เกดิ ขึ้นในสถานการณ์ต่าง ๆ เชน่ น้ี กล่าวได้
วา่ เดก็ มสี มรรถนะในการทำ� งานนน้ั

ในกรณีขา้ งตน้ เดก็ มีสมรรถนะในการทำ� งานน้นั เพราะเด็กใช้ความรจู้ ากท่พี อ่ แม่บอก
หรอื ทำ� ใหด้ ู แล้วลองทำ� ตาม ขั้นแรกอาจท�ำผดิ ๆ ถูก ๆ พ่อแม่ใหท้ ำ� ใหม่ ก็เรียนรเู้ พม่ิ ข้ึน
ตอ่ มาก็เรมิ่ คดิ แกป้ ญั หาเอง และท�ำได้ดีขึ้นจนคลอ่ งแคล่ว ชำ� นาญ

ระดบั ของ สมรรถนะมีไดห้ ลายระดบั ตามความจ�ำเปน็ หรือความตอ้ งการในหลาย ๆ เรอ่ื ง
สมรรถนะ เราจ�ำเปน็ ต้องมีสมรรถนะในระดับพอใชก้ ารได้ จึงจะอย่รู อดอยดู่ ี แต่ในบางเรื่อง เราจ�ำเปน็
ตอ้ งมีสมรรถนะในระดับสูงขนึ้ ดังนั้น ในการพัฒนาและการวดั สมรรถนะ จึงต้องมีการ
กำ� หนดเกณฑก์ ารปฏิบัติ (Performance Criteria) ว่าต้องการในระดับใด เชน่ สำ� หรบั
คนทวั่ ๆ ไปอาจจำ� เปน็ ตอ้ งมสี มรรถนะการใช้ภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่อื สาร ในระดับพอใช้
การได้ คือ สมรรถนะสือ่ สารเรอื่ งท่ัว ๆ ไปพอเข้าใจกัน แตส่ �ำหรบั ผทู้ ตี่ ้องการไปศกึ ษาตอ่
ต่างประเทศ สมรรถนะทางดา้ นนีก้ จ็ ำ� เป็นตอ้ งอย่ใู นระดบั สงู ซ่ึงมกั จะมกี ารก�ำหนด
มาตรฐานเอาไว้

สรปุ สมรรถนะทีส่ ูงขน้ึ ก็จะต้องอาศัยความรู้ ทกั ษะ ที่สูงข้นึ ดว้ ย แต่ความรู้ ทกั ษะท่ี
องค์ประกอบ สงู ข้นึ นั้น อาจส่งผลหรือไม่สง่ ผลต่อการเกิดสมรรถนะก็ได้ ขน้ึ อยูก่ บั ประสบการณใ์ นการ
สำ� คัญของ น�ำความร้แู ละทกั ษะเหลา่ นนั้ มาใช้ รวมท้ังคุณลกั ษณะสว่ นตนทีม่ ีว่าเออ้ื อ�ำนวยเพยี งใด
สมรรถนะ สรปุ วา่
องค์ประกอบส�ำคญั ของสมรรถนะมี ๗ ประการ คือ
๑) ค วามรู้ (Knowledge) ๒) ทักษะ (Skill) ๓) คุณลักษณะ/เจตคติ (Attribute/

Attitude) ๔) การประยกุ ต์ใช้ (Application) ๕) การกระท�ำ/การปฏบิ ตั ิ
(Performance) ๖) งานและสถานการณ์ต่าง ๆ (Tasks/Jobs/Situations)
๗) ผลส�ำเรจ็ (Success) ตามเกณฑท์ ก่ี ำ� หนด (Performance Criteria)

รายงานเฉพาะเรื่องท่ี ๑๒ หลักสตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 75

ประเด็นส�ำคญั สาระสำ� คัญ

สมรรถนะ = ความรู้ ทกั ษะ คณุ ลกั ษณะ

ประยุกตใ์ ช้ ประยกุ ต์ใช้ ประยกุ ตใ์ ช้

ท�ำ / ปฏิบตั ิ ระดบั /
เกณฑ์การปฏิบัติ
งาน
การแกป้ ญั หา
สถานการณ์

ความส�ำเร็จ

วิธีการพัฒนา ดังนั้น จะเห็นได้ว่าพ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ใหญ่ รอบข้างเด็ก สามารถช่วยพัฒนาเด็กให้
สมรรถนะให้ มีสมรรถนะท่ีจ�ำเป็นเพ่ือการด�ำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพในระดับท่ีต้องการได้ไม่ยากนัก
เกดิ ขนึ้ โดยการส่งเสริมให้เด็กน�ำความรู้และทักษะต่าง ๆ ที่ได้เรียนรู้มาแล้ว ไปใช้ในการท�ำงาน
การแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ และช่วยให้ก�ำลังใจในการท�ำงาน ให้ค�ำแนะน�ำส่งเสริม
คุณลักษณะท่ีจ�ำเป็นและเพ่ิมความรู้และทักษะให้เด็กท�ำงานได้ดีข้ึนตามล�ำดับ เด็กก็จะเกิด
สมรรถนะทีส่ งู ขน้ึ เรือ่ ยๆ

มาร่วมด้วย มาร่วมช่วยกันพัฒนาเด็กไทยให้เป็นคนดีมีสมรรถนะสูง คิดเป็นท�ำเป็นแก้ปัญหาเป็น
ช่วยกนั พัฒนา ช่วยกันพัฒนาเด็กไทยให้เป็นคนที่มีคุณภาพ เพ่ือพัฒนาประเทศให้ม่ันคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
เดก็ ไทยใหม้ ี ตลอดไป
สมรรถนะท่ี
จ�ำเปน็

76 รายงานเฉพาะเรอื่ งที่ ๑๒ หลักสูตรและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ

เข้าใจหลักสตู รฐานสมรรถนะอย่างง่ายๆ
ฉบับครู ผ้บู ริหาร และบุคลากรทางการศกึ ษา

ประเดน็ ส�ำคัญ สาระส�ำคัญ

ลักษณะสำ� คญั ของ ครูทุกคนคงจะเข้าใจกันแล้วว่า หลักสูตรปัจจุบันที่ใช้กันอยู่เป็นหลักสูตร
หลกั สตู รองิ มาตรฐาน อิงมาตรฐาน (Standards - Based Curriculum) ซ่ึงก�ำหนดมาตรฐานและ
ตัวชี้วัดให้ครูใช้เป็นเป้าหมายในการจัดการเรียนการสอน โดยมาตรฐานและ
ตัวชี้วัดจะครอบคลุมความรู้ ทักษะ และเจตคติ หรือคุณลักษณะท่ีจ�ำเป็นต่อการ
บรรลุมาตรฐานและตัวชีว้ ดั น้ัน ๆ

ลักษณะส�ำคัญของ หลักสูตรฐานสมรรถนะแตกต่างกับหลักสูตรปัจจุบันตรงท่ี การก�ำหนดมาตรฐาน
หลักสูตรฐานสมรรถนะ จะมุ่งเป้าหมายไปที่สมรรถนะของผู้เรียนว่า ผู้เรียนจะต้องท�ำอะไรได้ ซ่ึงต่างจาก
(Competency - หลักสูตรอิงมาตรฐานทมี่ าตรฐานและตวั ชว้ี ดั จ�ำนวนมากเน้นไปทผ่ี ู้เรยี นวา่ จะตอ้ ง
Based Curriculum) รู้อะไร สรุปได้ว่า หลักสูตรฐานสมรรถนะเน้นทักษะ (Skill) ในขณะที่หลักสูตร
องิ มาตรฐานค่อนข้างเน้นเนือ้ หาสาระ (Content)

หลักสูตรฐานสมรรถนะจึงเป็นหลักสูตรท่ียึดความสามารถท่ีผู้เรียนพึงปฏิบัติ
ได้เป็นหลัก เพื่อประกันว่า ผู้ที่จบการศึกษาระดับหน่ึง ๆ จะมีทักษะและ
ความสามารถในดา้ นตา่ ง ๆ ตามท่ีต้องการ

องค์ประกอบส�ำคัญของ หลักสูตรฐานสมรรถนะ จะก�ำหนดมาตรฐานสมรรถนะ (Competency
หลกั สูตรฐานสมรรถนะ Standards) ขึ้นเป็นสมรรถนะข้ันต่�ำที่จ�ำเป็นส�ำหรับผู้เรียน เพื่อการด�ำรงชีวิต

อย่างมคี ณุ ภาพ
สมรรถนะทก่ี �ำหนดใหผ้ ้เู รยี น โดยท่วั ไปมี ๒ ลักษณะ คือ

สมรรถนะหลัก สมรรถนะหลัก ท่ีเรียกว่า Core Competency มีลักษณะเป็นสมรรถนะข้าม
วิชาหรือคร่อมวิชา คือเป็นสมรรถนะที่สามารถพัฒนาให้เกิดขึ้นแก่ผู้เรียนได้ใน
สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ หลากหลาย หรือสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนา
ผู้เรียนให้เรียนรู้สาระต่าง ๆ ได้ดีขึ้น ลึกซึ้งขึ้นสมรรถนะในลักษณะน้ี กล่าวได้ว่า
เปน็ สมรรถนะทมี่ ีลักษณะ “Content - free” คอื ไมเ่ กาะตดิ เนื้อหา หรอื ไม่ขึ้นกบั
เนื้อหา ตัวอย่างสมรรถนะประเภทนี้เช่น สมรรถนะการคิดข้ันสูง สมรรถนะ
การท�ำงานแบบรวมพลัง สมรรถนะทักษะชีวิต ซึ่งสมรรถนะเหล่าน้ี สามารถใช้
เน้อื หาสาระใด ๆ กไ็ ด้ในการพฒั นาเพยี งแตว่ ่าสมรรถนะบางสมรรถนะ อาจพัฒนา
ไดด้ กี ว่าในเนอ้ื หาบางเนอ้ื หา

รายงานเฉพาะเรื่องที่ ๑๒ หลักสตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 77

ประเดน็ สำ� คัญ สาระส�ำคัญ
สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะอีกประเภทหน่งึ เรียกว่า สมรรถนะเฉพาะ หรอื Specific Competency
เป็นสมรรถนะเฉพาะวิชา/สาขาวิชา ซ่ึงจ�ำเป็นส�ำหรับวิชานั้น ๆ เช่น ในกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย จะมีสมรรถนะเฉพาะของวชิ า เชน่ สมรรถนะด้านหลกั
ภาษา สมรรถนะด้านการประพันธ์ ในกลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ิลปะ มสี มรรถนะด้าน
การวาดภาพ การปั้น การประดิษฐ์ เป็นตน้

สาระวิชาต่าง ๆ จะมีสมรรถนะเฉพาะวิชาของตน ซึ่งมีลักษณะเป็น “ทักษะ”
(Skill) หากผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะจนสามารถใช้งานได้ และสามารถประยกุ ตใ์ ช้
ทักษะนน้ั ในการท�ำงาน และในสถานการณห์ ลากหลายทักษะนั้น กจ็ ะพัฒนาเป็น
สมรรถนะ

ระดับของสมรรถนะ สมรรถนะทั้ง ๒ ประเภท ไม่ว่าจะเป็นสมรรถนะหลัก หรือสมรรถนะเฉพาะ
ตา่ งก็มรี ะดับต้งั แต่ง่ายไปยาก ซึง่ หลักสูตรจะก�ำหนดให้ผูเ้ รยี นได้เรยี นรูแ้ บบไต่ระดบั
ไปตามระดับความสามารถของตน

ตัวอย่างเช่น สมรรถนะหลักด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณซึ่งก็คือ
การคิดท่ีมีการใช้วิจารณญาณพิจารณาข้อมูลอย่างรอบด้าน ก่อนการตัดสินใจ
การคิดอย่างมีวิจารณญาณส�ำหรับผู้เรียนในระดับประถมศึกษา จะเร่ิมต้นตั้งแต่
ระดับงา่ ย คอื การสามารถคดิ จำ� แนกข้อมลู ท่ีเป็นขอ้ เท็จจรงิ และเปน็ ความคิดเหน็
กอ่ นตอ่ ๆ ไป จึงเพิม่ ระดบั ใหก้ วา้ งขนึ้ ครอบคลมุ มากขนึ้

หลกั สตู รฐานสมรรถนะ หลักสูตรฐานสมรรถนะโดยท่ัวไป จะก�ำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้เชิงสมรรถนะ
โดยทวั่ ไป (learning competencies) ส�ำหรับผู้เรียนในช่วงวัยหรือช่วงช้ันต่าง ๆ ให้แก่ครู
เพอ่ื ใช้ในการจัดการเรยี นการสอนให้แก่ผ้เู รียน

หลักสูตรฐานสมรรถนะนอกจากจะก�ำหนดสมรรถนะไว้ให้แล้ว อาจก�ำหนดสาระ
การเรียนรู้ข้ันต่�ำส�ำหรับการพัฒนาสมรรถนะท่ีก�ำหนดให้แก่ผู้เรียนหรืออาจให้
โรงเรยี นและครูกำ� หนดไดต้ ามความเหมาะสม

สมรรถนะและสาระการเรียนรู้ที่ก�ำหนดให้น้ันเป็นข้ันต่�ำท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับเด็กไทย
ทุ ก ค น ห ลั ก สู ต ร จ ะ ต ้ อ ง จั ด ใ ห ้ มี พ้ื น ที่ ส� ำ ห รั บ โ ร ง เ รี ย น แ ล ะ ค รู ใ น ก า ร จั ด
การเรียนรู้สาระ ทักษะและคุณลักษณะเฉพาะเพื่อตอบสนองความต้องการตาม
ความแตกตา่ งกันของผเู้ รยี น ภูมิสังคม และบรบิ ท ในสัดสว่ นทเ่ี หมาะสมกบั ผ้เู รยี น
ในแต่ละชว่ งวยั

การก�ำหนดสมรรถนะที่เป็นเกณฑ์กลาง/มาตรฐานกลางส�ำหรับการจัดการศึกษา
ในแต่ละช่วงวัยจะเอื้ออ�ำนวยให้สถานศึกษาสามารถพัฒนาหลักสูตรในรูปแบบ
ตา่ ง ๆ ตามแนวคิดของตนได้ โดยยดึ สมรรถนะเป็นเกณฑก์ ลาง

78 รายงานเฉพาะเรอ่ื งที่ ๑๒ หลกั สูตรและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ

ประเด็นส�ำคัญ สาระส�ำคัญ

การจัดการเรียนการสอน ในการจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะนั้น ครูจะมีมาตรฐานสมรรถนะ และ
ฐานสมรรถนะ จุดประสงค์การเรียนรู้เชิงสมรรถนะท่ีจัดไว้อย่างเป็นล�ำดับ เป็นกรอบในการ
(Competency - จัดการเรียนการสอน ครมู ีเป้าหมายทจ่ี ะชว่ ยพัฒนาให้ผ้เู รยี นท�ำอะไรได้ (ในระดบั
Based Instruction) ท่ีก�ำหนด) ครูจะต้องวิเคราะห์ว่า ผู้เรียนจ�ำเป็นต้องรู้อะไร จึงจะช่วยให้ท�ำส่ิงน้ัน
ได้ ซ่ึงเอื้อให้มีการบูรณาการความรู้ข้ามศาสตร์และลดสาระการเรียนรู้ที่ไม่จ�ำเป็น
ผู้เรียนต้องได้รับความรู้และฝึกใช้ความรู้ในการท�ำ รวมทั้งพัฒนาคุณลักษณะ
ที่ควรจะต้องมีในการท�ำส่ิงนั้นให้ประสบผลส�ำเร็จได้ในระดับที่ก�ำหนด ครูจัด
การเรียนรู้เชิงรุก ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการคิดการปฏิบัติ การลงมือท�ำ
การได้รับข้อมูลย้อนกลับ การปรับปรุง พัฒนา และได้รับการส่งเสริมให้น�ำ
ความรู้ทักษะ และคุณลักษะท่ีได้เรียนรู้ ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ จนเกิด
สมรรถนะในระดับที่ต้องการ โดยผู้เรียนแต่ละคน อาจจะใช้เวลาในการเรียนรู้
มากนอ้ ยแตกตา่ งกันได้

การวัดและประเมนิ ผล การวัดสมรรถนะเป็นการช่วยให้เห็นความสามารถท่ีเป็นองค์รวมของผู้เรียนโดย
ฐานสมรรถนะ ครทู �ำการทดสอบพฤตกิ รรมการปฏิบตั ิ (PerformanceAssessment) ของผ้เู รยี น
(Competency - ตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด (Performance Criteria) ซึ่งจะเน้นการประเมินองค์รวม
Based Assessment) ของสมรรถนะด้วยเคร่ืองมือประเมินตามความเหมาะสมและประเมินเมื่อผู้เรียน
พร้อมที่จะรับการประเมิน หากประเมินผ่าน ผู้เรียนจะสามารถก้าวสู่จุดประสงค์
การเรียนรขู้ ัน้ ตอ่ ไปได้ หากยงั ไมผ่ ่าน ผเู้ รยี นจะไดร้ ับการสอนซ่อมเสรมิ จนกระทั่ง
บรรลุผลผู้เรียนแต่ละคนจะก้าวหน้าไปตามความสามารถของตน อาจก้าวหน้า
ไปได้เร็วในบางสาระ และอาจไปไดช้ า้ ในบางสาระตามความถนดั ของตน

การออกแบบหลกั สูตร หลักสูตรฐานสมรรถนะโดยทั่วไปมีหลักการและลักษณะส�ำคัญดังกล่าว แต่ใน
ประเทศต่างๆ การก�ำหนดสมรรถนะ และการออกแบบหลักสูตรอาจมีลักษะท่ี
แตกต่างกัน ซ่ึงมักเป็นไปตามความต้องการ บริบท และลักษณะเฉพาะของแต่ละ
ประเทศ

ครูมบี ทบาทหน้าทส่ี �ำคญั เน่ืองจากเด็กไทยส่วนใหญ่ได้รับความรู้จ�ำนวนมาก แต่ยังไม่สามารถใช้ความรู้
ในการพัฒนาผู้เรียนให้ ให้เป็นประโยชน์ต่อชีวิตได้เท่าที่ควร รวมท้ังยังขาดทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
มที กั ษะ และสมรรถนะ ท่ีจ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิตในโลกปัจจุบันและอนาคต ท�ำให้มีขีดความสามารถต�่ำ
ท่จี ำ� เป็นต่อการดำ� รง ในการแข่งขันกับนานาประเทศ ซ่ึงจะกระทบต่อความอยู่รอดและความอยู่ดีของ
ชวี ติ ในโลกปจั จบุ นั และ ประชาชนและประเทศชาติ จึงจ�ำเป็นท่ีครูและผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา
อนาคต ให้แก่เด็กซึ่งเป็นอนาคตของชาติ ได้มีความตระหนักในบทบาทหน้าท่ีของตน

ในการช่วยกันพัฒนาผู้เรียนในทุกระดับการศึกษา ให้เป็นผู้มีทักษะและสมรรถนะ
ท่จี ำ� เป็น ทันต่อความกา้ วหน้าและการเปลย่ี นแปลงของโลก

รายงานเฉพาะเรื่องท่ี ๑๒ หลกั สูตรและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ 79

80 รายงานเฉพาะเรอ่ื งท่ี ๑๒ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ

ภาคผนวก ข.

โมเดลเสนอแนะการปรบั โครงสรา้ งเวลาเรยี น และสาระการเรียนรูส้ ำ� หรบั หลกั สตู รชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑
เนื่องจากการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะส�ำหรับการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เป็นงานที่ต้องใช้เวลา
ด�ำเนินการประมาณ ๑-๓ ปี ในระยะเวลาซึ่งเป็นช่วงเปล่ียนผ่านนี้ ได้มีข้อเสนอแนะให้มีการปรับหลักสูตร
ระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) ฉบับปัจจุบัน ให้ส่งเสริมการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน และมีความ
เหมาะสมกับพัฒนาการของผู้เรียนในช่วงรอยเชื่อมต่อระหว่างช้ันอนุบาลกับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ เพ่ือช่วย
ลด/แก้ปัญหาเด็กจ�ำนวนมากที่ไม่ประสบความส�ำเร็จในการเรียน อันเน่ืองมาจากการเร่งสอนและเร่งสอบ
ของครู เอกสารฉบับนี้ น�ำเสนอโมเดลในการปรับโครงสร้างเวลาเรียนและสาระการเรียนรู้ของหลักสูตรฉบับ
ปัจจุบัน ให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะข้างต้น โดยยังคงใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของหลักสูตรเดิม เพื่อ
มิให้เกิดความยุ่งยากแก่ครูมากเกินไป และสามารถช่วยให้เด็กพัฒนาการเรียนรู้ของตนไปได้อย่างราบร่ืน และ
ต่อเนอื่ งจากกระดบั ปฐมวัย รายละเอยี ดเป็นดังนี้

โครงสรา้ งเวลาเรียน ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
๑. สปั ดาห์ที่ ๑-๖
วตั ถุประสงค์
๑. เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นได้ปรับตวั ในช่วงเวลาของการเชอ่ื มต่อระหวา่ งชน้ั อนบุ าลและช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๑
๒. เพื่อให้ครูได้ท�ำความรู้จักกับนักเรียน วิเคราะห์นักเรียนก่อนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใน
สปั ดาห์ท่ี ๗ ต่อไป
๓. เพ่ือเสรมิ สมรรถนะของนกั เรียนตอ่ ยอดจากช้นั อนบุ าล
สาระสำ� คัญ
มี ๕ หวั ขอ้ ดงั น้ี
๑. การปฐมนิเทศ
๒. กจิ วตั รประจ�ำวัน
๓. การรู้จกั เด็ก
๔. วิเคราะห์ความตอ้ งการของนักเรยี น
๕. การเสริมสมรรถนะของนกั เรยี นต่อยอดจากชน้ั อนบุ าล (จากงานวิจัยของ รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี)
๕.๑ การสร้างหรอื พัฒนาการคิด
๕.๒ การคิดด้านคณิตศาสตร์
๕.๓ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับสังคมรอบตวั ด้านชุมชนและสงั คม
๕.๔ ความเขา้ ใจและการใช้ภาษาด้านค�ำศัพท์
๕.๕ การอา่ น
๕.๖ การเขียน
รายละเอียดของโครงสรา้ งเวลาเรยี นดงั ตารางที่ ๑

รายงานเฉพาะเรอ่ื งท่ี ๑๒ หลักสูตรและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ 81

ตารางที่ ๑ โครงสร้างเวลาเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ สปั ดาหท์ ี่ ๑-๖

สัปดาห์ที่ หน่วยการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้

๑ ตอ้ นรับสู่ช้ัน ป.๑ ๑. การปฐมนิเทศ
๑.๑ ทำ� ความรูจ้ กั นกั เรียน
๑.๑.๑ ครูรู้จกั นักเรยี น นักเรียนรู้จกั ครแู ละเพ่ือน
๑.๒ ท�ำความรจู้ ักหอ้ งเรยี น
๑.๒.๑ โต๊ะ-เก้าอข้ี องตนเอง รู้จักวธิ กี ารนัง่ ท่ถี กู ตอ้ ง วิธกี ารเกบ็ ของใช้
ในโต๊ะ ท�ำป้ายช่อื บนโตะ๊
๑.๒.๒ มุมต่าง ๆ ในห้องเรียน รู้จักช่ือมุม วิธีการเข้าใช้มุม และข้อ
กำ� หนดตา่ ง ๆ การเกบ็ กระเปา๋ รองเท้า
๑.๒.๓ การกำ� หนดผู้ดแู ลห้องเรยี นประจ�ำวนั
๑.๓ ข้อตกลงในห้องเรียน ร่วมกันสร้างข้อตกลงในห้องเรียนเพ่ือเป็น
แนวทางในการปฏบิ ตั ติ น
๑.๔ ทำ� ความรู้จักสถานทีส่ �ำคญั ในโรงเรียน
๑.๔.๑ ห้องนำ�้ วิธกี ารใช้หอ้ งน้�ำ การแตง่ ตัวหลงั จากใชห้ อ้ งนำ�้
๑.๔.๒ หอ้ งสมุด วิธกี ารใชห้ ้องสมดุ การหาหนังสือ การหยิบและการ
เปิดหนังสือ
๑.๔.๓ ห้องพยาบาล
๑.๔.๔ ห้องเรยี นต่าง ๆ เชน่ หอ้ งลกู เสอื หอ้ งศลิ ปะ ห้องคอมพิวเตอร์
หอ้ งคหกรรม ห้องดนตรี-นาฏศิลป์
๒. กิจวตั รประจ�ำวัน
๒.๑ เมอ่ื พบคณุ ครูหนา้ โรงเรียน
๒.๒ เดนิ เข้าห้องเรียน
๒.๓ เก็บรองเทา้ กระเป๋า ของใช้
๒.๔ กิจกรรมหน้าเสาธง
๒.๕ กิจกรรมในห้องเรยี น
๒.๖ พักดืม่ นม
๒.๗ พักรับประทานอาหารกลางวนั
๒.๘ กจิ กรรมกอ่ นเลกิ เรียน

๒ ต้อนรับสู่ช้นั ป.๑ ๒. กจิ วตั รประจ�ำวัน (ตอ่ )
(ต่อ) ๒.๙ การเก็บอปุ กรณ์หนังสือออกจากกระเปา๋ และใส่กระเป๋า
๒.๑๐ การเก็บของใชส้ ว่ นตวั ในมมุ ต่าง ๆ เชน่ แกว้ น้�ำ รองเท้า
๒.๑๑ การผกู เชอื กรองเท้า การสวมใสร่ องเท้า
๒.๑๒ การสวมใสช่ ุดนักเรยี น ชุดพลศึกษา ชดุ ลูกเสอื
๓. ครูท�ำความร้จู ักนกั เรียน
๓.๑ หนูเป็นใคร
๓.๒ หนชู อบอะไร หนูไม่ชอบอะไร

82 รายงานเฉพาะเร่ืองท่ี ๑๒ หลกั สตู รและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ

สปั ดาหท์ ี่ หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้

๓.๓ หนเู ก่งอะไร
๓.๔ การวินิจฉยั ความสามารถทางภาษาและคณิตศาสตร์ของนักเรยี น
๔. วิเคราะหค์ วามตอ้ งการของนกั เรียน
๔.๑ หนูชอบเรียนวิชาอะไร
๔.๒ โตขน้ึ หนอู ยากเป็นอะไร

๓ เสรมิ สมรรถนะ ๕. การเสริมสมรรถนะของนักเรียนต่อยอดจากช้นั อนุบาล
ต่อยอดจากชน้ั ๕.๑ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั สังคมรอบตวั ดา้ นชมุ ชนและสังคม
อนุบาล ๕.๑.๑ หนูนั่งกลุ่มเดียวกับใคร
๕.๑.๒ เม่ือหนอู ยู่ในกลุ่ม หนูควรทำ� อย่างไร
๕.๑.๓ หนเู ปลย่ี นทนี่ ่งั ไปนัง่ กลมุ่ อืน่ ไดไ้ หม
๕.๑.๔ เมื่อหนูอย่ใู นห้องเรียน หนูควรทำ� อย่างไร
๕.๑.๕ ห้องเรียนข้าง ๆ ของหนคู ือหอ้ งอะไร หนรู ู้จกั ใครบ้าง
๕.๑.๖ เมอื่ หนูอยใู่ นโรงเรียน หนูควรทำ� อย่างไร
๕.๑.๗ เม่อื เกิดเหตุการณ์ตา่ ง ๆ หนจู ะขอความช่วยเหลอื จากใคร
๕.๒ ความเข้าใจและการใชภ้ าษาดา้ นคำ� ศัพท์
๕.๒.๑ นคี่ อื อะไร-คำ� ศพั ทเ์ กี่ยวกับรา่ งกายของเรา
๕.๒.๒ นี่คอื อะไร-คำ� ศัพท์เกี่ยวกบั สงิ่ ของในหอ้ งเรยี น
๕.๒.๓ น่ีคอื อะไร-ค�ำศพั ท์เกีย่ วกบั สถานท่ีในโรงเรียน

๔ เสริมสมรรถนะ ๕.การเสริมสมรรถนะของนกั เรยี นตอ่ ยอดจากชน้ั อนบุ าล (ต่อ)
ตอ่ ยอดจากชั้น ๕.๒ ความเขา้ ใจและการใช้ภาษาดา้ นคำ� ศัพท์ (ตอ่ )
อนบุ าล (ตอ่ ) ๕.๒.๔ นค่ี อื อะไร-ค�ำศพั ท์เกีย่ วกับอาหาร เครอื่ งด่ืม
๕.๒.๕ น่ีคอื อะไร-คำ� ศพั ท์เกย่ี วกับผัก-ผลไม้
๕.๒.๖ นค่ี อื อะไร-คำ� ศัพท์เก่ยี วกบั สัตว์ต่าง ๆ
๕.๓ การสรา้ งหรอื พัฒนาการคดิ
๕.๓.๑ น่ีคืออะไร (บอกลกั ษณะเบอ้ื งต้นของส่งิ ของตา่ ง ๆ )
๕.๓.๒ ซ้าย-ขวา ฮาเฮ
๕.๓.๓ เมอื่ วาน-วันนี-้ พรงุ่ น้ี
๕.๓.๔ ช่วงเวลาในแตล่ ะวนั
๕.๓.๕ เส้นทางจากบา้ นมาโรงเรยี น บอกเลา่ -วาดแผนทีง่ า่ ย ๆ
๕.๔ การเขยี น
๕.๔.๑ ฝึกลีลามือ เส้นลากลง เส้นลากขนึ้

๕ เสรมิ สมรรถนะ ๕. การเสรมิ สมรรถนะของนักเรียนตอ่ ยอดจากชนั้ อนบุ าล (ตอ่ )
ต่อยอดจากชน้ั ๕.๕ การคดิ ด้านคณติ ศาสตร์
อนบุ าล (ตอ่ ) ๕.๕.๑ การนับจ�ำนวนส่งิ ของตา่ ง ๆ ในห้องเรยี นทไี่ มเ่ กิน ๑๐
๕.๕.๒ การส�ำรวจและนบั จำ� นวนสิง่ ตา่ ง ๆ นอกหอ้ งเรียน
๕.๕.๓ การรวมสิ่งของหรือนบั น้วิ รวมกนั

รายงานเฉพาะเรอื่ งที่ ๑๒ หลักสตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 83

สัปดาห์ท่ี หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้

๕.๕.๔ การนบั เพิม่
๕.๕.๕ การนบั ลด
๕.๕.๖ การหกั ลบโดยนับนิ้วหรอื เอาส่งิ ของออกไป
๕.๔ การเขยี น (ต่อ)
๕.๔.๑ ฝึกลีลามือ เส้นแนวนอนไปทางซ้าย เส้นแนวนอนไปทางขวา
เส้นเฉยี งลงจากซ้าย เสน้ เฉียงลงจากขวา

๖ เสริมสมรรถนะ ๕. การเสริมสมรรถนะของนักเรียนต่อยอดจากชั้นอนุบาล (ตอ่ )
ตอ่ ยอดจากชนั้ ๕.๔ การเขยี น (ตอ่ )
อนบุ าล (ต่อ) ๕.๔.๑ ฝึกลีลามือ เส้นเฉียงข้ึนไปทางซ้าย เส้นเฉียงขึ้นไปทางขวา
เส้นโคง้ จากซา้ ยไปขวา เสน้ โคง้ จากขวาไปซา้ ย
๕.๔.๒ เขียนชอื่ ของตนเองหรือช่ือเล่น
๕.๕ การอา่ น (อา่ นเป็นคำ� ไมส่ ะกดค�ำ)
๕.๕.๑ การอา่ นชือ่ -นามสกลุ ของตนเอง
๕.๕.๒ การอา่ นชอ่ื วันท้งั เจ็ด
๕.๕.๓ การอา่ นชื่อมุมต่าง ๆ ในหอ้ งเรียน
๕.๕.๔ การอา่ นชอ่ื ปกหนงั สอื นทิ านทช่ี อบ และหนงั สอื เรยี นวชิ าตา่ ง ๆ

๒. สัปดาหท์ ี่ ๗-๒๐
วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพ่อื ใหน้ ักเรยี นไดพ้ ัฒนาสมรรถนะต่อยอดจากชัน้ อนุบาล
๒. เพื่อให้นักเรียนได้เรียนเนื้อหาตามตัวชี้วัดและฝึกทักษะด้านภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
และสังคม ผ่านการท�ำกิจกรรม ๖ กิจกรรมตามรูปแบบช้ันอนุบาล ได้แก่ กิจกรรมการเคล่ือนไหวและจังหวะ
กจิ กรรมสร้างสรรค์ กจิ กรรมเสรี กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมกลางแจง้ กิจกรรมเกมการศึกษา
สาระสำ� คัญ
การเสรมิ สมรรถนะของนกั เรียนตอ่ ยอดจากชั้นอนบุ าล มี ๖ หัวขอ้ ดงั นี้
๑. การสร้างหรือพัฒนาการคดิ
๒. การคิดด้านคณติ ศาสตร์
๓. ความเข้าใจเกย่ี วกับสังคมรอบตวั ดา้ นชมุ ชนและสังคม
๔. ความเข้าใจและการใช้ภาษาด้านคำ� ศัพท์
๕. การอ่าน
๖. การเขียน
การออกแบบการเรียนการสอนเป็นหน่วยการเรียนรู้ผ่านการท�ำกิจกรรม ๖ กิจกรรมตามรูปแบบช้ัน
อนุบาล ได้บูรณาการเน้ือหาและทักษะจากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ท่ีสอดคล้องกับการเสริม
สมรรถนะของนักเรียน ดังน้ี
๑. ภาษาไทย
๑.๑ การอา่ น
๑.๒ การเขยี น

84 รายงานเฉพาะเรื่องที่ ๑๒ หลกั สตู รและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ

๑.๓ การฟัง การดู และการพูด
๑.๔ หลกั และการใช้ภาษาไทย
๑.๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
๒. คณิตศาสตร์
๒.๑ จำ� นวนและการด�ำเนินการ
๒.๒ การวัดและเรขาคณิต
๓. วิทยาศาสตร์
๓.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนิเวศ
๓.๒ เข้าใจสมบัตขิ องสงิ่ มีชีวิต
๓.๓ เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชิงค�ำนวณในการแก้ปญั หา
๔. สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
๔.๑ หน้าท่พี ลเมอื ง
๔.๒ เศรษฐศาสตร์
๔.๓ ประวัตศิ าสตร์
๔.๔ ภมู ิศาสตร์
มีรายละเอยี ดดงั ตารางที่ ๒
ตารางท่ี ๒ การเสรมิ สมรรถนะของนักเรียนตอ่ ยอดจากชัน้ อนุบาลและการบูรณาการกลมุ่ สาระการเรียนรู้

หวั ข้อ การเสริมสมรรถนะของนกั เรยี น การบรู ณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้
ตอ่ ยอดจากชัน้ อนบุ าล ในช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑

๑ การสรา้ งหรือพัฒนาการคิด วิทยาศาสตร์
๑.๑ บอกลักษณะหรือคุณลักษณะเบื้องต้นของ ว ๑.๑ ป.๑/๑ ระบุชื่อพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ใน
สิ่งของ บริเวณตา่ ง ๆ จากขอ้ มูลท่รี วบรวมได้
๑.๒ บอกได้ว่า สงิ่ ของทว่ี างอยู่นั้นอยดู่ ้านซา้ ยหรือ ว ๑.๑ ป.๑/๒ บอกสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมกับ
ดา้ นขวาของผทู้ พี่ ดู ดว้ ย การดำ� รงชีวิตของสัตวใ์ นบรเิ วณท่อี าศยั อยู่
๑.๓ บอกได้ และใช้ค�ำว่า “เม่ือวานนี้” “วันนี้” ว ๓.๒ ป.๑/๑ อธิบายลักษณะภายนอกของหิน จาก
“พรุ่งน”ี้ อย่างถูกตอ้ ง ลกั ษณะเฉพาะตัวท่สี งั เกตได้
๑.๔ วาดแผนท่ีจากบ้านมาโรงเรียนหรือวาด ว ๔.๒ ป.๑/๑ แก้ปัญหาอยา่ งง่ายโดยใชก้ ารลองผิด
แผนผัง ลองถูก การเปรียบเทยี บ
๑.๕ บอกหรือใช้ช่วงเวลาของวนั ได้ถกู ตอ้ ง ว ๔.๒ ป.๑/๒ แสดงล�ำดับข้ันตอนการท�ำงาน หรือ
๑.๖ บอกได้ว่าส่ิงของที่วางอยู่นั้นอยู่ด้านซ้ายหรือ การแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือ
ดา้ นขวาของเด็ก ข้อความ
๑.๗ บอกหรือเรียกช่ือประเภทคน สตั ว์ ส่งิ ของ พืช สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม:
-ประวตั ศิ าสตร์
ส ๔.๑ ป.๑/๑ บอกวนั เดอื น ปี และการนับชว่ งเวลา
ตามปฏิทนิ ที่ใชใ้ นชีวติ ประจ�ำวนั
ส ๔.๑ ป.๑/๒ เรียงลำ� ดบั เหตกุ ารณใ์ นชวี ิตประจ�ำวัน
ตามวนั เวลาท่ีเกิดข้ึน

รายงานเฉพาะเรื่องท่ี ๑๒ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 85

หัวข้อ การเสริมสมรรถนะของนกั เรียน การบรู ณาการกล่มุ สาระการเรียนรู้
ตอ่ ยอดจากชนั้ อนบุ าล ในช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๑

-ภูมิศาสตร์
ส ๕.๑ ป.๑/๒ ระบคุ วามสัมพันธ์ของต�ำแหนง่ ระยะ
ทิศ ของสง่ิ ตา่ ง ๆ
ส ๕.๑ ป.๑/๓ ใชแ้ ผนผงั แสดงตำ� แหนง่ ของสง่ิ ตา่ ง ๆ
ในหอ้ งเรยี น

๒ การคดิ ดา้ นคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์
๒.๑ นบั ถอยหลัง เรียงล�ำดบั จาก ๑๐ ไป ๑ ค ๑.๑ ป.๑/๑ บอกจ�ำนวนของสิ่งต่าง ๆ แสดงสิ่ง
๒.๒ รวมส่ิงของหรือนับนิ้วรวมกันโดยใช้จ�ำนวน ต่าง ๆ ตามจ�ำนวนที่ก�ำหนด อ่านและเขียนตัวเลข
๑-๑๐ ไดห้ ัก ฮินดอู ารบกิ ตัวเลขไทย แสดงจำ� นวนนบั ไมเ่ กนิ ๑๐๐
๒.๓ บวกเลข ๑ หลัก หรือ ๒ หลกั ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งทด และ ๐
๒.๔ เขียนตวั เลขอารบกิ ๑-๑๐ ได้ ค ๑.๑ ป.๑/๒ เปรียบเทยี บจำ� นวนนบั ไมเ่ กนิ ๑๐๐
๒.๕ เขยี นตวั เลขไทย ๑-๑๐ ได้ และ ๐ โดยใชเ้ ครอื่ งหมาย = ≠ ><
๒.๖ จัดสิ่งของเป็นจ�ำนวนคู่ จ�ำนวนค่ี ภายใน ค ๑.๑ ป.๑/๓ เรยี งลำ� ดบั จำ� นวนนับไมเ่ กิน ๑๐๐ และ
จำ� นวน ๑๐ ได้ ๐ ต้งั แต่ ๓ ถงึ ๕ จ�ำนวน
๒.๗ บอกตัวเลขที่เป็นเลขคู่และเลขค่ี ภายใน ค ๑.๑ ป.๑/๔ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค
จ�ำนวน ๑๐ ได้ สัญลักษณ์แสดงการบวกและประโยคสัญลักษณ์แสดง
๒.๘ บอกความคงทีข่ องเลข ๑ หลกั ท่ีเป็นผลรวม การลบ
ของเลข ๒ จำ� นวนได้หลายแบบ (๒+๓ หรอื ๓+๒
เทา่ กบั ๕ หรือ ๔+๑ เท่ากับ ๓+๒)
๒.๙ หยิบของตามจ�ำนวน ๖-๑๐ ได้ และบอก
จำ� นวนได้อยา่ งถกู ต้อง
๒.๑๐ เรียงลำ� ดับตวั เลขอารบิกจาก ๑ ถงึ ๑๐ ได้
๒.๑๑ หักลบโดยนับน้ิวหรือส่ิงของออกจาก
จำ� นวนไม่เกนิ ๑๐ ได้

๓ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับสงั คมรอบตัว สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม:
ด้านชมุ ชนและสงั คม -หน้าท่พี ลเมอื ง
๓.๑ บอกไดว้ า่ สง่ิ ใดเป็นของตน ครอบครวั ตน และ ส ๒.๑ ป.๑/๑ บอกประโยชน์และปฏิบัติตนเป็น
ส่งิ ใดเปน็ ของผูอ้ ่นื สมาชิกทดี่ ีของครอบครัวและโรงเรยี น
๓.๒ บอกไดว้ ่าคน ๑ คนสามารถมไี ดห้ ลายบทบาท ส ๒.๑ ป.๑/๒ ยกตัวอย่างความสามารถและความดี
หลายหน้าท่ี หรือเป็นสมาชกิ ของหลายกลุม่ ได้ ของผูอ้ ่นื และบอกผลจากการกระท�ำนน้ั
๓.๓ บอกวนั สำ� คญั ของชาติอย่างนอ้ ย ๒ วัน ส ๒.๒ ป.๑/๑ บอกโครงสร้าง บทบาท และหนา้ ทขี่ อง
๓.๔ บอกวันส�ำคัญทางศาสนาของตนเอย่างน้อย สมาชกิ ในครอบครวั และโรงเรยี น
๑ วัน ส ๒.๒ ป.๑/๒ ระบุบทบาท สิทธิ และหน้าท่ีของ
ตนเองในครอบครวั และโรงเรยี น

86 รายงานเฉพาะเรือ่ งท่ี ๑๒ หลักสตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ

หวั ขอ้ การเสรมิ สมรรถนะของนักเรยี น การบรู ณาการกล่มุ สาระการเรียนรู้
ตอ่ ยอดจากช้นั อนุบาล ในช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๑

๓.๕ บอกได้ว่าเครื่องแต่งกายแบบใดเป็นของชาติ ส ๒.๒ ป.๑/๓ มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและท�ำ
ใด ทอ้ งถนิ่ ใด กิจกรรมในครอบครัวและโรงเรียนตามกระบวนการ
๓.๖ บอกได้วา่ ในชมุ ชนมีสถานทีส่ ำ� คัญอะไรบ้าง ประชาธิปไตย
๓.๗ บอกได้ว่าตนเป็นคนไทย พูดภาษาไทย หรือ -เศรษฐศาสตร์
ภาษาทอ้ งถิน่ ส ๓.๒ ป.๑/๑ บอกเหตุผลความจ�ำเป็นที่คนต้อง
๓.๘ บอกบทบาทและการงานอาชีพของบุคคล ท�ำงานอย่างสจุ ริต
ตา่ ง ๆ ในชมุ ชน -ประวัตศิ าสตร์
๓.๙ บอกไดว้ ่าใครมคี วามสามารถในด้านใดบ้าง ส ๔.๓ ป.๑/๑ อธิบายความหมายและความส�ำคัญ
๓.๑๐ บอกไดว้ า่ ภาษาพดู ที่ไดย้ ินเปน็ ภาษาของตน ของสัญลักษณ์ส�ำคัญของชาติไทยและปฏิบัติตน
หรอื ภาษาอื่น ไดถ้ กู ต้อง
ส ๔.๓ ป.๑/๒ บอกสถานท่ีส�ำคัญซึ่งเป็นแหล่ง
วฒั นธรรมในชุมชน
ส ๔.๓ ป.๑/๓ ระบุส่ิงที่ตนรักและภาคภูมิใจใน
ทอ้ งถ่นิ

๔ ความเข้าใจและการใช้ภาษาดา้ นค�ำศพั ท์ ภาษาไทย
๔.๑ บอกค�ำท่ีมคี วามหมายเหมอื นกนั -การฟัง ดู พูด
๔.๒ อธิบายค�ำงา่ ย ๆ ได้ เชน่ แมวเป็น... ท ๓.๑ ป.๑/๔ พูดส่อื สารได้ตามวัตถุประสงค์
๔.๓ เลอื กใชค้ ำ� ศพั ทต์ า่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งตามความ ท ๓.๑ ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง ดู พูด
หมายทตี่ อ้ งการ โดยเฉพาะคำ� ทใี่ ชใ้ นกจิ วตั ร
๔.๔ ใชค้ ำ� แสดงตำ� แหนง่ แหล่งที่ วิทยาศาสตร์
๔.๕ บอกได้ว่าสิ่งใดหนักกว่า เม่ือยกของ ๒ ส่ิง ว ๑.๑ ป.๑/๑ ระบุชื่อพืชและสัตว์ท่ีอาศัยอยู่ใน
เปรยี บเทียบกนั บรเิ วณต่าง ๆ จากขอ้ มูลทร่ี วบรวมได้
๔.๖ บอกได้ว่าส่ิงใดอยู่ใกล้ สิ่งใดอยู่ไกล เมื่อ ว ๑.๑ ป.๑/๒ บอกสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมกับ
เปรียบเทยี บของ ๒ ส่งิ ที่อยรู่ ะยะตา่ งกัน การด�ำรงชวี ติ ของสัตวใ์ นบรเิ วณทอ่ี าศยั อยู่
๔.๗ ถามความหมายของคำ� ทตี่ นไมร่ หู้ รอื ไมแ่ นใ่ จ ว ๑.๒ ป.๑/๑ ระบุชื่อ บรรยายลักษณะและบอก
๔.๘ ใช้ค�ำแสดงคุณลักษณะเพื่ออธิบายราย หน้าท่ีของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ สัตว์ และ
ละเอียดเพิ่มเตมิ พืช รวมทั้งบรรยายการท�ำหน้าที่ร่วมกันของส่วน
ต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ ในการท�ำกิจกรรมต่าง ๆ
จากข้อมูลทร่ี วบรวมได้
ว ๑.๒ ป.๑/๒ ตระหนกั ถงึ ความส�ำคัญของการดแู ล
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายตนเอง โดยการดูแลส่วน
ต่าง ๆ อย่างถูกต้อง ให้ปลอดภัย และรักษา
ความสะอาดอยู่เสมอ
ว ๓.๒ ป.๑/๑ อธิบายลักษณะภายนอกของหิน
จากลกั ษณะเฉพาะตวั ที่สงั เกตได้

รายงานเฉพาะเร่อื งท่ี ๑๒ หลกั สตู รและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ 87

หวั ขอ้ การเสรมิ สมรรถนะของนักเรียน การบูรณาการกล่มุ สาระการเรียนรู้
ตอ่ ยอดจากช้ันอนุบาล ในชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑

คณิตศาสตร์
ค ๒.๑ ป.๑/๒ วัดและเปรียบเทียบน้�ำหนักเป็น
กโิ ลกรัม ขีด

สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม:
-ภูมิศาสตร์
ส ๕.๑ ป.๑/๒ ระบุความสัมพนั ธ์ของต�ำแหน่ง ระยะ
ทิศ ของสง่ิ ต่าง ๆ

๕ การอ่าน ภาษาไทย
๕.๑ อ่านคำ� งา่ ย ๆ หรอื ชื่อตนเองได้ -การอา่ น
๕.๒ บอกชอ่ื หนงั สอื ทต่ี นชอบไดอ้ ยา่ งนอ้ ย ๒ เรอื่ ง ท ๑.๑ ป.๑/๑ อ่านออกเสยี งคำ� คำ� คล้องจอง และ
๕.๓ อ่านหนังสอื ที่มีภาพอยา่ งตอ่ เนือ่ งจนจบ และ ขอ้ ความสนั้ ๆ
เลา่ ได้ว่าเปน็ เรอ่ื งอะไร ท ๑.๑ ป.๑/๒ บอกความหมายของค�ำและขอ้ ความ
๕.๔ อ่านค�ำหรือช่ือบนสง่ิ ของท่ีใชใ้ นชีวติ ประจ�ำวัน ท่ีอ่าน
๕.๕ ช้ีตวั พยญั ชนะได้ ๕ ตวั ท ๑.๑ ป.๑/๓ ตอบคำ� ถามเก่ียวกับเรอื่ งที่อา่ น
๕.๖ อ่านออกเสยี งพยัญชนะได้ ๕ ตวั ท ๑.๑ ป.๑/๔ เลา่ เรื่องย่อจากเร่ืองทอ่ี า่ น
๕.๗ อา่ นออกเสียงพยญั ชนะไดถ้ ูกต้องเป็นสว่ นใหญ่ ท ๑.๑ ป.๑/๖ อ่านหนังสือตามความสนใจอย่าง
๕.๘ ชี้บอกพยญั ชนะท่จี ำ� ได้ในค�ำต่าง ๆ อยา่ งน้อย สม่ำ� เสมอและนำ� เสนอเร่อื งท่ีอา่ น
๑๐ ตัว ท ๑.๑ ป.๑/๘ มมี ารยาทในการอา่ น
๕.๙ อ่านทีละบรรทัดจากบนลงล่าง โดยไม่เน้น
การอา่ นถกู ตอ้ ง -วรรณคดีและวรรณกรรม
๕.๑๐ ชี้ชื่อหรือชื่อเล่นของคนท่ีเป็นตัวพิมพ์/ ท ๕.๑ ป.๑/๑ บอกข้อคิดท่ีได้จากการอ่านหรือ
ตัวเขียนบรรจงได้ การฟงั วรรณกรรมรอ้ ยแก้วและร้อยกรองส�ำหรบั เดก็

๕.๑๑ ถามเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของข้อความ
ที่พิมพ์หรอื เขียน
๕.๑๒ บอกประเภทส่ิงพิมพ์ต่าง ๆ ที่พบเห็น
อยา่ งนอ้ ย ๒ ประเภท
๕.๑๓ พูดให้ความเห็นเกี่ยวกับเรื่องราวในหนังสือ
ที่มีภาพประกอบที่ตนอ่านว่าชอบ ไม่ชอบหรือ
สนใจส่วนใดของเรือ่ ง

88 รายงานเฉพาะเรื่องท่ี ๑๒ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ

หวั ขอ้ การเสรมิ สมรรถนะของนกั เรยี น การบรู ณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้
ตอ่ ยอดจากช้นั อนบุ าล ในชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑

๖ การเขียน ภาษาไทย
๖.๑ เขยี นค�ำง่าย ๆ ตามตน้ แบบ - การเขยี น
๖.๒ เขียนชื่อของตนเองหรือชอ่ื เลน่ ท ๒.๑ ป.๑/๑ คดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
๖.๓ เขียนชื่อพ่อแมห่ รอื ชื่อเพือ่ น ท ๒.๑ ป.๑/๒ เขยี นสอื่ สารดว้ ยคำ� และประโยคงา่ ย ๆ
๖.๔ เขียนตัวอักษรง่าย ๆ บางตัวได้ตามค�ำบอก ท ๒.๑ ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน
อย่างนอ้ ย ๕ ตัว
๖.๕ เขยี นประโยคงา่ ย ๆ ที่มีประธาน กริยา - หลักและการใชภ้ าษาไทย
๖.๖ วาดรูปเรยี งคำ� ทเี่ หมาะสม ท ๔.๑ ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์
๖.๗ เขียนอธิบายส่ิงท่ีตนวาดหรือเขียนให้ผู้อื่น และเลขไทย
เขา้ ใจได้ ท ๔.๑ ป.๑/๒ เขียนสะกดค�ำและบอกความหมาย
๖.๘ ขอให้ผูใ้ หญ่เขียนคำ� ที่ตอ้ งการให้ดู ของค�ำ
๖.๙ ขีดเขียนเส้นลักษณะต่าง ๆ ตามต้นแบบที่ ท ๔.๑ ป.๑/๓ เรยี บเรยี งคำ� เปน็ ประโยคงา่ ย ๆ

เห็นด้วยตนเอง
๖.๑๐ บอกความแตกตา่ งของชุดพยัญชนะที่คลา้ ยกัน

รายละเอยี ดโครงสร้างเวลาเรยี น ดงั ตารางที่ ๓

ตารางที่ ๓ โครงสรา้ งเวลาเรยี น ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ สัปดาห์ท่ี ๗-๒๐

สปั ดาหท์ ่ี หน่วยการเรยี นรู้ สาระส�ำคัญ

๗ ฉันและเธอ ๑. ความเขา้ ใจเกี่ยวกับสังคมรอบตวั ดา้ นชมุ ชนและสงั คม
๑.๑ แนะน�ำตนเอง และบอกชอ่ื เพ่อื นในกลุ่ม
๑.๒ บอกบทบาทของตนเองและเพอื่ นในกลมุ่ และเปลี่ยนกลมุ่ ได้
๑.๓ บอกส่ิงของของตนเอง และส่ิงของของเพือ่ นในกลุ่ม
๑.๔ ทบทวนข้อตกลงในห้องเรียน ร่วมกันสร้างข้อตกลงในห้องเรียนใหม่
เพื่อเป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ติ น
๒. การคิดดา้ นคณติ ศาสตร์
๒.๑ การนบั จ�ำนวนเพือ่ นในกลมุ่ และบอกจ�ำนวนที่นับได้
๒.๒ การนบั จำ� นวนสิ่งของของตนเอง และส่ิงของของเพอ่ื นในกลุม่
๒.๓ การรวมจ�ำนวนเพอื่ น ๒ กลมุ่ และบอกผลรวมที่ได้
๒.๔ การรวมจ�ำนวนสิ่งของของตนเอง และบอกผลรวมทไ่ี ด้
๓. การเขียน
๓.๑ ฝกึ ลลี ามอื เส้นลากลง เสน้ ลากขึ้น เส้นแนวนอนไปทางซ้าย เส้นแนว
นอนไปทางขวา

รายงานเฉพาะเรือ่ งท่ี ๑๒ หลกั สตู รและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ 89

สัปดาหท์ ี่ หนว่ ยการเรยี นรู้ สาระสำ� คัญ

๘ ธรรมชาตริ อบ ๆ ๑. ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั สังคมรอบตัวด้านชมุ ชนและสังคม
ตวั เรา ๑.๑ บอกบทบาทของตนเองและเพ่อื นในกลุ่ม และเปล่ียนกลุ่มได้
๒. การคิดด้านคณิตศาสตร์
๒.๑ การนบั จ�ำนวนเพอ่ื นในกลมุ่ ที่ทำ� กจิ กรรมรว่ มกนั และบอกจำ� นวน
ทีน่ บั ได้
๒.๒ การนับจำ� นวนสงิ่ ตา่ ง ๆ ท่สี ำ� รวจพบ
๒.๓ การรวมจำ� นวนส่ิงต่าง ๆ ท่สี ำ� รวจพบ และบอกผลรวมท่ีได้
๒.๔ การวาดรูปแสดงจ�ำนวนสิง่ ต่าง ๆ ท่ีส�ำรวจพบ และเปรยี บเทียบโดย
บอกวา่ สง่ิ ใด มากกวา่ นอ้ ยกวา่ หรอื เทา่ กัน
๒.๕ การเลือกส่ิงท่สี �ำรวจพบ เชน่ ใบไม้ กอ้ นหนิ มาเปรยี บเทียบน้�ำหนกั
ความยาว แล้วบอกวา่ ส่งิ ใดหนักกวา่ หรือเบากว่า ยาวกว่าหรือส้นั กวา่ กนั
๓. การสรา้ งหรอื พฒั นาการคดิ และความเขา้ ใจและการใชภ้ าษาดา้ นคำ� ศพั ท์
๓.๑ บอกชือ่ ของส่งิ ตา่ ง ๆ ทีส่ �ำรวจพบ และอธบิ ายลักษณะของสงิ่ นั้น
๓.๒ ถามค�ำถามเกี่ยวกับความหมายของส่ิงต่าง ๆ ที่ส�ำรวจพบ ท่ีตนเอง
ไมร่ ูจ้ ักหรอื ไมแ่ นใ่ จ
๓.๓ บอกต�ำแหน่งของสิ่งท่พี บ ว่าอยู่ทางซ้ายหรอื ขวาของเพ่อื นหรือของตนเอง
๔. การเขยี น
๔.๑ ฝึกลีลามือ เส้นเฉียงลงจากซ้ายไปขวา เส้นเฉียงลงจากขวาไปซ้าย
เสน้ เฉยี งขึน้ จากซา้ ยไปขวา เส้นเฉยี งขนึ้ จากขวาไปซา้ ย

๙ ฤดูกาลต่าง ๆ ๑. ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั สังคมรอบตัวด้านชมุ ชนและสงั คม
๑.๑ บอกบทบาทของตนเองและเพื่อนในกลุ่ม และเปลยี่ นกล่มุ ได้
๒. การคดิ ด้านคณิตศาสตร์
๒.๑ การนับจ�ำนวนเพ่ือนในกลุ่มท่ีท�ำกิจกรรมร่วมกัน และบอกจ�ำนวนท่ี
นับได้
๒.๒ การนบั จ�ำนวนฤดูกาลในประเทศไทย
๓. การสรา้ งหรอื พฒั นาการคดิ และความเขา้ ใจและการใชภ้ าษาดา้ นคำ� ศพั ท์
๓.๑ บอกชื่อของฤดูกาลต่าง ๆ ในประเทศไทย และอธิบายลักษณะของ
ฤดูนัน้ ๆ
๓.๒ บอกชื่อของเคร่ืองแต่งกายและของใช้ตา่ ง ๆ ทเ่ี หมาะสมกับฤดกู าลใน
ประเทศไทย
๓.๓ ถามคำ� ถามเกยี่ วกบั ฤดกู าลในประเทศไทย ทตี่ นเองไมร่ จู้ กั หรอื ไมแ่ นใ่ จ
๔. การอ่าน
๔.๑ อา่ นช่อื ฤดูกาลตา่ ง ๆ ในประเทศไทย โดยการอ่านเป็นค�ำ
๔.๒ อ่านชือ่ เคร่อื งแต่งกายและของใชต้ ่าง ๆ โดยการอา่ นเปน็ ค�ำ
๕. การเขยี น
๕.๑ ฝึกลีลามือ เส้นโค้งขึ้นข้างบนจากซ้ายไปขวา เส้นโค้งข้ึนข้างบนจาก
ขวาไปซา้ ย เสน้ โคง้ ลงขา้ งลา่ งจากซา้ ยไปขวา เสน้ โคง้ ลงขา้ งลา่ งจากขวาไปซา้ ย

90 รายงานเฉพาะเร่อื งที่ ๑๒ หลักสตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ

สัปดาห์ที่ หน่วยการเรยี นรู้ สาระส�ำคญั

๑๐ รอบร้วั โรงเรยี น ๑. ความเขา้ ใจเกย่ี วกับสงั คมรอบตัวดา้ นชุมชนและสังคม
๑.๑ บอกบทบาทของตนเองและเพื่อนในกลุ่ม และเปล่ียนกลุ่มได้
๑.๒ บอกบทบาทของบุคคลที่พบในโรงเรียนและสถานที่ส�ำคัญรอบ ๆ
โรงเรียน
๑.๓ บอกข้อควรปฏบิ ตั ิในโรงเรยี นและในสถานท่สี �ำคัญรอบ ๆ โรงเรยี น
๒. การคิดด้านคณติ ศาสตร์
๒.๑ การนบั จ�ำนวนเพ่อื นในกลุ่มทท่ี ำ� กจิ กรรมร่วมกนั และบอกจำ� นวนท่ี
นับได้
๒.๒ การนับจ�ำนวนสถานที่ อาคารเรียนของโรงเรียน และสถานท่ีส�ำคัญ
รอบ ๆ โรงเรยี น
๓. การสรา้ งหรอื พฒั นาการคดิ และความเขา้ ใจและการใชภ้ าษาดา้ นคำ� ศพั ท์
๓.๑ บอกช่อื ของโรงเรียน ชื่อสถานทสี่ ำ� คญั รอบ ๆ โรงเรียน และอธบิ าย
ลกั ษณะของสถานทสี่ �ำคญั นั้น ๆ
๓.๒ ถามค�ำถามเกี่ยวกับโรงเรียนและสถานที่ส�ำคัญรอบ ๆ โรงเรียน
ที่ตนเองไม่รจู้ ักหรอื ไมแ่ นใ่ จ
๓.๓ บอกต�ำแหน่งของสถานท่ีต่าง ๆ ท่ีพบ ว่าอยู่ทางซ้ายหรือขวาของ
เพ่อื นหรือของตนเอง
๔. การอา่ น
๔.๑ อา่ นช่อื โรงเรียน โดยการอ่านเปน็ คำ�
๔.๒ อ่านช่ือสถานท่สี �ำคญั รอบ ๆ โรงเรียน โดยการอ่านเป็นค�ำ
๕. การเขยี น
๕.๑ ฝึกลีลามอื วงกลมจากจุดเร่มิ ตน้ ไปทางขวา วงกลมจากจดุ เร่มิ ตน้ ไป
ทางซ้าย วงรีจากจุดเรมิ่ ตน้ ไปทางขวา วงรีจากจุดเร่มิ ตน้ ไปทางซ้าย

๑๑ ชุมชนของฉนั ๑. ความเขา้ ใจเกี่ยวกับสงั คมรอบตัวด้านชมุ ชนและสงั คม
๑.๑ บอกบทบาทของตนเองและเพ่ือนในกลุ่ม และเปลี่ยนกลุ่มได้
๑.๒ บอกบทบาทของบุคคลทพี่ บในชมุ ชน
๑.๓ บอกขอ้ ควรปฏบิ ตั ิในชุมชนและในสถานทสี่ ำ� คัญในชุมชน
๒. การคดิ ด้านคณติ ศาสตร์
๒.๑ การนับจ�ำนวนเพ่ือนในกลุ่มท่ีท�ำกิจกรรมร่วมกัน และบอกจ�ำนวนท่ี
นบั ได้
๒.๒ การนบั จ�ำนวนสถานทีส่ �ำคญั ในชุมชน
๓. การสรา้ งหรอื พฒั นาการคดิ และความเขา้ ใจและการใชภ้ าษาดา้ นคำ� ศพั ท์
๓.๑ บอกชื่อของสถานที่ส�ำคัญในชุมชน และอธิบายลักษณะของสถานท่ี
ส�ำคญั น้ัน ๆ
๓.๒ ถามค�ำถามเก่ียวกับชุมชน และสถานท่ีส�ำคัญในชุมชน ที่ตนเองไม่รู้
จักหรือไม่แน่ใจ

รายงานเฉพาะเรือ่ งท่ี ๑๒ หลกั สตู รและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ 91


Click to View FlipBook Version